33

18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร
Page 2: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 1

สารบัญ

หนา

กําหนดการประชุม 3

รายการบทคัดยอ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2557

ระดับประถมศึกษา

การเปรียบเทียบความชื้นในดินบริเวณท่ีมีฝายชะลอน้ํากับบริเวณท่ีไมมีฝายชะลอน้ํา

ณ บริเวณผืนปามอนพระยาแช จังหวัดลําปาง

โรงเรียนอนุบาลลําปาง (เขลางครัตนอนุสรณ) จังหวัดลําปาง

7

การตรวจสอบคุณภาพน้ําของแมน้ําปงบริเวณทาเรือหางแมงปอง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม

8

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ผลกระทบจากกิจกรรมมนุษยตอความหลากหลายของแพลงกตอนสัตวและคุณภาพน้ําใน

แมน้ํามูล เขตเทศบาล อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร

โรงเรียนทาตูมประชาเสริมวิทย จังหวัดสุรินทร

9

การศึกษาปจจัยแวดลอมของเชื้อรา Beauveria bassiana ท่ีมีผลตอการตายของแมลงวัน

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม จังหวัดกาฬสินธุ

10

การระบุชนิดพันธุ ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรและการขยายพันธุของตน

หมอขาวหมอแกงลิงท่ีสํารวจพบในอําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียน

พนมสารคาม "พนมอดุลวิทยา" จังหวัดฉะเชิงเทรา

โรงเรียนพนมสารคาม "พนมอดุลวิทยา" จังหวัดฉะเชิงเทรา

11

อัตราการเจริญเติบโตของหอยนางรมกับคุณภาพน้ําบริเวณอาวบานดอน อําเภอกาญจนดิษฐ

จังหวัดสุราษฎรธานี

โรงเรียนปาพะยอมพิทยาคม จังหวัดพัทลุง

12

การศึกษาการเจริญเติบโตของแมลงกนกระดก

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช

13

ศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของดินแปลงปลูกออยหลังการเผา (ชีวมวล) และแปลงปลูกออย

ปกติในเขตพ้ืนท่ีอําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

โรงเรียนภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

14

การบําบัดน้ําเสียตามทอระบายน้ําดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ินชนิด Dual

โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสพุรรณบุรี

15

การบําบัดน้ําเสียดวยสปริงเกอร

โรงเรียนพรตพิทยพยัต จังหวัดกรุงเทพมหานคร

16

Page 3: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 2

การศึกษาความสัมพันธระหวางสมบัติของดินกับพืชในพ้ืนท่ีบริเวณหนองบอบรบือ อําเภอบรบือ

จังหวัดมหาสารคาม

โรงเรียนบรบือวิทยาคาร จังหวัดมหาสารคาม

17

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การศึกษาปริมาณแพลงกตอนพืชสกุลเดน บริเวณแหลมแสมสาร อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

โรงเรียนพลูตาหลวงวิทยา จังหวัดชลบุร ี

18

การบําบัดน้ําสียอมโดยกระบวนการไฟโตคะตะลิสตรวมกับการดูดซับ

โรงเรียนกระแชงวิทยา จังหวัดศรีสะเกษ

19

ปจจัยสิ่งแวดลอมท่ีมีผลตอพัฒนาการของใบหูกวางบริเวณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จังหวัด

กรุงเทพมหานคร

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จังหวัดกรุงเทพมหานคร

20

การบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการเลียนแบบบึงธรรมชาติโดยใชพืชในทองถ่ิน

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม จังหวัดกาฬสินธุ

21

2014 GLOBE Learning Expedition (GLE)

22

2014 GLOBE Learning Expedition (GLE) Student Investigation Report and

Poster Format

26

Page 4: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 3

กําหนดการประชุม

นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2557

วันท่ี 24 – 25 มีนาคม 2557 ณ โรงแรมเบย จังหวัดสมุทรปราการ

วันและเวลา กําหนดการ สถานท่ี

วันท่ี 23 มีนาคม 2557

14.00 – 18.00 น. ครูและนักเรียนลงทะเบียนเขาหองพัก ฝายตอนรับ ชั้น G

18.00 – 19.30 น. รับประทานอาหารเย็น หอง Bay Bristro ชั้น 2

วันท่ี 24 มีนาคม 2557

8.00 – 8.30 น. ลงทะเบียน หองราชพฤกษ ชั้น 3

8.30 – 8.45 น. กลาวเปดการประชุม

โดย นางปาริฉัตร พวงมณี

ผูอํานวยการสาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)

หองราชพฤกษ ชั้น 3

8.45 – 10.30 น. นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม หองราชพฤกษ ชั้น 3

ระดับประถมศึกษา

การเปรียบเทียบความช้ืนในดินบริเวณท่ีมีฝายชะลอน้ํากับ

บริเวณท่ีไมมีฝายชะลอน้ํา ณ บริเวณผืนปามอนพระยาแช

จังหวัดลําปาง

โรงเรียนอนุบาลลําปาง (เขลางครัตนอนุสรณ) จังหวัดลําปาง

การตรวจสอบคุณภาพน้ําของแมน้ําปง บริเวณทาเรือ

หางแมงปอง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ผลกระทบจากกิจกรรมมนุษยตอความหลากหลายของ

แพลงกตอนสัตวและคุณภาพน้ําในแมน้ํามูล เขตเทศบาล

อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร

โรงเรียนทาตูมประชาเสริมวิทย จังหวัดสุรินทร

การศึกษาปจจัยแวดลอมของเช้ือรา Beauveria

bassiana ท่ีมีผลตอการตายของแมลงวัน

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม จังหวัดกาฬสินธุ

10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารวาง หองราชพฤกษ ชั้น 3

Page 5: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 4

วันและเวลา กําหนดการ สถานท่ี

10.45 – 12.00 น. นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม (ตอ)

หองราชพฤกษ ชั้น 3

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

การระบุชนิดพันธุ ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรและการ

ขยายพันธุของตนหมอขาวหมอแกงลิงท่ีสํารวจพบใน

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียน

พนมสารคาม "พนมอดุลวิทยา" จังหวัดฉะเชิงเทรา

โรงเรียนพนมสารคาม "พนมอดุลวิทยา" จังหวัดฉะเชิงเทรา

อัตราการเจริญเติบโตของหอยนางรมกับคุณภาพน้ําบริเวณ

อาวบานดอน อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี

โรงเรียนปาพะยอมพิทยาคม จังหวัดพัทลุง

การศึกษาการเจริญเติบโตของแมลงกนกระดก

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

จังหวัดนครศรีธรรมราช

ศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของดินแปลงปลูกออยหลังการ

เผา (ชีวมวล) และแปลงปลูกออยปรกติในเขตพ้ืนท่ีอําเภอ

ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

โรงเรียนภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน หอง Bay Bristro ชั้น 2

13.00 – 14.30 น. นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม (ตอ)

หองราชพฤกษ ชั้น 3

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

การบําบัดน้ําเสียตามทอระบายน้ําดวยเครื่องบําบัดน้ําเสีย

แบบภูมิปญญาทองถิ่นชนิด Dual

โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสพุรรณบุรี

การบําบัดน้ําเสียดวยสปริงเกอร

โรงเรียนพรตพิทยพยัต จังหวัดกรุงเทพมหานคร

การศึกษาความสัมพันธระหวางสมบัติของดินกับพืชใน

พ้ืนท่ีบริเวณหนองบอบรบือ อําเภอบรบือ จังหวัด

มหาสารคาม

โรงเรียนบรบือวิทยาคาร จังหวัดมหาสารคาม

Page 6: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 5

วันและเวลา กําหนดการ สถานท่ี

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การศึกษาปริมาณแพลงกตอนพืชสกุลเดน บริเวณแหลม

แสมสาร อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

โรงเรียนพลูตาหลวงวิทยา จังหวัดชลบุร ี

14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารวาง หองราชพฤกษ ชั้น 3

14.45 – 16.00 น. นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม (ตอ) หองราชพฤกษ ชั้น 3

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การบําบัดน้ําสียอมโดยกระบวนการไฟโตคะตะลิสตรวมกับ

การดูดซับ

โรงเรียนกระแชงวิทยา จังหวัดศรีสะเกษ

ปจจัยส่ิงแวดลอมท่ีมีผลตอพัฒนาการของใบหูกวางบริเวณ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จังหวัดกรุงเทพมหานคร

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จังหวัดกรุงเทพมหานคร

การบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการเลียนแบบบึงธรรมชาติโดยใช

พืชในทองถิ่น

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม จังหวัดกาฬสินธุ

16.00 – 18.00 น. คณะกรรมการตัดสินประชุมพิจารณาการตัดสิน หองจันผา ชั้น 3

18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น หอง Bay Bristro ชั้น 2

19.00 – 21.00 น. คณะกรรมการตัดสินประชุมพิจารณาการตัดสิน หองจันผา ชั้น 3

วันท่ี 25 มีนาคม 2557

9.00 – 10.00 น. ช้ีแจงรายละเอียดการเขารวมประชุม GLOBE Learning

Expedition 2014 ณ ประเทศอินเดีย

โดย นางปาริฉัตร พวงมณี ผูอํานวยการสาขาวิทยาศาสตร

สิ่งแวดลอมโลก และ นางยุพาพร ลาภหลาย ผูชํานาญ

สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก สสวท.

หองราชพฤกษ ชั้น 3

10.00 – 10.15 น. รับประทานอาหารวาง หองราชพฤกษ ชั้น 3

10.15 – 12.00 น. ประกาศผลรางวัลและมอบเกียรติบัตร

โดย ผูอํานวยการ สสวท.

หองราชพฤกษ ชั้น 3

12.00 – 12.15 น. ถายภาพหมู หองราชพฤกษ ชั้น 3

12.15 – 13.15 น. รับประทานอาหารกลางวัน หอง Bay Bristro ชั้น 2

13.15 น. เดินทางกลับ

Page 7: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 6

รายการบทคดัยอ ผลงานวิจัยวทิยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน

ประจําป 2557

Page 8: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 7

บทคัดยอ

จากสภาพภูมิอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงในปจจุบันสงผลใหเกิดปญหาและผลกระทบตางๆ มากมายจังหวัด

ลําปางก็ไดรับผลกระทบดังกลาว เชน ปญหาภัยแลง ปญหาไฟปา ปญหาหมอกควัน ปญหาน้ําทวม ปญหาหนา

ดินพังทลาย ซ่ึงเปนปญหาท่ีเก่ียวของสัมพันธกันเม่ือเกิดปญหาหนึ่งก็มักจะมีอีกปญหาตามมา การสรางฝาย

ชะลอน้ําเปนวิธีท่ีชุมชนนํามาใชในการปองกันปญหาดังกลาว งานวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบความชื้นในดิน

บริเวณท่ีมีการสรางฝายชะลอน้ํา และไมมีการสรางฝายชะลอน้ํา ณ บริเวณผืนปามอนพระยาแช อําเภอเมือง

จังหวัดลําปาง เปนการวิจัยซ่ึงมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาเปรียบเทียบความชื้นของดินบริเวณท่ีมีการสรางฝาย

ชะลอน้ํา บริเวณมอนพระยาแช โดยมีการจัดเก็บตัวอยางดินในบริเวณท่ีสรางฝายดิน ฝายหิน และบริเวณท่ี

ไมมีการสรางฝายเปนเวลา 2 เดือน สัปดาหละ 1 ครั้ง ในชวงเวลาหลังจากฤดูฝน ซ่ึงเปนชวงเวลาท่ีมีปริมาณ

น้ําฝนขังในบริเวณฝายท้ังสองประเภท คือชวงเวลาระหวางเดือนพฤศจิกายน 2556 - มกราคม 2557

ผลการจัดเก็บตัวอยางดินในแตละบริเวณพบวา ฝายดินสามารถเก็บความชื้นไดดีกวาฝายหินรอยละ

0.77 และฝายท้ังสองประเภทสามารถเก็บความชื้นของดินไดดีกวาบริเวณท่ีไมมีการสรางฝายชะลอน้ําคิดเปน

รอยละ 10.81 และ 10.04 ตามลําดับ สรุปตามสมมุติฐานไดวา การสรางฝายชะลอน้ําบริเวณมอนพระยาแช

อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง สามารถกักเก็บน้ําไดดีกวาการไมสรางฝายชะลอน้ํา ทําใหสภาพของดินบริเวณท่ีมี

การสรางฝายชะลอน้ํามีความชุมชื้น และจากการสัมภาษณปราชญชุมชนไดใหขอมูลวาการสรางฝายชะลอน้ํา

สามารถสงผลใหปามีความอุดมสมบูรณยิ่งข้ึน

คําสําคัญ : ฝายชะลอน้ํา, ความชื้นในดิน, ลําปาง

ช่ืองานวิจัย การเปรียบเทียบความชื้นในดินบริเวณท่ีมีฝายชะลอน้ํากับบริเวณท่ีไมมีฝาย

ชะลอน้ํา ณ บริเวณผืนปามอนพระยาแช จังหวัดลําปาง

คณะผูวิจัย เด็กชายไมค เทโอดอร พลัตเต และเด็กชายณัฏฐชัย เตชะนิเวศน

ระดับช้ัน ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางกัญญารัตน สุมนะ

โรงเรียน อนุบาลลําปาง (เขลางครัตนอนุสรณ) อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายปรีชา ศรีมาลา

Page 9: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 8

ช่ืองานวิจัย การตรวจสอบคุณภาพน้ําของแมน้ําปง บริเวณทาเรือหางแมงปอง อําเภอเมือง

จังหวัดเชียงใหม

คณะผูวิจัย เด็กชายพัทธดนย คงคลอง เด็กหญิงธนัชพร จันตาใหม

เด็กหญิงธัญลักษณ แสงคํา เด็กธนาภา วิธารติรวัฒน

เด็กชายธรรมรัฐ บุญเซียม เด็กหญิงนภัสสร กันเงิน

เด็กชายพงศชนะ สุภาพ เด็กหญิงธัญจิรา ชัยศรี

เด็กหญิงอภิญญา ใจบุญเรือง เด็กหญิงนริศรินทร ยะจอม

เด็กหญิงชนากานต จิตรอมร และเด็กหญิงธัญชนก กาลิน

ระดับช้ัน ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางจันทรนภา ลือชา และนางอาภรณ วิไลกุล

โรงเรียน โรงเรียนดาราวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.อนงค อินตาพรหม

บทคัดยอ

การตรวจสอบคุณภาพน้ําของแมน้ําปง บริเวณทาเรือหางแมงปอง อ.เมือง จ.เชียงใหม ไดทําการ

ตรวจวัดคุณภาพน้ําตามหลักการของ GLOBE และวิเคราะหสมบัติของน้ําท่ีมีการตรวจวัด คือ ความโปรงใส คา

pH ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้ํา และอุณหภูมิ พบวา คุณภาพน้ําดานกายภาพของแมน้ําปง บริเวณทาเรือ

หางแมงปอง อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม คาเฉลี่ยของอุณหภูมิของน้ํา (Temperature) คือ 22.2oC และน้ํา

มีความขุนมาก มีคาเฉลี่ยความโปรงใสของน้ํา (Transparency) 21.7 cm คุณภาพน้ําดานเคมี มีปริมาณ

ออกซิเจนท่ีละลายในน้ํา (DO)อยูในระดับท่ีนอยเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ํา โดยมีคาเฉลี่ย คือ 2.7

mg/L คาความเปนกรด เบส ของน้ําเหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตในน้ํา (pH) คาเฉลี่ย คือ 7.1 และคาอุณหภูมิ มี

ความสัมพันธในทางบวก ในระดับสูง กับความโปรงใสของน้ํา อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.01

คําสําคัญ : คุณภาพน้ําดานกายภาพ, คุณภาพน้ําดานเคมี, แมน้ําปง

Page 10: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 9

ช่ืองานวิจัย ผลกระทบจากกิจกรรมมนุษยตอความหลากหลายของแพลงกตอนสัตวและ

คุณภาพน้ําในแมน้ํามูล เขตเทศบาล อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร

คณะผูวิจัย เด็กหญิงญาดา ศรีอินทร เด็กหญิงอรัญญา ทองนํา

และเด็กชายธวัชชัย ยางสุข

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายวิธิวัติ รักษาภักดี

โรงเรียน ทาตูมประชาเสริมวิทย อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.ยุพเยาว โตคีรี ดร.คุณภัทร นาคนชม และดร.ประดับ เรียนประยูร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร

บทคัดยอ

การศึกษาความหลากชนิดและความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพและเคมีบางประการของน้ํา

เนื่องจากกิจกรรมมนุษยกับความหลากชนิดของแพลงกตอนสัตวในแมน้ํามูล อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร

ดังนั้นจึงทําการเก็บตัวอยางเชิงคุณภาพโดยใชถุงลากแพลงกตอนขนาดตา 60 ไมโครเมตร จากบริเวณท่ีไมผาน

กิจกรรมมนุษย คือสถานีตนน้ํา และสถานีท่ีผานกิจกรรมมนุษย คือสถานีน้ําท้ิงจากชุมชน สถานีเพาะเลี้ยงปลา

ในกระชัง สถานีน้ําท้ิงภาคเกษตรกรรมและสถานีทายน้ํา เก็บตัวอยาง 2 ชวง คือกอนมรสุมและหลังมรสุม

การวิจัยพบความหลากชนิดของแพลงกตอนสัตวในแมน้ํามูล อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร ท้ังสิ้น 67

ชนิด พบในชวงหลังมากมรสุมกวาชวงกอนมรสุม คือ 48 และ 42 ชนิดตามลําดับ และพบวากิจกรรมมนุษย มี

ผลตอคุณภาพน้ําในแมน้ํามูลจริง ชวงระดับน้ําต่ําสุดแมน้ํามูลมีคุณภาพน้ําปานกลางถึงไมดี พบแพลงกตอน

สัตวชนิดเดนท่ีบงชี้คุณภาพน้ําไดแก Bosmina fatalis, Brachionus fulcatus,Cyclopoida, ตัวออนระยะ

Nauplius ของโคพีพอด, Euglena sp., Phacus sp. และ Lecane blachei ชวงระดับน้ําสูงสุดแมน้ํามูลมี

คุณภาพน้ําดีถึงปานกลาง พบแพลงกตอนสัตวชนิดเดนท่ีบงชี้คุณภาพน้ําไดแก Cyclopoida, ตัวออนระยะ

Nauplius ของโคพีพอด, Ostracoda, Hydra, Vorticella sp. และ Cephalodella sp.

คําสําคัญ : แพลงกตอนสัตว, ความหลากหลาย, แมน้ํามูล

Page 11: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 10

ช่ืองานวิจัย การศึกษาปจจัยแวดลอมของเชื้อรา Beauveria bassiana ท่ีมีผลตอการตาย

ของแมลงวัน

คณะผูวิจัย เด็กชายชนาธิป กมลนัด และเด็กชายดนุพล ระดมทอง

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายชุมพล ชารีแสน

โรงเรียน ดอนจานวิทยาคม อําเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายศุภฤกษ วิภาคะ นักวิชาการสงเสริมการเกษตร

บทคัดยอ

การศึกษาปจจัยแวดลอมของเชื้อรา Beauveria bassiana ท่ีมีผลตอการตายของแมลงวัน ไดศึกษา

เพ่ือใชเชื้อรา Beauveria bassiana กําจัดแมลงวัน และศึกษาปจจัยแวดลอมของเชื้อราท่ีมีผลตอการตายของ

แมลงวัน โดย การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อรา หาชวงเวลาท่ีเหมาะสม รวมท้ังเปรียบเทียบความชื้นสัมพัทธ

ท่ีมีผลตอการตายของแมลงวัน และเปรียบเทียบวิธีการกําจัดแมลงวัน พบวาการใชเชื้อรา

Beauveria bassiana สามารถกําจัดแมลงวันได โดยชวงเวลา 16.30 น. เปนชวงเวลาท่ีสามารถทําใหแมลงวัน

ตายไดมากท่ีสุด สวนการเพ่ิมความชื้นสัมพัทธใหมากข้ึนจะทําใหเชื้อรา ทําใหแมลงวันตายไดมากข้ึน และ

วิธีการกําจัดแมลงวันโดยทําใหสารละลายเชื้อราสัมผัสกับแมลงวันมากท่ีสุด พบวา การแชอาหารแมลงวันใน

สารละลายเชื้อราสามารถทําใหแมลงวันตายมากวาการฉีดพนสารละลายเชื้อราเพียงเล็กนอย จึงควรสงเสริมให

ใชเชื้อรา Beauveria bassiana ในการจําจัดแมลงวันเพ่ือลดการใชสารเคมีตอไป

คําสําคัญ : ปจจัยแวดลอม, เชื้อรา Beauveria bassiana, แมลงวัน

Page 12: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 11

ช่ืองานวิจัย การระบุชนิดพันธุ ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรและการขยายพันธุ

ของตนหมอขาวหมอแกงลิงท่ีสํารวจพบในอําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา

คณะผูวิจัย เด็กหญิงอรวีร ชีวาจร และเด็กหญิงณัฐนิชา รักมิตร

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายชิด วงคใหญ

โรงเรียน พนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา -

บทคัดยอ

การระบุชนิดพันธุ ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรและการขยายพันธุ ของตนหมอขาวหมอแกงลิง ท่ี

สํารวจพบในอําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทราไดทําการศึกษาโดยสํารวจตนหมอขาวหมอแกงลิงในเขต

อําเภอพนมสารคามจํานวน 3 แหลง ไดแก บริเวณหมูบานเขาหินซอน บานบึงตาจันทรและบานแหลม

ตะครอ ไดตรวจสอบชนิดพันธุจากคูมือและเอกสารตางๆ พบวาเปน ชนิดพันธุ Nepenthes mirabilis

จากนั้นไดสํารวจสภาพพ้ืนท่ีบริเวณท่ีพบตนหมอขาวหมอแกงลิง ซ่ึงพบวาบริเวณท่ีสํารวจเปนดินท่ีมีความชื้น

สูง พ้ืนดินชื้นแฉะ อยูใกลบริเวณแหลงน้ําบางจุดมีน้ําขัง การตรวจวัดคา pH ของดินพบวาอยูในชวง 6-7

และเปนบริเวณท่ีแสงแดดสองถึงตลอดท้ังวัน

การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรของตนหมอขาวหมอแกงลิงสายพันธุ N. mirabilis พบวา เปนไม

เลื้อย ตนแยกเปนตนเพศผูและตนเพศเมีย ลําตนกลม สีเขียว ใบออนสีน้ําตาลเม่ือแกข้ึนสีจะเขียว สวนปลาย

ใบเปลี่ยนรูปเปนกระเปาะหรือหมอทําหนาท่ีดักแมลง ภายในกระเปาะมีของเหลวใสมีฤทธิ์เปนกรด โดย

ของเหลวในกระเปาะปดมีคา pH 5-7 สวนกระเปาะเปดมีคา pH 2-5 ดอกแยกตามประเภทของตน เปนแบบ

ชอดอกประเภท Raceme เมล็ดมีความยาวอยูในชวง 9-16 มิลลิเมตร จํานวนเมล็ดอยูในชวง 261–388

เมล็ดตอฝก รากเปนระบบรากฝอยแตกออกตามขอปลองท่ีถูกดินกลบ

การศึกษาการขยายพันธุดวยวิธีการเพาะเมล็ดพบวามีอัตราการงอกรอยละ 21.40 ± 7.82 การชําใน

ดินมีอัตราการชําติดรอยละ 68.00 ± 6.32 และการแยกหนอมีอัตราการรอดรอยละ 100.00 ± 0.00

คําสําคัญ : หมอขาวหมอแกงลิง, N. mirabilis

Page 13: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 12

ช่ืองานวิจัย อัตราการเจริญเติบโตของหอยนางรมกับคุณภาพน้ํา บริเวณอาวบานดอน

อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกนกพรรณ รุงเรือง และเด็กหญิงวรรณวิภา หวยใส

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางภาณินี วรเนติวุฒิ และนางสมจิตต ตีบกลาง

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รศ.ดร กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

และ รศ.ดร มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

งานวิจัยเรื่องอัตราการเจริญเติบโตของหอยนางรมกับคุณภาพน้ํา บริเวณอาวบานดอน อําเภอ

กาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี มีวัตถุประสงค เพ่ือศึกษาการเจริญเติบโตของหอยนางรมขนาด ตาง ๆ กับ

คุณภาพน้ําและวิเคราะหความแตกตางของการเจริญเติบโตของหอยนางรมและนําผลของการวิจัยมาเปนขอมูล

พ้ืนฐานใหแกแหลงเรียนรูดานการประมงเพ่ืออนุรักษหอยนางรม โดยทําการเลี้ยงหอยนางรมแบบพวงอุบะ

แขวน วัดขนาดความยาว ความกวางและความหนาของหอยนางรมและคุณภาพน้ํา ในเดือน กุมภาพันธ

เมษายน และเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 พบวา หอยนางรมมีการเพ่ิมขนาดท้ังตามความกวาง ความยาว และ

ความหนา อัตราการเจริญเติบโตระหวางหอยนางรมขนาดเล็ก หอยนางรมขนาดกลางและหอยนางรมขนาด

ใหญ มีอัตราการขยายขนาดตามความกวาง ความยาวและความหนา แตกตางกัน อัตราการเจริญเติบโตของ

หอยนางรมตะโกรมกรามขาว (Crassostreabelcheri) ในขนาดความยาวสูงกวาขนาดกลางและขนาดใหญ

มาก สวนการขยายขนาดตามความหนาในครั้งแรกหอยนางรมขนาดเล็กมีการขยายขนาดต่ํากวาขนาดอ่ืนๆ

ครั้งท่ีสองหอยนางรมขนาดกลางมีการขยายขนาดต่ํากวาขนาดอ่ืน ๆ ทําใหสามารถสรุปไดวา หอยนางรมแตละ

ขนาดมีอัตราการเจริญเติบโตท่ีแตกตางกัน อัตราการตายของหอยนางรม พบวาหอยนางรมขนาดเล็กมีอัตรา

การตายมากท่ีสุด จํานวน 37 ตัวคิดเปน 74% ของจํานวนหอยนางรมท่ีตรวจวัดหอยขนาดกลางและขนาด

ใหญตายดวยอัตราท่ีใกลเคียงกันคือ 27 และ 26 ตัวคิดเปน 54% และ 52% ของจํานวนหอยท่ีตรวจวัด แสดง

วา หอยนางรมสวนใหญจะตายเม่ือมีขนาดเล็ก และอัตราการตายเริ่มคงท่ีท่ีหอยนางรมขนาดกลาง อุณหภูมิ

ของน้ําทะเลในเดือนกุมภาพันธสูงท่ีสุด มีคาเฉลี่ย 30 องศาเซลเซียส ต่ําสุดเดือนสิงหาคม มีคาเฉลี่ย 26.5

องศาเซลเซียส คา pH เดือนเมษายนมีคาสูงสุด ประมาณ 8 คาความเค็ม ในเดือนกุมภาพันธสูงท่ีสุด มีคา 30

ppt นอกจากนี้ พบวาบริเวณเปลือกของหอยนางรม มีสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด อาศัยอยูรวมกัน เชน ปู แม

เพรียง เพรียงภูเขาไฟ ตัวออนปะการัง ตัวออนดอกไม ทะเล แมลงสาบทะเล และลูกปลาเปนตน

คําสําคัญ : หอยนางรม, อัตราการเจริญเติบโต, คุณภาพน้ํา, กาญจนดิษฐ, สุราษฎรธานี

Page 14: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 13

ช่ืองานวิจัย ศึกษาการเจริญเติบโตของแมลงกนกระดก

คณะผูวิจัย เด็กหญิงจิตรติมา ชูสุริแสง และเด็กหญิงพัชรพร กลิ่นหอม

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางปนอนงค แสงมณี

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา -

บทคัดยอ

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช ตั้งอยูบริเวณท่ีเปนทุงนา ซ่ึงเหมาะแกการ

เจริญเติบโตของแมลงกนกระดก ซ่ึงมีอันตรายตอนักเรียน โดยท่ีแมลงชนิดนี้มีน้ํากรดอยูท่ีบริเวณกน หาก

นักเรียนโดนน้ํากรดนั้นจะทําใหเกิดแผลพุพอง และมีนักเรียนเปนจํานวนมากท่ีโดนท้ังบริเวณ แขน ขา ใบหนา

ลําคอ ซ่ึงแผลเหลานี้ใชเวลาในการรักษาประมาณ 2 สัปดาห และยังเปนแผลเปนอีกดวย งานวิจัยนี้ศึกษา

วัฏจักรชีวิต สภาพอากาศ อุณหภูมิ ความชื้น แหลงท่ีอยูท่ีเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของแมลงกนกระดก

เพ่ือจะนําขอมูลท่ีไดมาเปนแนวทางในการกําจัดแมลงกนกระดก ไมใหระบาดภายในโรงเรียน พรอมท้ังศึกษา

สภาพแวดลอมแหลงท่ีอยู ท่ีเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของแมลงกนกระดก

ศึกษาแหลงท่ีอยูอาศัยของแมลงกนกระดก รอบๆ หอพัก ดวยวิธีการนับจํานวนแมลงกนกระดกใน

หอพักสัปดาหละ 2 ครั้ง (วันจันทรและวันพุธ) วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ และสํารวจสภาพอากาศบริเวณท่ี

สํารวจ ทําการถายรูปและเก็บตัวอยางแมลงกนกระดก บันทึกผล ผลการศึกษาพบจํานวนดวงกนกระดกในแต

ละเดือน ขอมูลสภาพอากาศท่ีเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของดวงกนกระดก อุณหภูมิท่ีมีผลตอการ

เจริญเติบโตของแมลงกนกระดก และไดทราบวัฏจักรชีวิตของแมลงกนกระดก

คําสําคัญ : แมลงกนกระดก, อุณหภูมิ, สภาพอากาศ, แผลพุพอง, การเจริญเติบโต

Page 15: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 14

ช่ืองานวิจัย ศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของดินแปลงปลูกออยหลังการเผา (ชีวมวล)

และแปลงปลูกออยปกติ ในเขตพ้ืนท่ีอําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

คณะผูวิจัย เด็กหญิงเพ็ญพิชชา เสี้ยมแหลม เด็กหญิงปภัสรา ไชยรินทร

และเด็กหญิงผกามาศ อาจผักปง

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางศศิธร สิทธิ

โรงเรียน ภูเขียว อําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รศ.ดร.สมพงษ ธรรมถาวร และผศ.ดร.อัจฉรา ธรรมถาวร มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ

งานวิจัยศึกษาเปรียบเทียบสมบัติของดินแปลงปลูกออยหลังการเผา (ชีวมวล) และแปลงปลูกออยปกติ

มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาสมบัติของดินในแปลงปลูกออยหลังการเผาและแปลงปลูกออยปกติ (ไมเผา) ไดแก

โครงสรางของดิน (Soil Structure) เนื้อดิน (Soil Texture) ความยึดตัวของดิน (Soil Consistence) สีดิน

ความชื้นในดิน คา pH ของดิน คาการนําไฟฟาของดิน ความอุดมสมบูรณของดิน (Soil Fertility) คารบอเนต

อิสระในดิน และการกระจายตัวของอนุภาคดิน (Soil Particle size Distribution) ผลการศึกษาพบวา

โครงสรางของดินเปนแบบเม็ด (Granular) มีลักษณะคลายกอนขนมคุกก้ีท่ีแตกรวนมีขนาดเสนผานศูนยกลาง

เล็กกวา 0.5 เซนติเมตร มักพบในดินชั้นบนท่ีมีอินทรียวัตถุปนและรากพืชเจริญเติบโตอยู การยึดตัวดินแนน

มาก ไมสามารถแตกตัวไดดวยการบีบจากนิ้ว สีของดินพบวาในแปลงท่ีเผาท่ีระดับความลึก 1-10, 11-20 และ

21-30 เซนติเมตร มีคา 10 YR 5/3, 10YR3/3 และ 10 YR 4/3 ตามลําดับ และในแปลงไมเผามีคา

7.5 YR 4/2, 7.5 YR 2.5/3 และ10 YR 3/4 ตามลําดับ การตรวจวัดความชื้นในดิน พบวาแปลงท่ีเผาโดยเฉลี่ย

11.03 แปลงท่ีไมเผาโดยเฉลี่ย 13.0 สําหรับคา pH ของดินพบวาแปลงท่ีเผา 6.8 และแปลงไมเผา 6.3 การ

ตรวจวัดคาการนําไฟฟาของดิน (Soil EC) พบวาแปลงเผา 114.6 และแปลงไมเผา 146.70

สําหรับการตรวจวัดความอุดมสมบูรณของดินพบวา แปลงท่ีเผามีปริมาณโพแทสเซียม (K) ต่ํา มี

ความเขมขนนอยกวา 60 ปริมาณฟอสฟอรัส (P) ปานกลาง มีความเขมขน 10-40 มีอินทรียวัตถุ สูงมาก

ปริมาณอินทรียวัตถุมากกวา รอยละ 3.5 ความตองการปูนของดิน 6.4 คา pH 6.40 หินปูน 507 โดโลไมท

466 ปูนขาว 375 คาความเปนกรด-ดาง ของดิน มีคา pH 6.7 เปนกรดเล็กนอย ในสวนของแปลงท่ีไมเผามี

ปริมาณโพแทสเซียม (K) ต่ํา มีความเขมขนนอยกวา 60 มีปริมาณฟอสฟอรัส (P) ปานกลาง มีความเขมขน

10-40 มีอินทรียวัตถุสูงมาก ปริมาณอินทรียวัตถุมากกวา รอยละ 3.5 ความตองการปูนของดิน 6.2 คา pH

6.20 หินปูน 697 โดโลไมท 641 ปูนขาว 516 คาความเปนกรด-ดางของดิน มีคา pH 6.3 เปนกรดเล็กนอย

การกระจายตัวของอนุภาคดินท่ีพบเปนดินเหนียวซ่ึงวัดได 15% ปริมาณคารบอเนตอิสระมีสะสมในดินเพียง

เล็กนอย ไมเกิดฟอง จากการศึกษาเปรียบเทียบสมบัติของดินแปลงปลูกออยหลังการเผาและแปลงปลูกออย

ปกติ ดินมีสมบัติไมแตกตางกัน

คําสําคัญ : ออย, สมบัติของดิน, ชีวมวล, อําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

Page 16: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 15

ช่ืองานวิจัย การบําบัดน้ําเสียตามทอระบายน้ําท้ิงดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญา

ทองถ่ินชนิด Dual

คณะผูวิจัย เด็กหญิงภัทราพร บุญรักษ และเด็กหญิงอัญชิสา สถิตโสฬส

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางลําดวน บุญรังษี

โรงเรียน สงวนหญิง อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นางสาวชวนพิศ บุญยอย ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม จังหวัดปทุมธานี

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือเตรียมสารชีวภาพชื่อจุลินทรีย ส.ญ. นําจุลินทรีย ส.ญ. มาบําบัดน้ํา

เสียตามทอระบายน้ํา โดยใชเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ินซ่ึงทําหนาท่ีเติมจุลินทรียส.ญ.แบบ

อัตโนมัติเพ่ือประหยัดพลังงาน และศึกษาความพึงพอใจของบุคคลากรในโรงเรียนสงวนหญิงท่ีมีตอการบําบัด

น้ําเสียโดยใชเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ินทําหนาท่ีเติมจุลินทรีย ส.ญ. โดยไดเตรียมสารชีวภาพ

ชื่อจุลินทรีย ส.ญ., ประดิษฐเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ินทําหนาท่ีเติมจุลินทรีย ส.ญ. โดยวางไว

ระหวางอาคาร 6 กับอาคาร 9 และทําแบบสอบถามความพึงพอใจของบุคคลากรในโรงเรียนสงวนหญิงท่ีมีตอ

การบําบัดน้ําเสียจากการเติมสารชีวภาพชื่อจุลินทรียส.ญ. โดยใชเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ิน

ผลการวิจัย 1) การเตรียมสารชีวภาพชื่อจุลินทรีย ส.ญ. ไดเตรียมจากการนํายีสต กากน้ําตาล น้ํา

มะพราว มาผสมกันดวยอัตราสวน 0.5:100:500 โดยมวลตอปริมาตร หมักท้ิงไว 7 วัน จะไดสารชีวภาพชื่อ

จุลินทรีย ส.ญ. ท่ีสามารถนําไปทําความสะอาดเครื่องแกวซ่ึงเปนอุปกรณวิทยาศาสตรพบวาเครื่องแกวใส

สะอาด การทําความสะอาดหองน้ํา พบวาหองน้ําไมมีกลิ่นและสะอาด และนําบําบัดน้ําเสียตามทอระบายน้ํา

ของโรงเรียนสงวนหญิง น้ําเสียท่ีผานการบําบัดพบวาคาละลายของแกสออกซิเจน (DO) ในน้ําจาก 12

มิลลิกรัม/ลิตรเปน 17 มิลลิกรัม/ลิตร น้ําจะใสและนําไฟฟาไดนอยลงสังเกตจากความสวางของหลอดไฟ 2)

เครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ินท่ีประดิษฐสามารถเติมจุลินทรีย ส.ญ.ตามทอระบายน้ําท้ิงไดอยาง

อัตโนมัติ โดยพบวาปริมาตรน้ําเสียท่ีไหลผานไมกระดกปริมาตร 600 ลูกบาศกเซนติเมตรจะทําใหฝาทอ PVC

เปดซ่ึงบรรจุจุลินทรียจะทําใหจุลินทรีย ส.ญ มาผสมกับน้ําเสียตามทอระบายน้ําดวยอัตราสวน 2.6:175 โดย

ปริมาตรเม่ือทดสอบน้ําท่ีผานการบําบัดพบวามีคา pH = 7.1 ใสไมมีกลิ่น นําไฟฟาไดนอยลง 3) ความพึง

พอใจของบุคคลากรท่ีมีการบําบัดน้ําเสียโดยใชเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ินอยูในระดับมาก ( x =

4.32 S.D.=0.64)

คําสําคัญ : เครื่องบําบัดน้ําเสียแบบภูมิปญญาทองถ่ิน, จุลินทรีย ส.ญ., การบําบัดน้ําเสีย

Page 17: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 16

ช่ืองานวิจัย การบําบัดน้ําเสียดวยสปริงเกอรพลังงานแสงอาทิตย

คณะผูวิจัย นายกานต ดีวัฒนวงศ และเด็กหญิงกัญญาวีร ฮังก

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายไพรัช แรงจบ

โรงเรียน พรตพิทยพยัต เขตลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารยกาจปญญา สุวรรณสุโข

บทคัดยอ

การบําบัดน้ําเสียดวยสปริงเกอรพลังงานแสงอาทิตยนี้ มีจุดประสงคเพ่ือบําบัดน้ําเสียระบบสปริง

เกอรและประหยัดพลังงานโดยการใชเซลลพังงานแสงอาทิตย สามารถเพ่ิมปริมาณออกซิเจนในน้ําได การวิจัย

นี้ไดทําการทดลองกับสระน้ําหลังอาคาร 3 มีขนาด 30m x 12m x 1.5m ซ่ึงกอนทําการวิจัยวัดคา DO ได 1.5

และหลังทําการวิจัยเปนเวลา 30 วันโดยใชสปริงเกอรพนน้ําเปนเวลา 1 ชั่วโมงตอวัน

ผลการวิจัยท่ีไดพบวา คา DO ของบอไดเพ่ิมข้ึนเปน 4.3

คําสําคัญ : สปริงเกอร, การบําบัดน้ํา, น้ําเสีย, เซลลพลังงานแสงอาทิตย

Page 18: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 17

ช่ืองานวิจัย การศึกษาความสัมพันธระหวางสมบัติของดินกับพืชในพ้ืนท่ีบริเวณหนองบอ

บรบือ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม

คณะผูวิจัย เด็กหญิงศิริยากรณ สอนบาล เด็กหญิงศริกัญญาลักษณ ศรีนอย

และเด็กหญิงกัญญารัตน คําโม

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางกุลวดี ผานจังหาร

โรงเรียน บรบือวิทยาคาร อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รศ ดร.ชาลี นาวานุเคราะห และผศ.ดร.ธวัดชัย ธาน ี

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

บทคัดยอ

ดินเค็มเปนปญหาดานทรัพยากรดินท่ีสงผลกระทบตอการเกษตรและสิ่ งแวดลอมของภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือมาอยางยาวนาน เนื่องจากใตพ้ืนดินของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแหลงหินเกลือขนาด

ใหญอยูในหมวดหินมหาสารคามกลุมหินโคราช จากการสังเกตบริเวณพ้ืนท่ีอางเก็บน้ําหนองบอบรบือ

อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปรากฏเห็นคราบเกลือโดยเฉพาะฤดูแลงจะเห็นมากท่ีสุด บางพ้ืนท่ีไมมีพืช

ข้ึนเลย บริเวณท่ีมีพืชข้ึนนั้นจะมีพืชชนิดเดียวกันข้ึนจะไมมีพืชชนิดอ่ืนข้ึนปะปนเลย โดยท่ัวไปสภาพปกติใน

ฤดูฝน เม่ือฝนตกดินจะมีความชื้น พืชพรรณตางๆจะเจริญเติบโต แตปรากฏวาไมมีพืชเจริญเติบโตเลย พืชท่ี

ข้ึนก็จะข้ึนเปนบางชนิด ซ่ึงอาจมีสาเหตุหลายประการท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชในพ้ืนท่ี ดังนั้น

คณะผูวิจัย จึงไดศึกษาความสัมพันธระหวางสมบัติของดินกับพืชในพ้ืนท่ีบริเวณหนองบอบรบือ อําเภอบรบือ

จังหวัดมหาสารคาม การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางสมบัติของดินกับพืช

ในพ้ืนท่ีบริเวณหนองบอบรบือ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โดยสุมเก็บตัวอยางในบริเวณ 3 จุด ซ่ึง

จะศึกษา 3 จุด คือ จุดท่ีไมมีพืชข้ึนเลย จุดท่ีมีกระถ่ินณรงค และจุดท่ีมีตนกก สถิติท่ีใชในการวิเคราะห

ขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย รอยละ

ผลการศึกษาพบวาดินบริเวณท่ีไมมีพืช ดินบริเวณท่ีมีตนกระถ่ินณรงค มีคา pH (5.9) อยูระดับกรด

ปานกลาง และดินบริเวณท่ีมีตนกก มีคา pH (5.5) อยูระดับกรดจัด ซ่ึงพ้ืนท่ีท้ัง 3 บริเวณมีคาความเปนกรด-

เบส แตกตางกัน ความหนาแนนรวมของดินบริเวณท่ีไมมีพืช(1.01) สูงกวาดินบริเวณท่ีมีดินบริเวณท่ีมีตนกก

และดินบริเวณตนกระถ่ินณรงค และ (0.83,0.83) ดินบริเวณท่ีมีตนกก (1.80) จะมีความชื้นในดินมากกวาดิน

บริเวณท่ีมีตนกระถ่ินณรงค และดินบริเวณท่ีไมมีพืช (1.20,1.16) ดินบริเวณท่ีมีตนกก (1.009) จะมี

อินทรียวัตถุมากกวาดินบริเวณท่ีมีตนกระถ่ินณรงคและดินบริเวณท่ีไมมีพืช (0.373, 0.284) สวนดินบริเวณท่ีไม

มีพืช (3.09) จะนําไฟฟาไดดีกวาดินบริเวณท่ีมีตนกระถ่ินณรงคและดินบริเวณท่ีมีตนกก (1.43,0.58)

คําสําคัญ : สมบัติของดิน, ดินเค็ม, กก, กระถ่ินณรงค

Page 19: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 18

ช่ืองานวิจัย การศึกษาปริมาณของแพลงกตอนพืชสกุลเดนบริเวณแหลมแสมสาร

อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

คณะผูวิจัย นายสัทธนะ เสียงเสนาะ และนายชลธร บัวอุย

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสุนันท พุทธภูมิ

โรงเรียน พลูตาหลวงวิทยา อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุร ี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.วิชญา กันบัว ดร.สลิล ขันโรจน และดร.กัญจนชญา หงสเลิศคงสกุล

มหาวิทยาลัยบูรพา

บทคัดยอ

การศึกษาปริมาณแพลงกตอนพืชสกุลเดนบริเวณแหลมแสมสาร อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี โดยเก็บตัวอยาง

ทุกเดือนๆ ละ 2ครั้ง ตั้งแตเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคม 2556 จํานวน 2 สถานี โดยใชถุงแพลงกตอนขนาด

20 ไมครอน พบแพลงกตอนพืช 2 สกุลเดน คือ Chaetoceros และ Rhizosolenia โดยปริมาณแพลงกตอน

พืชมีคาเฉลี่ยต่ําสุดในเดือนเมษายน-พฤษภาคม และมีคาเฉลี่ยสูงสุดในเดือนสิงหาคม เม่ือวิเคราะห

ความสัมพันธระหวางสมบัติกายภาพกับปริมาณแพลงกตอนพืช พบวา เม่ืออุณหภูมิน้ําทะเลสูง ปริมาณแพลงก

ตอนพืชจะลดลง สําหรับสมบัติกายภาพอ่ืนๆ ไดแก คา pH ความเค็ม ความขุนใส มีคาเฉลี่ยเปนไปตามคาปกติ

ของสมบัติกายภาพ จึงไมพบวามีความสัมพันธกับปริมาณแพลงกตอนพืช

คําสําคัญ : แพลงกตอนพืชสกุลเดน, ปริมาณ, สมบัติกายภาพน้ําทะเล, แหลมแสมสาร

Page 20: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 19

ช่ืองานวิจัย การบําบัดน้ําสียอมโดยกระบวนการโฟโตคะตะลิสตรวมกับการดูดซับ

คณะผูวิจัย นายอภิสิทธิ์ นันคํา และนางสาวสุริฉาย จันทรอบ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา

โรงเรียน กระแชงวิทยา อําเภอกันทรลักษ จังหวัดศรีสะเกษ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผศ.ดร.สุวัฒน ผาบจันดา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

บทคัดยอ

ชาวบานในตําบลกระแชง อําเภอกันทรลักษ มีการทอผาไหมเปนอาชีพหลักและอาชีพเสริม การทอผาไหมมี

การยอมสี หลังจากยอมสีแลวจะเทน้ําสียอมทิ้ง โดยไมมีระบบจัดการน้ําทิ้ง สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและแหลงน้ํา

ของชาวบาน น้ําสียอมมีโลหะหนักเปนพิษ เชน โครเมียม (Cr) ตะก่ัว (Pb) แมงกานีส (Mn) แคดเมียม (Cd) ทองแดง

(Cu) และปรอท (Hg) (ชุติมา คูคูสมุทร. 2550) มีปริมาณออกซิเจนที่ใชในการยอยสลายสารอินทรีย (คาบีโอดี) สูงถึง

800 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อชาวบานนําน้ําไปอุปโภคก็ทําใหไดรับสารพิษ คณะผูศึกษาจึงสนใจจะบําบัดและดูดซับ

สารเคมีออกจากน้ําสียอม โดยคิดคนและสรางสิ่งประดิษฐที่จะชวยในเร่ืองของการบําบัดน้ําสียอม ใหนําน้ําที่ใชแลวนํา

กลับมาใชซํ้าโดยไมทิ้งลงสูธรรมชาติหรือทิ้งก็จะไมเปนมลภาวะตอสิ่งแวดลอม โดยเลียนแบบเคร่ืองกรองน้ํา คือ การ

ดูดซับรวมกับกระบวนการโฟโตคะตะลิสต (Photocatalytic Oxidation) แลวเปรียบเทียบคุณภาพน้ํากอนและหลัง

การบําบัด

ผลการศึกษา ไดออกแบบเคร่ืองบําบัดน้ําสียอม ประกอบดวย 4 สวน คือ ถังแช โดยนําน้ําสียอมแชในเถา

แกลบเปนเวลา 120 ชั่วโมง แลวผานน้ําออกมาสูถังบําบัด ถังใบที่ 2 ที่มีเถาแกลบ และถังใบที่ 3 ที่มีทราย สูถังใบที่ 4

ที่ใชกระบวนการโฟโตคะตะลิสต โดยใชไททาเนียมไดออกไซด เปนตัวเรงปฏิกิริยาดวยแสง สามารถสลายน้ําสียอมได

โดยใชพลังงานแสงจากดวงอาทิตยเปนเวลา 48 ชั่วโมง พลังงานแสงจากหลอด UV ขนาด 20 วัตต ใชเวลา 3 ชั่วโมง

หลังการบําบัดน้ําสียอม พบวา สีของน้ําแตกตางกันอยางชัดเจน คือ น้ําสียอมกอนบําบัด มีสีเขม หลังบําบัด ไดน้ําใส

ที่ไมมีสี ผลการวิเคราะห คา pH กอนและหลังการบําบัดมีคาแตกตางเล็กนอย ผลตรวจวัดคุณภาพน้ํา พบวา รอยละ

การลดลงปริมาณออกซิเจนที่ใชในการยอยสลายสารอินทรีย (BOD) ปริมาณโครเมียม (Cr) , แมงกานีส (Mn) ,

ทองแดง (Cu) และปรอท (Hg) มีคาเทากับ 97.82 , 94.90 , 89.58 , 100 และ 100 ตามลําดับ ในน้ําสียอม สีแดง

และ 87.23 , 99.07 , 61.59 , 100 และ 100 ตามลําดับ ในน้ําสียอม สีน้ําเงิน การใชไททาเนียมไดออกไซดใน

กระบวนการโฟโตคะตะลิสตรวมกับการใชวัสดุดูดซับที่เปนของเหลือใชจากการเกษตรและวัสดุธรรมชาติที่หาไดงายใน

ทองถ่ิน คือ ถานแกลบและทราย สามารถบําบัดน้ําสียอมได ซึ่งวัสดุเหลานี้หากใชงานไปแลวเกิดการอุดตัน ก็ยัง

สามารถนําออกมาลางแลวใชใหมไดหรือจะประยุกตเปนอิฐบล็อกประสานก็ได

คําสําคัญ : น้ําสียอม, การดูดซบั, กระบวนการโฟโตคะตะลสิต

Page 21: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 20

ช่ืองานวิจัย ปจจัยสิ่งแวดลอมท่ีมีผลตอพัฒนาการของใบหูกวางบริเวณโรงเรียนเตรียม

อุดมศึกษา จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คณะผูวิจัย นายสิริภูมิ บุญนํามา นางสาวณัฏฐภรณ ศรีทิพยวรรณ

และนางสาววิณัฏชรินทร เกตุพันธ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางทิพยอาภา ศรีวรางกูล

โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา เขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รศ.ดร.สมพงษ ธรรมถาวร

บทคัดยอ

ตนหูกวางในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาท่ีเคยผลิตาใบในปลายเดือนมกราคม และมีการผลิตาเร็วข้ึนใน

เดือนธันวาคม จึงสงสัยวาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศมีผลตอชวงเวลาในการผลิตาใบ และการ

เปลี่ยนสีใบ ขนาดใบของตนหูกวางหรือไม จึงไดทําการศึกษาหาความสัมพันธของชวงวันเริ่มผลิตาใบและการ

เปลี่ยนสีใบของตนหูกวางกับอุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยและความชื้นสัมพัทธของอากาศ โดยใชวิธีการ

ตรวจวัดปจจัยดังกลาวตามหลักวิธีดําเนินการมาตรฐานของ GLOBE และนําขอมูลมาวิเคราะหหาความสัมพันธ

คณะผูวิจัยพบวา ชวงวันเริ่มผลิตาใบมีแนวโนมเร็วข้ึน เม่ืออุณหภูมิเฉลี่ยใกลเคียงกันปริมาณน้ําฝน

สะสมสูงข้ึนเล็กนอย และความชื้นสัมพัทธใกลเคียงกัน จะเห็นไดวา ในชวงเวลาเริ่มผลิตาใบของตนหูกวาง

ระหวางป พ.ศ. 2552 – 2556 นั้น สภาพภูมิอากาศใกลเคียงกัน แตท่ีเปลี่ยนแปลงคือ ชวงวันท่ีเร็วข้ึน สวนสี

ของใบ ปท่ีอุณหภูมิสูง ใบจะเปลี่ยนสีเขมเร็วกวาชวงท่ีอุณหภูมิต่ํากวา นาจะเปนสัญญาณท่ีแสดงวาฤดูรอน

ยาวนานข้ึน ดังนั้นควรดําเนินการศึกษาวิจัยอยางตอเนื่อง เพ่ือรวบรวมขอมูลเก่ียวกับสภาพภูมิอากาศของ

ทองถ่ินและการตอบสนองของพืชชนิดอ่ืนในบริเวณตางๆ และเปรียบเทียบกัน ท้ังนี้เพ่ือจะไดทราบถึงผลการ

เปลี่ยนสภาพแวดลอมท่ีมีตอพืช เพ่ือใหเกิดความตระหนักตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของทองถ่ินและ

ของโลก

คําสําคัญ : พัฒนาการของใบหูกวาง, การผลิตาใบ, การเปลี่ยนสีของใบ, ปจจัยสิ่งแวดลอม

Page 22: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 21

ช่ืองานวิจัย ศึกษาการบําบัดน้ําเสียดวยบึงเลียนแบบธรรมชาติโดยใชพืชในทองถ่ิน

คณะผูวิจัย นางสาววรินทิพย จักนามล และนางสาวอัญชลี ภารสําเร็จ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายชุมพล ชารีแสน

โรงเรียน ดอนจานวิทยาคม อําเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา -

บทคัดยอ

ศึกษาการบําบัดน้ําเสียดวยบึงเลียนแบบธรรมชาติโดยใชพืชในทองถ่ิน จัดทําข้ึนเพ่ือศึกษาความ

เปนไปไดดานเทคนิคในการใชพืชในทองถ่ินบางชนิด ในการบําบัดน้ําเสียโดยบึงเลียนแบบธรรมชาติ และ

ศึกษาประสิทธิภาพการบําบัดคา DO, pH , อุณหภูมิ ปริมาณฟอสเฟตและ ปริมาณไนเตรต โดยบึงประดิษฐ

เลียนแบบบึงธรรมชาติท่ีมีความหนาแนนของพืชทองถ่ินบางชนิดท่ีตางกัน

จากผลการทดลอง พบวา ไดบึงเลียนแบบธรรมชาติท่ีสามารถบําบัดน้ําเสียได โดยบึงท่ีประดิษฐท่ี

สรางข้ึนมีขนาด 0.95 ตารางเมตร สูง 0.45 เมตร สามารถบําบัดน้ําเสียไดดวยอัตรา 15 ลิตรตอวัน โดย

บึงเลียนแบบธรรมชาติมีประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสีย คือบึงเลียนแบบธรรมชาติท้ังสองชนิดมีคาบําบัดน้ํา

เสียไดใกลเคียงกัน โดยบึงมหาหงสสามารถเพ่ิมคา DO ไดดีท่ีสุด คือ 4 มิลลิกรัมตอลิตร ลดคา pH ใหมีคา

เทากับ 7 วัดอุณหภูมิของน้ําไดต่ําลง คือ 23 องศาเซลเซียส ซ่ึงแสดงใหเห็นวาบึงเลียนแบบธรรมชาติท่ี

สรางข้ึนสามารถบําบัดน้ําเสียได และการบําบัดน้ําเสียท่ีใชความหนาแนนของพืชแตกตางกัน พบวา จากการ

เพ่ิมปริมาณตนพืชท้ังสองชนิดข้ึน มีแนวโนมในการบําบัดน้ําเสียดีข้ึน โดยพบวา การวัดคา DO มีคาเพ่ิมข้ึน

คือ 4 มิลลิกรัมตอลิตร ลดคาฟอสเฟตในน้ําไดเหลือเพียง 0.025 มิลลิกรัมฟอสฟอรัสตอลิตร และลด

อุณหภูมิของน้ําไดโดยวัดได 23 องศาเซลเซียส

คําสําคัญ : บําบัดน้ําเสีย, บึง, มหาหงส, เอ้ืองหมายนา

Page 23: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 22

2014 GLOBE Learning Expedition (GLE) New Delhi, India 3 - 8 August 2014

Page 24: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 23

New Delhi, India 3 - 8 August 2014

The GLOBE Program Office, GLOBE India and the GLOBE Asia and Pacific Region are pleased to announce the next GLOBE Learning Expedition and Annual Partner Meeting are to be held in New Delhi, India, on 3 - 8 August 2014. We encourage all GLOBE student teams to begin to plan now for their research presentations. The GLE will provide an excellent venue for GLOBE students from around the world to interact with scientists and with each other. In addition to student presentations, there will be field activities, student art displays and cultural events. Student delegations and their supervisors may take part in optional tours beginning on 9 August 2014. More information on optional tours will be posted soon.

Theme:

GLOBE for Sustainable Communities (with a water quality focus).

Strands:

Four strands within this water theme are: 1. Water Quality (hydrology measurements) 2. Watersheds and Water Supply (precipitation, water bodies) 3. Hydrologic Cycle (precipitation, soil moisture, soil, surface and air temperatures, land cover-transpiration) 4. Water Quantity and Climate

Goal:

The goal of the 2014 GLE is to provide an opportunity for the worldwide GLOBE student community to learn from each other and strengthen GLOBE student understanding of Earth science through data collection and research activities around the world.

Objectives:

The event has the following objectives:

• To provide an opportunity for GLOBE students and teachers to showcase their research using GLOBE data;

• To provide GLOBE students and teachers an opportunity to learn from and interact with top level scientists;

Page 25: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 24

• To strengthen and engage the worldwide GLOBE school network by sharing examples from the GLE;

• To provide a platform for the GLOBE community to share information on how to leverage the GLE and other community events for the betterment of the GLOBE Program.

Date and Venue:

The event will occur from 4 to 8 August 2014 The venue will be: Hotel Mapple Emerald, Rajokri NH-8, New Delhi, India; in close proximity to Indira Gandhi International Airport in Delhi, India.

Activities:

The following activities will be carried out during the event:

• GLOBE Annual Partner Meeting (to be held on 3 August 2014) • Research presentations by GLOBE students and teachers • Keynote addresses by distinguished scientists, educators and supporters of GLOBE • Cultural activities by GLOBE Students* • Poster presentations by GLOBE Students • Hands-on demonstrations of GLOBE protocols and activities

* more information of these activities to be provided.

Submission of Paper and Poster Abstracts:

Paper and poster abstracts should be submitted to your Country Coordinator; in the event that your country does not have a Country Coordinator, abstracts should be submitted to your Regional Office representative. If your Country Coordinator is organizing a competition, he/she will be able to provide you with additional details. For consistency purposes, we ask all participants to submit their abstracts and papers to their Country Coordinators following the GLE Student Investigation Report Format guidelines. Find your regional and country page here.

All papers accepted for oral and poster presentations will be printed in the conference proceedings.

Visa and Travel:

GLE participants are requested to contact the Indian Consulate in their country regarding Visa requirements. Specifics about visa applications in your country should be available through an internet search. A good site to begin with is from the Bureau of Immigration. An invitation letter in support of your visa application is available here. If you require a personalized letter, please contact Ms. Katy Lackey at the GLOBE Program Office at [email protected].

Page 26: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 25

Indira Gandhi International Airport is the airport that attendees should fly into. More information can be obtained at this link: Indira Gandhi International Airport. Most major airlines fly into this airport. Registration fees:

Registration fees are listed in the table below. More information on registration fee payment options will be provided soon. Return to this page soon for more information.

Registration Fee USD

Participant Registration $225

Participant Spouse $175

GLOBE student and/or teachers accompanying student teams $100

The registration fee will include the following:

• Transportation to and from GLE venue from Delhi International Airport • Field visits, excursions, banquets, cultural program • Participation in GLE, display of exhibits, GLE poncho • Breakfast, lunch, dinner and refreshments for 6 days • Registration material, conference bag, pen, pad and GLOBE memento

All other costs (transportation to/from your home country, extra days not associated with GLE, etc.) are the responsibility of participants.

Accommodations:

Lodging has been negotiated for GLE participants at the following locations:

Hotel Saptagiri* $60 (single occupancy) $60 (double occupancy) $70 (triple occupancy)

Additionally, limited accommodation will be available at the International Youth Hostel*, rates will vary from Rs. 275/- per bed to Rs. 1400/- for a double room.

* Rates quoted are for the room and include breakfast and taxes.

Participants will be responsible for making their own reservations, unless otherwise noted. Contact information will be provided.

Page 27: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 26

2014 GLOBE Learning Expedition (GLE) Student Investigation Report and Poster Format

Page 28: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 27

2014 GLOBE Learning Expedition (GLE) Student Investigation Report and Poster Format

Sharing your findings with your peers and your community is a very important step in the scientific process. This part of the scientific method allows your peers to review the work and build on the results. The guidelines below will help you prepare your report for sharing with the GLOBE community. If you are submitting a poster, you can follow the same report guidelines, but abbreviated to fit a poster. Note: The scientific process steps are outlined on The GLOBE Program website (http://www.globe.gov/explore-science/student-zone/be-a-scientist/steps-in-the-scientificprocess). Students can refer to this as a guide for planning their investigations. Sample GLOBE Student Projects can also be found on the website (https://www.globe.gov/explore-science/student-zone/project-spotlights). Components of Report A. Title Page (Page One) The Title Page should have the report title, the names of the students (if parental consent has been obtained), the school, teacher, and date. B. Table of Contents (Page Two) The Table of Contents should outline the report and include page numbers. There should also be an “Acknowledgements” statement which credits those who assisted in the research, including individuals, businesses, and educational or research institutions, if appropriate. C. Body of the Report: The Body of the Report should include the following sections (1 – 10)

1. Abstract The abstract should be a brief description (200 words or less) that summarizes the entire contents of your report. A good abstract tells the reader what the research problem is about, what questions you asked, what objectives you set, which data and methods you used to research your question, and what conclusions you made from your research and recommendations for a way forward. Abstract follows this format:

ABSTRACT TITLE (Capital Letters Bold and Centered)

Name of the Authors (Centered) Presenting Author(s) Underlined

School name, Country The abstract body should contain no more than 200 words.

Page 29: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 28

Example abstract:

ASSESSING SATELLITE-BASED AEROSOL RETRIEVALS AND GROUND TRUTH VALIDATION FOR TERRA'S MODIS SENSOR OVER URBAN AREAS USING THE GLOBE

PROGRAM'S HANDHELD SUN PHOTOMETERS Melanie Benetato, Gianna D’Emilio, Jordan Glist, Chris Hanawalt:

Students Edmund Burke School, Washington, DC, USA

Frank Niepold, High School Science Teacher Edmund Burke School, Washington, DC, USA

Abstract The Edmund Burke School collected numerous GLOBE measurements from 2002 to the present. Working with David Brooks in his scientist, teacher, student partnership concept, Gianna D’Emilio, a Burke ninth grade student, expanded her 9th grade science fair project into a much larger undertaking. Gianna and three other students took aerosol measurements coinciding with the times of overflights of the Earth-observing spacecraft TERRA because "ground truth validation" is an essential component of any program that attempts to use space-based measurements to study Earth's atmosphere. The MODIS measurements collected on TERRA were used to calculate aerosol optical thickness (AOT) at several wavelengths. The team of students completed nine months of AOT measurements, refined the GLOBE Aerosol Protocol and has established a data analysis protocol to be used by another team of trained students as part of their long-term science education. The results presented in this paper are inconclusive due to a number of unknown variables. Although GLOBE’s ground validation yielded values 0.64 - 4.08 standard deviations below the MODIS AOT values, we cannot be sure whether this is due to procedural (systematic), or random discrepancies.

2. Research Question(s) This section should contain a clear statement of student-led research question(s) concerning some aspect of Earth’s environment that is (are) asked that will provide significant insight into both the topic of investigation and the research process. It should include what led you to ask the question(s), any background information that helps the reader understand the research question(s), and discussion about why the question(s) is (are) important and interesting. Answering the question(s) requires an advanced understanding of the subject matter. 3. Hypothesis Science is about finding answers to our questions about the world around us. Part of finding the answer is to test a hypothesis. A hypothesis is a tentative statement that proposes a possible explanation to some phenomenon, event or scientific problem that can be tested by further investigation. A useful hypothesis is a testable, measurable statement. The rest of the scientific process then helps us test if our hypothesis is supported by the data, or not. 4. Investigation Plan The investigation plan should clearly describe the student-led research process. The

Page 30: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 29

student-led research group should include up to a maximum of three students. The plan will distinctly define the roles of each student involved and the collaboration team (scientists, teachers, additional students or support from another GLOBE school). Additionally, the plan should include the steps to complete the project and the collaboration process. 5. Research Method (Materials and Method) The research method section focuses on how you preformed your data collection and analysis in order to answer your research question(s). Full advantage is taken of GLOBE protocols and a direct link is provided to answering the research question (e.g. the research question was answered using a combination of multiple GLOBE protocols). It should describe what GLOBE protocols you used, what GLOBE data you gathered, as well as other data used, and how the protocols and data are useful in answering your question(s). Describe the scope of your research (e.g., time period, geographic area, or specific sites involved). How the data were analyzed should also briefly be explained, including what analysis methods have been applied and what tests were carried out. 6. Data 6a. GLOBE Data and Data Entry The data you collected should be presented in this section. Please note that to achieve a “superior” score (4) in the 2014 GLE rubric, you must include GLOBE data you collected yourself as well as GLOBE data from other schools. Make sure to cite the sources of any data that you didn’t collect yourself. 6b. Data Summary: Use of Tables and/or Graphics for Data Entry All plots, graphs, and tables should be numbered and include a title and a caption. All axes should be labeled and include units. 7. Data Analysis Present a summary of the analysis that you performed on your data. Be sure to describe the methods you used to analyze your data and explain any mathematics that you performed. If you used an equation in your analysis, you should provide and explain the equation in the analysis. Be sure to account for, and discuss, the uncertainties or limitations present in your dataset. 8. Conclusion(s) This section should present the conclusion(s) you reached about your research question(s). Make sure to explain how you arrived at the conclusion(s) based on your methodology and data analysis. Describe your reasoning. 9. Discussion of Measurement Limitations This section allows you to put your conclusion(s) in context, to discuss the strengths and weaknesses of your approach and results, and to outline what you or others should do to extend or improve your research. If your research had impacts related to the GLE theme you may wish to discuss them in this section.

Page 31: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 30

10. Bibliography/Citations Include citations for all references and materials you used in your investigation in a uniform manner, including any graphics, tables, or figures not created by students. This is extremely important, as failure to adequately cite the work of others is plagiarism.

Requirements The following requirements must be met to submit a research project for the GLE. For those participating in the US GLE Competition, the written report must be submitted to the following email address: [email protected] Written Report Should: I. Be no more than 2,500 words in length; II. Include an abstract of 200 words or less in length; III. Follow the format outlined above; IV. Be clearly typed in 12 point font and double spaced; V. Be spell-checked and grammatically correct; VI. Be a Word document or similar format

If the research is accepted for presentation at the GLE, the following criteria should be followed: A Poster should: I. Be able to be attached to a wall or panels; II. Have a simple and accurate title, names of students, school, teacher, and

acknowledgements if applicable; III. Include graphics and/or photographs documenting important parts or phases of your

research; IV. Be sequentially and logically organized; V. Presentations that are presented in person will require either a poster (dimensions:

approx. 120 cm (48 in.) high by 240 cm (96 in.) wide) or a printed version of the PowerPoint presentation.

A Presentation should: I. Be a PowerPoint, Prezi, or some similar presentation software; II. Contain the information from the research report; III. Have a simple and accurate title, names of students, school, teacher, and

acknowledgements if applicable; IV. Include graphics and/or photographs documenting important parts or phases of your

research; V. Should take no longer than 20 minutes to present with an additional 10 minutes for a

Question and Answer session.

Page 32: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร

การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรยีน ประจําป 2557 | 31

คณะผูจัดทํา

คณะทํางานจัดการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม

ระดับโรงเรียน ประจําป 2557

นางปาริฉัตร พวงมณี สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

นางวรรณา ธรรมพาเลิศ สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

นางยุพาพร ลาภหลาย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

นางสาวสมรศรี กันภัย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

นางสาวสุวินัย มงคลธารณ สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

นางสาวศิริพร เหลาวานิชย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

ดร.สนธิ พลชัยยา สาขาเคมี สสวท.

นางสาวอรสา ชูสกุล สาขาชีววิทยา สสวท.

นางฤทัย เพลงวัฒนา สาขาโลก ดาราศาสตรและอวกาศ สสวท.

นางสาวบุศราศิริ ธนะ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ดร.สถาพร มนตประภัสสร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผศ.ดร.เจนจิต คูดํารงสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รวบรวมและเรียบเรียงเอกสารประกอบการประชุม นางยุพาพร ลาภหลาย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.

Page 33: 18 19 20 21 - GLOBE THAILANDglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC...หน า. กําหนดการประชุม: 3 . รายการบทคัดย อ ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร