120
คู คู มื มื ฏิ ฏิ บั บั ติ ติ ก็ ก็ มู มู สํสํมู มู ยี ยี สืสื. . . . 2 2 5 5 5 5 0 0 ( ( ) ) ลุ ลุมส ถิ ถิ ติ ติสถานประกอบการ สํสํนั นักส ถิ ถิ ติ ติเศรษฐ กิ กิจและ สั สังคม สํสํนั นักงานส ถิ ถิ ติ ติแ หงชา ติ ติ โทร ศั ศัพ 0 2281 0333 ตอ 1210 - 1214 โทรสาร 0 2281 8617 Hotline 53197 E-mail : [email protected]/[email protected]

NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

คูคูมืมืออกกาารรปปฏิฏิบับัติติงงาานนเเก็ก็บบรรววบบรรววมมขขออมูมูลล

กกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรพพ..ศศ.. 22555500 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

กกลุลุมมสสถิถิติติสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรสํ าสํ านันักกสสถิถิติติเเศศรรษษฐฐกิกิจจแแลละะสัสังงคคมม สํ าสํ านันักกงงาานนสสถิถิติติแแหหงงชชาาติติ

โโททรรศัศัพพทท 00 22228811 00333333 ตตออ 11221100 -- 11221144โโททรรสสาารร 00 22228811 88661177 HHoottlliinnee 5533119977

EE--mmaaiill :: [email protected]//eeiinndduusstt@@nnssoo..ggoo..tthh

Page 2: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

เเปปรีรียยบบเเทีทียยบบกกาารรเเปปลี่ลี่ยยนนแแปปลลงงแแบบบบสสออบบถถาามมกกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรส่ืส่ืออสสาารร

ปรายการ 2547 2548 2549 2550 หมายเหตุ

รหัส Identification ของสถานประกอบการIdentification

REG, CWT, AMP, MUN, TYPECODE_RCODE_L -SIZE_RSIZE_L -NO -YR -ENU

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป1. รูปแบบการจัดตั้งตามกฎหมาย2. รูปแบบการจัดตั้งทางเศรษฐกิจ3. ทุนจดทะเบียน4. การรวมลงทุนหรือถือหุนจากตางประเทศ5. จ ํานวนคนทํ างานปกติ บุคลากรดานซอฟตแวร -

ตอนที่ 2 การใชเครื่องคอมพิวเตอร6. การใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการ การพัฒนาซอฟตแวร -

ตอนที่ 3 การใชอินเทอรเน็ต7. การใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการ

8. ชองทางเชื่อมตออินเทอรเน็ต 9. วัตถุประสงค

ตอนที่ 4 การใชเว็บไซต10. การใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการ11. วัตถุประสงค

ตอนที่ 5 การสั่งซ้ือสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต12. การสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต13. การชํ าระคาสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต14. ปจจัยในการซื้อสินคาฯ ทางอินเทอรเน็ต

ตอนที ่6 การขายสนิคาหรอืบรกิารทางอินเทอรเน็ต15. การรับคํ าสั่งซื้อสินคาฯ ทางอินเทอรเน็ต16. การไดรับชํ าระคาสินคาฯ ผานอินเทอรเน็ต17. ปจจยัการตัดสินใจจํ าหนายสินคาฯ ผานอินเทอรเน็ต

ตอนที ่7 การใชบรกิารอีดไีอ หรือเครือขายคอมพิวเตอร (ทีน่อกเหนือจากอนิเทอรเน็ต)

18. การเชื่อมตอระบบอีดีไอ หรือเครือขายอื่น ๆ19. มีการแลกเปลี่ยนเอกสารกับกลุมใด

ตอนที ่8 คาใชจายในสนิคาและบริการดาน ICT20. คาใชจายในสนิคาและบริการดาน ICT - - - - คาใชจายในการพัฒนาซอฟตแวร21. รายรบัของสถานประกอบการ - - -

ตอนที ่9 ปญหาและอุปสรรคในการใชไอซีที22. ปญหาและอปุสรรคในการใชไอซีที

ตอนที ่9 การวจัิยและพัฒนาของสถานประกอบการ หองปฏบิตักิารวเิคราะหทดสอบวตัถุดิบ/ - ประเภทของหองปฏบิตักิารฯ -

ตอนที ่10 บุคลากรดาน IT ของสถานประกอบการ23. บคุลากรทีส่ ําเรจ็การศกึษาสาขาเทคโนโลยสีารสนเทศ - - -24. บคุลากรทีป่ฏบิตัหินาทีด่าน IT - - -25. การขาดแคลนบคุลากรทีป่ฏบิตัหินาทีด่าน IT - - -

กลุมสถิติสถานประกอบการ สํ านักสถิติเศรษฐกิจและสังคม โทรศัพท : 0 2281 0333 ตอ 1210 – 1214 โทรสาร : 0 2281 8617 E-mall : [email protected]/[email protected]

- ยายไปถามในตอนที่ 8

เพิ่มขอถามตามความตองการของ NECTEC

เพิ่มขอถามตามความตองการของกระทรวง ICT

ยายไปถามในโครงการ สอ.50

Page 3: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

สสาารรบับัญญ

หนา

บทท่ี 1 บทท่ัวไป 1บทท่ี 2 บทนิยาม 3บทท่ี 3 การบันทึกแบบสอบถาม (แบบ สทส.50) 15

3.1 หลักเกณฑท่ัวไปในการบันทึกแบบสอบถาม 153.2 ขอความประชาสัมพันธ 153.3 การบันทึกขอมูล 163.4 รายละเอียดการบันทึกแบบสอบถาม 16 1. การบันทึกหนาปกแบบสอบถาม 17 2. การบันทึกขอมูล ตอนท่ี 1 - 10 21

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป 25 ตอนท่ี 2 การใชเคร่ืองคอมพิวเตอรในการประกอบกิจการ 32 ตอนท่ี 3 การใชอินเทอรเน็ตในการประกอบกิจการ 35 ตอนท่ี 4 การใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการ 38 ตอนท่ี 5 การสั่งซ้ือสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต 40 ตอนท่ี 6 การขายสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต 43 ตอนท่ี 7 การใชบริการอีดีไอ หรือเครือขายคอมพิวเตอรอื่น

(ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) 46 ตอนท่ี 8 คาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยี 48

สารสนเทศและการสื่อสาร ตอนท่ี 9 ปญหาและอุปสรรคในการใชไอซีที 51 ตอนท่ี 10 บุคลากรดาน IT ของสถานประกอบการ 53

3.5 การตรวจสอบแบบเบื้องตน 593.6 ซองบรรจุแบบ 733.7 สรุปการแจงนับแบบ สทส.50 75

ภาคผนวก 77พาณิชยอิเล็กทอรนิกส ภาคผนวก-1ผลกระทบของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ภาคผนวก-2การพัฒนาระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ภาคผนวก-3จดหมายอิเล็กทรอนิกส ภาคผนวก-6

Page 4: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

หนา

EDI คืออะไร ภาคผนวก-7เทคโนโลยีส่ือสารขอมูลออนไลน ภาคผนวก-12ISDN ภาคผนวก-12BAI ภาคผนวก-13PRI ภาคผนวก-13สายเชา ภาคผนวก-14เคเบิลโมเด็ม ภาคผนวก-16การสงขอมูลและอุปกรณพื้นฐาน ภาคผนวก-17ADSL ภาคผนวก-20พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 ภาคผนวก-21กลุมอาชีพ/ตํ าแหนงดาน IT ภาคผนวก-34

Page 5: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

บบทททั่ทั่ววไไปป

11..11 คคววาามมเเปปนนมมาาประเทศไทยใหความสํ าคญักับการน ําความรูและเทคโนโลยมีาเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาประเทศ เพ่ือให

สามารถยกระดับความสามารถในการแขงขันไดในสังคมแหงปญญา และการเรียนรู (Knowledge based economy) โดยรัฐบาลไดกํ าหนดยุทธศาสตรการพัฒนาในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545 - 2549 ไวดังนี้

1) พัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพ่ือใหเปนผูนํ าในภูมิภาค2) ใช ICT เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย3) ปฏิรูปและการสรางศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT4) ยกระดับศักยภาพพ้ืนฐานของสังคมไทยเพ่ือการแขงขันในอนาคต5) พัฒนาศักยภาพของผูประกอบการ เพ่ือมุงขยายตลาดตางประเทศ6) สงเสริมผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมใหใช ICT7) นํ า ICT มาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ

สํ านักงานสถิติแหงชาติ ในฐานะหนวยงานหลักในการจัดทํ าสถิติของประเทศ จํ าเปนจะตองจัดหา ขอมูลสถิติท่ีเก่ียวของในเรื่องนี้ เพ่ือใหรฐับาลและหนวยงานท่ีเก่ียวของน ําไปใชประโยชนในการวางแผน และกํ าหนดนโยบายของภาครฐั รวมท้ังใชในการบริหาร และใชเปนตัวชี้วัด เพ่ือติดตามความกาวหนาของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศ และดํ าเนินกิจการของผูประกอบการอีกทางหนึ่งดวย

11..22 วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคค1. เพ่ือเก็บรวบรวมขอมลูพ้ืนฐานเก่ียวกับการใชเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารในการดํ าเนินการ

ของสถานประกอบการ การจางงานในอุตสาหกรรมประเภทตาง ๆ เปนตน2. เพ่ือนํ ามาใชในการศึกษา วิเคราะห จัดทํ าดัชนีชี้วัด การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ

สาร

11..33 รราายยกกาารรขขออมูมูลลท่ีท่ีเเก็ก็บบรรววบบรรววมม1. ขอมลูท่ัวไปของสถานประกอบการ ไดแก ชือ่ ท่ีต้ัง และสถานท่ีติดตอของสถานประกอบการ

รปูแบบการจัดต้ังตามกฎหมาย รูปแบบการจัดต้ังทางเศรษฐกิจ จํ านวนคนทํ างาน และจํ านวนลูกจางของสถานประกอบการ เปนตน

2. การมีและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานประกอบการ- คอมพิวเตอร- อินเทอรเน็ต- เว็บไซต- การส่ังซ้ือสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต

บบททที่ที่ 11

Page 6: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

2

- การขายสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต- การใชบริการอีดีไอหรือเครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต)

3. ปญหาและอุปสรรคในการใชไอซีที4. คาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และรายรับของสถาน

ประกอบการ5. บุคลากรดาน IT ของสถานประกอบการ

11..44 คุคุมมรรววมมสถานประกอบการทุกประเภทที่ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามการจัดประเภทอุตสาหกรรมตาม

กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทตามมาตรฐานสากล (International Standard Industrial Classification of All Economic Activities : ISIC Rev.3.0) ดังนี้

- ธุรกิจทางการคาและธุรกิจทางการบริการ- การผลิต- การกอสราง- การขนสงทางบก (ไมรวมมอเตอรไซตรับจาง) และตัวแทนธุรกิจการทองเท่ียว- โรงพยาบาล

ท่ีมีคนทํ างานต้ังแต 1 คนขึ้นไป ท่ีต้ังอยูในกรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และเขตเทศบาลท่ัวประเทศ

11..55 รระะเเบีบียยบบวิวิธีธีกกาารรสํ าสํ ารรววจจใชวิธีการสํ ารวจดวยการเลือกสถานประกอบการตัวอยาง

11..66 วิวิธีธีกกาารรเเก็ก็บบรรววบบรรววมมขขออมูมูลลโดยสงเจาหนาท่ีออกไปสัมภาษณ เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลรายละเอียดการดํ าเนินกิจการของสถาน

ประกอบการตัวอยาง ระหวางเดือนเมษายน – มิถุนายน 2550

11..77 คคาาบบเเววลลาาออาางงอิอิงงคาบเวลาของขอมูลในรอบ 12 เดือนท่ีแลว (การดํ าเนินกิจการระหวาง 1 เมษายน 2549 – 31

มีนาคม 2550)

11..88 กกาารรปปรระะมมววลลผผลลขขออมูมูลลการประมวลผลขอมูลทุกขั้นตอน และการจัดทํ ารายงานผลระดับจังหวัด ดํ าเนินการท่ีสํ านักงานสถิติ

จังหวัด โดยสํ านักงานสถิติแหงชาติในสวนกลางใหการสนับสนุนทางดานวิชาการ เชน การจัดทํ าโปรแกรมสํ าหรับการบันทึกขอมูลและการประมวลผลขอมูล และการจัดทํ าตนฉบับตารางเสนอผลและรายงานผล เปนตน สํ าหรับการประมวลผลระดับภาคและทั่วประเทศ ดํ าเนินการท่ีสํ านักงานสถิติแหงชาติในสวนกลาง

11..99 กกาารรเเสสนนออผผลลแแลละะจัจัดดทํ าทํ ารราายยงงาานนผผลลการจัดทํ ารายงานผลการสํ ารวจ จะจัดทํ ารายงานผล ดังนี้

1) สรุปผลเบื้องตน2) รายงานผลระดับจังหวัด จังหวัดละ 1 ฉบับ รวม 75 ฉบับ

Page 7: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

3

3) รายงานผลระดับภาค จํ านวน 6 ฉบับ ประกอบดวย รายงานผลของกรุงเทพมหานครปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต

4) รายงานผลระดับท่ัวราชอาณาจักร จํ านวน 1 ฉบับ

Page 8: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

บบททนินิยยาามม

22..11 สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรหมายถึง สถานท่ีหรือบางสวนของสถานท่ี ท่ีมีท่ีต้ังท่ีแนนอน และมีการดํ าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

ไมวากิจกรรมนั้นจะดํ าเนินงานโดยบุคคลท่ีเปนเจาของหรือควบคุมกิจการโดยนิติบุคคลก็ตาม

22..22 กิกิจจกกรรรรมมททาางงเเศศรรษษฐฐกิกิจจสํ าหรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามมาตรฐานสากล (International Standard Industrial

Classification of All Economic Activities : ISIC Rev.3.0) ประกอบดวย 17 ประเภท ดังตอไปนี้คือประเภท A : เกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไมประเภท B : การประมงประเภท C : การทํ าเหมืองแร และเหมืองหินประเภท D : การผลิตประเภท E : การไฟฟา กาซ และการประปาประเภท F : การกอสรางประเภท G : การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต รถจักรยานยนต ของใชสวนบุคคล

และของใชในครัวเรือนประเภท H : โรงแรมและภัตตาคารประเภท I : การขนสง สถานท่ีเก็บสินคา และการคมนาคมประเภท J : การเปนตัวกลางทางการเงินประเภท K : กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย การใหเชาและกิจกรรมทางธุรกิจประเภท L : การบริหารราชการ และการปองกันประเทศ รวมท้ังการประกันสังคมภาคบังคับ

ประเภท M : การศึกษาประเภท N : งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะหประเภท O : กิจกรรมดานการบริการชุมชน สังคม และการบริการสวนบุคคลอื่น ๆประเภท P : ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคลประเภท Q : องคการระหวางประเทศ และองคการตางประเทศอื่น ๆ และสมาชิก

โครงการสํ ารวจขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ. 2550 (สถานประกอบการ) ครั้งนี้ ไดกํ าหนดขอบขายกิจกรรมทางเศรษฐกิจในการปฏิบัติงานดังนี้

บบททที่ที่ 22

Page 9: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

4

ประเภท A : เกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไม ประเภท B : การประมง ประเภท C : การทํ าเหมืองแร ประเภท D : การผลิต การผลิต รหัส 9ประเภท E : การไฟฟา กาซ และการประปา ประเภท F : การกอสราง การกอสราง รหัส 10ประเภท G : การขายสง การขายปลีก การซอมแซม การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต

ยานยนต รถจักรยานยนต ของใชสวนบุคคล รถจักรยานยนต ของใชสวนบุคคล และของใชในครัวเรือนและของใชในครัวเรือน (ไมรวมหมูยอย 5252 การขายปลีกตามแผงลอยและตลาดสด)

รหัส 1 – 3ประเภท H : โรงแรมและภัตตาคาร โรงแรมและภัตตาคาร รหัส 4ประเภท I : การขนสง สถานท่ีเก็บสินคา การขนสง สถานท่ีเก็บสินคา และการคมนาคม

และการคมนาคม (เฉพาะหมูยอย 6021 – 6023 และ 6304) ไมรวมมอเตอรไซตรับจาง (อยูในหมูยอย 6022) รหัส 11

ประเภท J : การเปนตัวกลางทางการเงิน ประเภท K : กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย การใหเชาและกิจกรรม

และกิจกรรมทางธุรกิจ ทางธุรกิจ รหัส 5 - 7ประเภท L : การบริหารราชการ และการปองกันประเทศ

รวมท้ังการประกันสังคมภาคบังคับ ประเภท M: การศึกษา ประเภท N : งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห

(เฉพาะหมูยอย 8511 กิจกรรมดานโรงพยาบาล) รหัส 12ประเภท O : กิจกรรมดานการบริการชุมชนสังคม กิจกรรมดานการบริการชุมชนสังคม และการบริการ

และการบริการสวนบุคคลอื่น ๆ สวนบุคคลอื่น ๆ (เฉพาะหมวด 92 และ 93 ไมรวมหมูยอย 9231, 9232, 9233 1/) รหัส 8

ประเภท P : ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล ประเภท Q : องคการระหวางประเทศ และองคการ

ตางประเทศอื่น ๆ และสมาชิก

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 17 ประเภท (ISIC) การจัดกลุมกิจกรรมในการแจงนับ

กิกิจจกกรรรรมมททาางงเเศศรรษษฐฐกิกิจจที่ที่ออยูยู ใในนขขออบบขขาายยกกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารร พพ..ศศ.. 22555500 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

1/หมูยอย 9231 กิจกรรมหองสมุดและหอจดหมายเหตุ หมูยอย 9232 กิจกรรมพิพิธภัณฑสถาน และการอนุรักษสถานที่ และอาคารทางประวัติศาสตร หมูยอย 9233 กิจกรรมดานสวนพฤกษชาติและสวนสัตว และการอนุรักษธรรมชาติ

Page 10: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

5

22..33 กกาารรจัจัดดกกลุลุมมกิกิจจกกรรรรมมททาางงเเศศรรษษฐฐกิกิจจการเก็บรวบรวมขอมูลการสํ ารวจขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารครั้งนี้ ไดจัดกิจกรรมทาง

เศรษฐกิจออกเปน 11 รหัส ดังนี้รหัส 1 การขายสง-ขายปลีก-ซอมแซมยานยนต และขายปลีกน้ํ ามันเชื้อเพลิงรถยนต

(หมวด 50) ไดแกการดํ าเนินการขายสง และขายปลีกยานยนต รถจักรยานยนตท้ังใหมและท่ีใชแลว รวมท้ัง

การบํ ารุงรักษาและการซอมแซม การขายอะไหล และชิ้นสวนอุปกรณสํ าหรับยานยนต การดํ าเนินกิจการของตัวแทน หรือนายหนาท่ีเก่ียวของกับการจ ําหนายยานยนต การลางการขัดเงา และลากการจูงยานยนตรวมท้ังการขายปลีกนํ้ ามันเชื้อเพลิงรถยนต และผลิตภัณฑนํ้ ามันเครื่อง/นํ้ ามันหลอล่ืนหรือผลิตภัณฑ ท่ีใชเปนตัวใหความเย็นแกเครื่องยนต

รหัส 2 การขายสง (หมวด 51) ไดแก การขายสินคาใหมและ/หรือสินคาท่ีใชแลวโดยไมมีการเปลี่ยนรูปของสินคาใหแกผูขายปลีก

ผูใชในงานอุตสาหกรรม งานพาณิชยกรรม งานสถาบัน หรือผูใชในงานวิชาชีพ ผูขายสงรายอื่น หรือบุคคล/บริษัทท่ีทํ าหนาท่ีตัวแทนหรือนายหนาซ้ือขายสินคา เปนตน

รหัส 3 การขายปลีก (หมวด 52) ไดแก การขายสินคาใหมและ หรือสินคาท่ีใชแลว โดยไมมีการเปลี่ยนรูปของสินคาใหแกคนท่ัวไป

เพ่ือการบริโภค หรือเพ่ือใชประโยชนเฉพาะสวนบุคคลหรือในครัวเรือน

รหัส 4 โรงแรมและภัตตาคาร รวมรานอาหาร (หมวด 55) ไดแกการดํ าเนินกิจการเก่ียวกับการจัดหาท่ีพักชั่วคราว คายพัก และส่ิงอํ านวยความสะดวกใน

คายพักใหแกประชาชนทั่วไป เชน โรงแรม โมเต็ล หอพัก หองพักภายในบาน เกสตเฮาส ท่ีพักแรมเยาวชน ท่ีพักชั่วคราว เปนตน

การขายอาหารและเครื่องดื่ม ท่ีจัดเตรียมไวพรอมท่ีจะบริโภคไดทันทีในสถานท่ีตาง ๆ เชน ภัตตาคาร คาเฟ สถานท่ีบริการขายอาหารกลางวันและรานขายเครื่องดื่ม เปนตน

รหัส 5 กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย (หมวด 70) ไดแก การซ้ือ การขาย การใหเชา และการดํ าเนินการเก่ียวกับอสังหาริมทรัพยท่ีเปนเจาของหรือเชา

จากผูอื่น เชน อาคารหองชุดและที่อยูอาศัย อาคารซ่ึงไมใชท่ีอยูอาศัย การพัฒนาและ การจัดสรรอสังหาริมทรัพย ฯลฯ รวมท้ังการพัฒนาและการขายที่ดินและสุสาน การดํ าเนินการเก่ียวกับหองชุดและที่อยูอาศัยเคล่ือนท่ีได

การซ้ือ การขาย การใหเชา การจัดการ และการประเมินราคาอสังหาริมทรัพยโดยไดรับคาธรรมเนียมตอบแทนหรือโดยการทํ าสัญญา

รหัส 6 กิจกรรมดานคอมพิวเตอรและกิจกรรมที่เก่ียวของ (หมวด 72) ไดแก การใหคํ าปรึกษาเก่ียวกับฮารดแวร ซอฟตแวรและการจัดหา การประมวลผลขอมูลกิจกรรม

ดานฐานขอมูล การบํ ารุงรักษา และการซอมแซมเครื่องจักรสํ านักงานและกิจกรรมอื่น ๆ ท่ีเก่ียวของกับคอมพิวเตอร รวมถึงการจัดการบริการรายชั่วโมง เชน การใหเชาเวลาการใช Internet

Page 11: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

6

รหัส 7 การใหเชาเครื่องจักรและอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม การวิจัย และการพัฒนาและกิจกรรมดานธุรกิจอื่น ๆ (หมวด 71, 73, 74) ไดแก

การใหเชาเครื่องอุปกรณการขนสง เครื่องจักรและเครื่องอุปกรณอื่น ๆ ของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน

การวิจัยและการพัฒนา การทดลองทางดานวิทยาศาสตรธรรมชาติ วิศวกรรม สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร

กิจกรรมดานกฎหมาย การบัญชี การใหคํ าปรึกษาดานภาษี การวิจัยตลาดและการสํ ารวจความคิดเห็นของประชาชน และการใหคํ าปรึกษาทางธุรกิจและการจัดการ กิจกรรมดานสถาปตยกรรม วิศวกรรม และเทคนิคอื่น ๆ การโฆษณา ฯลฯ

รหัส 8 กิจกรรมนันทนาการ และการบริการอื่น ๆ (หมวด 92, 93) ไดแกกิจกรรมดานภาพยนตร วิทยุ โทรทัศน และสถานบันเทิงอื่น ๆ กิจกรรมของสํ านักขาว

กิจกรรมหองสมุด หอจดหมายเหตุ พิพิธภัณฑสถาน และกิจกรรมทางวัฒนธรรมอื่น ๆ กิจกรรมการกีฬา และนันทนาการอื่น ๆ

กิจกรรมดานการบริการอื่น ๆ เชน การบริการซักรีดและซักแหง ผลิตภัณฑส่ิงทอและขนสัตว การแตงผมและการเสริมสวยอื่น ๆ การทํ าศพและกิจกรรมที่เก่ียวของ เปนตน

รหัส 9 การผลิต (หมวด 15 – 37) ไดแก การเปลี่ยนรูปวัตถุใหเปนผลิตภัณฑชนิดใหมดวยเครื่องจักรกลหรือเคมีภัณฑโดยไมคํ านึง

ถึงวางานนั้นทํ าดวยเครื่องจักรหรือดวยมือหรือทํ าในโรงงาน โรงซอม หรือ เคหะสถาน หรือผลิตภัณฑนั้นจะนํ ามาขายสงหรือขายปลีกก็ตาม การประกอบชิ้นสวนของผลิตภัณฑท่ีผลิตขึ้น นับวาเปนการผลิตดวย

รหัส 10 การกอสราง (หมวด 45) ไดแก กิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีเก่ียวของกับการกอสรางใหม การตอเติม การดัดแปลง การซอม

แซม และการรื้อทํ าลายอาคารหรือส่ิงกอสรางดานวิศวกรรม เชน ถนน สะพาน เขื่อน อุโมงค เปนตน อุตสาหกรรมการกอสรางประกอบดวยสถานประกอบการที่ดํ าเนินกิจการดังตอไปนี้

- การเตรียมสถานท่ีกอสราง เชน การรื้อถอน ทํ าลายอาคารเกา การถมดิน ฯลฯ - การกอสรางอาคาร ; งานวิศวกรรมโยธา เชน ทางหลวง ถนน สะพาน อุโมงคฯ

ซ่ึงหมายรวมทั้งการกอสรางใหม การตอเติม ดัดแปลง และซอมแซมดวย - การติดต้ังระบบภายในอาคาร เชน การวางทอ การติดต้ังระบบเครื่องปรับอากาศ

ระบบสัญญาณเตือนภัย บันไดเล่ือน ฯลฯ- การสรางอาคารใหสมบูรณ เชน การติดต้ังกระจก การฉาบปูน การทาสี และ

ตกแตงอาคาร การติดผนังและปูพ้ืนดวยวัสดุตาง ๆ การขัดพ้ืน ฯลฯ- การใหเชาเครื่องอุปกรณท่ีใชในงานกอสรางหรือการรื้อถอนโดยมีผูควบคุม เชน

การใหเชารถเครนพรอมคนขับ ฯลฯ

รหัส 11 การขนสงทางบก (ไมรวมกิจกรรมมอเตอรไซดรับจาง หมูยอย 6022) และตัวแทนธุรกิจการทองเที่ยว (หมูยอย 6021, 6022, 6023 และ 6304) ไดแก การขนสงผูโดยสารทางบกอื่น ๆ ท่ีมีตารางเวลา และท่ีไมมีตารางเวลา รวมถึงการขนสงสินคาทางถนน และกิจกรรมของตัวแทนธุรกิจการทองเท่ียว และผูจัดนํ าเท่ียว รวมท้ังกิจกรรมบริการนักทองเท่ียว ซ่ึงมิไดจัดประเภทไวในท่ีอื่น เชน บริการนํ าเท่ียว มัคคุเทศก บริการจํ าหนายต๋ัว ศูนยขอมูลเพ่ือนักทองเท่ียว ทํ าทัวร รับจัดทัวรและรับจองหองพัก

Page 12: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

7

รหัส 12 กิจกรรมดานโรงพยาบาล (หมูยอย 8511) ไดแก กิจกรรมของโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลเฉพาะโรค สถานพักฟนสํ าหรับผูปวย

ศูนยปองกันโรค โรงพยาบาลโรคจิต ศูนยฟนฟู (ท่ีมีการรักษาทางการแพทย) สถานพยาบาลโรคเรื้อน กิจกรรมของศูนยทันตกรรม และสถาบันดานสุขภาพอื่น ๆ ซ่ึงมีส่ิงอํ านวยความสะดวกดานท่ีพัก รวมท้ังกิจกรรมของโรงพยาบาลในฐานทัพทหารและในเรือนจํ า กิจกรรมที่ใหบริการสํ าหรับผูปวยในเปนสวนใหญ และทํ าการรักษาภายใตคํ าแนะนํ าของแพทย ซ่ึงประกอบดวยการบริการของคณะแพทยและผูชวยแพทย ส่ิงอํ านวยความสะดวกในหองปฏิบัติการและทางดานเทคนิค รวมท้ังการบริการทางดานรังสีวิทยาและวิสัญญีวิทยา ส่ิงอํ านวยความสะดวกดานอาหารและดานอื่นๆของโรงพยาบาล เชน การบริการดานหองฉุกเฉิน

22..44 รูรูปปแแบบบบกกาารรจัจัดดต้ัต้ังงตตาามมกกฎฎหหมมาายย จํ าจํ าแแนนกกออออกกเเปปนน 66 ปปรระะเเภภทท ไไดดแแกกสวนบุคคลหมายถึง สถานประกอบการที่มีเจาของเปนบุคคลธรรมดาคนเดียวหรือหลายคนรวมกัน และใหหมาย

รวมถึง หางหุนสวนสามัญท่ีไมจดทะเบียนเปนนิติบุคคลดวยหางหุนสวนจํ ากัด (หจก.) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล (หสน.)หมายถึง สถานประกอบการทีจ่ดัต้ังขึน้โดยคณะบคุคลต้ังแต 2 คนขึน้ไป รวมทุนกันเพ่ือประกอบกจิการ

และรับผิดชอบรวมกันโดยจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมายบริษัทจํ ากัด บริษัทจํ ากัด (มหาชน)

บริษัทจํ ากัด : (บจก.) หมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังขึ้นโดยผูริเริ่มคณะหนึ่ง และไดจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย โดยมีผูเริ่มดํ าเนินการอยางนอย 7 คน ขึ้นไป

บริษัทจํ ากัด (มหาชน) : (บมจ.) หมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังขึ้นโดยการจดทะเบียนจัดต้ังบริษัท การควบบริษัท หรือการแปรสภาพบริษัท และวัตถุประสงคท่ีจะขายหุนตอประชาชน โดยมีผูริเริ่มดํ าเนินการต้ังแต 15 คนขึ้นไป

สวนราชการ รัฐวิสาหกิจหมายถึง สถานประกอบการที่รัฐบาลเปนเจาของ หรือมีทุนอยูดวยไมนอยกวารอยละ 50 ของทุน

ท้ังหมด ในท่ีนี้ใหหมายรวมถึงสถานประกอบการที่ดํ าเนินการโดยรัฐบาลดวยสหกรณหมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังขึ้นในรูปของสหกรณ โดยจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมายวา

ดวยสหกรณ โดยมีผูกอต้ังไมนอยกวา 10 คนอื่น ๆหมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังในรูปแบบอื่น ๆ นอกจากท่ีกลาวขางตน เชน มูลนิธิ สโมสร

สมาคม กลุมแมบาน ชมรมตาง ๆ รานคาสาธิต เปนตน

22..55 รูรูปปแแบบบบกกาารรจัจัดดต้ัต้ังงททาางงเเศศรรษษฐฐกิกิจจ จํ าจํ าแแนนกกออออกกเเปปนน 33 ปปรระะเเภภทท ไไดดแแกก สํ านักงานแหงเดียว

หมายถึง สถานประกอบการที่ไมมีหนวยงานยอยหรือสาขาอื่นใด และไมเปนหนวยงานยอยหรือสาขาของสถานประกอบการอื่น

Page 13: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

8

สํ านักงานใหญหมายถึง สถานประกอบการทีเ่ปนเจาของ และควบคมุกิจการของสถานประกอบการอืน่ท่ีเปนสํ านักงาน

สาขาหรือหนวยงานยอยสํ านักงานสาขา หมายถึง สถานประกอบการที่เปนสาขา หรือหนวยงานยอยของสถานประกอบการอื่นท่ีเปน

สํ านักงานใหญ

22..66 คคนนทํ าทํ างงาานนหมายถึง ผูท่ีทํ างานในสถานประกอบการท้ังท่ีไดรับเงินเดือนและไมไดรับเงินเดือนท่ีสถานประกอบ-

การมีอยูตามปกติ รวมท้ังผูท่ีปกติทํ างานอยูในสถานประกอบการแหงนี้ แตในวันดังกลาวไมไดมาทํ างาน หรือเนื่องจาก เจ็บปวย ลาหยุดพักผอน โดยไดรับคาจาง/เงินเดือน

คนทํ างานประกอบดวย1) คนทํ างานโดยไมไดรับคาจางหรือเงินเดือน หมายถึง เจาของกิจการ หุนสวน หรือสมาชิกใน

ครอบครัวท่ีทํ างานใหกับสถานประกอบการ หรือผูปฏิบัติงานในสถานประกอบการซึ่งมีจํ านวนชั่วโมงทํ างานไมต่ํ ากวาสัปดาหละ 20 ชั่วโมง โดยเจาของหรือผูประกอบการอาจใหเงิน อาหาร เครื่องนุงหม หรือชวยเหลือเก้ือกูลอยางอื่น ๆ แตไมตองรับผิดชอบในเรื่องการจายคาแรงใหตามกฎหมาย

2) ลูกจาง หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานใหกับสถานประกอบการ โดยไดรับเงินเดือนหรือคาจางเปนประจํ าต้ังแตระดับบริหาร นักวิชาการ เสมียน พนักงานตาง ๆ เชน ผูจัดการ ผูอํ านวยการ ผูปฏิบัติงานในหองทดลอง พนักงานขาย และลูกจางท่ีทํ างานในกรรมวิธีการผลิต เปนตน คาจางท่ีไดรับอาจเปนรายปกษ รายสัปดาห รายวัน รายชั่วโมง หรือรายชิ้น ก็ได นอกจากนี้ยังรวมถึงผูท่ีสถานประกอบการสงไปประจํ าท่ีสถานประกอบการอื่นดวย เชน พนักงานรักษาความปลอดภัย คนทํ าความสะอาด พนักงานขายตามหางสรรพสินคา เปนตน ไมรวมคนทํ างาน ดังตอไปนี้

(1) ผูบริหารหรือผูถือหุนท่ีไดรับเบ้ียประชุมเปนครั้งคราว(2) คนทํ างานของสถานประกอบการอื่นท่ีมาปฏิบัติงานประจํ าท่ีสถานประกอบการแหงนี้(3) คนทํ างานท่ีรับงานไปทํ าท่ีบานแลวนํ ามาสงโดยไมไดลงทุนซ้ือวัสดุ อุปกรณ (แตถามีการใช

เครื่องมือสวนตัวเล็กนอยได เชน มีด เข็ม ดาย)(4) คนงานท่ีลางานเปนระยะเวลานาน เชน ลาไปรับราชการทหาร(5) คนท่ีสถานประกอบการจางมาทํ างานเฉพาะอยางเปนครั้งคราว เชน กรรมกรที่จางมาขนของ

พนักงานเดินตลาดหรือตัวแทนขายที่ไมมีเงินเดือนประจํ า

22..77 เเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร1) สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขาวสารท่ีไดจากการน ําขอมูลดิบ (Raw Data) มาค ํานวณทางสถติิหรอืประมวลผล อยางใด

อยางหนึ่ง ซ่ึงขาวสารท่ีไดออกมานั้นจะอยูในรูปท่ีสามารถนํ าไปใชงานไดทันที2) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)

หมายถึง กระบวนการตาง ๆ และระบบงานที่ชวยใหไดสารสนเทศที่ตองการ โดยจะรวมถึง(1) เครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ ซ่ึงสวนมากแลวจะหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใช

สํ านักงาน อุปกรณโทรคมนาคมตาง ๆ รวมท้ังซอฟตแวรท้ังแบบสํ าเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพ่ือใชในงานเฉพาะดาน ซ่ึงเครื่องมือเหลานี้จัดเปนเครื่องมือสมัยใหมและใชเทคโนโลยีระดับสูง

Page 14: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

9

(2) กระบวนการในการนํ าอุปกรณเครื่องมือตาง ๆ ขางตนมาใชงาน เพ่ือรวบรวม จัดเก็บประมวลผล และแสดงผลลัพธเปนสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ ท่ีสามารถนํ าไปใชประโยชนไดตอไป

เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปจจุบัน จะประกอบดวยระบบตาง ๆ คือ• ระบบประมวลผลขอมูล (Data Processing Systems)• ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information Systems)• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems)• ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหารระดับสูง (Executive Information Systems)• ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert Systems)

3) เครื่องคอมพิวเตอร (Computer) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอรท่ีสถานประกอบการมีไวใชในการดํ าเนินธุรกิจ และสามารถใชงานได

ในการสํ ารวจครั้งนี้ จํ าแนกออกเปน (1) คอมพิวเตอรสวนบุคคล หมายถึง คอมพิวเตอรต้ังเดี่ยวสํ าหรับใชงานโดยผูใชครั้งละ 1 คน

ประกอบดวยจอแสดงผล ซีพียู แปนพิมพ และอุปกรณตอพวงอื่น ๆ ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (พีซี) คอมพิวเตอรแบบกระเปาห้ิว (โนตบุค) เวิรกสเตชัน เทอรมินัล

เวิรกสเตชั่น (Workstation หรือ Engineering Workstation) คือ คอมพิวเตอรอันทรงประสิทธิภาพท่ีใชสํ าหรับงานทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม เชน CAD เปนตน

เทอรมินัล (Terminal) คือ มอนิเตอรท่ีเสียบเขากับเครื่องเมนเฟรม มีท้ังแบบที่มีซีพียูหรือมีเพียงแคตัวมอนิเตอรและแปนพิมพ

(2) คอมพิวเตอรเพ่ือการบริการและประมวลผลจากสวนกลาง หมายถึง คอมพิวเตอรต้ังไวสวนกลางเพ่ือควบคุมการทํ างานและใหบริการคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ไดแก เซิรฟเวอร (Server) เมนเฟรม (Mainframe) มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer)

เมนเฟรม (Mainframe) คอื เครือ่งคอมพิวเตอรประสทิธภิาพสูง เปนระบบคอมพวิเตอรแบบหลายผูใช ขนาดใหญมาก ทํ างานไดรวดเร็ว ออกแบบมาสํ าหรับการจัดการขอมูลจํ านวนมหาศาลและตองทํ างานท่ีมีความซับซอน เมนเฟรมมักจะมีอยูในธุรกิจขนาดใหญ ท่ีมีผูสามารถใชไดจํ านวนมาก ๆ

มินิคอมพิวเตอร คือ ระบบคอมพิวเตอรขนาดกลางที่จัดการกับผูใชมากกวา 100 คน ไดพรอม ๆ กัน

ซุปเปอรคอมพิวเตอร คือ เครื่องคอมพิวเตอรท่ีทํ างานไดรวดเร็วกวาเครื่องคอมพิวเตอรธรรมดา เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญ ประสิทธิภาพสูง ทํ างานไดรวดเร็ว มีราคาสูงมาก ซุปเปอรคอมพิวเตอรใชกับงานที่มีความสํ าคัญและซับซอน เชน พยากรณอากาศ ออกแบบภาพและจํ าลองภาพ 3 มิติ

4) อินเทอรเน็ต (Internet) หมายถึง การเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครือขายท่ัวโลกเขาดวยกัน หรือพูดงาย ๆ

ก็คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรท่ัวโลกจํ านวนนับลาน ๆ เครื่องเขาดวยกันโดยผานโครงสรางพ้ืนฐานทางโทรคมนาคม5) อีเมล แอดเดร็ส (E-mail Address) หมายถึง ชื่อท่ีใชระบุท่ีอยูของอีเมลของแตละบุคคล รูปแบบของอีเมลแอดเดร็สประกอบดวย

….…………..…...@……………………………………….…………………………..……. เชน [email protected]หรือ [email protected]

ชื่อของระบบคอมพิวเตอรท่ีอีเมลใชอยูชื่อ

Page 15: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

10

(1) ชื่อ : เปนชื่อเฉพาะท่ีแตละบุคคลต้ังขึ้นเพ่ือระบุวาอีเมลนี้เปนของตน โดยมากแลวมักจะต้ังจากชื่อหรือนามสกุล เชน sombat.wilaithong หรือ แผนกในองคกร เชน webmaster หรือ marketingเปนตน

(2) @ (เครื่องหมายที่เรียกวา “At Sign”)(3) ชื่อของระบบคอมพิวเตอรท่ีอีเมลใชอยู : เปนชื่อท่ีกํ าหนดเองไมไดขึ้นอยูกับอีเมลท่ีใช เชน

ฟรีอีเมล ไดแก hotmail.com, yahoo.com และ maildozy.com เปนตน หรืออีเมลของหนวยงาน เชน majorcineplex.com, ku.ac.th, และ central.co.th เปนตน

หมายเหตุ : อีเมลแอดเดร็สตองสะกดดวยภาษาอังกฤษท้ังหมด จะไมใชอักษรไทย

6) เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)หรือท่ีเรียกส้ันๆ วา เว็บ (Web) คือ แหลงขอมูลจํ านวนมากมายมหาศาลที่อยูบนอินเทอรเน็ต ท่ี

สามารถเขาถึงไดจากคอมพิวเตอรท่ีเชื่อมตออินเทอรเน็ต ขอมูลดังกลาวเปนไดท้ัง อักษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว หรือแมกระท่ังเสียง

7) เว็บไซต (Web Site)ขอมูลเอกสารหนึ่งชุดบน เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web) ท่ีรวบรวมขึ้นจากเว็บเพจ (Web

Page) จํ านวนหลาย ๆ หนาเขาดวยกัน และเว็บเพจที่เห็นเปนหนาแรกเมื่อเปดเว็บไซตขึ้นมา เรียกวา โฮมเพจ(Homepage) สรุปไดวา เว็บไซตเปรียบไดกับหนังสือหนึ่งเลม ท่ีแตละหนาคือเว็บเพจ มีโฮมเพจเปนหนาปก และถูก จัดเก็บอยูในหองสมุดขนาดใหญบนอินเทอรเน็ต ท่ีเรียกวา เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)

8) เว็บพอรทัล (Web Portal) หรือ เว็บทา หมายถึง เว็บไซตท่ีทํ าหนาท่ีเปนศูนยกลางใหบริการขอมูลและการบริการตาง ๆ โดยมีท้ังขอมูลและการบริการท่ีอยูภายในเว็บไซตเอง และขอมูลท่ีเชื่อมโยงไปยังเว็บไซตตาง ๆ เว็บพอรทัลจึงเปนแหลงท่ีจะนํ าไปสูเว็บไซตอื่น ๆ อีกมากมาย ตัวอยางไดแก Yahoo.com, Sanook.com และ Mthai.com เปนตน

9) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ อีคอมเมิรซ (E-Commerce) ในความหมายแบบกวาง ๆ จะหมายถึงการดํ าเนินธุรกิจผานส่ืออิเล็กทรอนิกส โดยส่ืออิเล็กทรอนิกสจะครอบคลุมถึงอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสขั้นพ้ืนฐานตาง ๆ เชน โทรศัพท โทรสาร อีดีไอ เปนตน อยางไรก็ดี เทคโนโลยีท่ีมีผลตอพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมากท่ีสุดคือเครือขายอินเทอรเน็ต

ในที่น้ีจึงขอกลาวถึงพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในความหมายแบบแคบ คือ การซื้อขายหรือบริการสินคาผานทางอินเทอรเน็ต โดยมีเว็บไซตเปนชองทางหลักในการติดตอและทํ าธุรกรรม

ลักษณะการดํ าเนินพาณิชยอิเล็กทรอนิกส• Business-to-Business (B2B)

การดํ าเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับองคกรธุรกิจ• Business-to-Consumer (B2C)

การดํ าเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับผูบริโภค เชน การคาปลีกออนไลน• Business-to-Government (B2G)

การดํ าเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับภาครัฐ ซ่ึงโดยมากมักจะเปนเรื่องของการจัดซ้ือ จัดจางภาครัฐ

Page 16: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

11

10) Value Added Network (VAN) หมายถึง เครือขายสวนบุคคลท่ีองคกรสรางขึ้นเพ่ือการใชงานภายในองคกรเทานั้น เชน งานดาน

ฐานขอมูล โดยมากองคกรจะเชาสาย Leased Line เพ่ือเชื่อมตอกับผูใหบริการเครือขายหรือใช dial number เพ่ือเขาถึงเครือขาย

11) Electronic Data Interchange (EDI) หมายถึง การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางองคกรธุรกิจในรูปแบบมาตรฐานผานทางเครือขาย

คอมพิวเตอร แบบ VAN (Value Added Network) โดยรูปแบบมาตรฐานที่ใชจะตองไดรับการยอมรับจากกลุมผูแลกเปล่ียนขอมูล หรือมาจากการพัฒนาของสถาบันท่ีไดรับการยอมรับในมาตรฐานตาง ๆ เชน UN/EDIFACT

ประโยชนของอีดีไอ คือลดคาใชจายในการกรอกขอมูล ไดขอมูลท่ีถูกตองมากขึ้น ติดตอส่ือสารไดรวดเร็วขึ้น และลดงานทางดานเอกสารซ่ึงจะชวยการทํ างานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

12) Integrated Standard Digital Network (ISDN) เปนระบบเชื่อมตออินเทอรเน็ตท่ีสามารถสงขอมูลภาพ และเสียงผานทางสายโทรศัพทเสนเดียว

กัน เปนระบบมาตรฐานระหวางประเทศ มีความเร็วในการสงขอมูลท่ี 64 Kbps13) xDSL ยอมาจาก x Digital Subscriber Line

เปนการเชื่อมตออินเทอรเน็ตดวยความเร็วสูง ใชเทคโนโลยีใกลเคียงกับ ISDN แตใหความเร็วท่ีสูงกวามาก ประเภท DSL ท่ีพบไดบอย ๆ คือ ADSL และ SDSL

14) เคเบิ้ลโมเด็ม หมายถึง โมเด็มท่ีเชื่อมตอโดยใชสายเคเบ้ิลของโทรทัศน การเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยมากจะผาน

โมเด็มท่ัวไปที่มีการเชื่อมตอกับสายโทรศัพท แตเมื่อใชโมเด็มท่ีตอกับสายเคเบ้ิลโทรทัศนแลวจะทํ าใหการรับสงขอมูล รวดเร็วขึ้นกวาเดิมมาก เพราะสายเคเบ้ิลโทรทัศนมีแถบความกวางในการสงสัญญาณสูง

15) สายวงจรเชา หรือ Leased Line เปนการเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยใชวงจรเชา ซ่ึงเปนสายท่ีลูกคาเชาไวใชภายในองคกรของตัวเอง

ไมปนกับหนวยงานอื่น ทํ าใหมีความเร็วสูง สามารถรับสงขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ16) สายวงจรเชาแบบจุดเดยีวสูหลายจุด (Frame Relay) ตามปกติแลวสายวงจรเชาท่ัวไป (Leased Line) จะทํ าการเชื่อมตอแบบจุดตอจุด เชน เชื่อมตอ

ระหวางลูกคากับผูใหบริการอินเทอรเน็ต แตสายวงจรเชาแบบ Frame Relay เปนการเชื่อมตอจากจุดใดจุดหนึ่งกระจายไปยังหลายๆจุด เชน สํ านักงานใหญตองการเชื่อมตอระบบเขากับสํ านักงานสาขา 4 แหง ทํ าไดโดยใช Frame Relay เชื่อมตอท่ีสํ านักงานใหญจุดเดียวสูสํ านักงานสาขา 4 แหงพรอมกัน

17) Virtual Private Network (VPN) หรือ เครือขายสวนตวัผานเครือขายอินเทอรเน็ต ตามปกติแตละบริษัทหากตองการติดตอกับสํ านักงานสาขาหลาย ๆ แหง แตในสาขาตองตอคุยกัน

ไดอีกตองใชสายวงจรเชา Leased Line จํ านวนมาก เพ่ือเชื่อมตอระบบเขาดวยกัน จึงนับเปนการส้ินเปลือง แตเมื่อมีเทคโนโลยี VPN ทํ าใหองคกรหลักสามารถเชื่อมตอสํ านักงานหลาย ๆ แหงโดยผานอินเทอรเน็ต VPN จะทํ าหนาท่ีสรางการเขารหัสขอมูลใหทุกสาขาท่ีเชื่อมตอกันรูสึกเหมือนมเีครือขายสายสวนตัวติดตอกันตลอดเวลา

18) แฮกเกอร หมายถึง ผูท่ีคล่ังไคลในการสํ ารวจหรือลักลอบเจาะเขาไปยังระบบคอมพิวเตอรขององคกรตาง ๆ ซ่ึงการเขาไปมีท้ังแบบที่ทํ าอันตรายตอระบบหรือขโมยขอมูลในระบบไป และมีท้ังแบบที่ไมทํ าอันตรายใด ๆ ดวย

Page 17: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

12

19) ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอรประเภทหนึ่งท่ีออกแบบมาเพ่ือใชแพรกระจายตัวเองจากไฟลหนึ่งไปอีก

ไฟลหนึ่ง ภายในเครื่องคอมพิวเตอร และทํ าใหไฟลหรือระบบเกิดความเสียหาย20) ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน หรือ เทเลเซ็นเตอร (Telecenter) คือ สถานท่ีใหบริการเทคโนโลยีส่ือสารและสารสนเทศกับชุมชนหรือประชาชน โดยอาจมีการคิด

คาบริการหรือไมก็ได ศูนยบริการสารสนเทศดังกลาว จัดดํ าเนินงานภายใตโครงการนํ ารองพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเพ่ือ

สินคาชนบทและการทองเท่ียว ซ่ึงเปนโครงการฯ ท่ีมุงมั่นจะนํ าเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาประยุกตใชในการสงเสริมและตอยอดภูมิปญญาไทยในทองถ่ิน ซ่ึงเปนทุนทางสังคมของประเทศ ใหสามารถเชื่อมตอเศรษฐกิจชุมชนกับเศรษฐกิจภายนอกได และสรางภาคีความรวมมือกันระหวางชุมชน หนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในทองถ่ิน เพ่ือผสมผสานภูมิปญญาทองถ่ิน กับการใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหเกิดประโยชนสูงสุดในชุมชน

21) ICQ และ MSNเปนชื่อโปรแกรมอยางหนึ่งใชสํ าหรับพูดคุยกับผูอื่น ดวยตัวอักษร (ไมใชเสียง) ผานทางหอง

สนทนา (แชทรูม) สวนตัวในแบบ รีลไทมผานทางอินเทอรเน็ต โปรแกรมชนิดนี้มีชื่อเรียกท่ัวไป Instant Message 22) อินเทอรเน็ตคาเฟ (Internet Cafe’)

ในสมัยแรก ๆ จะหมายถึงรานกาแฟท่ีมีบริการอินเทอรเน็ตใหใชในขณะรับประทานอาหารหรือดื่มกาแฟไปดวย แตในปจจุบัน จะหมายถึงรานคาท่ีใหบริการใชงานอินเทอรเน็ตท้ังหมด โดยไมจํ าเปนวาตองมีบริการกาแฟหรืออาหารหรือไม อินเทอรเน็ตคาเฟไดรับความนิยมอยางมากเนื่องจากราคาการใชงานไมสูงมากและมีบริการในจุดตาง ๆ เชน โรงแรม ศูนยการคา อยางมากมาย นักทองเท่ียวหรือผูท่ีไมมีเครื่องคอมพิวเตอรเปนของตนเอง จึงนิยมใชในการทองเว็บ เขาหองสนทนา หรือตรวจสอบอีเมล

22..88 บุบุคคลลาากกรรท่ีท่ีสํ าสํ าเเร็ร็จจกกาารรศึศึกกษษาาสสาาขขาาเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศ ไดจัดแบงออกเปน 6 กลุม ดังนี้1) กลุมสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (Engineer Computer) ไดแก คอมพิวเตอร วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ศาสตรคอมพิวเตอร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร

วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิทยาการคอมพิวเตอร วิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร2) กลุมสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส (Electronic) ไดแก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ฟสิกสอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรเทคโนโลยี

อิเล็กทรอนิกสกํ าลัง อิเล็กทรอนิกส3) กลุมสาขาวิชาสารสนเทศ (Information) ไดแก การจัดการระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี

คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออุตสาหกรรม ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเทคโนโลยกีารจดัการระบบสารสนเทศ เทคโนโลยสีารสนเทศสถติิวทิยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศ เทคโนโลยสีารสนเทศระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร วิทยาการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางการจัดการสารสนเทศศาสตร

Page 18: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

13

4) กลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอรประยุกต (Application Computer) ไดแก คอมพิวเตอรธรุกิจ วทิยาการคอมพิวเตอรประยกุต เทคโนโลยีคอมพิวเตอร อตุสาหกรรม

วิทยาการคอมพิวเตอรประยุกต-มัลติมีเดีย5) กลุมสาขาวิชาโทรคมนาคม (Telecommunications) ไดแก การบริหารโทรคมนาคม โทรคมนาคม วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคม

เทคโนโลยีโทรคมนาคม วิศวกรรมโทรคมนาคม6) กลุมสาขาวิชาสถิติ (Statistic) ไดแก การประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร สถิติศาสตร สถิติประยุกต สถิติ

คณิตศาสตร

22..99 กกลุลุมมออาาชีชีพพ // ตํ าตํ าแแหหนนงง บุบุคคลลาากกรรท่ีท่ีปปฏิฏิบับัติติหหนนาาท่ีท่ีดดาานน IITT1) ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer – CIO)

หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการควบคุม ประสานงาน ส่ังการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและรับผิดชอบงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศขององคกร

2) ผูจัดการโครงการ (Project Manager)หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการควบคุม ประสานงาน ส่ังการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผล

และรับผิดชอบงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของโครงการ3) ผูจัดการดานระบบ (System Manager)

หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการควบคุม ประสานงาน ส่ังการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและรับผิดชอบงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของระบบงาน

4) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst & Designer)หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ

ประเมินผล และบํ ารุงรักษาระบบงานคอมพิวเตอร เพ่ือสนองความตองการของผูใชงาน5) ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรประยุกต (Application Software Specialist) หมายถึง ผูปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ

ประเมินผล และบํ ารุงรักษาซอฟตแวรประยุกต รวมท้ังแกปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น6) ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย (Multimedia Software Specialist)

หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และบํ ารุงรักษางานดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย รวมท้ังแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น

7) ผูเชี่ยวชาญดานสื่อสารขอมูล (Data Communication Specialist)หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ

ประเมินผล และบํ ารุงรักษาระบบเครือขายและระบบสื่อสารขอมูลอื่น ๆ รวมท้ังแกปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น8) ผูเชี่ยวชาญดานฐานขอมูล (Database Specialist)

หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมนิผล และบํ ารงุรกัษาระบบฐานขอมลูและโปรแกรมระบบจดัการฐานขอมลู รวมท้ังแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น

9) ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยไอที (IT Security Specialist)หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ

ประเมนิผล และประเมนิผลดานความปลอดภยัของไอท ีรวมท้ังแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น

Page 19: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

14

10) ผูเชี่ยวชาญดานประกันคุณภาพของไอที (IT Quality Assurance Specialist)หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ

และประเมนิผลงานดานประกนัคณุภาพไอท ีรวมท้ังแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น11) วิศวกรซอฟตแวร (Software Engineer)

หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการวจิยั วเิคราะห ออกแบบ น ําไปใชงาน ทดสอบ วิธีการ / กระบวนการ ตลอดจนเทคโนโลยีเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาซอฟตแวรท่ีเปนงานระบบใหญใหมีคุณภาพสูง

12) ผูเชี่ยวชาญดานแคดแคม (CAD & CAM Specialist)หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการวางแผน ศกึษา วเิคราะห สรางงานดานการออกแบบและการผลติ

โดยใชคอมพิวเตอร รวมท้ังน ําไปใชงานทดสอบ ประเมนิผลและใหค ําปรกึษาดานเทคนคิ13) โปรแกรมเมอร (Programmer)

หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการเขยีน / สราง ดดัแปลง ทดสอบ และแกไขซอฟตแวรประยกุต (Application Software) และ / หรอื ซอฟตแวรระบบ (System Software) ใหเปนไปตามขอกํ าหนดของโปรแกรม รวมถึงการใหค ําแนะน ําดานเทคนคิและการแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

14) เว็บมาสเตอร (Web Master)หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการออกแบบ สราง ดดัแปลง ทดสอบและแกไข ปรบัปรงุเวบ็ไซตและ

ขอมลูตาง ๆ จากเวบ็ไซตใหทันสมยั15) เจาหนาท่ีฝกอบรมคอมพิวเตอร (Computer Trainer)

หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการใหการฝกอบรมวชิาการทางดานคอมพิวเตอร ท่ีเปนหลักสูตรระยะสัน้และหลกัสูตรเฉพาะทาง รวมท้ังใหค ําปรกึษาทางวชิาการและทางเทคนคิ

16) ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร (System Technician)หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการดแูลรกัษาและแกไขปญหาของระบบคอมพวิเตอร

17) ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร (System Operator)หมายถึง ผูท่ีปฏบัิติงานเก่ียวกับการปฏบัิติการ ควบคมุ ดแูลรกัษาและตรวจสอบการท ํางานของระบบ

คอมพิวเตอร และ / หรอื ระบบงานคอมพวิเตอร18) อื่น ๆ (Others)

หมายถึง กลุมอาชพีอืน่ ๆ ท่ีเก่ียวของกับเทคโนโลยสีารสนเทศ เชน พนกังานขายอปุกรณหรอืบรกิารไอที ผูจดัการฝายขายและการตลาดสนิคา และบรกิารไอที พนกังานรบัซ้ือสินคาและบรกิารฝายระบบคอมพวิเตอร พนกังานใหบรกิารโดยใชไอที เจาหนาท่ีน ําเขาขอมลู เปนตน

Page 20: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

กกาารรบับันนทึทึกกแแบบบบสสออบบถถาามม ((แแบบบบ สสททสส..5500))

33..11 หหลัลักกเเกกณณฑฑท่ัท่ัววไไปปใในนกกาารรบับันนทึทึกกแแบบบบสสออบบถถาามม

1. บันทึกแบบดวยดินสอดํ า หรือปากกา

2. สดมภใดท่ีใหบันทึกขอความหรือตัวเลข จะตองเขียนใหชัดเจน หรือสัมภาษณแลวไมมีขอมูล ใหขีด “ – ”

3. สํ าหรับการบันทึกแบบ แบงเปน 2 ลักษณะตามขอถามดังนี้

3.1 การบันทึกแบบสํ าหรับขอถามท่ีเลือกตอบ

ให กา ใน หนาคํ าตอบ หรือวงกลมรอบตัวเลข

3.2 การบันทึกแบบสํ าหรับขอถามท่ีตองบันทึกขอมูลใน มีหลักเกณฑดังนี้

1) บันทึกเปนตัวเลขใหชัดเจน อานออก จํ านวนเงินบันทึกเปนจํ านวนเต็ม (บาท) ไมมีทศนิยม

2) บันทึกหลักหนวยชิดขวามือ

3) ในกรณีจํ านวนเลขไมเต็มชอง ไมตองเติม “0” ขางหนา

เชน จํ านวนเครื่องคอมพิวเตอร เครื่อง

4) สถานท่ีต้ังของสถานประกอบการ (IDENTIFICATION) จะตองบันทึกจํ านวนเลขเต็มชองเสมอ

เชน SIZE_R

4. หากตองการแกไขขอมูลท่ีบันทึกไปแลว ใหขีดฆารอยเดิม แลวบันทึกใหมใหถูกตอง

5. สํ าหรับ ใชสํ าหรับบันทึกรหัสในสํ านักงานเทานั้น

33..22 ขขออคคววาามมคํ าคํ าช้ีช้ีแแจจงงโโคครรงงกกาารร

ใหพนักงานบันทึกช่ือและท่ีอยูพรอมหมายเลขโทรศัพทใหเรียบรอยและชัดเจน ในปกหนาแลวฉีกมอบใหสถานประกอบการไวเพือ่ความสะดวกในการตดิตอสอบถาม หากสถานประกอบการมขีอสงสัย และเพือ่สถานประกอบการจะไดเช่ือมั่นวา ไดใหขอมูลแกเจาหนาท่ีของสํ านักงานฯ ซ่ึงเปนเจาหนาท่ีของทางราชการจริง

33..33 กกาารรบับันนทึทึกกขขออมูมูลล

ขอมูลท่ีจะบันทึกในแบบ สทส.50 เปนขอมูลการดํ าเนินกิจการในรอบ 12 เดือนท่ีแลว (ระหวาง 1 เมษายน 2549 – 31 มีนาคม 2550)

บบททที่ที่ 33

1 0 0

0 2

Page 21: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

16

33..44 รราายยลละะเเอีอียยดดกกาารรบับันนทึทึกกแแบบบบสสออบบถถาามม

11.. กกาารรบับันนทึทึกกหหนนาาปปกกแแบบบบสสออบบถถาามมขขออ กก.. เเลลขขปปรระะจํ าจํ าสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร

ลับ

สทส. 50(แบบแจงนับ)

กกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรพพ..ศศ.. 22555500 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

บันทึกขอมูลการดํ าเนินกิจการในรอบ 12 เดือนที่แลว (ระหวาง 1 เมษายน 2549 – 31 มีนาคม 2550)

ID1-15

วิวิธีธีบับันนทึทึกก :: บับันนทึทึกกเเลลขขปปรระะจํ าจํ าสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร

ใหบันทึกเลขประจํ าสถานประกอบการ (ID) ดูจากบัญชีรายชื่อสถานประกอบการตัวอยางของสํ านักนโยบายและวิชาการสถิติ สดมภ 2 ““เเลลขขปปรระะจํ าจํ าสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร””

ลับ

สทส. 50(แบบแจงนับ)

กกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรพพ..ศศ.. 22555500 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

บันทึกขอมูลการดํ าเนินกิจการในรอบ 12 เดือนที่แลว (ระหวาง 1 เมษายน 2549 – 31 มีนาคม 2550)

ID1-15

ขอควรระวัง : หากคัดลอก ID ผิดจะไมสามารถทํ าการประมวลผลขอมูลได

4 5 94 0 0 0 8 9 0 1 5 0 10

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกกเเลลขขปปรระะจํ าจํ าสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร

Page 22: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

17

ขขออ ขข.. สสถถาานนท่ีท่ีต้ัต้ังงขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรชื่อสถานประกอบการ ………………………………………….…….……………….…….….…………..สถานท่ีต้ัง

เลขท่ี …..…………..ตรอก/ซอย ………………ถนน…………………………….….….….…….. ตํ าบล/แขวง ……………………..………….…. อํ าเภอ/เขต …………….…...….……………… จังหวัด ………………………...…..…………… รหัสไปรษณีย …….……………………………. โทรศัพท ………………………………………… โทรสาร ………………………………………….. E-mail …………………………………………… Website ……………………………………….

เขตการปกครอง …………………………………………………………………………………………….……

วิวิธีธีบับันนทึทึกก :: บับันนทึทึกกชื่ชื่ออแแลละะสสถถาานนท่ีท่ีต้ัต้ังงขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรใหบันทึกชื่อและรายละเอียดของสถานท่ีต้ัง พรอมท้ังหมายเลขโทรศัพท/โทรสาร/E-mail และ Website

ของสถานประกอบการตามที่เปนจริงในปจจุบันขขออ คค.. ปปรระะเเภภททกิกิจจกกรรรรมมททาางงเเศศรรษษฐฐกิกิจจ

สถานประกอบการแหงน้ี ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทใด (ใหกา ใน เพียงขอเดียว และบับันนทึทึกกรราายยลละะเเอีอียยดดปปรระะเเภภททกิกิจจกกรรรรมม ลงบนเสนประ_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ถามีมากกวา 1 กิจกรรม ใหเลือกกิจกรรมที่มีมูลคาขาย/รายรับสูงสุด)

1 การขายสง – ปลีก – ซอมแซมยานยนต และขายปลีกนํ้ ามันเชื้อเพลิง (50) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 2 การขายสง (51) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 3 การขายปลีก (52) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 4 โรงแรมและภัตตาคาร รวมรานอาหาร (55) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 5 กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย (70) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 6 กิจกรรมดานคอมพิวเตอรและกิจกรรมที่เก่ียวของ (72) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 7 การใหเชาเครื่องจักรและอุปกรณ โดยไมมีผูควบคุม การวิจัยและการพัฒนา และกิจกรรม

ดานธุรกิจอ่ืน ๆ (71, 73, 74) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 8 กิจกรรมนันทนาการ และการบริการอ่ืน ๆ (92,93) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 9 การผลิต (15 - 37) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

10 การกอสราง (45) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 11 การขนสงทางบก และตัวแทนธุรกิจการทองเที่ยว (6021 - 6023, 6304) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 12 กิจกรรมดานโรงพยาบาล (8511) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

วิวิธีธีบับันนทึทึกก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยวว แแลละะบับันนทึทึกกรราายยลละะเเอีอียยดดปปรระะเเภภททกิกิจจกกรรรรมม ใหสอบถามสถานประกอบการวา มีการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทใด ใหกา ใน

หนาขอนั้น ๆ เพียงขอเดียวและบับันนทึทึกกรราายยลละะเเอีอียยดดของประเภทกิจกรรมนั้น ลงบนเสนประ_ _ _ _ _ _ ใหถูกตอง ชัดเจน

ในเขตเทศบาล

ผลิตชิ้นสวนรองเทา

Page 23: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

18

เเพ่ืพ่ืออใใหหไไดดรราายยลละะเเอีอียยดดท่ีท่ีจจะะนํ านํ าไไปปใใชชใในนกกาารรจัจัดดรรหัหัสสปปรระะเเภภททอุอุตตสสาาหหกกรรรรมมไไดดออยยาางงถูถูกกตตอองง ขขออใใหหใใชชหหลัลักกเเกกณณฑฑกกาารรบับันนทึทึกกรราายยลละะเเอีอียยดด ใในนแแตตลละะกกลุลุมมกิกิจจกกรรรรมมททาางงเเศศรรษษฐฐกิกิจจ ดัดังงน้ีน้ี

11.. กกลุลุมมสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรธุธุรรกิกิจจ (( รรหัหัสส 11 –– 88))1) ถาการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจของสถานประกอบการแหงนี้ มีการขายสินคาเพียงชนิด

เดียว ใหบันทึกชื่อประเภทกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น พรอมท้ังระบุชื่อสินคาหรือบริการ เชน บันทึก “ขายสงขาวสาร” “ขายปลีกเสื้อผาสํ าเร็จรูป” “รานขายกวยเตี๋ยว” “บริการใหเชาคอนเทนเนอร” เปนตน

2) ถามีการขายสินคาหลายชนิด หรือบริการหลายประเภท ใหบันทึกชื่อสินคาหรือบริการท่ีใหมูลคาขาย/รายรับสูงสุด เชน รานขายปลีกเส้ือผาสํ าเร็จรูปและเครื่องสํ าอาง ใหบันทึกเปน “ขายปลีกเส้ือผาสํ าเร็จรูป” (ในกรณีท่ีเส้ือผาสํ าเร็จรูปมีมูลคาขายมากกวา) หรือสํ านักงานทนายความและรับทํ าบัญชี ใหบันทึกเปน “รับทํ าบัญชี” (ในกรณีท่ีการรับทํ าบัญชีมีรายรับมากกวา) เปนตน

ปจจุบันสถานประกอบการที่มีการขายปลีกอาหาร เครื่องดื่ม หรือยาสูบ เปนสินคาหลัก และมีการขายสินคาหลายชนิด (หมูยอย 5211) มีการดํ าเนินการในหลายรูปแบบ คือ

- ซุปเปอรมารเก็ต (supermarket) เชน ทอปซุปเปอรมารเก็ต ฟูดแลนด เปนตน- ดิสเคานทสโตร (discount store) เชน แมคโคร โลตัส Big C เปนตน- รานสะดวกซื้อ (convenient store) เชน เซเวน อีเลฟเวน สตารมารท เปนตน- รานขายของชํ า (grocery store) ไดแก รานขายของชํ าท่ัวไป

ซุปเปอรมารเก็ต (supermarket) : รานคาท่ีดํ าเนินการขายปลีกสินคาอุปโภคบริโภคท่ีจํ าเปนตอการดํ ารงชีวิตประจํ าวัน สินคาสวนใหญ ไดแก อาหารแหง อาหารสดและสินคาท่ีใชในชีวิตประจํ าวันท่ีไมใชอาหาร

ดิสเคานทสโตร (discount store) : รานคาท่ีดํ าเนินการขายปลีกสินคาอุปโภคบริโภคท่ัว ๆ ไป เนนการขายสินคาจํ านวนมากในราคาถูก รวมถึงซุปเปอรเซ็นเตอร หรือไฮเปอรมารท ซ่ึงเปนรานคาท่ีวางจํ าหนายสินคาอุปโภคบริโภคท่ีจ ําเปนรอยละ 80 และสินคาท่ัวไปรอยละ 20 และยังมีบริการอื่น ๆ เชน ซอมรองเทา ขายยา และศูนยอาหาร

รานสะดวกซื้อ (convenient store) : รานคาปลีกขนาดเล็ก ต้ังอยูในเขตชุมชนและมักจะเปดบริการตลอด 24 ชั่วโมง เนนการขยายสาขาดวยระบบแฟรนไชส มีการบริหารงานอยางเปนระบบภายใตการกํ ากับดูแลของบริษัทแม รวมถึงรานสะดวกซื้อท่ีใหบริการตามสถานีบริการนํ้ ามัน

รานขายของชํ า (grocery store) : รานคาปลีกขนาดเล็ก กระจายอยูตามตรอกซอย ขายสินคาอุปโภคบริโภคท่ีจ ําเปนตอชีวิตประจํ าวันหลายชนิด เชน ขาว แปง อาหารกระปอง นํ้ าตาล เครื่องเทศ มีการบริหารงานแบบครอบครัวเปนหลัก

___________________________ ท่ีมา : การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) ป 2544 THAILAND STANDARD INDUSTRIAL CLASSIFICATION (TSIC-2001) กรมการจัดหางาน

Page 24: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

19

22.. กกลุลุมมสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรอุอุตตสสาาหหกกรรรรมมกกาารรผผลิลิตต ((รรหัหัสส 99))1) ถาสถานประกอบการนี้ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทการผลิต ใหสอบถามวา ทํ าการ

ผลิตผลิตภัณฑประเภทใด ถาผลิตผลิตภัณฑเพียงชนิดเดียว แตผลิตภัณฑดังกลาวสามารถผลิตขึ้นไดจากวัตถุดิบท่ีแตกตางกัน ใหระบุประเภทของวัตถุดิบของผลิตภัณฑนั้นดวย เชน โรงงานผลิตภาชนะและถวยชามกระเบื้อง (หรือพลาสติก) การผลิตขวดแกว (หรือขวดพลาสติก) บรรจุนํ้ า เปนตน เนื่องจากภาชนะที่ผลิตจากกระเบื้องและพลาสติกหรือแกวจัดอยูในรหัสอุตสาหกรรมตางกัน

2) ถาสถานประกอบการแหงนี้ทํ าการผลิตผลิตภัณฑหลายประเภท เชน ผลิตรถยนตและชิ้นสวนอุปกรณรถยนต ใหพิจารณาดูวาผลิตภัณฑแตละชนิดนั้น อยูในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน หรือไม (พิจารณาจากเอกสารคูมือการจัดประเภทอุตสาหกรรมตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทตาม มาตรฐานสากล (ISIC)) ถาผลิตภัณฑท่ีผลิตเหลานั้น ไมไดอยูในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ใหสอบถามชนิดหรือประเภทของผลิตภัณฑ ท่ีสถานประกอบการผลิตและจํ าหนายไดมูลคาสูงสุด แลวบันทึกชนิดของผลิตภัณฑนั้น

ตัตัววออยยาางงเเชชนน โรงงานที่ผลิตรถยนตและชิ้นสวนอุปกรณรถยนต เปนผลิตภัณฑท่ีอยูคนละประเภทอุตสาหกรรม- การผลิตรถยนต จัดอยูในอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต (3410)- การผลิตชิ้นสวนและอุปกรณรถยนต จัดอยูในอุตสาหกรรมการผลิต

1. สวนประกอบและอุปกรณประกอบสํ าหรับยานยนตและเครื่องยนต (3430) ดังนั้น โรงงานแหงนี้นับวาประกอบกิจกรรมการผลิตท่ีมีผลิตภัณฑท้ังสองประเภทซึ่งอยูใน อุตสาหกรรมตางรหัสกัน และถาโรงงานแหงนี้ ไมไดจัดทํ าบัญชีแยกผลิตภัณฑแตละชนิด ออกจากกันโดยเด็ดขาด ใหบันทึกประเภทกิจกรรมเปน “ผลิตรถยนต” ถามีรายรับจาก

การผลิตรถยนตมากกวา หรือบันทึกเปน “ผลิตชิ้นสวนและอุปกรณรถยนต”ถามีรายรับจากการผลิตชิ้นสวนและอุปกรณรถยนต มากกวา

33.. กกลุลุมมสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรกกออสสรราางง ((รรหัหัสส 1100))

1) ใหสอบถามสถานประกอบการแหงนี้วาประกอบกิจกรรมการกอสรางประเภทใด ถาประกอบ กิจกรรมเพียงประเภทเดียว ใหบันทึกประเภทกิจกรรมกอสรางใหชัดเจนวาเปนการรับเหมากอสรางบาน/อาคาร หรือ รับเหมากอสรางโครงหลังคาเหล็ก หรือรับเหมาสรางทาง หรือรับวางระบบไฟฟาในอาคาร หรือรับถมท่ี

2) ถาประกอบกิจกรรมกอสรางมากกวา 1 ประเภท เชน เปนบริษัทรับเหมากอสราง รื้อถอนอาคารและรับจางทาสีอาคาร ใหพิจารณากิจกรรมการกอสรางแตละประเภทวาอยูในประเภทอุตสาหกรรมการกอสรางเดียวกันหรือไม (พิจารณาจากเอกสารคูมือการใชรหัสประเภทอุตสาหกรรมตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทตามมาตรฐานสากล (ISIC) )

ถากิจกรรมการกอสรางของสถานประกอบการแหงนี้ ไมไดอยูในประเภทอุตสาหกรรมการกอสรางเดียวกัน ใหสอบถามสถานประกอบการวา มีรายรับจากการกอสรางประเภทใดมากที่สุด ใหบันทึกกิจกรรมประเภทนั้น ๆ

Page 25: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

20

ตัตัววออยยาางงเเชชนน บริษัทรับเหมากอสราง รื้อถอนอาคาร และรับจางทาสีอาคารเปนกิจการที่อยูในอุตสาหกรรม การกอสรางรหัสตาง ๆ ดังนี้

- การรื้อถอนอาคาร จัดอยูในหมูยอย การเตรียมสถานที่กอสราง (รหัส 4510)- การรับเหมากอสรางอาคาร จัดอยูในหมูยอย การกอสรางอาคาร (รหัส 4520)

รวมทั้งงานการรับเหมาทาสีอาคาร จัดอยูในหมูยอย การสรางอาคารใหสมบูรณ (รหัส 4540) ดังนั้น ใหสอบถามประเภทกิจกรรมการกอสรางท่ีมีมูลคารายรับสูงสุด และใหบันทึกการกอสราง ประเภทนั้นเพียงประเภทเดียว

44.. กกลุลุมมสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขนนสสงงททาางงบบกก ((ไไมมรรววมมมมออเเตตออรรไไซซดดรัรับบจจาางง)) แแลละะตัตัววแแททนนธุธุรรกิกิจจกกาารรททอองงเเท่ีท่ียยวว ((รรหัหัสส 1111))

1) ใหสอบถามประเภทกิจกรรม ท่ีสถานประกอบการแหงนี้ดํ าเนินการวามีการดํ าเนินงานเก่ียวกับ กิจกรรมการขนสงฯ ก่ีประเภท อะไรบาง ถาเปนกิจกรรมที่เก่ียวกับการขนสงทางบก หรือเปนกิจกรรมตัวแทนธุรกิจการทองเท่ียวอยางใดอยางหนึ่ง ใหบันทึกประเภทของกิจกรรมที่ทํ าใหชัดเจน เชน มีรถทัศนาจรใหเชา ขับรถแท็กซ่ีรับจาง มีรถรับจางขนของ บริการนํ าเท่ียว บริการขายต๋ัวเครื่องบิน เปนตน

2) ถากิจกรรมที่สถานประกอบการดํ าเนินการมีมากกวา 1 ประเภท เชน บริษัทมีรถทัศนาจรใหเชาพรอมคนขับ และรับจัดทัวร ใหพิจารณาการดํ าเนินกิจกรรมแตละประเภทวาสามารถจัดอยูในประเภทอุตสาหกรรมเดียวกันหรือไม (พิจารณาจากเอกสารคูมือการจัดประเภทอุตสาหกรรมตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทตามมาตรฐานสากล (ISIC) )

ถากิจกรรมเหลานี้ไมไดจัดอยูในประเภทเดียวกัน ใหสอบถามกิจกรรมที่มีรายรับจากการดํ าเนินงาน สูงสุด แลวบันทึกกิจกรรมประเภทนั้น

จากตัวอยางขางตน บริษัทแหงนี้มีรถทัศนาจรใหเชาและรับจัดทัวร เปนกิจกรรมที่จัดอยูในหมูยอยคนละประเภทกัน ดังนี้

- มีรถทัศนาจรใหเชาพรอมคนขับ จัดอยูในหมูยอย การขนสงผูโดยสารทางบกอื่น ๆ ท่ีไมมี ตารางเวลา (6022)

- บริการรับจัดทัวร จัดอยูในหมูยอย กิจกรรมของตัวแทนธุรกิจการทองเท่ียวและผูจัดนํ าเท่ียวรวมท้ังกิจกรรมบริการนักทองเท่ียว ซ่ึงมิไดจัดประเภทไวในท่ีอื่น (6304)

ดังนั้นสถานประกอบการแหงนี้ นับวามีการดํ าเนินกิจกรรม 2 ประเภท และจัดอยูในหมูยอยของประเภทอุตสาหกรรมที่ตางกัน ถาสถานประกอบการไมสามารถแยกระบบบัญชีใหบันทึกกิจกรรมที่มีมูลคาของรายรับสูงสุดเทานั้น

Page 26: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

21

ขขออ งง .. ช่ืช่ืออสสถถาานนท่ีท่ีต้ัต้ังงสํ าสํ าหหรัรับบติติดดตตออสสออบบถถาามม

ตองการทราบรายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการบันทึกแบบฯ ติดตอสอบถามไดท่ี

ในกรณีท่ีเจาหนาท่ีเก็บรวบรวมขอมูลจํ าเปนตองทอดแบบไวท่ีสถานประกอบการ ใหบันทึกชื่อสํ านักงานฯ ชื่อเจาหนาท่ี/พนักงานและสถานท่ีต้ังพรอมหมายเลขโทรศัพท หรือประทับตรายางที่ต้ังของสํ านักงานฯ เพ่ือความสะดวกของสถานประกอบการในการติดตอสอบถาม หากมีขอสงสัยและเพ่ือใหสถานประกอบการเชื่อมั่นวาไดใหขอมูลแกเจาหนาท่ีของสํ านักงานฯ ซ่ึงเปนเจาหนาท่ีของทางราชการจริง

ขขออ จจ.. ผผลลกกาารรแแจจงงนันับบขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรแแหหงงนี้นี้

การแจงนับของสถานประกอบการแหงน้ี (กา ใน เพียงขอเดียว)1 แจงนับได2 ยาย/หาไมพบ3 เลิกกิจการ4 รื้อถอน/ไฟไหม5 อ่ืน ๆ (ระบุ)……………………………………………………………………

วิวิธีธีบับันนทึทึกก :: ววงงกกลลมมรรออบบตัตัววเเลลขขเเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหบันทึกผลการแจงนบั โดยวงกลมรอบตวัเลขเพียงขอเดยีว และน ํารหัสไปบนัทึกในชอง สดมภ ENU

กรณีท่ีแจงนับได ใหวงกลมรอบตัวเลข 1 กรณีท่ีแจงนับไมได (ยาย/หาไมพบ เลิกกิจการ รื้อถอน/ไฟไหม อื่น ๆ…………………………………)

ใหวงกลมรอบตัวเลข 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 ขอใดขอหนึ่ง และบันทึกขอมูลเฉพาะหนาปก เทานั้น

22.. กกาารรบับันนทึทึกกขขออมูมูลล ตตออนนท่ีท่ี 11 –– 1100รายละเอียดในแบบ สทส.50 แบงเปน 10 ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป ตอนท่ี 2 การใชเครื่องคอมพิวเตอรในการประกอบกิจการของสถานประกอบการ ตอนท่ี 3 การใชอินเทอรเน็ตในการประกอบกิจการของสถานประกอบการ ตอนท่ี 4 การใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการของสถานประกอบการ ตอนท่ี 5 การส่ังซ้ือสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต ตอนท่ี 6 การขายสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต ตอนท่ี 7 การใชบริการอีดีไอ หรือ เครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) ตอนท่ี 8 คาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตอนท่ี 9 ปญหาและอุปสรรคในการใชไอซีที

ตอนท่ี 10 บุคลากรดาน IT ของสถานประกอบการ

Page 27: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

22

ข้ัข้ันนตตออนนกกาารรบับันนทึทึกกแแบบบบ สสททสส..5500กกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารร พพ..ศศ.. 22555500 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

หหนนาาปปกกแแบบบบ ชื่อ/สถานท่ีต้ัง ประเภทกิจกรรม

ผลการแจงนับ= 1

ไมใชหยุด

ตตออนนท่ีท่ี 11 ขขออมูมูลลท่ัท่ัววไไปป ขอ 1 รูปแบบการจัดต้ังตามกฎหมาย ขอ 4 การรวมลงทุนจากตางประเทศ ขอ 2 รูปแบบการจัดต้ังทางเศรษฐกิจ ขอ 5 จํ านวนคนทํ างาน ขอ 3 ทุนจดทะเบียน

ตตออนนท่ีท่ี 22 เเคคร่ืร่ือองงคคออมมพิพิววเเตตออรร

ขอ 6การใชเครื่องคอมพิวเตอร

ไมใช - เหตุผลท่ีไมใช- แผนที่จะใช ภายในป 2551ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 44

ใช

ใช

ใชที่สถานประกอบการ - จํ านวนเครื่องคอมพิวเตอร - จํ านวนบุคลากรท่ีใชเครื่องฯ

ใชที่อ่ืน วงกลมรอบตัวเลขสถานท่ีใช (เชน อินเทอรเน็ตคาเฟเทเลเซ็นเตอร อ่ืน ๆ (ระบุ)……….)

ตตออนนท่ีท่ี 33 อิอินนเเททออรรเเน็น็ตต ตตออนนท่ีท่ี 44

Page 28: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

23

ขอ 7การใชอินเทอรเน็ต

ไมใช - เหตุผลท่ีไมใช- แผนที่จะใช ภายในป 2551ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 77

- จํ านวนบุคลากรท่ีใชอินเทอรเน็ตขอ 8 การเชื่อมตออินเทอรเน็ตขอ 9 วัตถุประสงคในการใช

ตตออนนที่ที่ 44 เเว็ว็บบไไซซตต

ใช

ขอ 10การใชเว็บไซต

ไมใช - เหตุผลท่ีไมใช- แผนที่จะใช ภายในป 2551ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 55

ขอ 11 วัตถุประสงคของการใชเว็บไซต

ตตออนนท่ีท่ี 55 กกาารรส่ัส่ังงซื้ซื้ออสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต

ไมมี ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 66

มี

ขอ 12การส่ังซื้อสินคาหรือบริการทาง Internet

ขอ 13 มีการชํ าระคาสินคาหรือบริการผาน Internetขอ 14 ปจจัยในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการ ผานทาง Internet

ตตออนนท่ีท่ี 66 กกาารรขขาายยสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต

ใช

ตอนท่ี 7

Page 29: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

24

ไมมี

มี

ขอ 16 การไดรับชํ าระคาสินคาผานทาง Internetขอ 17 ปจจัยในการตัดสินใจจํ าหนายสินคาหรือบริการผาน ทาง Internet

ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 77

ตตออนนท่ีที 77 กกาารรใใชชบบริริกกาารรอีอีดีดีไไออ หหรืรืออเเคครืรืออขขาายย คคออมมพิพิววเเตตออรรอื่อื่นนๆๆ(( ท่ีท่ีนนออกกเเหหนืนืออจจาากกอิอินนเเททออรร เเน็น็ตต))

ไมใช

ขอ 19 ใช EDI หรือเครือขายคอมพิวเตอรอ่ืน ๆ ในการแลกเปลี่ยน เอกสารกับกลุมใด

-- แแผผนนท่ีท่ีจจะะใใชช EEDDII หหรืรืออเเคครืรืออขขาายยคคออมมพิพิววเเตตออรร อ่ือ่ืนน ๆๆ ภภาายยใในนปป 22555511ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 88

ตตออนนท่ีท่ี 99 ปปญญหหาาแแลละะอุอุปปสสรรรรคคใในนกกาารรใใชชไไออซีซีทีที (ขอ 22)

ขอ 18การใชบริการ EDI หรือ เครือขาย

คอมพิวเตอรอ่ืน ๆ

สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรท่ีท่ีมีมีรูรูปปแแบบบบเเปปนนบบริริษัษัททฯฯ

ไมใช

ใช

ตตออนนท่ีท่ี 88 คคาาใใชชจจาายยใในนสิสินนคคาาแแลละะบบริริกกาารรดดาานน IICCTT ขอ 20 คาใชจายในสินคาและบริการดาน ICT ขอ 21 รายรับ

ใช

จบการสัมภาษณ

ยุยุติติกกาารรสัสัมมภภาาษษณณ

ตตออนนท่ีท่ี 1100 บุบุคคลลาากกรรดดาานน IITT ขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขอ 23 บุคลากรที่สํ าเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศขอ 24 บุคลากรที่ปฏิบัติหนาท่ีดาน IT ในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงขอ 25 ขาดแคลนบุคลากรหรือตองการบุคลากรที่ปฏิบัติหนาท่ีดาน IT

ขอ 15การรับคํ าส่ังซื้อสินคาหรือบริการทาง Internet

Page 30: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

25

ตตออนนที่ที่ 11 ขขออมูมูลลทั่ทั่ววไไปปขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 11 รูปแบบการจัดต้ังตามกฎหมาย (กา ใน เพียงขอเดียว) Rec. 1

col. 43A0144

1 สวนบุคคล หางหุนสวนสามัญท่ีไมเปนนิติบุคคล2 หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนจํ ากัด3 บริษัทจํ ากัด บริษัทจํ ากัด (มหาชน)4 สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ5 สหกรณ6 การจัดต้ังในรูปแบบอื่น ๆ (ระบุ)………………………………………….

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบรูปแบบการจัดต้ังของสถานประกอบการ เพ่ือนํ าไปใชในการจํ าแนกประเภทของสถาน

ประกอบการ

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววถาสถานประกอบการ มีรูปแบบการจัดต้ังตามกฎหมาย นอกเหนือจากคํ าตอบที่ระบุไว ให กา

ใน หนาขอ 6 และบันทึกรูปแบบการจัดต้ังฯ ท่ีเปนลักษณะอื่นๆ ลงบนเสนประ………………………….. ดวย ท้ังนี้ ขอใหตรวจสอบกับการบันทึกชื่อสถานประกอบการ (หนาปก) ดวยวา สอดคลองตรงกันหรือไม

รูปแบบการจัดตั้งตามกฎหมาย

1. สวนบุคคล หมายถึง สถานประกอบการที่มีเจาของเปนบุคคลธรรมดาคนเดียวหรือหลายคนรวมกัน และใหหมายรวมถึง หางหุนสวนสามัญท่ีไมจดทะเบียนเปนนิติบุคคลดวย

2. หางหุนสวนจํ ากัด (หจก.) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล (หสน.) หมายถึง สถานประกอบการที่ จัดต้ังขึ้นโดยคณะบุคคลต้ังแต 2 คนขึ้นไป รวมทุนกันเพ่ือประกอบกิจการ และรับผิดชอบรวมกันโดยจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย

3. บริษัทจํ ากัด บริษัทจํ ากัด (มหาชน)บริษัทจํ ากัด : (บจก.) หมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังขึ้นโดยผูริเริ่มคณะหนึ่ง และได

จดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย โดยมีผูเริ่มดํ าเนินการอยางนอย 7 คน ขึ้นไป บริษัทจํ ากัด (มหาชน) : (บมจ.) หมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังขึ้นโดยการจดทะเบียนจัดต้ัง

บริษัท การควบบริษัท หรือการแปรสภาพบริษัท และวัตถุประสงคท่ีจะขายหุนตอประชาชน โดยมีผูริเริ่มดํ าเนินการต้ังแต 15 คนขึ้นไป

4. สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หมายถึง สถานประกอบการที่รัฐบาลเปนเจาของ หรือมีทุนอยูดวย ไมนอยกวารอยละ 50 ของทุนท้ังหมด ในท่ีนี้ใหหมายรวมถึงสถานประกอบการที่ดํ าเนินการโดยรัฐบาลดวย

5. สหกรณ หมายถึง สถานประกอบการที่จัดต้ังขึ้นในรูปของสหกรณ โดยจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมายวาดวยสหกรณ โดยมีผูกอต้ังไมนอยกวา 10 คน

6. อื่น ๆ หมายถึงสถานประกอบการที่จัดต้ังในรูปแบบอื่น ๆ นอกจากท่ีกลาวขางตน เชน มูลนิธิ สโมสร สมาคม กลุมแมบาน ชมรมตางๆ รานคาสาธิต เปนตน

ตตออนนที่ที่ 11 ขขออมูมูลลทั่ทั่ววไไปป

Page 31: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

26

ขขออ 22 รูปแบบการจัดต้ังทางเศรษฐกิจ (กา ใน เพียงขอเดียว) A0245

1 สํ านักงานแหงเดียว2 สํ านักงานใหญ3 สํ านักงานสาขา

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบรูปแบบการจัดต้ังของสถานประกอบการ เพ่ือนํ าไปใชในการจํ าแนกประเภทสถาน

ประกอบการตามรูปแบบการจัดต้ังทางเศรษฐกิจ

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววให กา ใน เพียงขอเดียว ท้ังนี้ขอใหตรวจสอบกับการบันทึกชื่อสถานประกอบการ

ประกอบ (หนาปก) ดวยวา สอดคลองตรงกันหรือไม

รูปแบบการจัดตั้งทางเศรษฐกิจ

1. สํ านักงานแหงเดียว หมายถึง สถานประกอบการที่ไมมีหนวยงานยอยหรือสาขาอื่นใดและไมเปนหนวยงานยอยหรือสาขาของสถานประกอบการอื่น

2. สํ านักงานใหญ หมายถึง สถานประกอบการที่เปนเจาของ และควบคุมกิจการของสถานประกอบ-การอื่นท่ีเปนสํ านักงานสาขาหรือหนวยงานยอย

3. สํ านักงานสาขา หมายถึง สถานประกอบการที่เปนสาขา หรือหนวยงานยอยของสถานประกอบ-การอื่นท่ีเปนสํ านักงานใหญ

Page 32: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

27

ขขออ 33 สถานประกอบการแหงนี้ มีทุนจดทะเบียนหรือไม (กา ใน เพียงขอเดียว) A0346

1 มี

เงินทุนจดทะเบียน A0447-57 บาท

2 ไมมี

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบขนาดของสถานประกอบการ โดยพิจารณาจากเงินทุนจดทะเบียนของสถานประกอบการ

ท่ีแจงไวกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยวว (สํ าหรับสถานประกอบการที่เปนนิติบุคคลทุกประเภท)

ถาสถานประกอบการแหงนี้ มีรูปแบบการจัดต้ังตามกฎหมายเปนนิติบุคคล ใหกา ใน หนาขอ 1 และบันทึกจํ านวนเงินทุนจดทะเบียนลงในชอง ดวย

ในกรณีท่ีมีการเพ่ิมทุนจดทะเบียนภายหลังจากการขอจดทะเบียนเงินทุนครั้งแรก ใหบันทึกจํ านวนเงินทุนจดทะเบียนท้ังส้ินซ่ึงจะรวมทั้งทุนท่ีขอเพ่ิมดวย

ทุนจดทะเบียน

ทุนจดทะเบียนหรือทุนรับอนุญาต หมายถึง ทุนดํ าเนินการซ่ึงผูเริ่มกอการไดระบุไวเมื่อจดทะเบียนจัดต้ังเปนนิติบุคคล หรือทุนท่ีไดรับอนุญาตเมื่อขอจัดต้ังเปนนิติบุคคล ทุนนี้ไมไดแสดงถงึเงินท่ีไดรับจากผูถือหุน แตเปนการแสดงถึงความประสงคของผูเริ่มกอการวาจะมีทุนดํ าเนินการเปนจํ านวนเงินเทาใด

Page 33: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

28

ขขออ 44 สถานประกอบการแหงนี้ มีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุนหรือไม A0558

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี ในสัดสวนนอยกวา 10 %2 มี ในสัดสวน 10 % - 50 %3 มี ในสัดสวนมากกวา 50 %4 ไมมี

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบภาวะการลงทุนของตางประเทศในกิจกรรมประเภทตาง ๆ ของประเทศไทยวา กิจกรรม

ประเภทใดบาง ท่ีมีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุน

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยวว ถาสถานประกอบการแหงนี้ มีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุน ให กา ใน หนาขอ 1

ขอ 2 หรือ 3 ดังนี้ ถามตีางประเทศรวมลงทนุหรอืถือหุนในสัดสวนนอยกวา 10% กา ใน หนาขอ 1 ถามีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุนในสัดสวน 10% - 50 % กา ใน หนาขอ 2 ถามีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุนในสัดสวนมากกวา 50 % กา ใน หนาขอ 3

ถาสถานประกอบการแหงนี้ ไมมีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุน ให กา ใน หนาขอ 4

ท้ังนี้ ขอใหตรวจสอบความเปนไปไดของขอมูลดวย ในกรณท่ีีมีตางประเทศรวมลงทนุหรอืถือหุนมากกวา50% เนือ่งจากกฎหมายกํ าหนดการที่ตางประเทศจะเขามารวมลงทุนหรือถือหุนมากกวา 50 %ได นั้น จะตองเปนไปตาม พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจของคนตางดาวพ.ศ. 2542 กํ าหนดไว โดยเฉพาะในมาตรา 8 (รายละเอียดดูจากภาคผนวก)ดังนี้

กรณี 1 ถาคนตางดาวที่ประกอบธุรกิจประเภทตาง ๆ ตามที่กํ าหนดไวในบัญชีหนึ่ง คือ “ธุรกิจที่ไมอนุญาตใหคนตางดาวประกอบกิจการดวยเหตุผลพิเศษ”เชน การทํ าหรือหลอพระพุทธรูปหรือการทํ าบาตร รหัส 2732 การคาที่ดิน รหัส 7010เปนตน คนตางดาวไมสามารถถือหุนเกิน 50% ได

กรณี 2 ถาคนตางดาวประกอบธุรกิจประเภทตาง ๆ ตามที่กํ าหนดไวในบัญชีสอง คือ “ธรุกิจที่เก่ียวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ ธุรกิจที่มีผลกระทบตอศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบาน หรือทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดลอม” เชน การผลิตเครื่องไมแกะสลัก รหัส 2029การผลตินํ ้าตาลจากออย รหัส 1542 เปนตน คนตางดาวสามารถถือหุนเกิน 50% ไดแตตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี

กรณี 3 ถาคนตางดาวตองประกอบธุรกิจประเภทตาง ๆ ตามที่กํ าหนดไวในบัญชีสาม คือ “ธุรกิจที่คนไทยยังไมมีความพรอมที่จะแขงขันในการประกอบกิจการกับคนตางดาว” เชน การผลติปนูขาว รหัส 2694 การท ํากิจการบรกิารทางบญัช ีรหัส 7412เปนตน คนตางดาวสามารถถือหุนเกิน 50% ได แตตองไดรับอนุญาตจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

กรณีตางชาติถือหุน > 50 % ไดตองเปนไปตาม พรบ. กํ าหนดดังนี้

คนตางดาวไมสามารถถอืหุนเกนิ 50 % ได

คนตางดาวถือหุนเกิน 50 % ไดแตตองขออนุญาตจาก รมต.

คนตางดาวถือหุนเกิน 50 % ไดแตตองมีการขออนุญาตจากอธิบดี

บัญชีสาม

บัญชีหน่ึง

บัญชีสอง

Page 34: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

29

⌫⌦ ⌫

⌫⌫⌫ ⌫ ⌫⌫ ⌫

⌫⌫⌫⌫

⌫⌫ ⌫⌫

⌫⌫ ⌫⌫ ⌦ ⌫ ⌫ ⌫

⌫⌫

22129213

5240

70102732

⌫ ⌫

52402029 1711

36923691

2691

1542

2010

Page 35: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

30

⌫⌫⌫⌫

⌫ ⌫ ⌫⌫ ⌫

⌦ ⌫ ⌫ ⌫⌦

⌫⌫ ⌦

⌫⌫

⌦⌫⌫ ⌫⌦⌦

⌫⌫⌫ ⌦ ⌫⌫

⌫ ⌫⌫⌫ ⌫⌫⌫⌦ ⌫⌫⌫ ⌫⌫⌦ ⌫ ⌫ขขออ 55 โปรดบันทึกจํ านวนคนทํ างานตามปกติของสถานประกอบการ

1531

20212694

7412

74217411

74214510-4550

5121

55107430

6304

9309

5520

⌫ ⌫

Page 36: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

31

(สํ าหรับลูกจางใหนับท้ังลูกจางประจํ าและลูกจางช่ัวคราว)ชาย หญิง

1 คนทํ างานโดยไมไดรับคาจางหรือเงินเดือน A0659-62

A0971-74

2 ลูกจาง A0763-66

A1075-78

รวม (1+2) A0867-70

A1179-82

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบจ ํานวนคนทํ างานของสถานประกอบการ เพ่ือน ําไปใชในการจดัขนาดของสถานประกอบการ

อยางคราว ๆ

วิวิธีธีบับันนทึทึกก :: บับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนคคนนทํ าทํ างงาานนแแตตลละะปปรระะเเภภทท ลลงงใในนชชอองง ใหสอบถามจํ านวนคนทํ างานท้ังส้ิน (ผูปฏิบัติงานโดยไมไดรับคาจาง เงินเดือน และลูกจาง) ท่ีทํ างาน

ในสถานประกอบการแหงนี้ ถาจํ านวนคนทํ างานมีการเปลี่ยนแปลง ใหสอบถามจํ านวนคนทํ างานตามปกติของสถานประกอบการ

คนทํ างาน

หมายถึง คนท่ีทํ างานในสถานประกอบการท้ังท่ีไดรับเงินเดือนและไมไดรับเงินเดือนท่ีสถานประกอบ-การมีอยูตามปกติ รวมท้ังผูท่ีปกติทํ างานอยูในสถานประกอบการแหงนี้ แตในวันดังกลาวไมไดมาทํ างาน หรือเนื่องจาก เจ็บปวย ลาหยุดพักผอน โดยไดรับคาจาง/เงินเดือน

คนทํ างานประกอบดวย1. คนทํ างานโดยไมไดรับคาจางหรือเงินเดือน หมายถึง เจาของกิจการ หุนสวน หรือสมาชิกใน

ครอบครัวท่ีทํ างานใหกับสถานประกอบการ หรือผูปฏิบัติงานในสถานประกอบการซึ่งมีจํ านวนชั่วโมงทํ างานไมต่ํ ากวาสัปดาหละ 20 ชั่วโมง โดยเจาของหรือผูประกอบการอาจใหเงิน อาหาร เครื่องนุงหม หรือชวยเหลือเก้ือกูลอยางอื่น ๆ แตไมตองรับผิดชอบในเรื่องการจายคาแรงใหตามกฎหมาย

2. ลูกจาง หมายถึง ผูท่ีปฏิบัติงานใหกับสถานประกอบการ โดยไดรับคาจางหรือเงินเดือนเปนประจํ า ต้ังแตระดับบริหาร นักวิชาการ เสมียน พนักงานตาง ๆ เชน ผูจัดการ ผูอํ านวยการ ผูปฏิบัติงานในหองทดลอง พนักงานขาย และลูกจางท่ีทํ างานในกรรมวิธีการผลิต เปนตน คาจางท่ีไดรับอาจเปนรายปกษ รายสปัดาห รายวัน รายชั่วโมง หรือรายชิ้น ก็ได นอกจากนี้ยังรวมถึงผูท่ีสถานประกอบการสงไปประจํ าท่ีสถานประกอบการอื่นดวย เชน พนักงานรักษาความปลอดภัย คนทํ าความสะอาด พนักงานขายตามหางสรรพสินคา เปนตน

ไมรวมคนทํ างาน ดังตอไปนี้1) ผูบริหารหรือผูถือหุนท่ีไดรับเบ้ียประชุมเปนครั้งคราว2) คนทํ างานของสถานประกอบการอื่นท่ีมาปฏิบัติงานประจํ าท่ีสถานประกอบการแหงนี้3) คนทํ างานท่ีรับงานไปทํ าท่ีบานแลวนํ ามาสงโดยไมไดลงทุนซ้ือวัสดุ อุปกรณ (แตถามีการใช

เครื่องมือสวนตัวเล็กนอยได เชน มีด เข็มดาย)4) คนงานท่ีลางานเปนระยะเวลานาน เชน ลาไปรับราชการทหาร5) คนท่ีสถานประกอบการจางมาทํ างานเฉพาะอยางเปนครั้งคราว เชน กรรมกรที่จางมาขนของ

พนักงานเดินตลาดหรือตัวแทนขายที่ไมมีเงินเดือนประจํ า

Page 37: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

32

ตตออนนที่ที่ 22 กกาารรใใชชเเคคร่ืร่ือองงคคออมมพิพิววเเตตออรรใในนกกาารรปปรระะกกออบบกิกิจจกกาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 66 สถานประกอบการแหงนี้ มีการใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการหรือไม Rec.2

Col.43B0144

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 ใชท่ีสถานประกอบการ ใหบันทึกขอ 1.1 และ 1.2

1.1 จํ านวนเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสวนบุคคล

จํ านวน B0245-48 เครื่อง ใชเช่ือมตออินเทอรเน็ต B03

49-52 เคร่ือง

คอมพิวเตอรเพื่อการบริการและประมวลผลจากสวนกลาง จํ านวน B04

53-55 เครื่อง ใชเช่ือมตออินเทอรเน็ต B0556-58 เครื่อง

1.2 จํ านวนบุคลากรท่ีใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงานเปนประจํ า (เฉล่ียอยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง ถาใชนอยกวาสัปดาหละ 1 ครั้ง ใหบันทึก 0) จํ านวน B06

59-62 คน

2 ใชท่ีอื่น (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)อินเทอรเน็ตคาเฟ……………………….…….…………..……………….…….. 1 B07

63ศนูยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน (เทเลเซ็นเตอร)…………..…….... 2 B08

64อ่ืน ๆ (ระบ)ุ………………………………………………………………………… 3 B09

65

3 ไมใช ใหบันทึกขอ 3.1 และ 3.2 แลวขามไปถามตอนที่ 43.1 เหตุผลท่ีไมใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการ (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)

คาใชจายสูงเกินไป…………………………………………………………....….. 1 B1066

รปูแบบธรุกิจหรือสินคา ไมเหมาะสม / ไมจํ าเปน……..……………….… 2 B1167

ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน / มีความลังเลท่ีจะใช………………….… 3 B1268

มปีญหาในการสรรหาลูกจางท่ีมีทักษะในการใชงาน……………………… 4 B1369

เทคโนโลยมีีการเปล่ียนแปลงเร็วเกินไป……………………..……………… 5 B1470

ไมเห็นประโยชนท่ีจะไดรับ…………………………………………..…………. 6 B1571

อ่ืน ๆ (ระบ)ุ…………………………………………………………………..……. 7 B1672

3.2 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนจะใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มแีผน…………………………………………………………………………….….. 1 B1773

ไมมแีผน……………………………………………………….………………….… 2

ตตออนนที่ที่ 22 กกาารรใใชชคคออมมพิพิววเเตตออรร

Page 38: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

33

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบ การใชเครื่องคอมพิวเตอรในการประกอบกิจการของสถานประกอบการ และ

จํ านวนเครื่องคอมพิวเตอร เพ่ือนํ าไปใชในการจัดทํ าตัวชี้วัดตาง ๆ เชน สัดสวนของสถานประกอบการที่มี/ไมมีการใชเครื่องคอมพิวเตอร สัดสวนของบุคลากรท่ีใชคอมพิวเตอร เปนตน นอกจากนี้ยังตองการทราบสาเหตุท่ีไมมีการใชเครื่องคอมพิวเตอร และแผนที่จะใชเครื่องคอมพิวเตอรในอนาคตของสถานประกอบการ เพ่ือประกอบการพิจารณาถึงความสามารถในการแขงขันและระดับความพรอมของการใช ICT

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้

1. ถถาาใใชชท่ีท่ีสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร ให กา ใน หนาขอ 1 และใหบันทึกขอ 1.1 และ 1.2 ดงันี้ ขอ 1.1 จํ านวนเครื่องคอมพิวเตอร โดยจํ าแนกออกเปน คอมพิวเตอรสวนบุคคล และคอมพิวเตอรเพ่ือการบริการและประมวลผลจากสวนกลาง และจํ านวนเครื่องฯ ท่ีมีการเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตดวย

ขอ 1.2 จํ านวนบุคลากรท่ีใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงานเปนประจํ า หรืออยางนอยเฉล่ียสัปดาหละ 1 ครั้ง แแลลววถถาามมตตออตตออนนที่ที่ 33

ขขออสัสังงเเกกตต :: กกรรณีณีท่ีท่ีสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรมีมีกกาารรใใชชคคออมมพิพิววเเตตออรรใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรเเฉฉล่ีล่ียยนนออยยกกววาาสัสัปปดดาาหหลละะ 11 คครั้รั้งง เเชชนน มีมีกกาารรใใชชคคออมมพิพิววเเตตออรรใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรปปรระะมมาาณณเเดืดืออนนลละะ 11 คครั้รั้งง เเปปนนตตนน กกรรณีณีเเชชนนนี้นี้ ใใหหบับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนบุบุคคลลาากกรรท่ีท่ีใใชชเเคครื่รื่อองงคคออมมพิพิววเเตตออรรใในนกกาารรปปฏิฏิบับัติติงงาานน ((BB0066)) เเปปนน ““00””

22.. ถถาาใใชช ท่ีท่ีอื่อื่นน ให กา ใน หนาขอ 2 และใหบันทึกสถานท่ี ท่ีใชคอมพิวเตอร โดยสามารถวงกลมรอบตัวเลข ซ่ึงสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ ดังนี้

อินเทอรเน็ตคาเฟ……………………………………………....………. วงกลมรอบรหัส 1 ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน (เทเลเซ็นเตอร)……….… วงกลมรอบรหัส 2 อื่น ๆ (ระบุ)………………………………………………………………. วงกลมรอบรหัส 3

แแลลววถถาามมตตออตตออนนที่ที่ 33

33.. ถถาาไไมมใใชช ให กา ใน หนาขอ 3 และใหบันทึกขอ 3.1 และ 3.2 ดังนี้ ขอ 3.1 เหตุผลท่ีไมใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการ โดยใหวงกลมรอบตัว

เลข ซ่ึงสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ ขอ 3.2 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนจะใชเครื่องคอมพิวเตอร ในการดํ าเนินกิจการ

ในป 2551 หรือไม ? โดยใหวงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 44

เครื่องคอมพิวเตอร (Computer)

หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอรท่ีสถานประกอบการมีไวใชในการดํ าเนินธุรกิจ และสามารถใชงานได ในการสํ ารวจครั้งนี้ จํ าแนกออกเปน

Page 39: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

34

(1) คอมพิวเตอรสวนบุคคล หมายถึง คอมพิวเตอรต้ังเดี่ยวสํ าหรับใชงานโดยผูใชครั้งละ 1 คนประกอบดวยจอแสดงผล ซีพียู แปนพิมพ และอุปกรณตอพวงอื่น ๆ ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (พีซี) คอมพิวเตอรแบบกระเปาห้ิว (โนตบุค) เวิรกสเตชั่น เทอรมินัล

เวิรกสเตชั่น (Workstation หรือ Engineering Workstation) คือ คอมพิวเตอรอันทรงประสิทธิภาพท่ีใชสํ าหรับงานทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม เชน CAD เปนตน

เทอรมินัล (Terminal) คือ มอนิเตอรท่ีเสียบเขากับเครื่องเมนเฟรม มีท้ังแบบที่มีซีพียู หรือมีเพียงแคตัวมอนิเตอรและแปนพิมพ

(2) คอมพิวเตอรเพ่ือการบริการและประมวลผลจากสวนกลาง หมายถึง คอมพิวเตอรต้ังไวสวนกลาง เพ่ือควบคุมการทํ างานและใหบริการคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ไดแก เซิรฟเวอร (Server) เมนเฟรม (Mainframe) มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer)

เมนเฟรม (Mainframe) คอื เครือ่งคอมพิวเตอรประสทิธภิาพสูง เปนระบบคอมพิวเตอร

แบบหลายผูใช ขนาดใหญมาก ทํ างานไดรวดเร็ว ออกแบบมาสํ าหรับการจัดการขอมูลจํ านวนมหาศาลและตองทํ างานท่ีมีความซับซอน เมนเฟรมมักจะมีอยูในธุรกิจขนาดใหญ ท่ีมีผูสามารถใชไดจํ านวนมาก ๆ

มินิคอมพิวเตอร คือ ระบบคอมพิวเตอรขนาดกลางที่จัดการกับผูใชมากกวา 100 คน ไดพรอม ๆ กัน

ซุปเปอรคอมพิวเตอร คือ เครื่องคอมพิวเตอรท่ีทํ างานไดรวดเร็วกวาเครื่องคอมพิวเตอรธรรมดา เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญ ประสิทธิภาพสูง ทํ างานไดรวดเร็ว มีราคาสูงมาก ซุปเปอรคอมพิวเตอรใชกับงานที่มีความสํ าคัญและซับซอน เชน พยากรณอากาศ ออกแบบภาพและจํ าลองภาพ 3 มิติ

อินเทอรเน็ตคาเฟ (Internet Cafe’)

ในสมัยแรก ๆ จะหมายถึงรานกาแฟท่ีมีบริการอินเทอรเน็ตใหใชในขณะรับประทานอาหารหรือดื่มกาแฟไปดวย แตในปจจุบัน จะหมายถึงรานคาท่ีใหบริการใชงานอินเทอรเน็ตท้ังหมด โดยไมจํ าเปนวาตองมีบริการกาแฟหรืออาหารหรือไม อินเทอรเน็ตคาเฟไดรับความนิยมอยางมาก เนื่องจากราคาการใชงานไมสูงมากและมีบริการในจุดตาง ๆ เชน โรงแรม ศูนยการคา อยางมากมาย นักทองเท่ียวหรือผูท่ีไมมีเครื่องคอมพิวเตอรเปนของตนเอง จึงนิยมใชในการทองเว็บ เขาหองสนทนา หรือตรวจสอบอีเมล

ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน หรือ เทเลเซ็นเตอร (Telecenter)

คือ สถานท่ีใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศกับชุมชนหรือประชาชน โดยอาจมีการคิดคาบริการหรือไมก็ได

Page 40: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

35

ตตออนนที่ที่ 33 กกาารรใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรปปรระะกกออบบกิกิจจกกาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 77 สถานประกอบการแหงนี้ มีการใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการหรือไม B18

74 (กา ใน เพียงขอเดียว)

1 ใช จํ านวนบุคลากรท่ีใชอินเทอรเน็ตในการปฏิบัติงานเปนประจํ า (เฉล่ียอยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง

ถาใชนอยกวาสัปดาหละ 1 ครั้ง ใหบันทึก 0) จํ านวน B1975-78 คน

2 ไมใช ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 22..11 แแลละะ 22..22 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 772.1 เหตุผลท่ีไมใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการ (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)

คาใชจายสูงเกินไป………………………………………………………..………… 1 B2079

รูปแบบธุรกิจหรือสินคา ไมเหมาะสม / ไมจํ าเปน…………………..…….. 2 B2180

ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน / มีความลังเลที่จะใช………………..……. 3 B2281

มีปญหาในการสรรหาลูกจางที่มีทักษะในการใชงาน…………………..…… 4 B2382

ไมเห็นประโยชนที่จะไดรับ………………………………………………………… 5 B2483

ขาดระบบการรักษาความปลอดภัยจากไวรัส หรือแฮกเกอร (Hacker) 6 B2584

ไมมีอินเทอรเน็ตใหบริการบริเวณน้ี……..……………………………………… 7 B2685

อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………………………………….……….. 8 B2786

2.2 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนจะใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน………………………………………………………………….………….….. 1 B2887

ไมมีแผน…………………………………………………………………..……….… 2

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบการใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการของสถานประกอบการ และจํ านวนบุคลากรท่ี

ใชเครื่องในการปฏิบัติงาน เพ่ือนํ าไปใชในการจัดทํ าตัวชี้วัดตาง ๆ เชน สัดสวนของสถานประกอบการที่มี/ไมมีการใชอินเทอรเน็ต สัดสวนของบุคลากรท่ีใชอินเทอรเน็ตในการปฏิบัติงาน เปนตน นอกจากนี้ยังตองการทราบสาเหตุท่ีไมใชอินเทอรเน็ต และแผนที่จะใชอินเทอรเน็ตในอนาคตของสถานประกอบการ เพ่ือประกอบการพิจารณาถึงความสามารถในการแขงขันและระดับความพรอมของการใช ICT

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้1. ถถาาใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารร ให กา ใน หนาขอ 1 และใหบันทึกจํ านวน

บุคลากรท่ีใชอินเทอรเน็ตในการปฏิบัติงานเเปปนนปปรระะจํ าจํ า หรือเฉล่ียสัปดาหละ 1 ครั้ง ใน B19 แแลลววถถาามมตตออขขออ 88ขขออสัสังงเเกกตต :: กกรรณีณีท่ีท่ีสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรมีมีกกาารรใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรเเฉฉล่ีล่ียยนนออยยกกววาา

สัสัปปดดาาหหลละะ 11 คครั้รั้งง เเชชนน มีมีกกาารรใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรปปรระะมมาาณณเเดืดืออนนลละะ 11 คครั้รั้งง เเปปนนตตนน กกรรณีณีเเชชนนนี้นี้ ใใหหบับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนบุบุคคลลาากกรรท่ีท่ีใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรปปฏิฏิบับัติติงงาานน ((BB1199)) เเปปนน ““00””

ตตออนนที่ที่ 33 กกาารรใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต

หรือ โครงสรางทางโทรคมนาคม ไมเอ้ืออํ านวย

Page 41: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

36

22.. ถถาาไไมมใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารร ให กา ใน หนาขอ 2 และใหบันทึกขอ 2.1 และ 2.2 ดังนี้

ขอ 2.1 เหตุผลท่ีไมใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการ โดยใหวงกลมรอบตัวเลขและสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ

ขอ 2.2 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนจะใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม โดยใหวงกลมรอบตัวเลขไดเพียงขอเดียว แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 77

ขขออ 88 สถานประกอบการแหงนี้ มีการใชอินเทอรเน็ตเชื่อมตอดวยชองทางใด (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 ตอผานสายโทรศัพท (Dial Line) B2988

2 ISDN B3089

3 xDSL เชน ADSL, SDSL เปนตน B3190

4 เคเบ้ิลโมเด็ม B3291

5 Leased Line B3392

6 ระบบเชื่อมตอแบบถาวรอื่น ๆ เชน เฟรมรีเลย หรือ VPN B3493

7 ระบบเชื่อมตอไรสาย เชน โทรศัพทมือถือ ดาวเทียม เปนตน B3594

8 ไมทราบ B3695

9 อ่ืน ๆ (ระบุ) ……………………………………………………….. B3796

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบ ชองทางในการเชื่อมตออินเทอรเน็ตของสถานประกอบการ วาใชชองทางใดบาง

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ไไดดมมาากกกกววาา 11 ขขออใหสอบถามสถานประกอบการ ท่ีมีการใชอินเทอรเน็ตโดยเชื่อมตออินเทอรเน็ตดวยชองทางใด?

โดย กา ใน หนาขอนั้น ๆ ซ่ึงสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ ดังนี้ ตอผานสายโทรศัพท (Dial line) ใหกา ใน หนาขอ 1 ISDN ใหกา ใน หนาขอ 2 xDSL เชน ADSL, SDSL เปนตน ใหกา ใน หนาขอ 3 เคเบ้ิลโมเด็ม ใหกา ใน หนาขอ 4 Leased Line ใหกา ใน หนาขอ 5 ระบบเชื่อมตอแบบถาวรอื่น ๆ เชน เฟรมรีเลย หรือ VPN ใหกา ใน หนาขอ 6 ระบบเชื่อมตอไรสาย เชน โทรศัพทมือถือ ดาวเทียม เปนตน ใหกา ใน หนาขอ 7 ไมทราบ ใหกา ใน หนาขอ 8 อื่น ๆ (ระบุ) ……………………………………………. ใหกา ใน หนาขอ 9

แลวถามตอขอ 9

Page 42: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

37

ขขออ 99 สถานประกอบการแหงนี้ ใชอินเทอรเน็ตเพื่อวัตถุประสงคใด (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)1 คนหาขอมูลท่ัวไป B38

972 ติดตามความเคล่ือนไหวของตลาด B39

983 อีเมล B40

994 ชองทางการติดตอส่ือสารอ่ืน ๆ นอกจากอีเมล เชน ICQ MSN เว็บบอรด B41

1005 โฆษณาประชาสัมพันธสินคา / บริษัท B42

1016 การซื้อ / ขาย สินคาและบริการ หรือดํ าเนินธุรกิจกับคูคา B43

1027 ทํ าธุรกรรมทางการเงินและการธนาคาร B44

1038 อ่ืน ๆ (ระบุ) ……………………………………………………….. B45

104

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบ วัตถุประสงคในการใชอินเทอรเน็ตของสถานประกอบการ

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ไไดดมมาากกกกววาา 11 ขขออใหสอบถามสถานประกอบการวา มีวัตถุประสงคในการใชอินเทอรเน็ตเพื่ออะไร ? โดยกา

ใน หนาชองนั้น ซึ่งสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ ดังนี้ คนหาขอมูลท่ัวไป ใหกา ใน หนาขอ 1 ติดตามความเคลื่อนไหวของตลาด ใหกา ใน หนาขอ 2 อีเมล ใหกา ใน หนาขอ 3 ชองทางการติดตอส่ือสารอื่น ๆ นอกจากอีเมล

เชน ICQ MSN เว็บบอรด ใหกา ใน หนาขอ 4 โฆษณาประชาสัมพันธสินคา / บริษัท ใหกา ใน หนาขอ 5 การซ้ือ / ขาย สินคาและบริการ หรือดํ าเนินธุรกิจ

กับคูคา ใหกา ใน หนาขอ 6 ทํ าธุรกรรมทางการเงินและการธนาคาร ใหกา ใน หนาขอ 7 อื่น ๆ ใหกา ใน หนาขอ 8

และ ระบุวัตถุประสงคอื่น ๆ ลงบนเสนประ……………..……….. ดวย แลวถามตอตอนที่ 4

ICQ และ MSN

เปนชื่อโปรแกรมอยางหนึ่งใชสํ าหรับพูดคุยกับผูอื่น ดวยตัวอักษร (ไมใชเสียง) ผานทางหองสนทนา (แชทรูม) สวนตัวในแบบ รีลไทมผานทางอินเทอรเน็ต โปรแกรมชนิดนี้มีชื่อเรียกท่ัวไป Instant Message

Page 43: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

38

ตตออนนที่ที่ 44 กกาารรใใชชเเว็ว็บบไไซซตตใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร ขขออ 1100 สถานประกอบการแหงนี้ มีการใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการหรือไม Rec.3

Col.43(กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ) C01

44-451 ใช และเปนเจาของเว็บไซตเอง2 ใช โดยฝากขอมูลไวกับเว็บไซตของที่อ่ืน3 ไมใช ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 33..11 แแลละะ 33..22 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 55

3.1 เหตุผลท่ีไมใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการ (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)คาใชจายสูงเกินไป………………………………………………..……………….. 1 C02

46รูปแบบธุรกิจหรือสินคา ไมเหมาะสม / ไมจํ าเปน…………..…………….. 2 C03

47ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน / มีความลังเลที่จะใช………….…………. 3 C04

48มีปญหาในการสรรหาลูกจางที่มีทักษะในการใชงาน ……………….…….. 4 C05

49เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป……………………………………... 5 C06

50ไมเห็นประโยชนที่จะไดรับ………………………………………………………. 6 C07

51อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………………………………..…….. 7 C08

523.2 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนวาจะใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน…………………………………………………………….. 11 C0953

ไมมีแผน……………………………………………………….… 22

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบการใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการของสถานประกอบการ เพ่ือนํ าไปใชในการจัดทํ า

ตัวชี้วัดดาน ICT เชน สัดสวนของสถานประกอบการที่มีเว็บไซต นอกจากนี้ตองการทราบสาเหตุของสถานประกอบการท่ีไมใชเว็บไซต และแผนที่สถานประกอบการจะมีเว็บไซตใชในการประกอบกิจการในอนาคต

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ไไดดมมาากกกกววาา 11 ขขออใหสอบถามสถานประกอบการวา มีการใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการหรือไม ? โดย กา

ใน ไดมากกวา 1 ขอ ดังนี้ ถา “ใช และเปนเจาของเว็บไซตเอง” ใหกา ใน หนาขอ 1 แลวถาม

ตอขอ 11 ถา “ใช โดยฝากขอมูลไวกับเว็บไซตของท่ีอื่น” ใหกา ใน หนาขอ 2 แลวถาม

ตอขอ 11 ถา “ไมใช” ใหกา ใน หนาขอ 3 และใหบันทึก ขอ 3.1 และ ขอ 3.2 ดังนี้

ขอ 3.1 เหตุผลท่ีไมใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการ โดยใหวงกลมรอบตัวเลขซ่ึงสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ

ขอ 3.2 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนวาจะใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการในป 2551หรือไม ? โดยใหวงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 55

ตตออนนที่ที่ 44 กกาารรใใชชเเว็ว็บบไไซซตต

Page 44: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

39

ขขออ 1111 สถานประกอบการแหงนี้ มีการใชเว็บไซตเพื่อวัตถุประสงคอะไร (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 โฆษณาประชาสัมพันธสินคา / บริษัท C1054

2 ติดตอสอบถามขอมูล C1155

3 รับคํ าส่ังซื้อ C1256

4 ใหบริการหลังการขาย C1357

5 รับและ / หรือชํ าระเงิน Online C1458

6 เชื่อมโยงระบบสารสนเทศของสํ านักงานสวนหลัง (Back Office) เชน ระบบคลังสินคา C1559

7 อ่ืน ๆ (ระบุ) ……………………………………………………….. C1660

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวัตถุประสงคของการใชเว็บไซตของสถานประกอบการ

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ไไดดมมาากกกกววาา 11 ขขออใหสอบถามสถานประกอบการ วา มีการใชเว็บไซตเพ่ือวัตถุประสงคอะไร ? โดย กา ใน

หนาขอนั้น ซ่ึงสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ ดังนี้ โฆษณาประชาสัมพันธสินคา / บริษัท ใหกา ใน หนาขอ 1 ติดตอสอบถามขอมูล ใหกา ใน หนาขอ 2 รับคํ าส่ังซ้ือ ใหกา ใน หนาขอ 3 ใหบริการหลังการขาย ใหกา ใน หนาขอ 4 รับและ / หรือชํ าระเงิน Online ใหกา ใน หนาขอ 5 เชื่อมโยงระบบสารสนเทศของสํ านักงานสวนหลัง

(Back Office) เชน ระบบคลังสินคา ใหกา ใน หนาขอ 6 อื่น ๆ ใหกา ใน หนาขอ 7 และ

ระบุวัตถุประสงคอื่น ๆ ลงบนเสนประ…………………………..ดวย แลวถามตอนที่ 5

เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)

หรือท่ีเรียกส้ันๆ วา เว็บ (Web) คือ แหลงขอมูลจํ านวนมากมายมหาศาลที่อยูบนอินเทอรเน็ต ท่ีสามารถเขาถึงไดจากคอมพิวเตอรท่ีเชื่อมตออินเทอรเน็ต ขอมูลดังกลาวเปนไดท้ัง อักษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว หรือแมกระท่ังเสียง

เว็บไซต (Web site)

ขอมูลเอกสารหนึ่งชุดบน เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web) ท่ีรวบรวมขึ้นจากเว็บเพจ (Web page) จํ านวนหลาย ๆ หนาเขาดวยกัน และเว็บเพจที่เห็นเปนหนาแรกเมื่อเปดเว็บไซตขึ้นมา เรียกวา โฮมเพจ(Homepage) สรุปไดวา เว็บไซตเปรียบไดกับหนังสือหนึ่งเลม ท่ีแตละหนาคือเว็บเพจ มีโฮมเพจเปนหนาปก และถูกจัดเก็บอยูในหองสมุดขนาดใหญบนอินเทอรเน็ต ท่ีเรียกวา เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)

เว็บพอรทัล (Web Portal) หรือ เว็บทา

หมายถึง เว็บไซตท่ีทํ าหนาท่ีเปนศูนยกลางใหบริการขอมูลและการบริการตาง ๆ โดยมีท้ังขอมูลและการบริการท่ีอยูภายในเว็บไซตเอง และขอมูลท่ีเชื่อมโยงไปยังเว็บไซตตาง ๆ เว็บพอรทัลจึงเปนแหลงท่ีจะนํ าไป สูเว็บไซตอื่น ๆ อีกมากมาย ตัวอยางไดแก Yahoo.com, Sanook.com และ Mthai.com เปนตน

Page 45: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

40

ตตออนนที่ที่ 55 กกาารรสั่สั่งงซื้ซื้ออสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตขขออ 1122 สถานประกอบการแหงนี้ มีการสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตหรือไม C17

61-62 (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 มี จากผูขายในประเทศ ประมาณรอยละ C1863-65 ของมูลคาสินคาหรือบริการที่ส่ังซื้อทั้งหมด

2 มี จากตางประเทศ ประมาณรอยละ C1966-68 ของมูลคาสินคาหรือบริการที่ส่ังซื้อทั้งหมด

3 ไมมี ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 66

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวาสถานประกอบการประเภทใดบางท่ีมีการส่ังซ้ือสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต

ท้ังจากผูขายในประเทศ หรือจากตางประเทศ และเปนสัดสวนรอยละเทาใดของมูลคาสินคาและบริการท่ีส่ังซ้ือท้ังหมด

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ไไดดมมาากกกกววาา 11 ขขออใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้

ถาสถานประกอบการ “มีการสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต” ให กา ใน หนาขอ 1 และ/หรือ 2 ดังนี้

ถามีการสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตจากผูขายในประเทศ ให กา ใน หนาขอ 1 และใหบันทึกสัดสวน (รอยละ) ของมูลคาสินคาหรือบริการท่ีส่ังซ้ือท้ังหมดดวย แลวถามตอขอ 13

ถามีการสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตจากผูขายตางประเทศ ให กา ใน หนาขอ 2 และใหบันทึกสัดสวน (รอยละ) ของมูลคาสินคาหรือบริการท่ีส่ังซ้ือท้ังหมดดวย แลวถามตอขอ 13

ถาสถานประกอบการแหงนี้ “ไมมีการสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต” ให กา ใน หนาขอ 3 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 66

พาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ อีคอมเมิรซ (E-Commerce)

ในความหมายแบบกวาง ๆ จะหมายถึงการดํ าเนินธุรกิจผานส่ืออิเล็กทรอนิกส โดยส่ืออิเล็กทรอนิกสจะครอบคลุมถึงอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสขั้นพ้ืนฐานตาง ๆ เชน โทรศัพท โทรสาร อีดีไอ เปนตน อยางไรก็ดี เทคโนโลยีท่ีมีผลตอพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมากท่ีสุดคือเครือขายอินเทอรเน็ต

ในที่น้ีจึงขอกลาวถึงพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในความหมายแบบแคบ คือ การซื้อขายหรือบริการสินคาผานทางอินเทอรเน็ต โดยมีเว็บไซตเปนชองทางหลักในการติดตอและทํ าธุรกรรม

ลักษณะการดํ าเนินพาณิชยอิเล็กทรอนิกส• Business-to-Business (B2B) การดํ าเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับองคกรธุรกิจ• Business-to-Consumer (B2C) การดํ าเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับผูบริโภค เชน

การคาปลีกออนไลน• Business-to-Government (B2G) การดํ าเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับภาครัฐ

ซ่ึงโดยมากมักจะเปนเรื่องของการจัดซ้ือจัดจางภาครัฐ

ตตออนนที่ที่ 55 กกาารรส่ัส่ังงซ้ืซ้ืออสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต

Page 46: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

41

ขขออ 1133 สถานประกอบการแหงนี้ มีการชํ าระเงินคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตหรือไม C2069

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี2 ไมมี

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา สถานประกอบการที่มีการส่ังซ้ือสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตท้ังจากผูขายใน

ประเทศ และ/หรือจากผูขายตางประเทศ นั้น มีการชํ าระเงินคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตดวยหรือไม

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้

ถาสถานประกอบการ “มีการชํ าระเงินคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต” ให กา ใน หนาขอ 1 แลวถามตอขอ 14

ถาสถานประกอบการ “ไมมีการชํ าระเงินคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต” ให กา ใน หนาขอ 2 แลวถามตอขอ 14

Page 47: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

42

ขขออ 1144 ปจจัยใดตอไปนี้ท่ีสถานประกอบการใชในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต (กา ใน )

ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจ ไมสํ าคัญ สํ าคัญ สํ าคัญมาก ไมทราบ

1. ความสะดวกในการติดตอกับผูขายสินคา / บริการ C2170

2. ความสะดวกในการชํ าระเงินคาสินคา C2271

3. ลดคาใชจาย C2372

4. ซื้อสินคาไดในราคาที่ตํ่ ากวาทองตลาดทั่วไป C2473

5. ทํ าใหกระบวนการทางธุรกิจดํ าเนินไปไดรวดเร็วขึ้น C2574

6. ขอกํ าหนดของบริษัทคูคา C2675

7. อ่ืน ๆ (ระบุ)……………………………………………. C2776

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา ปจจัยใดที่มีความสํ าคัญตอสถานประกอบการในการตัดสินใจซ้ือสินคาหรือบริการ

ผานทางอินเทอรเน็ต

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ให กา ใน ทุกรายการท่ีใชในการตัดสินใจซ้ือสินคาหรือบริการผานอินเทอรเน็ตวา “ไมสํ าคัญ”

หรือ “สํ าคัญ” หรือ “สํ าคัญมาก” หรือ “ไมทราบ”ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจซ้ือสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต ไดแก

1. ความสะดวกในการติดตอกับผูขายสินคา / บริการ2. ความสะดวกในการชํ าระเงินคาสินคา3. ลดคาใชจาย4. ซ้ือสินคาไดในราคาท่ีต่ํ ากวาทองตลาดทั่วไป5. ทํ าใหกระบวนการทางธุรกิจดํ าเนินไปไดรวดเร็วขึ้น6. ขอกํ าหนดของบริษัทคูคา7. อื่น ๆ (ระบุ)…………………………………………….

แลวถามตอนที่ 6

1

12 3 42 3

4

4

4

4

1

1

2

2 3

1

3

1

2

2

3

43

1 2 43

Page 48: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

43

ตตออนนที่ที่ 66 กกาารรขขาายยสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต ขขออ 1155 สถานประกอบการแหงนี้ มีการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตหรือไม C28

77 (กา ใน เพียงขอเดียว)

1 มี ประมาณรอยละ C2978-80 ของมูลคาการรับคํ าส่ังซื้อสินคาและบริการทั้งหมด2 ไมมี ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 77

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา สถานประกอบการประเภทใดบาง ท่ีมีการรับคํ าส่ังซ้ือสินคาทางอินเทอรเน็ตและ

เปนสัดสวนรอยละเทาใดของมูลคาคํ าส่ังซ้ือสินคาและบริการท้ังหมดทางเว็บไซต

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้

ถา “มีการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต” ให กา ใน หนาขอ 1และใหบันทึกรอยละของมูลคาคํ าส่ังซ้ือสินคาและบริการทางอินเทอรเน็ต ลงในชอง C29 แลวถามตอขอ 16

ถา “ไมมีการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต”” ให กา ใน หนาขอ 2แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 77

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกก ขขออ 1155

กรณีที่สถานประกอบการมีมูลคาขายสินคาหรือบริการทั้งหมด = 10,000,000 บาท

โดย :- เปนมูลคาของการรับคํ าส่ังซื้อ (หรือการขายสินคาหรือบริการของสถานประกอบการ)

ทางอินเทอรเน็ต = 2,000,000 บาท

ดังนั้น สถานประกอบการแหงนี้ มีมูลคาการรับคํ าส่ังซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ = 2,000,000 x 100 = 20 บันทึกใน C29 10,000,000

ขขออ 1155 สถานประกอบการแหงนี้ มีการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตหรือไม C2877

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี ประมาณรอยละ C2978-80 20 ของมูลคาการรับคํ าส่ังซื้อสินคาและบริการทั้งหมด2 ไมมี ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 77

ตตออนนที่ที่ 66 กกาารรขขาายยสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต

E สถานประกอบการแหงนี้ มีมูลคาการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต

ประมาณรอยละ 20 ของมูลคาการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทั้งหมด

Page 49: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

44

ขขออ 1166 สถานประกอบการแหงนี้ ไดรับการชํ าระคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตหรือไม C3081

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี ประมาณรอยละ C3182-84 ของมูลคาการรับคํ าส่ังซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต

2 ไมมี

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา สถานประกอบการที่มีการขายสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต นั้น ไดรับการชํ าระ

เงินคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตเปนสัดสวนรอยละเทาใดของมูลคาการรับคํ าส่ังซ้ือสินคาหรือบริการท้ังหมด

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้

ถา ““มีมีกกาารรรัรับบชํ าชํ ารระะคคาาสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรผผาานนททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต”” ใหกา ใน หนาขอ 1และบันทึกรอยละของมูลคาการรับชํ าระคาสินคาและบริการผานทางอินเทอรเน็ต ลงในชอง C31 แลวถามตอขอ 17

ถา ““ไไมมมีมีกกาารรรัรับบชํ าชํ ารระะคคาาสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรผผาานนททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต”” ใหกา ใน หนาขอ 2แลวถามตอขอ 17

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกก ขขออ 1166

จากตัวอยางขางตน สถานประกอบการแหงนี้ มีมูลคารับการสั่งซื้อหรือบริการทางอินเทอรเน็ตทั้งสิ้น จํ านวน 2,000,000 บาท โดยเปนการรับชํ าระคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต จํ านวน

1,500,000 บาท

ดังนั้น สถานประกอบการแหงนี้ ไดรับการรับชํ าระคาสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ = 1,500,000 x 100 = 75 บันทึกใน C31 2,000,000

ขขออ 1166 สถานประกอบการแหงนี้ ไดรับการชํ าระคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตหรือไม C3081

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี ประมาณรอยละ C3182-84 75 ของมูลคาการรับคํ าส่ังซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต

2 ไมมี

((ปปรระะมมาาณณรรออยยลละะเเททาาใใดดขขอองงขขออ 1155))

E สถานประกอบการแหงนี้ ไดรับชํ าระคาสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต

ประมาณรอยละ 75 ของมูลคาการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ต (ขอ 15)

((ปปรระะมมาาณณรรออยยลละะเเททาาใใดดขขอองงขขออ 1155))

Page 50: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

45

ขขออ 1177 ปจจัยใดตอไปนี้ ท่ีสถานประกอบการใชในการตัดสินใจจํ าหนายสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต (กา ใน )

ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจ ไมสํ าคัญ สํ าคัญ สํ าคัญมาก ไมทราบ

1. ภาพลักษณของสถานประกอบการ C3285

2. ลดตนทุน C3386

3. ขอกํ าหนดจากคูคา C3487

4. กระบวนการทางธุรกิจเร็วข้ึน C3588

5. เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการลูกคา C3689

6. ขยายเวลาทํ าการใหมากกวาช่ัวโมงปกติ C3790

7. ขยายฐานลูกคา C3891

8. รักษาขีดความสามารถในการแขงขันใหทัดเทียมคูแขง/

รักษาสวนแบงทางการตลาด C3992

9. มีหนวยงานของรัฐบาล / องคกรอ่ืน ๆ ชวยสนับสนุน C4093

10. อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………………… C4194

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา ปจจัยใดท่ีมีความสํ าคัญตอสถานประกอบการในการตัดสินใจจํ าหนายสินคาหรือ

บริการผานทางอินเทอรเน็ต

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ให กา ใน ทุกรายการท่ีมีความสํ าคัญตอสถานประกอบการในการตัดสินใจจํ าหนายสินคา

หรือบริการผานอินเทอรเน็ต วา “ไมสํ าคัญ” หรือ “สํ าคัญ” หรือ “สํ าคัญมาก” หรือ “ไมทราบ”ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจจํ าหนายหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต ไดแก1. ภาพลักษณของสถานประกอบการ2. ลดตนทุน3. ขอกํ าหนดจากคูคา4. กระบวนการทางธุรกิจเร็วขึ้น5. เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการลูกคา6. ขยายเวลาทํ าการใหมากกวาชั่วโมงปกติ7. ขยายฐานลูกคา8. รักษาขีดความสามารถในการแขงขันใหทัดเทียมคูแขง/รักษาสวนแบงทางการตลาด9. มีหนวยงานของรัฐบาล / องคกรอ่ืน ๆ ชวยสนับสนุน10. อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………...

แลวถามตอตอนที่ 7

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 4

1 2 3 41 2 3 4

1 2 3 41 2 3 4

Page 51: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

46

ตตออนนที่ที่ 77 กกาารรใใชชบบริริกกาารรอีอีดีดีไไออ หหรืรืออ เเคครืรืออขขาายยคคออมมพิพิววเเตตออรร อ่ือ่ืนน ๆๆ ((ที่ที่นนออกกเเหหนืนืออจจาากกอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต))ขขออ 1188 สถานประกอบการแหงนี้มีคอมพิวเตอรท่ีเช่ือมตอระบบอีดีไอหรือเครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ C42

95 (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) หรือไม (กา ใน เพียงขอเดียว)

1 มี2 ไมมี ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 22..11 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 88

2.1 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนเชื่อมตอระบบอีดีไอ หรือเครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) ในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน ………………………………………… 1 C4396

ไมมีแผน ………………………………………… 2

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวาสถานประกอบการประเภทใดบาง ท่ีมีคอมพิวเตอรท่ีเชื่อมตอระบบอีดีไอ (EDI) หรือ

เครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) และแนวโนมของสถานประกอบการที่จะใชบริการอีดีไอ หรือ เครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ ในป 2551

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้

ถา ““มีมีคคออมมพิพิววเเตตออรร ท่ีท่ีเเชื่ชื่ออมมตตออรระะบบบบอีอีดีดีไไออ หหรืรืออเเคครืรืออขขาายยคคออมมพิพิววเเตตออรรอื่อื่นน ๆๆ”” ให กา ใน หนาขอ 1 แลวถามตอขอ 19

ถา ““ไไมมมีมีคคออมมพิพิววเเตตออรร ท่ีท่ีเเชื่ชื่ออมมตตออรระะบบบบอีอีดีดีไไออ หหรืรืออเเคครืรืออขขาายยคคออมมพิพิววเเตตออรรอื่อื่นน ๆๆ”” ให กา ใน หนาขอ 2 และใหบันทึกขอ 2.1 ดังนี้

ขอ 2.1 สถานประกอบการแหงนี้ มีแผนจะใชบริการอีดีไอ หรือเครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ(ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) ในการดํ าเนินกิจการในป 2551” หรือไม ? โดยใหวงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว ดังนี้

มีแผน…………………………….... ใหวงกลมรอบรหัส 1 ไมมีแผน…………………………....ใหวงกลมรอบรหัส 2

แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนที่ที่ 88

อีอีดีดีไไออ ((EElleeccttrroonniicc DDaattaa IInntteerrcchhaannggee :: EEDDII))

หมายถึง การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางองคกรธุรกิจในรูปแบบมาตรฐานผานทางเครือขายคอมพิวเตอร แบบ VAN (Value Added Network) โดยรูปแบบมาตรฐานที่ใชจะตองไดรับการยอมรับจากกลุมผูแลกเปลี่ยนขอมูล หรือมาจากการพัฒนาของสถาบันท่ีไดรับการยอมรับในมาตรฐานตาง ๆ เชน UN/EDIFACT

ประโยชนของอีดีไอ คือ ลดคาใชจายในการกรอกขอมูล ไดขอมูลท่ีถูกตองมากขึ้น ติดตอส่ือสารไดรวดเร็วขึ้น และลดงานดานเอกสารซ่ึงจะชวยการทํ างานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Value Added Network (VAN)

หมายถึง เครือขายสวนบุคคลท่ีองคกรสรางขึ้นเพ่ือการใชงานภายในองคกรเทานั้น เชน งานดาน ฐานขอมูล โดยมากองคกรจะเชาสาย leased line เพ่ือเชื่อมตอกับผูใหบริการเครือขายหรือใช dial number เพ่ือเขาถึงเครือขาย

ตตออนนที่ที่ 77 กกาารรใใชชบบริริกกาารรอีอีดีดีไไออ หหรืรืออ เเคครืรืออขขาายยคคออมมพิพิววเเตตออรร อ่ือ่ืนน ๆๆ

Page 52: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

47

ขขออ 1199 สถานประกอบการแหงนี้ เชื่อมตอระบบใชอีดีไอ หรือเครือขายคอมพิวเตอรอื่น ๆ (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) เพ่ือการแลกเปลี่ยนเอกสารกับกลุมใด (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ )

1 ผูซ้ือ C4497

2 ผูขาย C4598

3 ธนาคาร / สถาบันการเงิน C4699

4 กรมศุลกากร C47100

5 บริษัทขนสง / บริษัทตัวแทนขนสง (Broker) C48101

6 อื่น ๆ C49102

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา สถานประกอบการทีม่กีารเชือ่มตอระบบอีดีไอ (EDI) หรอืเครอืขายคอมพิวเตอร อื่น ๆ

(ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) เพ่ือการแลกเปลี่ยนเอกสารกับกลุมใดบาง

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ไไดดมมาากกกกววาา 11 ขขออกรณท่ีีสถานประกอบการ เชือ่มตอระบบอดีไีอ (EDI) หรอืเครอืขายคอมพิวเตอรอืน่ ๆ เพ่ือการแลกเปล่ียน

เอกสาร ใหบันทึกกลุมท่ีมีการแลกเปลี่ยนเอกสาร โดยให กกาา ใในน หนาขอนั้น ซ่ึงสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ ดังนี้

ผูซื้อ ใหกา ใน หนาขอ 1 ผูขาย ใหกา ใน หนาขอ 2 ธนาคาร/สถาบันการเงิน ใหกา ใน หนาขอ 3 กรมศุลกากร ใหกา ใน หนาขอ 4 บริษัทขนสง/บริษัทตัวแทนขนสง (Broker) ใหกา ใน หนาขอ 5 อื่น ๆ (ระบุ)…………………………….. ใหกา ใน หนาขอ 6 และ

ระบุกลุมอื่น ๆ ท่ีนอกเหนือจากขางตน ลงบนเสนประ………….………………. ดวยแลวถามตอตอนที่ 8

Page 53: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

48

ตตออนนที่ที่ 88 คคาาใใชชจจาายยใในนสิสินนคคาาแแลละะบบริริกกาารรดดาานนเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรขขออ 2200 โปรดบันทึกคาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Rec. 4

Col. 43 ของสถานประกอบการ ตามรายการดังตอไปนี้

คาใชจายรวมท้ังสิ้น จํ านวน D0144-51 บาท

1. คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร จํ านวน D0252-59 บาท หรือ %

2. คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร จํ านวน D0360-67 บาท หรือ %

3. คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร จํ านวน D0468-75 บาท หรือ %

4. คาใชจายรวมดานการส่ือสารขอมูล จํ านวน D0576-83 บาท หรือ %

4.1 คาบริการดานการส่ือสาร จํ านวน D0684-90 บาท

4.2 คาใชจายดานอุปกรณส่ือสาร จํ านวน D0791-97 บาท

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบขอมูลเก่ียวกับคาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เพ่ือสะทอนใหเห็นถึงการลงทุนดาน ICT ของสถานประกอบการ โดยขอมูลดังกลาวจะเปนประโยชนตอการวางแผนในการจัดทํ านโยบายระดับประเทศและระดับองคกรท่ีเก่ียวของกับอุตสาหกรรม ICT

วิธีบันทึก :: บับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนเเงิงินน ลลงงใในนชชอองงใหบันทึกจํ านวนเงินคาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถาน

ประกอบการใหตรงกับรายการคาใชจายแตละรายการ หากรายการใดที่ไมมีคาใชจายใหบันทึก “ - ” ลงในชองคาใชจายในสินคาและบริการดาน ICT ประกอบดวย

คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร คาใชจายรวมดานการส่ือสารขอมลู ไดแก คาบรกิารดานการส่ือสาร (คาโทรศพัทพ้ืนฐาน โทรศัพท

เคล่ือนท่ี) และคาใชจายดานอปุกรณส่ือสาร แลวถามตอขอ 21

คาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สถานประกอบการ “จะตองมีบนัทึก” ในรายการใดรายการหนึง่ เชน คาโทรศพัทพ้ืนฐาน คาโทรศพัทเคล่ือนท่ี คาบรกิาร Internet เปนตนก็ถือวาเปนคาใชจายในสินคาและบริการดาน ICT ดวย ดังน้ันคาใชจายในสินคาและบริการดาน ICT ขอ 20 น้ี ควรจะตองมบีนัทึกในทุกสถานประกอบการ

ตตออนนที่ที่ 88 คคาาใใชชจจาายยใในนสิสินนคคาาแแลละะบบริริกกาารรดดาานนเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารร

…….

…….

…….

…….

ขขออคคววรรรระะวัวังง ::

Page 54: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

49

ขขออ 2200 โปรดบันทึกคาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Rec. 4Col. 43

ของสถานประกอบการ ตามรายการดังตอไปนี้คาใชจายรวมท้ังสิ้น จํ านวน D01

44-51 บาท

1. คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร จํ านวน D0252-59 บาท หรือ %

2. คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร จํ านวน D0360-67 บาท หรือ %

3. คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร จํ านวน D0468-75 บาท หรือ %

4. คาใชจายรวมดานการส่ือสารขอมูล จํ านวน D0576-83 บาท หรือ %

4.1 คาบริการดานการส่ือสาร จํ านวน D0684-90 บาท

4.2 คาใชจายดานอุปกรณส่ือสาร จํ านวน D0791-97 บาท

A สํ าหรับในกรณีท่ีสถานประกอบการไมสามารถแยกคาใชจายในขอ 20 ตามรายการ คาใชจายตาง ๆ (คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร และคาใชจายดานการส่ือสาร) ได ใหประมาณเปนอัตรารอยละ (%) แลวบันทึกบนเสนประ ……… ในแตละรายการ ท้ังน้ีจะตองมีบันทึกจํ านวนเงินคาใชจายรวมท้ังสิ้นใน D01 ดวย

กรณีท่ีแยกคาใชจายฯ ไมได ใหบันทึกดังนี้

ขขออ 2200 โปรดบันทึกคาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Rec. 4Col. 43

ของสถานประกอบการ ตามรายการดังตอไปนี้คาใชจายรวมท้ังสิ้น จํ านวน D01

44-51 บาท

1. คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร จํ านวน D0252-59 บาท หรือ %

2. คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร จํ านวน D0360-67 บาท หรือ %

3. คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร จํ านวน D0468-75 บาท หรือ %

4. คาใชจายรวมดานการส่ือสารขอมูล จํ านวน D0576-83 บาท หรือ %

4.1 คาบริการดานการส่ือสาร จํ านวน D0684-90 บาท

4.2 คาใชจายดานอุปกรณส่ือสาร จํ านวน D0791-97 บาท

…….

…….

…….

5 0 0 0 0 0 060

40

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกกขขออ 2200

…….

2 0 0 0 0 0 0

…….

…….

…….

1 00 0 08 0

0 002 01 00 01 00 00

0

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกกขขออ 2200

--

-

-…….

รวมกัน= 100%

แลวใหคํ านวณจํ านวนเงินคาใชจายดาน ICT ในสํ านักงาน บันทึกในชองวิธีการคํ านวณ :A คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร (D02) = D01 X รอยละของ D02A คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร (D03) = D01 X รอยละของ D03A คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร (D04) = D01 X รอยละของ D04A คาใชจายรวมดานการสื่อสารขอมูล (D05) = D01 X รอยละของ D05

Page 55: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

50

ขขออ 2211 จากการที่สถานประกอบการแหงนี้ไดนํ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชในการดํ าเนิน D0898

กิจการ มีผลทํ าใหรายรับเปนอยางไร (กา ใน เพียงขอเดียว ) 1 ลดลงจากเดิม 2 เทาเดิม มากขึ้นกวาเดิม

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการเปรียบเทียบการดํ าเนินกิจการของสถานประกอบการ ภายหลังจากท่ีไดนํ าเทคโนโลยีสาร

สนเทศและการสื่อสารมาใชในการดํ าเนินกิจการ โดยขอมูลดังกลาวจะนํ าไปใชในการวัดขีดความสามารถในการแขงขันของสถานประกอบการ และผลกระทบของ ICT ท่ีมีตอภาคธุรกิจ

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยววใหสอบถามสถานประกอบการวา จากการท่ีสถานประกอบการไดน ําเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร

มาใชในการด ําเนนิกิจการแลว มผีลทํ าใหรายรบัเปนอยางไร โดย กา ใน เพียงขอเดียว ถาลดลงจากเดิม ให กา ใน หนาขอ 1 ถาเทาเดิม ให กา ใน หนาขอ 2 ถามากขึ้นกวาเดิม ให กา ใน หนาขอ 3

แลวถามตอขอ 22

ขขออ 2211 จากการที่สถานประกอบการแหงนี้ไดนํ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชในการดํ าเนิน D0898

กิจการ มีผลทํ าใหรายรับเปนอยางไร (กา ใน เพียงขอเดียว ) 1 ลดลงจากเดิม 2 เทาเดิม มากขึ้นกวาเดิม

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกกขขออ 2211

Page 56: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

51

ตตออนนที่ที่ 99 ปปญญหหาาแแลละะอุอุปปสสรรรรคคใในนกกาารรใใชชไไออซีซีทีทีขขออ 2222 สถานประกอบการแหงนี ้มีปญหาและอปุสรรคตอการใชไอซทีี ดังตอไปนี้หรือไม (กา ใน )

มีปญหาปญหา/อุปสรรค ไมมีปญหา มาก นอย

ไมทราบ/ยังไมเก่ียวของ

การใชไอซีทีโดยทั่วไป1. คาใชจายสูงเกินไป D09

992. เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป D10

1003. ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน/มีความลังเลที่จะใช D11

1014. คัดเลือกลูกจางที่มีคุณสมบัติเหมาะสมยาก D12

1025. อ่ืน ๆ (ระบุ)……………………………………………. D13

103 การใชอินเทอรเน็ต

6. คาใชจายในการเชื่อมตออินเทอรเน็ตสูงเกินไป D14104

7. เทคโนโลยีมีความซับซอนมากเกินไป D15105

8. มีปญหาเรื่องความปลอดภัย เชน แฮกเกอร ไวรัส D16106

9. การรับสงขอมูลชาเกินไป หรือไมแนนอน D17107

10. พนักงานสูญเสียเวลากับการใช Web ที่ไมเกี่ยวของ D18108

11. อ่ืน ๆ (ระบุ)……………………………………………. D19109

การซือ้ขายสินคาหรอืบรกิารผานทางอินเทอรเนต็12. สินคาและบริการไมเหมาะสมกับการขาย

ทางอินเทอรเน็ตD20110

13. ลูกคายังไมพรอมที่จะใช e-commerce D21111

14. คาใชจายในการพัฒนาและบํ ารุงรักษา Web site สูงเกินไป

D22112

15. คาใชจายในการพัฒนาและบํ ารุงรักษาระบบ e-commerce สูงเกินไป

D23113

16. ปญหาเรื่องความปลอดภัยของการชํ าระเงิน คาสินคา

D24114

17. ความไมแนนอนเกี่ยวกับสัญญา ขอตกลงในการสงสินคาและการรับประกัน

D25115

18. ปญหาเรื่องการจัดสงสินคา D26116

19. กฎหมายหรือระเบียบเกี่ยวกับ e-commerceยังไมสมบูรณ

D27117

20. อ่ืน ๆ (ระบุ)……………………………………………. D28118

ตตออนนที่ที่ 99 ปปญญหหาาแแลละะอุอุปปสสรรรรคคใในนกกาารรใใชชไไออซีซีทีที

1 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

Page 57: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

52

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบวา ขอมูลเก่ียวกับปญหาหรืออุปสรรคในการใชไอซีทีของสถานประกอบการประเภท

ตาง ๆ เพ่ือเปนขอมูลสํ าหรับผูท่ีเก่ียวของนํ าไปใชประโยชนในการวางแผนและพัฒนา ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศตอไป

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน ใหสอบถามสถานประกอบการวา มีปญหาหรืออุปสรรคตอการใชไอซีทีในการดํ าเนินกิจการในแตละ

ดานหรือไม ? ในดานตาง ๆ ดังนี้ ดานการใชไอซีทีโดยท่ัวไป ดานการใชอินเทอรเน็ต และดานการซื้อขายสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต โดยใหกกาา ใในน ทุกรายการ ดังตอไปนี้

ไมมีปญหา ใหกา ใน หนาขอ 1 มีปญหามาก ใหกา ใน หนาขอ 2 มีปญหานอย ใหกา ใน หนาขอ 3 ไมทราบ/ยังไมเก่ียวของ ใหกา ใน หนาขอ 4

E ใหพิจารณาวา เปนสถานประกอบการที่มีรูปแบบการจัดตั้งตามกฎหมายเปนบริษัทฯ หรือไม ? ถาเปนบริษัท หรือ บริษัทจํ ากัด(มหาชน) ใหถามตอ ตอนที่ 10 ดวย

Page 58: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

53

ถถาามมเเฉฉพพาาะะสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรท่ีท่ีมีมีรูรูปปแแบบบบเเปปนนบบริริษัษัททฯฯ เเททาาน้ัน้ันน

ตตออนนที่ที่ 1100 บุบุคคลลาากกรรดดาานน IITT ขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 2233 สถานประกอบการแหงนี้ มีบุคลากรที่สํ าเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไม Rec. 5

col. 43E0144

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี รวมทั้งส้ิน จํ านวน E02

45-47 คน ปวส. จํ านวน E03

48-50 คน ปริญญาตรี จํ านวน E04

51-53 คน สูงกวาปริญญาตรี จํ านวน E05

54-56 คน2 ไมมี

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบจํ านวนบุคลากรท่ีสํ าเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของสถานประกอบการ

ในแตละประเภทอตุสาหกรรม วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยวว แแลละะบับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนบุบุคคลลาากกรร ลลงงใในนชชอองง

ใหสอบถามสถานประกอบการ ดังนี้ ถา “มีบุคลากรท่ีสํ าเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ” ให กา ใน หนาขอ 1 และ

บันทึกจํ านวนผูท่ีสํ าเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งส้ินท่ีมีอยูในสถานประกอบการและตองบันทึกจํ านวนบุคลากรจํ าแนกตามระดบัการศกึษา ไดแก ปวส. ปรญิญาตร ี และสูงกวาปรญิญาตร ี ลงในชอง E02 - E05 ดวย แลวถามตอขอ 24

ถา “ไมมีบุคลากรท่ีสํ าเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ” ให กา ใน หนาขอ 2แลวถามตอขอ 24

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดจัดแบงออกเปน 6 กลุม ดังนี้

11.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาวิวิศศววกกรรรรมมคคออมมพิพิววเเตตออรร ไดแก คอมพิวเตอร วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ศาสตรคอมพิวเตอร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิทยาการคอมพิวเตอร วศิวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร

22.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาอิอิเเล็ล็กกททรรออนินิกกสส ไดแก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ฟสิกสอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสกํ าลัง อิเล็กทรอนิกส

33.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาสสาารรสสนนเเททศศ ไดแก การจัดการระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออุตสาหกรรม ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ วิทยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร วทิยาการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางการจัดการ สารสนเทศศาสตร

44.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาคคออมมพิพิววเเตตออรรปปรระะยุยุกกตต ไดแก คอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาการคอมพิวเตอรประยุกต เทคโนโลยีคอมพิวเตอรอุตสาหกรรม วิทยาการคอมพิวเตอรประยุกต-มัลติมีเดีย

55.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาโโททรรคคมมนนาาคคมม ไดแก การบริหารโทรคมนาคม โทรคมนาคม วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคม วิศวกรรมโทรคมนาคม

66.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาสสถิถิติติ ไดแก การประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร สถิติศาสตร สถิติประยุกต สถิติคณิตศาสตร

ตตออนนที่ที่ 1100 บุบุคคลลาากกรรดดาานน IITT ขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร

Page 59: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

54

ขขออ 2244 สถานประกอบการแหงนี้ มีบุคลากรที่ปฏิบัติหนาท่ีดาน IT ในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงดังตอไปนี้ หรือไมสาขาการศึกษา ระดับการศึกษา กลุมอาชีพ/ตํ าแหนง

(ดาน IT) ไมมี มี เทคโนโลยีฯ(คน)

อ่ืน ๆ (คน)

ปวส(คน)

ปริญญาตรี(คน)

สูงกวาปริญญาตรี

(คน)E0657-58

E0759

E0860

E0961-63

E1064-66

E1167-69

E1270-72

E1373-75

01 ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง 1 2 02 ผูจัดการโครงการ 1 2 03 ผูจัดการดานระบบ 1 2 04 นักวิเคราะหระบบ 1 2 05 ผูเช่ียวชาญดานซอฟตแวรประยุกต 1 2 06 ผูเช่ียวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย 1 2 07 ผูเช่ียวชาญดานส่ือสารขอมูล 1 2 08 ผูเช่ียวชาญดานฐานขอมูล 1 2 09 ผูเช่ียวชาญดานความปลอดภัยไอที 1 2 10 ผูเช่ียวชาญดานประกันคุณภาพของไอที 1 2 11 วิศวกรซอฟตแวร 1 2 12 ผูเช่ียวชาญดานแคดแคม 1 2 13 โปรแกรมเมอร 1 2 14 เว็บมาสเตอร 1 2 15 เจาหนาที่ฝกอบรมคอมพิวเตอร 1 2 16 ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร 1 2 17 ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร 1 2 18 อ่ืน ๆ 1 2

รวม (1+2+….+18) กลุมอาชีพอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน พนักงานขายอุปกรณหรือบริการไอที ผูจัดการฝายขายและการตลาดสินคาและ บรกิารไอที พนักงานรับซื้อสินคาและบริการฝายระบบคอมพิวเตอร พนักงานใหบริการโดยใชไอที เจาหนาที่นํ าเขาขอมูล เปนตน

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคคตองการทราบจ ํานวนบุคลากรท่ีปฏบัิติหนาท่ีดาน IT ของสถานประกอบการในแตละประเภทอตุสาหกรรม

จํ าแนกตามกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง สาขาการศึกษา และระดับการศึกษาท่ีเขาสูตลาดแรงงาน เพ่ือใชเปนแนวทางในการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานดานบุคลากร IT ของประเทศตอไป

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยวว แแลละะบับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนบุบุคคลลาากกรร ลลงงใในนชชอองงใหสอบถามสถานประกอบการวา มีบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีดาน IT ในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง หรอืไม

ถา “ไมมี” ในกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงใด ให กา ใน หนาขอ 1 กลุมอาชีพ/ตํ าแหนงนั้น ๆ ถา “มี” ในกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงใด ให กา ใน หนาขอ 2 ตามกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงนั้น ๆ

และใหบันทึกจํ านวนบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีดาน IT จํ าแนกตามสาขาการศึกษา และระดับการศึกษาดวย

1/

1/

Page 60: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

55

ขขออ 2244 สถานประกอบการแหงนี้ มีบุคลากรที่ปฏิบัติหนาท่ีดาน IT ในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงดังตอไปนี้ หรือไมสาขาการศึกษา ระดับการศึกษา กลุมอาชีพ/ตํ าแหนง

(ดาน IT) ไมมี มี เทคโนโลยีฯ(คน)

อ่ืน ๆ (คน)

ปวส(คน)

ปริญญาตรี(คน)

สูงกวาปริญญาตรี

(คน)E0657-58

E0759

E0860

E0961-63

E1064-66

E1167-69

E1270-72

E1373-75

01 ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง 1 2 02 ผูจัดการโครงการ 1 2 03 ผูจัดการดานระบบ 1 2 04 นักวิเคราะหระบบ 1 2 05 ผูเช่ียวชาญดานซอฟตแวรประยุกต 1 2 06 ผูเช่ียวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย 1 2 07 ผูเช่ียวชาญดานส่ือสารขอมูล 1 2 08 ผูเช่ียวชาญดานฐานขอมูล 1 2 09 ผูเช่ียวชาญดานความปลอดภัยไอที 1 2 10 ผูเช่ียวชาญดานประกันคุณภาพของไอที 1 2 11 วิศวกรซอฟตแวร 1 2 12 ผูเช่ียวชาญดานแคดแคม 1 2 13 โปรแกรมเมอร 1 2 14 เว็บมาสเตอร 1 2 15 เจาหนาที่ฝกอบรมคอมพิวเตอร 1 2 16 ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร 1 2 17 ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร 1 2 18 อ่ืน ๆ 1 2

รวม (1+2+….+18) กลุมอาชีพอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน พนักงานขายอุปกรณหรือบริการไอที ผูจัดการฝายขายและการตลาดสินคาและ บรกิารไอที พนักงานรับซื้อสินคาและบริการฝายระบบคอมพิวเตอร พนักงานใหบริการโดยใชไอที เจาหนาที่นํ าเขาขอมูล เปนตน

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกก ขขออ 2244

1 - - - 1

-

- 1 -

- 2- -

1

-2 1 3

-

2

12 2-

1

5 6

-

5 314 3 1

1 631/ -3

4

1

9

1

-1 2 1 5

1/

Page 61: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

56

ขขออ 2255 สถานประกอบการแหงนี้ ขาดแคลนบุคลากรหรือตองการรับบุคลากรที่ปฏิบัติหนาท่ีดาน IT หรือไม E1476

(กา ใน เพียงขอเดียว) 1 ขาดแคลน จํ านวน E1577-79 คน

2 ไมขาดแคลนถา “ขาดแคลน” โปรดกกาา ใในน และบันทึกจํ านวนบุคลากรที่ขาดแคลนในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง (ดาน IT) ดังตอไปน้ี

กลุมอาชีพ / ตํ าแหนง(ดาน IT) ไมขาดแคลน ขาดแคลน จํ านวนที่ขาดแคลน

(คน)E1680

E1781

E1882-84

01 ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง 1 2 02 ผูจัดการโครงการ 1 2 03 ผูจัดการดานระบบ 1 2 04 นักวิเคราะหระบบ 1 2 05 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรประยุกต 1 2 06 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย 1 2 07 ผูเชี่ยวชาญดานส่ือสารขอมูล 1 2 08 ผูเชี่ยวชาญดานฐานขอมูล 1 2 09 ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยไอที 1 2 10 ผูเชี่ยวชาญดานประกันคุณภาพของไอที 1 2 11 วิศวกรซอฟตแวร 1 2 12 ผูเชี่ยวชาญดานแคดแคม 1 2 13 โปรแกรมเมอร 1 2 14 เว็บมาสเตอร 1 2 15 เจาหนาท่ีฝกอบรมคอมพิวเตอร 1 2 16 ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร 1 2 17 ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร 1 2 18 อ่ืน ๆ 1 2 กลุมอาชีพอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน พนักงานขายอุปกรณหรือบริการไอที ผูจัดการฝายขายและการตลาดสินคาและ บรกิารไอที พนักงานรับซื้อสินคาและบริการฝายระบบคอมพิวเตอร พนักงานใหบริการโดยใชไอที เจาหนาที่นํ าเขาขอมูล เปนตน

วัตถุประสงคตองการทราบการขาดแคลนบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีดาน IT ในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง เพ่ือใช

ประกอบการกํ าหนดนโยบายดานการศึกษาของบุคลากรใหสอดคลองกับตลาดแรงงานของประเทศตอไป

วิธีบันทึก :: กกาา ใในน เเพีพียยงงขขออเเดีดียยวว แแลละะบับันนทึทึกกจํ าจํ านนววนนบุบุคคลลาากกรรท่ีท่ีขขาาดดแแคคลลนน ลลงงใในนชชอองง ใหสอบถามสถานประกอบการวา สถานประกอบการแหงนีข้าดแคลนบุคลากรท่ีปฏบัิติหนาท่ีดาน IT หรอืไม

ถา “ขาดแคลน” ให กา ใน หนาขอ 1 ใหบันทึกจํ านวนบุคลากรท่ีขาดแคลนทั้งสิ้นใน E15 และให กา ใน และบันทึกจํ านวนบุคลากรท่ีขาดแคลนในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง

ถา “ไมขาดแคลน” ให กา ใน หนาขอ 2

1/1/

Page 62: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

57

ขขออ 2255 สถานประกอบการแหงนี้ ขาดแคลนบุคลากรหรือตองการรับบุคลากรที่ปฏิบัติหนาท่ีดาน IT หรือไม E1476

(กา ใน เพียงขอเดียว) 1 ขาดแคลน จํ านวน E1577-79 คน

2 ไมขาดแคลนถา “ขาดแคลน” โปรดกกาา ใในน และบันทึกจํ านวนบุคลากรที่ขาดแคลนในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง (ดาน IT) ดังตอไปน้ี

กลุมอาชีพ / ตํ าแหนง(ดาน IT) ไมขาดแคลน ขาดแคลน จํ านวนที่ขาดแคลน

(คน)E1680

E1781

E1882-84

01 ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง 1 2 02 ผูจัดการโครงการ 1 2 03 ผูจัดการดานระบบ 1 2 04 นักวิเคราะหระบบ 1 2 05 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรประยุกต 1 2 06 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย 1 2 07 ผูเชี่ยวชาญดานส่ือสารขอมูล 1 2 08 ผูเชี่ยวชาญดานฐานขอมูล 1 2 09 ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยไอที 1 2 10 ผูเชี่ยวชาญดานประกันคุณภาพของไอที 1 2 11 วิศวกรซอฟตแวร 1 2 12 ผูเชี่ยวชาญดานแคดแคม 1 2 13 โปรแกรมเมอร 1 2 14 เว็บมาสเตอร 1 2 15 เจาหนาท่ีฝกอบรมคอมพิวเตอร 1 2 16 ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร 1 2 17 ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร 1 2 18 อ่ืน ๆ 1 2 กลุมอาชีพอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน พนักงานขายอุปกรณหรือบริการไอที ผูจัดการฝายขายและการตลาดสินคาและ บริการไอที พนักงานรับซื้อสินคาและบริการฝายระบบคอมพิวเตอร พนักงานใหบริการโดยใชไอที เจาหนาที่นํ าเขาขอมูล เปนตน

ตัตัววออยยาางงกกาารรบับันนทึทึกก ขขออ 2255

0

1

1E15 ตองเทากับ E18 รวมกัน

1

1

21

22

1/1/

Page 63: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

58

ชื่อผูใหขอมูล …………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตํ าแหนง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

หมายเลขโทรศัพทติดตอ ………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………………………… ตรวจแลวลงชื่อ ……………………………………………………………………….

( ………………………………………….. ) ( …………………………………………………………………… )

เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล สถิติจังหวัด/หัวหนาฝายบริหารจัดเก็บขอมูลหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย

วัวัตตถุถุปปรระะสสงงคค- หนาสุดทายของแบบสอบถามนี้ ใชสํ าหรับลงชื่อ / ตํ าแหนงหนาท่ีและหมายเลขโทรศัพทติดตอของ

ผูใหขอมูล บันทึกลงบนเสนประ……………..……เพ่ือสํ านักงานสถิติแหงชาติ / สํ านักงานสถิติจังหวัด จะไดสามารถติดตอสอบถามไดในกรณีตองการทราบรายละเอียดเพ่ิมเติม

- ใชสํ าหรับเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานฯ ซ่ึงไดบันทึกแบบและทํ าการตรวจความครบถวน ถูกตองของการบันทึกขอมลูท่ีสถานประกอบการบนัทึกมาใหเสรจ็เรยีบรอยแลวลงชือ่ เพ่ือใหทราบวาเจาหนาท่ีคนใดเปนผูปฏบัิติงาน

- ใชสํ าหรบัสถิติจงัหวดัหรอืหัวหนาฝายบรหิารจดัเก็บขอมลู (กรงุเทพมหานคร) หรอืผูท่ีไดรบัมอบหมายซ่ึงไดตรวจสอบในขั้นสุดทายแลวลงชื่อกํ ากับ

Page 64: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

59

ลัลับบ

สทส. 50(แบบแจงนับ)

กกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรพพ..ศศ.. 22554488 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

บับันนทึทึกกขขออมูมูลลกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรใในนรรออบบ 1122 เเดืดืออนนที่ที่แแลลวว ((รระะหหววาางง 11 เเมมษษาายยนน 22554477 -- 3311 มีมีนนาาคคมม 22555500))

ID1-15 4 5 7 2 0 0 0 0 2 2 2 5 0 1 0

ใชในสํ านักงานช่ือสถานประกอบการ ………………………………………….……………….………….. REG

16 สถานท่ีต้ัง

เลขที่ …..…………..ตรอก/ซอย ………………ถนน……………………………………….. CWT17-18

ตํ าบล/แขวง ……………………..……………. อํ าเภอ/เขต …………….…...………………จังหวัด ………………………...……………… รหัสไปรษณีย …….………………………. AMP

19-20โทรศัพท ……………………………………… โทรสาร …………………………………… E-mail ………………………………………… Web site …………………………………..

เขตการปกครอง ………………………………………………………………. MUN21 1

สถานประกอบการแหงน้ี ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทใด TYPE22-23

(ใหกา ใน เพียงขอเดียว และบับันนทึทึกกรราายยลละะเเอีอียยดดปปรระะเเภภททกิกิจจกกรรรรมม ลงบนเสนประ_ _ _ _ ถามีมากกวา 1 กิจกรรม ใหเลือกกิจกรรมที่มีมูลคาขาย/รายรับสูงสุด) CODE_R

24 - 27 1 การขายสง – ปลีก – ซอมแซมยานยนต และขายปลีกนํ้ ามันเช้ือเพลิง (50) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ CODE_L

28 - 31 2 การขายสง (51) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 3 การขายปลีก (52) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ SIZE_R

32-33 4 โรงแรมและภัตตาคาร รวมรานอาหาร (55) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 5 กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย (70) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ SIZE_L

34-35 6 กิจกรรมดานคอมพิวเตอรและกิจกรรมที่เก่ียวของ (72) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

7 การใหเชาเครื่องจักรและอุปกรณ โดยไมมีผูควบคุม การวิจัยและการพัฒนา และกิจกรรม NO36-39

ดานธุรกิจอื่น ๆ (71, 73, 74) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _8 กิจกรรมนันทนาการ และการบริการอ่ืน ๆ (92, 93) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ YR

40-41 5 09 การผลิต (15 – 37) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _

10 การกอสราง (45) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ENU42

11 การขนสงทางบก และตัวแทนธุรกิจการทองเที่ยว (6021 – 6023, 6304) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _12 กิจกรรมดานโรงพยาบาล (8511) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ การแจงนับของสถานประกอบการนี้

(วงกลมรอบตัวเลข)ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบันทึกแบบฯ ติดตอสอบถามไดท่ี 1 แจงนับได 2 ยาย/หาไมพบ 3 เลิกกิจการ 4 รื้อถอน/ไฟไหม 5 อ่ืน ๆ )…………………………….

0 3552 4130-7 ในเขตเทศบาล

3.5 การตรวจสอบแบบเบื้องตน ⌦

บนัทึกชื่อและสถานที่ต้ังใหชัดเจน ถูกตอง

และตรงตามที่เปนจริง

ดูจาก บัญชีรายชื่อฯ

การตรวจสอบการบันทึกแบบเบื้องตน

บริษัท สยามนิสสัน สุพรรณบุรี จํ ากัด

429ทาระหต

สุพรรณบุรี

กา ได 1 ขอ และบนัทึกประเภทกิจกรรมอยางละเอยีด เพื่อใชในการใหรหัสใน

สดมภ “CODE_R”

บายปลีก และซอมรถยนต

วงกลมรอบตัวเลข

ออยยาาลืลืมมใใสสสสถถาานนท่ีท่ีติติดดตตออขขอองงจัจังงหหวัวัดด หหรืรืออ กกบบจจ..สํ าสํ าหหรัรับบสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรท่ีท่ีททออดดแแบบบบไไวว

สสออบบถถาามมกกาารรบับันนทึทึกกแแบบบบฯฯ เเพิ่พิ่มมเเติติมมไไดด

Page 65: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

59

ลัลับบ

สทส. 50(แบบแจงนับ)

กกาารรสํ าสํ ารรววจจขขออมูมูลลเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรพพ..ศศ.. 22554488 ((สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร))

บับันนทึทึกกขขออมูมูลลกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรใในนรรออบบ 1122 เเดืดืออนนที่ที่แแลลวว ((รระะหหววาางง 11 เเมมษษาายยนน 22554477 -- 3311 มีมีนนาาคคมม 22555500))

ID1-15 4 5 7 2 0 0 0 0 2 2 2 5 0 1 0

ใชในสํ านักงานช่ือสถานประกอบการ ………………………………………….……………….………….. REG

16 สถานท่ีต้ัง

เลขที่ …..…………..ตรอก/ซอย ………………ถนน……………………………………….. CWT17-18

ตํ าบล/แขวง ……………………..……………. อํ าเภอ/เขต …………….…...………………จังหวัด ………………………...……………… รหัสไปรษณีย …….………………………. AMP

19-20โทรศัพท ……………………………………… โทรสาร …………………………………… E-mail ………………………………………… Web site …………………………………..

เขตการปกครอง ………………………………………………………………. MUN21 1

สถานประกอบการแหงน้ี ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทใด TYPE22-23

(ใหกา ใน เพียงขอเดียว และบับันนทึทึกกรราายยลละะเเอีอียยดดปปรระะเเภภททกิกิจจกกรรรรมม ลงบนเสนประ_ _ _ _ ถามีมากกวา 1 กิจกรรม ใหเลือกกิจกรรมที่มีมูลคาขาย/รายรับสูงสุด) CODE_R

24 - 27 1 การขายสง – ปลีก – ซอมแซมยานยนต และขายปลีกนํ้ ามันเช้ือเพลิง (50) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ CODE_L

28 - 31 2 การขายสง (51) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 3 การขายปลีก (52) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ SIZE_R

32-33 4 โรงแรมและภัตตาคาร รวมรานอาหาร (55) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ 5 กิจกรรมดานอสังหาริมทรัพย (70) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ SIZE_L

34-35 6 กิจกรรมดานคอมพิวเตอรและกิจกรรมที่เก่ียวของ (72) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

7 การใหเชาเครื่องจักรและอุปกรณ โดยไมมีผูควบคุม การวิจัยและการพัฒนา และกิจกรรม NO36-39

ดานธุรกิจอื่น ๆ (71, 73, 74) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _8 กิจกรรมนันทนาการ และการบริการอ่ืน ๆ (92, 93) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ YR

40-41 5 09 การผลิต (15 – 37) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _

10 การกอสราง (45) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ENU42

11 การขนสงทางบก และตัวแทนธุรกิจการทองเที่ยว (6021 – 6023, 6304) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _12 กิจกรรมดานโรงพยาบาล (8511) ; _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ การแจงนับของสถานประกอบการนี้

(วงกลมรอบตัวเลข)ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบันทึกแบบฯ ติดตอสอบถามไดท่ี 1 แจงนับได 2 ยาย/หาไมพบ 3 เลิกกิจการ 4 รื้อถอน/ไฟไหม 5 อ่ืน ๆ )…………………………….

0 3552 4130-7 ในเขตเทศบาล

3.5 การตรวจสอบแบบเบื้องตน ⌦

บนัทึกชื่อและสถานที่ต้ังใหชัดเจน ถูกตอง

และตรงตามที่เปนจริง

ดูจาก บัญชีรายชื่อฯ

การตรวจสอบการบันทึกแบบเบื้องตน

บริษัท สยามนิสสัน สุพรรณบุรี จํ ากัด

429ทาระหต

สุพรรณบุรี

กา ได 1 ขอ และบนัทึกประเภทกิจกรรมอยางละเอยีด เพื่อใชในการใหรหัสใน

สดมภ “CODE_R”

บายปลีก และซอมรถยนต

วงกลมรอบตัวเลข

ออยยาาลืลืมมใใสสสสถถาานนท่ีท่ีติติดดตตออขขอองงจัจังงหหวัวัดด หหรืรืออ กกบบจจ..สํ าสํ าหหรัรับบสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรท่ีท่ีททออดดแแบบบบไไวว

สสออบบถถาามมกกาารรบับันนทึทึกกแแบบบบฯฯ เเพิ่พิ่มมเเติติมมไไดด

Page 66: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

60

ตตออนนที่ที่ 11 ขขออมูมูลลทั่ทั่ววไไปปขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 11 รปูแบบการจัดต้ังตามกฎหมาย (กา ใน เพียงขอเดียว) Rec. 1

col. 43A0144

1 สวนบุคคล หางหุนสวนสามัญท่ีไมเปนนิติบุคคล2 หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนจํ ากัด3 บริษัทจํ ากัด บริษัทจํ ากัด (มหาชน)4 สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ5 สหกรณ6 การจัดตั้งในรูปแบบอื่น ๆ (ระบุ) ……………………………………………

ขขออ 22 รปูแบบการจัดต้ังทางเศรษฐกิจ (กา ใน เพียงขอเดียว) A0245

1 สํ านักงานแหงเดียว2 สํ านักงานใหญ3 สํ านักงานสาขา

ขขออ 33 สถานประกอบการแหงน้ี มทุีนจดทะเบียนหรือไม (กา ใน เพียงขอเดียว) A0346

1 มี เงินทุนจดทะเบียน A0447-57 บาท

2 ไมมี

ขขออ 44 สถานประกอบการแหงน้ี มีตางประเทศรวมลงทุนหรือถือหุนหรือไม (กา ใน เพียงขอเดียว) A0558

1 มี ในสัดสวนนอยกวา 10 %2 มี ในสัดสวน 10 % - 50 %3 มี ในสัดสวนมากกวา 50 %4 ไมมี

ขขออ 55 โปรดบนัทึกจํ านวนคนทํ างานตามปกติของสถานประกอบการ (สํ าหรับลูกจางใหนับทั้งลูกจางประจํ าและลูกจางชั่วคราว)ชาย หญิง

1 คนทํ างานโดยไมไดรับคาจางหรือเงินเดือน A0659-62

A0971-74

2 ลกูจาง A0763-66

A1075-78

รวม (1+2) A0867-70

A1179-82

คคนนทํ าทํ างงาานนหมายถึง ผูที่ทํ างานในสถานประกอบการท้ังท่ีไดรับเงินเดือนและไมไดรับเงินเดือน ที่สถานประกอบการมีอยูตามปกติ รวมทั้งผูที่ปกติทํ างานอยูในสถานประกอบการแหงนี้ แตในวันดังกลาวไมไดมาทํ างาน หรือเนื่องจาก เจ็บปวย ลาหยุดพักผอน โดยไดรับคาจาง/เงินเดือน คนทํ างานประกอบดวย

1. คนทํ างานโดยไมไดรับคาจางหรือเงินเดือน หมายถึง เจาของกิจการ หุนสวน หรือสมาชิกในครอบครัวที่ทํ างานใหกับสถานประกอบการ หรือผูปฏิบัติงานในสถานประกอบการซึ่งมีจํ านวนชั่วโมงทํ างานไมต่ํ ากวาสัปดาหละ 20 ชั่วโมง โดยเจาของหรือผูประกอบการอาจใหเงิน อาหาร เครื่อง

นุงหม หรือ ชวยเหลือเกื้อกูลอยางอื่น ๆ แตไมตองรับผิดชอบในเรื่องการจายคาแรงใหตามกฎหมาย2. ลูกจาง หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานใหกับสถานประกอบการ โดยไดรับเงินเดือนหรือคาจางเปนประจํ า ต้ังแตระดับบริหาร นักวิชาการ เสมียน

พนักงาน ตาง ๆ เชน ผูจัดการ ผูอํ านวยการ ผูปฏิบัติงานในหองทดลอง พนักงานขาย และลูกจางที่ทํ างานในกรรมวิธีการผลิต เปนตน คาจางที่ไดรับ อาจเปนรายปกษ รายสัปดาห รายวัน รายชั่วโมง หรือรายชิ้น ก็ได นอกจากนี้ยังรวมถึงผูที่สถานประกอบการสงไปประจํ าที่สถานประกอบการอื่นดวย เชน พนักงานรักษาความปลอดภัย คนทํ าความสะอาด พนักงานขายตามหางสรรพสินคา เปนตน ไมรวมคนทํ างานดังตอไปนี้ ผูบริหารหรือผูถือหุนที่ไดรับเบี้ยประชุมเปนครั้งคราว คนทํ างานของสถานประกอบการอื่นที่มาปฏิบัติงานประจํ าที่ สถานประกอบการแหงนี้ คนทํ างานที่รับงานไปทํ าที่บานแลวนํ ามาสงโดยไมไดลงทุนซื้อวัสดุ อุปกรณ คนงานที่ลางานเปนระยะเวลานาน เชน ลาไป รบัราชการทหาร คนที่สถานประกอบการจางมาทํ างานเฉพาะอยางเปนครั้งคราว เชน กรรมกรที่จางมาขนของ พนักงานเดินตลาดหรือตัวแทนขายที่ไมมี เงินเดือนประจํ า

1 0 0 0 0 0 0 0

1 81 8 9

9

- -

กา ไดขอเดียว

กา ไดขอเดียว

กา ไดขอเดียว

Page 67: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

61

ตตออนนที่ที่ 22 กกาารรใใชชเเคคร่ืร่ือองงคคออมมพิพิววเเตตออรรใในนกกาารรปปรระะกกออบบกิกิจจกกาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 66 สถานประกอบการแหงน้ี มีการใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการหรือไม Rec. 2

col. 43B0144

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 ใใชชที่ที่สสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 11..11 แแลละะ 11..22

1.1 จํ านวนเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสวนบุคคล

จํ านวน B0245-48 เครื่อง ใชเชื่อมตออินเทอรเน็ต B03

49-52 เครือ่ง

คอมพิวเตอรเพื่อการบริการและประมวลผลจากสวนกลาง จํ านวน B04

53-55 เครื่อง ใชเชื่อมตออินเทอรเน็ต B0556-58 เครื่อง

1.2 จํ านวนบุคลากรที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงานเปนประจํ า(เฉลีย่อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง ถาใชนอยกวาสัปดาหละ 1 ครั้ง ใหบันทึก 0) จํ านวน B0659-62 คน

2 ใใชชที่ที่อื่อื่นน (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)อินเทอรเน็ตคาเฟ……………………….…….……………………….. 1 B07

63ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน (เทเลเซ็นเตอร)………………… 2 B08

64อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………………………… 3 B09

653 ไมใช ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 33..11 แแลละะ 33..22 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 44

3.1 เหตุผลท่ีไมใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการ (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)คาใชจายสูงเกินไป…………………………………………………….. 1 B10

66รูปแบบธุรกิจหรือสินคา ไมเหมาะสม / ไมจํ าเปน……..……………… 2 B11

67ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน / มีความลังเลที่จะใช…………………. 3 B12

68มีปญหาในการสรรหาลูกจางที่มีทักษะในการใชงาน…………………. 4 B13

69เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป………………………………. 5 B14

70ไมเห็นประโยชนท่ีจะไดรับ…………………………………………… 6 B15

71อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………………………… 7 B16

723.2 สถานประกอบการแหงน้ี มีแผนจะใชเครื่องคอมพิวเตอรในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน………………………………………………………………….. 1 B1773

ไมมีแผน…………………………………………………………….… 2

เเคครื่รื่อองงคคออมมพิพิววเเตตออรร หมายถงึ เครื่องคอมพิวเตอรที่สถานประกอบการมีไวใชในการดํ าเนินธุรกิจ และสามารถใชงานได จํ าแนกเปน - คอมพิวเตอรสวนบุคคล หมายถึง คอมพิวเตอรต้ังเดี่ยวสํ าหรับใชงานโดยผูใชครั้งละ 1 คน ประกอบดวยจอแสดงผล ซีพียู แปนพิมพ และอุปกรณ ตอพวงอื่น ๆ ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (พีซี) คอมพิวเตอรแบบกระเปาห้ิว (โนตบุค/แล็บท็อป) เวิรกสเตชั่น เทอรมินัล - คคออมมพิพิววเเตตออรร เเพ่ืพ่ืออกกาารรบบริริกกาารรแแลละะปปรระะมมววลลผผลลจจาากกสสววนนกกลลาางง หมายถึง คอมพิวเตอรที่ติดต้ังไวสวนกลาง เพ่ือควบคุมการทํ างานและใหบริการ คอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ไดแก เซิรฟเวอร (Server) เมนเฟรม (Mainframe) มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super computer)

ศูศูนนยยบบริริกกาารรสสาารรสสนนเเททศศเเพ่ืพ่ืออปปรระะชชาาชชนน หหรืรืออ เเททเเลลเเซ็ซ็นนเเตตออรร ((TTeelleecceenntteerr)) คอื สถานที่ใหบริการเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศกับชุมชน หรือประชาชน โดยอาจมีการคิดคาบริการหรือไมก็ได

ถา กา ขอ 1บันทึก 1.1 และ 1.2

ถา กา ขอ 3บันทึก 3.1 และ 3.2

1 0

-

1 0

-

8

ถา กา ขอ 2วงไดมากกวา 1 ขอ

Page 68: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

62

คํ าคํ าออธิธิบบาายยศัศัพพทท หหนนาา 55 ไไววรัรัสส คอื โปรแกรมคอมพิวเตอรประเภทหนึ่งที่ออกแบบมาเพื่อใหแพรกระจายตัวเองจากไฟลหนึ่งไปอีกไฟลหนึ่งภายในเครื่องคอมพิวเตอรและทํ าใหไฟลหรือระบบเกิดความเสียหาย

แแฮฮกกเเกกออรร หมายถงึ ผูทีค่ล่ังไคลในการสํ ารวจหรือลักลอบเจาะเขาไปยังระบบคอมพิวเตอรขององคกรตาง ๆ ซ่ึงการเขาไปมีทั้งแบบที่ทํ า อันตรายตอระบบหรอืขโมยขอมูลในระบบไป และมีทั้งแบบที่ไมทํ าอันตรายใด ๆ ดวย

IISSDDNN ((IInntteeggrraatteedd SSttaannddaarrdd DDiiggiittaall NNeettwwoorrkk)) เปนระบบเชื่อมตออินเทอรเน็ตที่สามารถสงขอมูลภาพและเสียงผานสายโทรศพัทเสนเดียว กันเปนระบบมาตรฐานระหวางประเทศมีความเร็วในการสงขอมูลที่ 64 Kbps xxDDSSLL ((xx DDiiggiittaall SSuubbssccrriibbeerr LLiinnee)) เปนการเชื่อมตออินเทอรเน็ตดวยความเร็วสูงใชเทคโนโลยีใกลเคียงกับ ISDNแตใหความเร็วที่สูงกวามาก ประเภทที่พบไดบอย ๆ คือ ADSL และ SDSL เเคคเเบิ้บิ้ลล โโมมเเด็ด็มม หมายถึง โมเด็มที่เช่ือมตอโดยใชสายเคเบิล้ของโทรทัศนการเช่ือมตออินเทอรเน็ตโดยมากจะผานโมเด็มทั่วไปที่มีการเช่ือมตอ กับสายโทรศพัทแตเมื่อใชโมเด็มที่ตอกับสายเคเบิ้ลโทรทัศนแลวจะทํ าใหการรับสงขอมูลรวดเร็วขึ้นกวาเดิมมากเพราะสายเคเบิ้ลโทรทัศนมีแถบ ความกวางในการสงสัญญาณสูง สสาายยววงงจจรรเเชชาา ((LLeeaasseedd LLiinnee)) เปนการเช่ือมตออินเทอรเน็ตโดยใชสายวงจรเชาซ่ึงเปนสายที่ลูกคาเชาไวใชภายในองคกรของตวัเองไมปนกับ หนวยงานอื่นท ําใหมีความเร็วสูงสามารถรับสงขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ สสาายยววงงจจรรเเชชาาแแบบบบจุจุดดเเดีดียยววสูสูหหลลาายยจุจุดด ((FFrraammee RReellaayy)) ตามปกติแลวสายวงจรเชาทั่วไป (Leased Line) จะทํ าการเชื่อมตอแบบจุดตอจุด เชนเช่ือมตอระหวางลูกคากับผูใหบริการอินเทอรเน็ตแตสายวงจรเชาแบบ Frame Relay เปนการเชื่อมตอจากจุดใดจุดหนึ่งกระจายไปยังหลาย ๆ จุด เชนสํ านกังานใหญตองการเชื่อมตอระบบเขากับสํ านักงานสาขา 4 แหงทํ าไดโดยใช Frame Relayเช่ือมตอที่สํ านักงานใหญจุดเดียวสูสํ านักงานสาขา 4 แหงพรอมกัน

เเคครืรืออขขาายยสสววนนตัตัววผผาานนเเคครืรืออขขาายยอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต ((VVPPNN –– VViirrttuuaall PPrriivvaattee NNeettwwoorrkk)) ตามปกติแตละบริษัทหากตองการตอกับสํ านักงานสาขาหลาย ๆ แหง แตในสาขาตองตอคุยกันไดอีกตองใชสายวงจรเชา Leased Line จ ํานวนมากเพื่อเช่ือมตอระบบเขาดวยกัน จึงนับเปนการส้ินเปลืองแตเมื่อมีเทคโนโลยี VPN ท ําใหองคกรหลักสามารถเชื่อมตอสํ านักงานหลาย ๆ แหงโดยผานอินเทอรเน็ต VPN จะท ําหนาที่สรางการเขารหัสขอมูลใหทุกสาขาที่เช่ือมตอกันรูสึกเสมือนมีโครงขายสายสวนตัวติดตอกันตลอดเวลา

Page 69: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

63

ตตออนนที่ที่ 33 กกาารรใใชชอิอินนเเททออรรเเน็น็ตตใในนกกาารรปปรระะกกออบบกิกิจจกกาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 77 สถานประกอบการแหงน้ี มีการใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการหรือไม B18

74(กา ใน เพียงขอเดียว)

1 ใช จํ านวนบุคลากรที่ใชอินเทอรเน็ตในการปฏิบัติงานเปนประจํ า

(เฉลี่ยอยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง ถาใชนอยกวาสัปดาหละ 1 ครั้ง ใหบันทึก 0) จํ านวน B1975-78 คน2 ไมใช ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 22..11 แแลละะ 22..22 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 77

2.1 เหตุผลท่ีไมใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการ (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)คาใชจายสูงเกินไป…………………………………………………….. 1 B20

79รูปแบบธุรกิจหรือสินคา ไมเหมาะสม / ไมจํ าเปน…………………….. 2 B21

80ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน / มีความลังเลที่จะใช…………………. 3 B22

81มีปญหาในการสรรหาลูกจางที่มีทักษะในการใชงาน…………………. 4 B23

82ไมเห็นประโยชนท่ีจะไดรับ…………………………………………… 5 B24

83ขาดระบบการรักษาความปลอดภัยจากไวรัส หรือแฮกเกอร (Hacker) 6 B25

84ไมมีอินเทอรเน็ตใหบริการบริเวณน้ี……..…………………………… 7 B26

85อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………………………… 8 B27

862.2 สถานประกอบการแหงน้ี มีแผนจะใชอินเทอรเน็ตในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน………………………………………………………………….. 1 B2887

ไมมีแผน…………………………………………………………….… 2

ขขออ 88 สถานประกอบการแหงน้ี มีการใชอินเทอรเน็ตเช่ือมตอดวยชองทางใด (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 ตอผานสายโทรศัพท (Dial Line) B29

882 ISDN B30

893 xDSL เชน ADSL, SDSL เปนตน B31

904 เคเบิ้ลโมเด็ม B32

915 Leased Line B33

926 ระบบเชื่อมตอแบบถาวรอ่ืน ๆ เชน เฟรมรีเลย หรือ VPN B34

937 ระบบเชื่อมตอไรสาย เชน โทรศัพทมือถือ ดาวเทียม เปนตน B35

948 ไมทราบ B36

959 อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………… B37

96

ขขออ 99 สถานประกอบการแหงน้ี ใชอินเทอรเน็ตเพื่อวัตถุประสงคใด (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 คนหาขอมูลท่ัวไป B3897

2 ติดตามความเคลื่อนไหวของตลาด B3998

3 อีเมล B4099

4 ชองทางการติดตอสื่อสารอ่ืน ๆ นอกจากอีเมล เชน ICQ MSN เว็บบอรด B41100

5 โฆษณาประชาสัมพันธสินคา / บริษัท B42101

6 การซื้อ / ขาย สินคาและบริการ หรือ ดํ าเนินธุรกิจกับคูคา B43102

7 ทํ าธุรกรรมทางการเงินและการธนาคาร B44103

8 อ่ืน ๆ (ระบุ)……………………………………………………. B45104

ถา กา ขอ 1 ใหบันทึกจํ านวนบุคลากรที่ใช Internet

ถา กา ขอ 2บันทึก 2.1 และ 2.2

1 0

กา ไดมากกวา 1

กา ไดมากกวา 1

Page 70: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

64

ตตออนนที่ที่ 44 กกาารรใใชชเเว็ว็บบไไซซตตใในนกกาารรดํ าดํ าเเนินินนกิกิจจกกาารรขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรขขออ 1100 สถานประกอบการแหงน้ี มีการใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการหรือไม Rec. 3

col. 43(กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ) C01

44-451 ใช และเปนเจาของเว็บไซตเอง2 ใช โดยฝากขอมูลไวกับเว็บไซตของที่อ่ืน3 ไมใช ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 33..11 แแลละะ 33..22 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 55

3.1 เหตุผลท่ีไมใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการ (วงกลมรอบตัวเลขไดมากกวา 1 ขอ)คาใชจายสูงเกินไป……………………………………………... 1 C02

46รูปแบบธุรกิจหรือสินคา ไมเหมาะสม / ไมจํ าเปน………..……. 2 C03

47ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน / มีความลังเลที่จะใช………….. 3 C04

48มีปญหาในการสรรหาลูกจางที่มีทักษะในการใชงาน…………... 4 C05

49เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป……………………….. 5 C06

50ไมเห็นประโยชนท่ีจะไดรับ……………………………………. 6 C07

51อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………………….. 7 C08

52 3.2 สถานประกอบการแหงน้ี มีแผนวาจะใชเว็บไซตในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน………………………………………………………… 1 C0953

ไมมีแผน……………………………………………………… 2

ขขออ 1111 สถานประกอบการแหงน้ี มีการใชเว็บไซตเพ่ือวัตถุประสงคอะไร (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 โฆษณาประชาสัมพันธสินคา/บริษัท C1054

2 ติดตอสอบถามขอมูล C1155

3 รับคํ าสั่งซื้อ C1256

4 ใหบริการหลังการขาย C1357

5 รับและ/หรือชํ าระเงิน Online C1458

6 เชื่อมโยงระบบสารสนเทศ ของสํ านักงานสวนหลัง (Back office) เชน ระบบคลังสินคา C1559

7 อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………………….. C1660

เเว็ว็บบไไซซตต ((WWeebb ssiittee)) คอื ขอมูลเอกสารหนึ่งชุดบน เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web) ทีร่วบรวมขึ้นจากเว็บเพจ (Web page) จ ํานวนหลาย ๆ หนาเขาดวยกัน และเว็บเพจทีเ่หน็เปนหนาแรก เมื่อเปดเว็บไซตขึ้นมา เรียกวา โฮมเพจ (Homepage) สรปุไดวา เว็บไซตเปรียบไดกับหนังสือ หนึง่เลม ที่แตละหนา คือ เว็บเพจ มีโฮมเพจเปนหนาปก และถูกจัดเก็บอยูในหองสมุดขนาดใหญบนอินเทอรเน็ต ที่เรียกวา เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)

เเวิวิลลดด ไไววดด เเว็ว็บบ ((WWoorrlldd WWiiddee WWeebb)) หรือ ที่เรียกส้ัน ๆ วา เว็บ (Web) คอื แหลงขอมูลจํ านวนมากมายมหาศาลที่อยูบนอินเทอรเน็ตที่สามารถ เขาถึงไดจากคอมพิวเตอรที่เช่ือมตออินเทอรเน็ต ขอมูลดังกลาวเปนไปไดทั้งอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือแมกระทั่งเสียง

ถา กา ขอ 3บันทึก 3.1 และ 3.2

กา ไดมากกวา 1

Page 71: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

65

ตตออนนที่ที่ 55 กกาารรสั่สั่งงซ้ืซ้ืออสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต ขขออ 1122 สถานประกอบการแหงน้ี มีการสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตหรือไม C17

61-62 (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ )

1 มี จากผูขายในประเทศ ประมาณรอยละ C1863-65 ของมูลคาสินคาหรือบริการที่ส่ังซื้อท้ังหมด

2 มี จากตางประเทศ ประมาณรอยละ C1966-68 ของมูลคาสินคาหรือบริการที่ส่ังซื้อท้ังหมด

3 ไมมี ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 66

ขขออ 1133 สถานประกอบการแหงน้ี มีการชํ าระเงินคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตหรือไม C2069

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี2 ไมมี

ขขออ 1144 ปจจัยใดตอไปน้ีที่สถานประกอบการใชในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต (กา ใน )

ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจ ไมสํ าคัญ สํ าคัญ สํ าคัญมาก ไมทราบ

1. ความสะดวกในการติดตอกับผูขายสินคา / บริการ C2170

2. ความสะดวกในการชํ าระเงินคาสินคา C2271

3. ลดคาใชจาย C2372

4. ซื้อสินคาไดในราคาที่ตํ่ ากวาทองตลาดทั่วไป C2473

5. ทํ าใหกระบวนการทางธุรกิจดํ าเนินไปไดรวดเร็วขึ้น C2574

6. ขอกํ าหนดของบริษัทคูคา C2675

7. อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………… C2776

พพาาณิณิชชยยอิอิเเล็ล็กกททรรออนินิกกสส หหรืรืออ อีอีคคออมมเเมิมิรรซซ ((EE--ccoommmmeerrccee))ในความหมายแบบกวาง ๆ จะหมายถึงการดํ าเนินธุรกิจผานสื่ออิเล็กทรอนิกส โดยสื่ออิเล็กทรอนิกสจะครอบคลุมถึงอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสขั้นพื้นฐานตาง ๆ เชนโทรศัพท โทรสาร อีดีไอ เปนตน อยางไรก็ดีเทคโนโลยีท่ีมีผลตอพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

มากที่สุด คือ เครือขายอินเทอรเน็ตในที่น้ีจะขอกลาวถึงพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในความหมายแบบแคบ คือ การซื้อขายสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต

โดยมีเว็บไซตเปนชองทางหลักในการติดตอ และทํ าธุรกรรม

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

กา ไดมากกวา 14 0

6 0

กา ไดขอเดียว

กา ใน ทกุรายการวา “ไมสํ าคัญ”หรือ “สํ าคัญ”

หรือ “สํ าคัญมาก”หรอื “ไมทราบ”

Page 72: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

66

ตตออนนที่ที่ 66 กกาารรขขาายยสิสินนคคาาหหรืรืออบบริริกกาารรททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต ขขออ 1155 สถานประกอบการแหงน้ี มีการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทางอินเทอรเน็ตหรือไม C28

77 (กา ใน เพียงขอเดียว)

1 มี ประมาณรอยละ C2978-80 1 0 ของมูลคาการรับคํ าสั่งซื้อสินคาหรือบริการทั้ทั้งงหหมมดด

2 ไมมี ขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 77

ขขออ 1166 สถานประกอบการแหงน้ี ไดรับการชํ าระคาสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ตหรือไม C3081

(กา ใน เพียงขอเดียว)

1 มี ประมาณรอยละ C3182-84 8 0 ของมูลคาการรับคํ าส่ังซ้ือสินคาหรือบริการททาางงอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต

2 ไมมี

ขขออ 1177 ปจจัยใดตอไปน้ี ท่ีสถานประกอบการใชในการตัดสินใจจํ าหนายสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต(กา ใน )

ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจ ไมสํ าคัญ สํ าคัญ สํ าคัญมาก ไมทราบ

1. ภาพลักษณของสถานประกอบการ C3285

2. ลดตนทุน C3386

3. ขอกํ าหนดจากคูคา C3487

4. กระบวนการทางธุรกิจเร็วขึ้น C3588

5. เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการลูกคา C3689

6. ขยายเวลาทํ าการใหมากกวาชั่วโมงปกติ C3790

7. ขยายฐานลูกคา C3891

8. รักษาขีดความสามารถในการแขงขันใหทัดเทียมคูแขง/ รักษาสวนแบงทางการตลาด C39

92 9. มีหนวยงานรัฐบาล / องคกรอ่ืน ๆ ชวยสนับสนุน C40

9310. อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………………………... C41

94

กา ไดขอเดียว

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 4

((ปปรระะมมาาณณรรออยยลละะเเททาาใใดดขขอองงขขออ 1155))

กา ใน ทกุรายการวา “ไมสํ าคัญ”หรือ “สํ าคัญ”

หรือ “สํ าคัญมาก”หรอื “ไมทราบ”

Page 73: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

67

ตตออนนที่ที่ 77 กกาารรใใชชบบริริกกาารรอีอีดีดีไไออ หหรืรืออ เเคครืรืออขขาายยคคออมมพิพิววเเตตออรรอื่อื่นน ๆๆ ((ที่ที่นนออกกเเหหนืนืออจจาากกอิอินนเเททออรรเเน็น็ตต)) ขขออ 1188 สถานประกอบการแหงน้ีมีคอมพิวเตอรท่ีเช่ือมตอระบบอีดีไอหรือเครือขายคอมพิวเตอรอ่ืน ๆ C42

95 (ท่ีนอกเหนือจากอินเทอรเน็ต) หรือไม (กา ใน เพียงขอเดียว)

1 มี2 ไมมี ใใหหบับันนทึทึกกขขออ 22..11 แแลลววขขาามมไไปปถถาามมตตออนนท่ีท่ี 88

2.1 สถานประกอบการแหงน้ี มีแผนเชื่อมตอระบบอีดีไอ หรือเครือขายคอมพิวเตอรอ่ืน ๆ (ท่ีนอกเหนือ จากอินเทอรเน็ต) ในการดํ าเนินกิจการในป 2551 หรือไม (วงกลมรอบตัวเลขเพียงขอเดียว)

มีแผน………………………………………………………… 1 C4396

ไมมีแผน……………………………………………………… 2

ขขออ 1199 สถานประกอบการแหงน้ี เช่ือมตอระบบอีดีไอ หรือเครือขายคอมพิวเตอรอ่ืน ๆ (ท่ีนอกเหนือจาก อินเทอรเน็ต) เพื่อการแลกเปล่ียนเอกสารกบักลุมใด (กา ใน ไดมากกวา 1 ขอ)

1 ผูซื้อ C4497

2 ผูขาย C4598

3 ธนาคาร / สถาบันการเงิน C4699

4 กรมศุลกากร C47100

5 บริษัทขนสง / บริษัทตัวแทนขนสง (Broker) C48101

6 อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………………. C49102

อีอีดีดีไไออ ((EElleeccttrroonniicc DDaattaa IInntteerrcchhaannggee :: EEDDII)) หมายถึง การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางองคกรธุรกิจในรูปแบบมาตรฐาน ผานทางเครือขายคอมพิวเตอร แบบ VAN (Value Added Network) โดยรูปแบบมาตรฐานที่ใชจะตองไดรับการยอมรับจากกลุมผูแลกเปลี่ยนขอมูล หรือมาจากการพัฒนาของสถาบันที่ ไดรับการยอมรับในมาตรฐานตาง ๆ เชน UN/ EDIFACT ประโยชนของอีดีไอ คือ ลดคาใชจายในการกรอกขอมูล ไดขอมูลท่ีถูกตองมากขึ้น ติดตอสื่อสารไดรวดเร็วขึ้น และลด งานทางดานเอกสารซึ่งจะชวยการทํ างานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

VVaalluuee AAddddeedd NNeettwwoorrkk ((VVAANN)) หมายถึง เครือขายสวนบุคคลที่องคกรสรางขึ้นเพื่อการใชงานภายในองคกรเทาน้ัน เชน งานดานฐานขอมูล โดยมากองคกรจะเชา สาย leased line เพื่อเชื่อมตอกับผูใชบริการเครือขาย หรือใช dial number เพื่อเขาถึงเครือขาย

ถา กา ขอ 2บันทึก ขอ 2.1 ดวย

กา ไดมากกวา 1

Page 74: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

68

ตตออนนที่ที่ 88 คคาาใใชชจจาายยใในนสิสินนคคาาแแลละะบบริริกกาารรดดาานนเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรสื่สื่ออสสาารรขขออ 2200 โปรดบันทึกคาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Rec. 4

col. 43ของสถานประกอบการ ตามรายการดังตอไปน้ี

คาใชจายรวมทั้งส้ิน จํ านวน D0144-51 บาท

1. คาใชจายคอมพิวเตอรฮารดแวร จํ านวน D0252-59 บาท หรือ %

2. คาใชจายคอมพิวเตอรซอฟตแวร จํ านวน D0360-67 บาท หรือ %

3. คาใชจายในการบริการดานคอมพิวเตอร จํ านวน D0468-75 บาท หรือ %

4. คาใชจายรวมดานการสื่อสารขอมูล D0576-83 บาท หรือ %

4.1 คาบริการดานการสื่อสาร จํ านวน D0684-90 บาท

4.2 คาใชจายดานอุปกรณสื่อสาร จํ านวน D0791-97 บาท

ขขออ 2211 จากการทีส่ถานประกอบการแหงน้ี ไดนํ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชในการดํ าเนินกิจการ D0898

มีผลทํ าใหรายรับเปนอยางไร (กา ใน เพียงขอเดียว ) 1 ลดลงจากเดิม 2 เทาเดิม 3 มากขึ้นกวาเดิม

คาใชจายในสิสินนคคาาแแลละะบบริริกกาารรดดาานนเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศแแลละะกกาารรส่ืส่ืออสสาารร ((หหมมาายยรรววมมถึถึงง กกาารรซื้ซื้ออ กกาารรจจาางงเเหหมมาา กกาารรเเชชาา คคาาบบริริกกาารรตตาางง ๆๆ)) ไไดดแแกก 11.. คคาาใใชชจจาายยคคออมมพิพิววเเตตออรรฮฮาารรดดแแววรร รวมถึง คาใชจายในการซื้อหรือเชาซื้อ รายการตาง ๆ ดังนี้ เครื่องคอมพิวเตอร (เชน เครื่องคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ Personal Computer), โนตบุค, เครื่องเมนเฟรม เซิฟรเวอร (server) อปุกรณที่ใชในการเก็บขอมูลทุกประเภท (Storage device) การเพิ่มหนวยความจํ า (memory upgrade), เครือ่งพิมพทุกชนิด จอภาพ สแกนเนอร อุปกรณปอนขอมูลประเภทตาง ๆ (เชน แปนพิมพ เปนตน) รวมถึงอุปกรณตอพวงอื่น ๆ ไดแก กลองดิจิตัล PDA เปนตน 22.. คคาาใใชชจจาายยคคออมมพิพิววเเตตออรรซซออฟฟตตแแววรร รวมถึงคาใชจายในการซื้อหรือเชาซื้อซอฟตแวรสํ าเร็จรูป เชน ซอฟตแวรระบบปฏิบัติการ (Operating System) หรือซอฟตแวรที่ใชในการพัฒนาซอฟตแวรประเภทอื่น ๆ (programming tools) ซอฟตแวรประเภท Utilities, ซอฟตแวรประยุกต ประเภทตาง ๆ (ทุกประเภท) และเกมส และคาใชจายในการจางเหมาในการพัฒนาซอฟตแวร (จางหนวยงานภายนอก) จากในและตางประเทศ เชน การจางเขียนโปรแกรม การจางออกแบบเว็บไซต การจางพัฒนาโปรแกรมใชงาน (Application Development) โดยไมรวมคาใชจายที่หนวยงานภายในใชพัฒนาซอฟตแวรหรือการปรับซอฟตแวรเพ่ือใหมีความเหมาะสมกับงาน (Customization) 33.. คคาาใใชชจจาายยใในนกกาารรบบริริกกาารรดดาานนคคออมมพิพิววเเตตออรร รวมถึงคาใชจายในการจางเหมาบริการจากผูรับจางภายนอกหนวยงานจากทั้งในและตางประเทศ (Domestic or off-shore) เชน การใหคํ าปรึกษาดาน IT การวางระบบ (Computer System Integration), Office Automation (การจัดทํ าระบบสํ านักงาน โดยนํ าเทคโนโลยีดาน IT เขามาใช เพ่ือใหกิจกรรมบางอยางสามารถดํ าเนินงานไดโดยไมตองอาศัยพนักงาน)การติดต้ังเครื่องมือการบํ ารุงรักษา เครื่องมือ (Maintenance) การเชาเว็บไซต บริการประเภทรับฝากขอมูลสํ ารอง (Disaster Discovery) การบริการดานการประมวลผลขอมูลในรูปแบบ ตาง ๆ เปนตน 44.. คคาาใใชชจจาายยดดาานนกกาารรส่ืส่ืออสสาารรขขออมูมูลล รวมถึงคาใชจายดานการสื่อสารรวมถึงคาใชจายดานการบริการและการซื้ออุปกรณ เพ่ือใชในการสื่อสารดานเสียง และขอมูล (Data Communication) การบริการดานเสียงรวมถึงการบริการโทรศัพทภายในประเทศและตางประเทศ การบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ การบริการดาวเทียม การบริการดานอินเทอรเน็ต การบริการเครือขายเฉพาะ (Private line services) อปุกรณสื่อสาร ไดแก เครื่องโทรศัพทพ้ืนฐานและ เครื่องโทรศัพทมือถือ PABX, Key Systems, central office equipment อปุกรณเครือขายแบบ LAN และแบบ WAN โมเด็มเครื่องตอบรับและระบบตอบรับโทรศัพทอัตโนมัติ เปนตน

……...

……...

……...

……...

6 0 0 0 0 0 0

-

5 0 0 0 0 0

2 0 0 0 0 0

3 0 0 0 0 0

จะตองมีบันทึกคาใชจายถาไมมีบันทึกมาเลย

ใหสอบถามสถานฯ เพิ่มเติม

ออยยาาลืลืมมรรววมมยยออดดD05 = D06 + D07

ออยยาาลืลืมมรรววมมยยออดดดดววยยD01 = D02 + D03 + D04 + D05

-

5 0 0 05 00

กา ไดขอเดียว

Page 75: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

69

ตตออนนที่ที่ 99 ปปญญหหาาแแลละะอุอุปปสสรรรรคคใในนกกาารรใใชชไไออซีซีทีที ขขออ 2222 สถานประกอบการแหงน้ี มีปญหาและอุปสรรคตอการใชไอซีที ดังตอไปน้ีหรือไม (กา ใน )

มีปญหาปญหา/อุปสรรค ไมมีปญหา มาก นอย

ไมทราบ/ยงัไมเก่ียวของ

การใชไอซีทีโดยท่ัวไป 1. คาใชจายสูงเกินไป D09

99

2. เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป D10100

3. ลูกจางไมมีทักษะในการใชงาน/มีความลังเลที่จะใช D11101

4. คัดเลือกลูกจางที่มีคุณสมบัติเหมาะสมยาก D12102

5. อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………… D13103

การใชอินเทอรเน็ต 6. คาใชจายในการเชื่อมตออินเทอรเน็ตสูงเกินไป D14

104

7. เทคโนโลยีมีความซับซอนมากเกินไป D15105

8. มีปญหาเรื่องความปลอดภัย เชน แฮกเกอร ไวรัส D16106

9. การรับสงขอมูลชาเกินไป หรือไมแนนอน D17107

10. พนักงานสูญเสียเวลากับการใช Web ท่ีไมเก่ียวของ D18108

11. อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………… D19109

การซื้อขายสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต 12. สินคาและบริการไมเหมาะสมกับการขาย

ทางอินเทอรเน็ตD20110

13. ลูกคายังไมพรอมที่จะใช e-commerce D21111

14. คาใชจายในการพัฒนาและบํ ารุงรักษา Web site สูงเกินไป

D22112

15. คาใชจายในการพัฒนาและบํ ารุงรักษาระบบ e-commerce สูงเกินไป

D23113

16. ปญหาเรื่องความปลอดภัยของการชํ าระเงินคาสินคา D24114

17. ความไมแนนอนเกี่ยวกับสัญญา ขอตกลงในการ สงสินคาและการรับประกัน

D25115

18. ปญหาเรื่องการจัดสงสินคา D26116

19. กฎหมายหรือระเบียบเก่ียวกับ e-commerceยังไมสมบูรณ

D27117

20. อ่ืน ๆ (ระบุ)………………………………………… D28118

1 2 3 41 2 3 41 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 4

1 2 3 41 2 3 4

1 2 3 4

กา ใน ทกุรายการวา “ไมมีปญหา”

หรอื “มีปญหามาก”หรือ “มีปญหานอย”

หรอื “ไมทราบ/ยังไมเกี่ยวของ”

Page 76: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ตตออนนที่ที่ 1100 บุบุคคลลาากกรรดดาานน IITT ขขอองงสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารร ขขออ 2233 สถานประกอบการแหงน้ี มีบุคลากรท่ีส ําเร็จการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไม Rec. 5

col. 43E0144

(กา ใน เพียงขอเดียว)1 มี รวมทั้งส้ิน จํ านวน E0245-47 คน

E0348-50 คน ปริญญาตรี จํ านวน E0451-53 คน สูงกวาปริญญาตรี จํ านวน E0554-56 คน

2 ไมมี ขขออ 2244 สถานประกอบการแหงน้ี มีบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีดาน IT ในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนงดังตอไปน้ี หรือไม

สาขาการศึกษา ระดับการศึกษา กลุมอาชีพ/ตํ าแหนง

(ดาน IT) ไมมี มี เทคโนโลยีฯ(คน)

อ่ืน ๆ (คน)

ปวส(คน)

ปริญญาตรี(คน)

สูงกวาปริญญาตรี

(คน)E0657-58 E0759 E0860 E0961-63 E1064-66 E1167-69 E1270-72 E1373-75

01 ผูบรหิารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง 1 2 02 ผูจัดการโครงการ 1 2 03 ผูจัดการดานระบบ 1 2 04 นกัวิเคราะหระบบ 1 2 05 ผูเช่ียวชาญดานซอฟตแวรประยุกต 1 2 06 ผูเช่ียวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย 1 2 07 ผูเช่ียวชาญดานส่ือสารขอมูล 1 2 08 ผูเช่ียวชาญดานฐานขอมูล 1 2 09 ผูเช่ียวชาญดานความปลอดภัยไอที 1 2

1 2 10 ผูเช่ียวชาญดานประกันคุณภาพ ของไอที 11 วิศวกรซอฟตแวร 1 2 12 ผูเช่ียวชาญดานแคดแคม 1 2 13 โปรแกรมเมอร 1 2 14 เว็บมาสเตอร 1 2 15 เจาหนาที่ฝกอบรมคอมพิวเตอร 1 2 16 ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร 1 2 17 ผูปฏบิัติงานดานระบบคอมพิวเตอร 1 2 18 อ่ืน ๆ 1 2 รวม (1+2+….+18) กลุมอาชีพอ่ืนๆ ที่เก่ียวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน พนักงานขายอุปกรณหรือบริการไอที ผูจัดการฝายขายและการตลาดสินคาและบรกิารไอท ีพนักงานรับซ้ือสินคาและบริการฝายระบบคอมพิวเตอร พนักงานใหบริการโดยใชไอที เจาหนาที่นํ าเขาขอมูล เปนตน

ถถาามมเเฉฉพพาาะะสสถถาานนปปรระะกกออบบกกาารรท่ีท่ีมีมีรูรูปปแแบบบบเเปปนนบบริริษัษัททฯฯ เเททาาน้ัน้ันน

1/

1/

3 01 51 0 5

ออยยาาลืลืมมรรววมมยยออดดE02 = E03 + E04 + E05

1 1

1 1

3 2 4 -

1 1

1 2 11 0

4

1 1 1 4 1 3

15 1 2

2

331

4

- - ----

- --

-

1

ออยยาาลืลืมมรรววมมยยออดดแแลละะตตรรววจจสสออบบดดววยย

กา ใน ทุกรายการวา “ไมมี”หรือ “มี”

ถา “มี” ตองมีบันทึกบุคลากร จํ าแนกตามสาขาการศึกษา

และระดับการศึกษา

ดวย

20

1

-

70

EE0099 ++ EE11002200 ++ 1111

== 3311

EE1111 ++ EE1122 ++ EE1133 1144 ++ 1133 ++ 44

== 3311=

ใหบันทึกเฉพาะสถานประกอบการทีม่ีรูปแบบบริษัทฯ

เทานั้นนะ !!

Page 77: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

71ขขออ 2255 สถานประกอบการแหงน้ี ขาดแคลนบุคลากรหรือตองการรับบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีดาน IT หรือไม E14

76(กา ใน เพียงขอเดียว)

1 ขาดแคลน จ ํานวน E1577-79 คน

2 ไมขาดแคลน ถา “ขาดแคลน” โปรดกกาา ใในน และบันทึกจํ านวนบุคลากรที่ขาดแคลนในแตละกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง (ดาน IT) ดังตอไปนี้

กลุมอาชีพ / ตํ าแหนง(ดาน IT) ไมขาดแคลน ขาดแคลน จํ านวนที่ขาดแคลน

(คน)E1680

E1781

E1882-84

01 ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง 1 2 02 ผูจัดการโครงการ 1 2 03 ผูจัดการดานระบบ 1 2 04 นักวิเคราะหระบบ 1 2 05 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรประยุกต 1 2 06 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย 1 2 07 ผูเชี่ยวชาญดานสื่อสารขอมูล 1 2 08 ผูเชี่ยวชาญดานฐานขอมูล 1 2 09 ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยไอที 1 2 10 ผูเชี่ยวชาญดานประกันคุณภาพของไอที 1 2 11 วิศวกรซอฟตแวร 1 2 12 ผูเช่ียวชาญดานแคดแคม 1 2 13 โปรแกรมเมอร 1 2 14 เว็บมาสเตอร 1 2 15 เจาหนาท่ีฝกอบรมคอมพิวเตอร 1 2 16 ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร 1 2 17 ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร 1 2 18 อ่ืน ๆ 1 2

กลุมอาชีพอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน พนักงานขายอุปกรณหรือบริการไอที ผูจัดการฝายขายและการตลาดสินคาและบริการไอที พนักงานรับซื้อสินคาและบริการฝายระบบคอมพิวเตอร พนักงานใหบริการโดยใชไอที เจาหนาที่นํ าเขาขอมูล เปนตน

สสาาขขาาเเททคคโโนนโโลลยียีสสาารรสสนนเเททศศ ไไดดจัจัดดแบงออกเปน 6 กลุม ดัดังงนี้นี้ 11.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาวิวิศศววกกรรรรมมคคออมมพิพิววเเตตออรร ไดแก คอมพิวเตอร วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ศาสตรคอมพิวเตอร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิทยาการคอมพิวเตอร วิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 22.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาอิอิเเล็ล็กกททรรออนินิกกสส ไดแก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ฟสิกสอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสกํ าลัง อิเล็กทรอนิกส 33.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาสสาารรสสนนเเททศศ ไดแก การจัดการระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออตุสาหกรรม ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ วิทยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร วิทยาการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางการจัดการ สารสนเทศศาสตร 44.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาคคออมมพิพิววเเตตออรรปปรระะยุยุกกตต ไดแก คอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาการคอมพิวเตอรประยุกต เทคโนโลยีคอมพิวเตอรอุตสาหกรรม วิทยาการคอมพิวเตอรประยุกต-มัลติมีเดีย 55.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาโโททรรคคมมนนาาคคมม ไดแก การบริหารโทรคมนาคม โทรคมนาคม วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคม วิศวกรรมโทรคมนาคม 66.. กกลุลุมมสสาาขขาาวิวิชชาาสสถิถิติติ ไดแก การประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร สถิติศาสตร สถิติประยุกต สถิติคณิตศาสตร

- 1

1/1/

7

กา ใน ทกุรายการวา “ไมขาดแคลน”หรือ “ขาดแคลน”ถา “ขาดแคลน”ใหระบุจํ านวนดวย

ถา กา ขอ 1 ใหบันทึกจํ านวนบุคลากรที่ขาดแคลนใน E15และบันทึกบุคลากรที่ขาดแคลนจํ าแนกตามกลุมอาชีพ/ตํ าแหนง

(E15 = E18)

1

- -

1 - - 2

2

- - -

- - - - -

Page 78: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

กลุมอาชีพ / ตํ าแหนง บุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีดาน IT 1. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer - CIO) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการควบคุม ประสานงาน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและรับผิดชอบงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศขององคกร 2. ผูจัดการโครงการ (Project Manager) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการควบคุม ประสานงาน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและรับผิดชอบงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของโครงการ 3. ผูจัดการดานระบบ (System Manager) หมายถึงผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการควบคุม ประสานงาน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและรับผิดชอบงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของระบบงาน 4. นกัวิเคราะหระบบ (System Analyst & Designer) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และบํ ารุงรักษาระบบงานคอมพิวเตอร เพ่ือ

สนองความตองการของผูใชงาน 5. ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรประยุกต (Application Software Specialist) หมายถึง ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และบํ ารุงรักษาซอฟตแวรประยุกต รวมทั้งแก

ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น6. ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย (Multimedia Software Specialist)

หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และบํ ารุงรักษางานดานซอฟตแวรมัลติมีเดีย รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 7. ผูเชี่ยวชาญดานส่ือสารขอมูล (Data Communication Specialist) หมายถงึ ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และบํ ารุงรักษาระบบเครือขายและระบบสื่อสาร

ขอมูลอื่น ๆ รวมทั้งแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 8. ผูเชี่ยวชาญดานฐานขอมูล (Database Specialist) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และบํ ารุงรักษาระบบฐานขอมูลและโปรแกรม

ระบบจัดการฐานขอมูล รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 9. ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยไอที (IT Security Specialist) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผล และประเมินผลดานความปลอดภัยของไอที รวม

ทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 10. ผูเชี่ยวชาญดานประกันคุณภาพของไอที (IT Quality Assurance Specialist) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบและประเมินผลงานดานประกันคุณภาพไอทีรวมทั้งแกไข

ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 11. วิศวกรซอฟตแวร (Software Engineer) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิจัย วิเคราะห ออกแบบ นํ าไปใชงาน ทดสอบ วิธีการ / กระบวนการ ตลอดจนเทคโนโลยีเพ่ือสนับสนุนการ

พัฒนาชอฟตแวรที่เปนงานระบบใหญใหมีคุณภาพสูง 12. ผูเชี่ยวชาญดานแคดแคม (CAD & CAM Specialist) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษา วิเคราะห สรางงานดานการออกแบบและการผลิต โดยใชคอมพิวเตอร รวมทั้งนํ าไปใชงานทดสอบ

ประเมินผลและใหคํ าปรึกษาดานเทคนิค 13. โปรแกรมเมอร (Programmer) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเขียน / สราง ดัดแปลง ทดสอบและแกไขซอฟตแวรประยุกต (Appilcation Software) และ / หรือ ซอฟตแวร ระบบ (System Software) ใหเปนไปตามขอกํ าหนดของโปรแกรม รวมถึงการใหคํ าแนะนํ าดานเทคนิคและการแกไขปญหาตางๆที่เกี่ยวของ14. เว็บมาสเตอร (Web Master) หมายถึง ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการออกแบบ สราง ดัดแปลง ทดสอบและแกไข ปรับปรุงเว็บไซตและขอมูลตางๆจากเว็บไซตใหทันสมัย

15. เจาหนาท่ีฝกอบรมคอมพิวเตอร (Computer Trainer) หมายถึง ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใหการฝกอบรมวิชาการทางดานคอมพิวเตอร ที่เปนหลักสูตรระยะสั้นและหลักสูตรเฉพาะทาง รวมทั้งใหคํ าปรึกษา

ทางวิชาการและทางเทคนิค16. ชางเทคนิคระบบคอมพิวเตอร (System Technician) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการดูแลรักษาและแกไขปญหาของระบบคอมพิวเตอร17. ผูปฏิบัติงานดานระบบคอมพิวเตอร (System Operator) หมายถึง ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการปฏิบัติการ ควบคุม ดูแลรักษาและตรวจสอบการทํ างานของระบบคอมพิวเตอร และ / หรือ ระบบงานคอมพิวเตอร

ชื่อผูใหขอมูล …………………………………………………………………………………………………………...ตํ าแหนง ………………………………………………………………………………………………………………..หมายเลขโทรศัพทติดตอ ……………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ………………………………………………. ตรวจแลวลงชื่อ ………………………………………… (……………………………………………...) (………………………………………...) เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล สถิตจิงัหวัด/หัวหนาฝายบริหารจัดเก็บขอมูลหรือผูที่ไดรับมอบหมาย

คํ าอธิบายศัพท หนา 12-1372

นางสาวจิราพร อุนจิตตพนักงานคอมพิวเตอร 035-524130-7

บันทึกชื่อ ตํ าแหนงหมายเลขโทรศัพทผูใหขอมูลดวย

นางสาวขวัญใจ ออมชมภูนางสาวขวัญใจ ออมชมภู

นางจินตนา อินทุเศรษฐนางจินตนา อินทุเศรษฐลงชื่อดวยนะ !

Page 79: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

73

3.6 ซองบรรจุแบบ

1) วัตถุประสงค ใชสํ าหรับบรรจุแบบสอบถาม ท่ีบันทึกขอมูลเรียบรอยแลวของแตละจังหวัด

2) หลักเกณฑในการใชซองบรรจุแบบ เมื่อปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูลเสร็จแลว ใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูลรวบรวมแบบที่บันทึกขอมูลแลว บรรจุลงในซองบรรจุตามหลักเกณฑ ดังนี้

บรรจุแบบ สทส.50 ซองละประมาณ 20-30 แบบ หากจังหวัดใดมีแบบจํ านวนมากไมสามารถบรรจุในซองเดียวกันไดหมด ใหบรรจุไดมากกวา 1 ซอง พรอมท้ังบันทึกซองท่ีและจํ านวนซองที่ใชท้ังหมดในจังหวัดนั้น

3) วิธีบันทึกหนาซอง(1) ซองที่.....ในจํ านวน.....ซอง ของจังหวัดนี้

บันทึกลํ าดับท่ี และจํ านวนซองทั้งหมดของจังหวัดนี้(2) สถานท่ีต้ัง ขอ ก. - ข.

ใหบันทึกสถานท่ีต้ัง (ภาค และจังหวัด)(3) จํ านวนแบบและเอกสารตาง ๆ

ใหบันทึกจํ านวนแบบและเอกสารตาง ๆ ใหตรงกับรายการที่บรรจุในซอง (4) ลงชื่อเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล และวัน/เดือน ท่ีนํ าสงงาน

(5) ลงชื่อหัวหนาฝายปฏิบัติการสถิติหรือผูท่ีไดรับมอบหมายเมื่อเจาหนาท่ีไดทํ าการตรวจสอบการบันทึกแบบแจงนับ (แบบ สทส.50) และทํ าการ

บรรณาธิกรและลงรหัสเสร็จเรียบรอยแลว พรอมท่ีจะสงแบบไปทํ าการบันทึกขอมูล ใหหัวหนาฝายปฏิบัติการสถิติหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย ตรวจสอบความถูกตองและครบถวนของการปฏิบัติงานอีกครั้ง แลวลงชื่อ พรอมท้ังบันทึกวัน/เดือน ท่ีปฏิบัติงานเสร็จท่ีหนาซองดวย

(6) ลงชื่อเจาหนาท่ีบันทึกขอมูลหรือผูท่ีไดรับมอบหมายเมื่อเจาหนาท่ีผูไดรับมอบหมายไดทํ าการบันทึกขอมูลจากแบบนับจดดวยเครื่องคอมพิวเตอร

เสร็จแลว ใหลงชื่อผูบันทึกขอมูล พรอมท้ัง วัน/เดือน ท่ีบันทึกขอมูลเสร็จท่ีหนาซองดวย(7) ลงชือ่หัวหนาฝายวชิาการและวางแผนหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย

เมื่อเจาหนาท่ีบันทึกขอมูลหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย ไดทํ าการบันทึกขอมูลจากแบบ สทส.50ดวยเครือ่งคอมพิวเตอรเสรจ็เรยีบรอยแลว ใหหัวหนาฝายวชิาการและวางแผนหรอืผูท่ีไดรบัมอบหมาย ตรวจสอบความถกูตองและครบถวนของขอมลูท่ีถูกบันทึกกับขอมลูท่ีไดจากแบบฯ ซ่ึงตองสอดคลองตรงกนั พรอมท้ังลงชือ่ และวนั/เดือน ท่ีปฏิบัติงานเสรจ็ท่ีหนาซองดวย

ในสวนของ กทม. ขั้นท่ี 6 - 7 ใหเจาหนาท่ีผูท่ีไดรับมอบหมายในการเตรียมขอมูล ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนผูลงชื่อ พรอมท้ังวัน/เดือน/ป ท่ีปฏิบัติ

E แบบ สทส. 50 ไมตองนํ าสงเขาสวนกลางให Upload ขอมูลสงสวนกลาง (สศค.) ภายใน กรกฎาคม 2550

Page 80: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ตอนที่ 7การใชบริการ EDI หรือ

เครือขายคอมพิวเตอรอ่ืน ๆ (ขอ18)

สสรุรุปปกกาารรแแจจงงนันับบ แแบบบบ สสททสส..5500

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของสถานประกอบการ

ตอนที่ 2การใชคอมพิวเตอร (ขอ 6)

ตอนที่ 3การใชอินเทอรเน็ต (ขอ 7)

การเช่ือมตออินเทอรเน็ต (ขอ 8) วัตถุประสงคของการใชอินเทอรเน็ต (ขอ 9)

ตอนที่ 4การใชเว็บไซต (ขอ 10)

วัตถุประสงคของการใชเว็บไซต (ขอ 11)

การไดรับชํ าระคาสินคาผานอินเทอรเน็ต (ขอ 16) ปจจัยในการขายสินคาฯ ผานอินเทอรเน็ต (ขอ 17)

ตอนที่ 6การขายสินคาฯ ทาง Internet (ขอ15)

ตอนที่ 8 คาใชจายในสินคาและบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ขอ 20, 21)

การใช EDI หรือเครือขายคอมพิวเตอรอ่ืน ๆ ในการแลกเปลี่ยนเอกสารกับกลุมใด (ขอ 19)

ตอนที่ 5การส่ังซื้อสินคาฯ ทาง Internet (ขอ12)

การชํ าระคาสินคาผานอินเทอรเน็ต (ขอ 13) ปจจัยในการส่ังซื้อสินคาฯ ผานอินเทอรเน็ต (ขอ 14)

Yes

Yes

Yes

Yes

Yes

No (ตอนท่ี 4)

No (ตอนท่ี 7)

No (ตอนท่ี 5)

No (ตอนท่ี 7)

No (ตอนท่ี 6)

No (ตอนท่ี 8)

ตอนที่ 9 ปญหาและอุปสรรคในการใชไอซีที (ขอ 22)

สถานประกอบการที่มีรูปแบบเปนบริษัทฯ

ตอนที่ 10 บุคลากรดาน IT ของสถานประกอบการ (ขอ 23 - 25)

ยุติYes

No

75

Page 81: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผภาคผนวกนวก

Page 82: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

รรหัหัสเขตสเขตกาการปกครปกครองรอง ((ภาคภาค จังหจังหวัดวัด เเขตขต//อําเภอําเภออ))

Page 83: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-1พาณิชยอิเล็กทรอนกิส (E-Commerce)

พาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือการทําการคาผานระบบอิเล็กทรอนิกสไดกลายเปนแนวโนมสําหรับระบบการคาของโลกที่ไดรับความนิยมมากข้ึนเรื่อย ๆ เน่ืองจากพาณิชยอิเล็กทรอนิกสชวยใหเราสามารถทําการคากับบุคคลหรือองคกรทั่วโลกไดอยางสะดวกรวดเร็ว ดวยตนทุนที่ต่ํากวาชองทางคาขายตามปกติเปนอยางมาก โดยเราสามารถใหนิยามของ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ไดคือ

• การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนสงผลิตภัณฑและบริการโดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกส (WTO, 1998)

• ขบวนการที่ใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อทําธุรกิจที่จะบรรลุเปาหมายขององคกร พาณิชยอิเล็กทรอนิกสใชเทคโนโลยีประเภทตาง ๆ และครอบคลุมรูปแบบทางการเงินทั้งหลาย เชน ธนาคารอิเล็กทรอนิกส การคาอิเล็กทรอนิกส อีดีไอหรือการแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โทรสาร รายการสินคาอิเล็กทรอนิกส การประชุมทางไกล และรูปแบบตาง ๆ ที่เปนขอมูลระหวางองคกร (ESCAP, 1998)

จากนิยามขางตน แสดงใหเห็นวาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมีขอบเขตที่กวางขวาง โดยมีการใชงานทั้งในสวนของอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน เชน โทรศัพท โทรสาร บารโคด บัตรแถบแมเหล็ก บัตรอัจฉริยะ เปนตน และยังมีการใชงานระบบทางอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ เชน ระบบอีดีไอ ระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส เปนตน อยางไรก็ตามเทคโนโลยีที่มีผลตอพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่สุดก็คือเครือขายอินเทอรเน็ต ที่เอื้ออํานวยใหผูประกอบการสามารถสื่อถึงผูบริโภคทั่วโลกได ทั้งในสวนของการโฆษณาสินคา ส่ังซื้อ ชําระเงิน ขนสงสินคา ตลอดจนบริการหลังการขาย ดังนั้น ในที่น้ีเราจะกลาวถึงพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่ใชอินเทอรเน็ตเปนชองทางในการทําธุรกรรมเปนหลัก

ลักษณะการดําเนินธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส การดําเนินธุรกิจโดยใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส สามารถแบงตามประเภทของผูขายและผูซ้ือ คือ

Business-to-Business (B2B) การดําเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับองคกรธุรกิจ (B2B) เปนการดําเนินธุรกรรมทางการคาระหวางองคกรธุรกิจ โดยอาจมีวัตถุประสงคเพื่อการติดตอซื้อขาย การจัดการงานผลิต หรือการติดตอบริการขอมูล ตัวอยางเชน การสั่งซ้ือสินคาสําหรับหางสรรพสินคาไปยังผูผลิต การส่ังซื้อชิ้นสวนที่ใชในงานอุตสาหกรรม หรือการติดตอธุรกิจระหวางสํานักงานใหญและตัวแทนจําหนายผานอินเทอรเน็ต เปนตน การคาแบบ B2B ไดรับการคาดหมายวาจะเปนระบบการคาแบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับความนิยมและมีมูลคาสูงที่สุด เน่ืองจากชวยใหผูประกอบการสามารถทําการติดตอดําเนินธุรกิจทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศไดอยางสะดวก รวดเร็ว และชวยลดตนทุนไดเปนอยางมาก Business-to-Consumer (B2C) การดําเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับผูบริโภค (B2C) เปนการดําเนินธุรกรรมทางการคาที่เกิดข้ึนระหวางผูประกอบการกับผูบริโภคโดยตรง น่ันคือเปนการขายสินคาหรือบริการใหกับผูบริโภคดวยชองทางตาง ๆ ซ่ึงชองทางที่นิยมและสะดวกที่สุดก็คือระบบอินเทอรเน็ต ตัวอยางเชน เว็บไซต Amazon.com ซึ่งขายปลีกหนังสือและสินคาตาง ๆ สูผูบริโภคทั่วโลก เปนตน แมวาการคาแบบ B2C จะมีมูลคาที่ต่ํากวา B2B แตจะเปนธุรกรรมที่เกิดขึ้นมากท่ีสุด เน่ืองจากผูประกอบการทั้งรายเล็กและรายใหญลวนสามารถทําการขายสินคาและบริการใหกับผูบริโภคทั่วโลกไดทันที Business-to-Government (B2G)

Page 84: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-2 การดําเนินธุรกิจระหวางองคกรธุรกิจกับภาครัฐ (B2G) เปนการดําเนินธุรกรรมทางการคาระหวางองคกรธุรกิจกับหนวยงานของรัฐบาล ซ่ึงโดยมากแลวเปนเรื่องของการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ (Government Procurement) ตัวอยางเชน กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาจะทําการประกาศและจัดซื้อครุภัณฑโดยใชระบบอีดีไอ ทําใหผูที่สนใจจะขายสินคาใหตองสามารถใชระบบอีดีไอในการรับสงขอมูลได เปนตน ผลกระทบของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส พาณิชยอิเล็กทรอนิกส เปนระบบเศรษฐกิจแบบใหมที่ชวยใหการดําเนินธุรกิจสามารถเกิดขึ้นไดตลอด 24 ชั่วโมงโดยไมมีวันหยุด รวมทั้งไมมีขอจํากัดทั้งทางดานสถานที่ตั้งของผูประกอบการ หรือการเขาถึงผูบริโภคที่อยูตําแหนงใด ๆ ในโลก พาณิชยอิเล็กทรอนิกสจึงมีผลกระทบตอทั้งผูบริโภคและผูประกอบการทั้งในแงดีและแงราย ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี้

ผลกระทบตอผูบริโภค

ประโยชน • ไดรับความสะดวกในการซื้อสินคา โดยสามารถส่ังซ้ือสินคาจากที่บานหรือที่ทํางานไดทันที • มีสินคาและบริการใหเลือกมากข้ึน เน่ืองจากสามารถสั่งซ้ือจากรานคาตาง ๆ ทั่วโลก • เปรียบเทียบราคาจากรานคาตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว และสามารถเลือกซื้อจากรานคาที่ราคาต่ํากวา • สามารถหาขอมูลสินคาในแบบและรุนตาง ๆ ไดอยางละเอียดกอนตัดสินใจซื้อ • ไดสินคาที่มีราคาต่ํากวาซ้ือผานชองทางปกติเพราะผูประกอบการมีตนทุนต่ํากวา • ไดรับสินคาทันทีในกรณีที่สินคานั้นสามารถสงผานทางส่ืออิเล็กทรอนิกส

ขอควรระวัง • การซื้อสินคาผานทางอินเทอรเน็ตยังมีความเสี่ยงทั้งในแงความนาเชื่อถือของเว็บไซตที่ขายสินคา และความ

เส่ียงในแงของการถูกขโมยขอมูลบัตรเครดิตที่ปอนผานอินเทอรเน็ต จึงควรเลือกใชบริการเว็บไซตที่นาเช่ือถือและมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี

• การซื้อสินคาผานอินเทอรเน็ตผูซื้อไมสามารถจับตองสินคาไดโดยตรง จะไดเห็นแตเพียงภาพที่ปรากฏ ในเว็บเทาน้ัน จึงควรพิจารณาในตัวสินคาและบริการอยางละเอียดรอบคอบ

• สินคาและบริการบางอยางอาจขัดตอขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และกฎหมาย

ผลกระทบตอผูประกอบการและผูผลิต

ประโยชน • สามารถขายสินคาใหกับลูกคาจากทั่วโลก • ชวยลดตนทุนในการจําหนายและการบริการ ทั้งในสวนของบริการกอนการขายและบริการหลังการขาย • ผูประกอบการทุกรายมีโอกาสในการแขงขันเทาเทียมกัน เนื่องจากการทําธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกสใชเงิน

ลงทุนไมมาก อีกทั้งผูบริโภคจะติดตอผานระบบเวิลดไวตเว็บและอีเมลโดยไมไดรับรูถึงขนาดธุรกิจของผูประกอบการ • ชวยลดภาระสินคาคงคลังสําหรับผูประกอบการ เน่ืองจากไมตองทําการเก็บสินคาจํานวนมากไวสามารถใช

Page 85: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-3วิธีส่ังซื้อไปยังผูผลิตตอเม่ือมีคําส่ังซื้อจากลูกคา

• สามารถใหบริการและทําการตลาดตอลูกคาแตละคนโดยเฉพาะได (Customization)

ขอควรระวัง • ระบบรักษาความปลอดภัยของผูประกอบการจะตองมีความเชื่อถือไดสูง สามารถปองกันการลักลอบขโมย

ขอมูล และปองกันการเจาะเขามาทําความเสียหายตอระบบและขอมูลที่เก็บอยูของแฮกเกอรได • ตองมีการปรับรูปแบบของธุรกิจใหทันกับการแขงขันที่รุนแรงข้ึน เน่ืองจากพาณิชยอิเล็กทรอนิกสจะชวยให

ผูผลิตสามารถขายตรงใหลูกคา รวมทั้งผูประกอบการรายยอยสามารถเขาสูระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสไดงาย ทําใหการแขงขัน รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ และจะเกิดรูปแบบทางธุรกิจใหม ๆ ขึ้นตลอดเวลา

• ตองติดตามศึกษามาตรการทางกฎหมายที่ออกมาเพื่อคุมครองทั้งในสวนของผูบริโภคและผูประกอบการ เพื่อใหพาณิชยอิเล็กทรอนิกสสามารถดําเนินไปไดอยางราบรื่น

• ตองติดตามศึกษามาตรการทางดานภาษีทั้งภาษีสรรพากรและภาษีศุลกากร ที่จะมีการปรับเปลี่ยนใหทันกับ ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสตอไป การพัฒนาระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

การพัฒนาระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ที่มีการทํารายการซื้อขายผานอินเทอรเน็ต สามารถแบงออกเปนขั้นตอน

ไดดังนี้ ศึกษาแนวทางธุรกิจ

ขั้นตอนแรกสุดในการเขาสูระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือการศึกษาถึงธุรกิจที่ตองการนําเขาสูระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสและสินคาที่ตองการนําเสนอสูผูบริโภค โดยสินคาที่นิยมนําเขาสูระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสสามารถแบงไดเปน

1) สินคาที่จับตองได (Tangible Product) คือสินคาโดยทั่วไปที่มีตัวตนสามารถจับตองได และตองมี

กระบวนการสงสินคาไปใหผูบริโภค ตัวอยางเชน หนังสือ ดอกไม คอมพิวเตอร เปนตน 2) สินคาที่จับตองไมได (Intangible Product) คือสินคาที่ไมมีตัวตนใหจับตองได ซึ่งอาจเปน

สินคาที่สามารถ จัดสงผานส่ืออิเล็กทรอนิกส (Electronic delivery) ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรของผูซ้ือโดยตรง เชน ซอฟตแวร หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนตน หรืออาจเปนบริการตาง ๆ เชน บริการขอมูลหลักทรัพย บริการขอมูลวิจัย ตลอดจนบริการจองซื้อทัวรหรือโรงแรม เปนตน

Page 86: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-4 จัดตั้งเว็บไซต

ในการดําเนินธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกสผานอินเทอรเน็ต ส่ิงที่ขาดไมไดก็คือเว็บไซต (Web Site) ซ่ึงเปรียบเสมือนหนารานที่ลูกคาจะเขามาติดตอและส่ังซื้อสินคา โดยผูประกอบการสามารถเลือกพัฒนาเว็บไซตไดสองวิธีคือ

1) พัฒนาข้ึนเองโดยใชบุคลากรภายในองคกร หากเลือกใชวิธีน้ี มีขอควรคํานึงถึงคือทรัพยากรบุคคลที่จะดูแล

ในสวนนี้มีเพียงพอหรือไม รวมทั้งตองลงทุนดานอุปกรณตาง ๆ เพิ่มขึ้นเทาใด 2) จางบุคคลภายนอก มีขอควรคํานึงคือตองมีการตรวจสอบติดตามงานวาเสร็จตามกําหนดและบรรลุวัตถุ

ประสงคที่วางไวหรือไม

นอกจากนี้ การจัดตั้งเว็บไซตจะมีคาใชจายในสวนของการซื้อช่ือโดเมน ซ้ือพื้นที่ Web Server และคาใชจายในการเปล่ียนแปลงเว็บเพื่อเพิ่มเติมขอมูลตาง ๆ ซึ่งเปนคาใชจายระยะยาวที่ตองคํานึงถึงดวย ทําการตลาด

เม่ือมีการจัดตั้งเว็บไซตแลว ส่ิงสําคัญอีกอยางคือการทําการตลาด เพื่อใหลูกคาไดรูจักและเขามาเยี่ยมชมเว็บไซต ซึ่งจะพัฒนาเปนการซื้อสินคาผานเว็บไซตตอไป การทําตลาดสามารถทําไดทั้งการตลาดแบบออฟไลน (Offline marketing) เชนการโฆษณาผานส่ือตาง ๆ ทั้งนิตยสาร หนังสือพิมพ โทรทัศนและการตลาดแบบออนไลน (Online marketing) ผานสื่อตาง ๆ บนอินเทอรเน็ต คือ

• ลงทะเบียนกับ Directory และ Search Engine โดยปกติเม่ือผูใชอินเทอรเน็ตตองการหาขอมูลสินคา

หรือบริการใด ๆ ก็มักจะเขาใชบริการของ Directory หรือ Search Engine ในการชวยหาขอมูลที่ตองการ การลงทะเบียนกับเว็บไซตเหลาน้ีจึงเปนส่ิงที่ชวยใหรานคาสามารถเขาถึงลูกคาได การลงทะเบียนบางแหงก็สามารถทําไดโดยไมเสียคาใชจาย บางแหงเสียคาใชจายครั้งเดียว บางแหงเสียเปนรายป รวมทั้งบางแหงก็มีการคิดคาใชจายทุกครั้งที่มีผูใชคลิกเขามาเยี่ยมชมเว็บไซตของเรา เรียกวาระบบ Pay Per Click (PPC)

• ซ้ือปายโฆษณา (Banner ads) บนเว็บไซตอื่น เว็บไซตที่มีผูเขาเยี่ยมชมเปนจํานวนมากจะมีการหารายได

จากการขายพ้ืนที่โฆษณา ซึ่งอาจจะเปนขอความเพียงอยางเดียวหรือขอความพรอมภาพปายโฆษณาก็ได โดยปกติอัตราคาโฆษณาจะคิดเปนราคาตอการแสดงโฆษณาหนึ่งพันคร้ังหรือที่เรียกวาซีพีเอ็ม (CPM) เชน สิบเหรียญตอซีพีเอ็ม เปนตน ซึ่งหากผูโฆษณาเลือกแสดงโฆษณาเฉพาะในหมวดที่สนใจ อัตราคาโฆษณาก็จะแพงขึ้น แตโฆษณาก็จะตรงกับกลุมเปาหมายมากขึ้น

• โฆษณาผานทางอีเมล (E-mail ads) มีลักษณะคลายกับการสงจดหมายขายตรง (Direct mail) แตเปล่ียน

เปนการสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสโฆษณาสินคาและบริการไปยังลูกคา ซ่ึงวิธีน้ีมีขอดีกวาการสงจดหมายปกติคือเสียคาใชจายในการสงต่ํามาก และสงจดหมายถึงลูกคาจํานวนมากไดในเวลาอันรวดเร็ว แตส่ิงที่พึงระวังอยางยิ่งคือผูใชอินเทอรเน็ตในปจจุบันไดรับจดหมายจํานวนมากในแตละวัน และไมตองการรับจดหมายที่ไมไดรองขอ เน่ืองจากทําใหเสียเวลาในการหาจดหมายที่ตองการและ

Page 87: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-5ยังอาจทําให Mail Box เต็มอีกดวย ผูที่สงจดหมายขยะ (Junk mail หรือ Spam mail) ไปยังผูใช อาจสรางภาพลบตอสินคาและบริการได รวมทั้งยังผิดกฎหมายในหลายประเทศดวย รับคําส่ังซื้อ เม่ือลูกคาเขามาเยี่ยมชมสินคาและบริการในเว็บไซตแลว หากตองทําการส่ังซื้อสินคา ทางเว็บไซตก็ควรมีระบบตะกราสินคา (Shopping Cart) เพื่อชวยใหลูกคาสามารถเลือกสินคาหรือบริการที่ตองการเขาไปไวในตะกราไดอยางรวดเร็ว รวมท้ังสามารถเพิ่มหรือลดสินคาตาง ๆ ไดอยางสะดวก และเมื่อลูกคาไดส่ิงของที่ตองการครบแลว ก็จะนําตะกราเขาสูระบบการชําระเงินตอไป

การชําระเงินบนอินเทอรเน็ตสามารถทําไดหลายวิธี ทั้งวิธีที่ใชในการชําระสินคาทั่ว ๆ ไป เชน การโอนเงินผานระบบธนาคาร การจายเปนเช็ค ดราฟต หรือแมแตการชําระเปนเงินสดเมื่อนําสินคาไปสง เปนตน แตวิธีที่ไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบัน คือการชําระดวยบัตรเครดิต เนื่องจากลูกคาสามารถจายเงินไดทันทีผานระบบตรวจสอบเครดิตแบบออนไลน อีกทั้งยังไมตองเสียคาใชจายเพิ่มเติมเหมือนวิธีอื่น ๆ

ขั้นตอนการชําระเงินดวยบัตรเครดิตผานอินเทอรเน็ต สามารถสรุปไดดังนี้ 1) ผูซื้อทําการใสขอมูลบัตรเครดิตในหนาเว็บเพจที่มีระบบรักษาความปลอดภัยแบบ Secure

Sockets Layer (SSL) หรือแบบอื่น ๆ โดยที่ขอมูลสวนที่ใสนี้ทางรานคาจะไมสามารถเห็นได

2) ขอมูลถูกสงไปยัง ธนาคารผูเรียกเก็บ (Acquirer Bank) ซึ่งหมายถึงธนาคารที่ทางฝายรานคา ใชบริการอยู

เพื่อสงขอมูลไปยังธนาคารผูออกบัตร (Issuer Bank) 3) ธนาคารผูออกบัตรทําการตรวจสอบขอมูลบัตรวาถูกตองและมีวงเงินเพียงพอหรือไม หากบัตรไมมีปญหา

ใด ๆ ก็จะสงขอมูลกลับไปยัง Acquirer Bank ซ่ึงจะสงผลลัพธกลับไปยังรานคาพรอมกับแจงกลับมายัง ผูซ้ือเพื่อยืนยันคําส่ังซื้อตอไป

ขั้นตอนหลังจากนั้น จะเปนการทํางานในภายหลัง โดยทางธนาคารผูเรียกเก็บจะทําการเรียกเก็บเงินจากธนาคารผูออกบัตร จากนั้นจึงโอนเงินไปยังบัญชีของรานคา ในสวนของธนาคารผูออกบัตรก็จะเรียกเก็บเงินจากเจาของบัตรตามระยะเวลาที่กําหนดตอไป จัดสงสินคา

เม่ือลูกคาไดทําการชําระเงินเรียบรอย ทางรานคาก็มีหนาที่รับผิดชอบในการจัดสงสินคาไปยังลูกคาตอไป โดยการจัดสงสามารถแยกเปนสองแบบคือ

• จัดสงแบบอิเล็กทรอนิกส (Electronic delivery) คือการจัดสงผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ

สินคาแบบ Intangible Product เชน งานวิจัย วารสารออนไลน หรือ ซอฟตแวรตาง ๆ เปนตน สินคาเหลาน้ีสามารถจัดสงผานอีเมล หรือใหลูกคาเขามาดาวนโหลดผานเว็บไซตก็ได

Page 88: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-6 • จัดสงผานระบบขนสง สําหรับสินคาแบบ Tangible Product ซ่ึงตองมีการจัดสงดวยวิธีขนสง

แบบตาง ๆ ซึ่งอาจเปนระบบไปรษณียและ EMS หรือผานบริการบริษัทขนสง เชน UPS, FEDEX, DHL รวมท้ังอาจจัดสงดวยบริการพนักงานจัดสงของรานคาเอง เปนตน จดหมายอิเล็กทรอนกิส (Electronic

Mail) จดหมายอิเล็กทรอนิกส หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ วา อีเมล (E-mail) ก็คือจดหมายหรือขอความที่สงถึงกันผานทางเครือขายคอมพิวเตอร โดยการนําสงจดหมายเปลี่ยนจากบุรุษไปรษณียมาเปนโปรแกรม และเปล่ียนจากการใชเสนทางจราจรมาเปนสายส่ือสารที่เชื่อมระหวางเครือขาย ซ่ึงจะสงตรงมาเขาสู ตูรับจดหมาย (Mail box) ที่เปนพื้นที่ในเครื่องเซิรฟเวอรของผูรับไดทันที ชวยใหประหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย

ปจจุบันน้ีดวยเครือขายที่เชื่อมตอเขาถึงกันทั่วโลก ทําใหการติดตอกันสามารถกระทําไดอยางงายดาย อินเทอรเน็ตเปนระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกสที่ใหญที่สุดในโลก เพราะมีผูใชมากกวา 25 ลานคนติดตอเขาใชอินเทอรเน็ตเพื่อสงอีเมล ที่อยูของการสงอีเมลประกอบดวยสองสวน คือ ชื่อผูใช (User name) และโดเมน (Domain Name) โดยชื่อโดเมนจะบอกถึงช่ือเครื่องที่ผูใชมีรายช่ืออยู สวนช่ือผูใชก็คือชื่อในการเขาใชงานเครื่อง (Login account) ของผูใช และทั้งสองสวนนี้จะแยกกันดวยเครื่องหมาย @ ตัวอยางเชน [email protected]

หมายถึงผูใชชื่อ fscivcw ซึ่งมีที่อยู ณ เครื่อง chulkn ของจุฬาฯ (chula) ซึ่งเปนหนวยงานดานการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th) [email protected]

คือผูใชช่ือ Bob ซึ่งมีที่อยูคือไมโครซอฟต (Microsoft) ซึ่งเปนองคกรธุรกิจ (com)ในสหรัฐ นอกจากนี้ ในปจจุบันจะมีบริการ เว็บเมล (Web Mail) ซ่ึงเปนบริการอีเมลโดยผานระบบ (World Wide Web) น่ันคือ ผูใชจะไดรับ(Mail box)เปนพื้นที่สวนหนึ่งบนเครื่องเซิรฟเวอรของผูใหบริการ และการรับ – สงเมลจะกระทําโดยผานโปรแกรมเว็บบราวเซอร บริการเว็บเมลไดรับความนิยมเปนอยางมาก เนื่องจากสวนมากจะไมคิดคาใชจาย (แตจะแลกเปล่ียนโดยการมีโฆษณา ปรากฎในขณะใชงาน) และยังสามารถอานเมลไดจากทุกที่ที่สามารถเขาสูอินเทอรเน็ตได เชน อานเมลจากเคร่ืองที่บาน หรืออานเมลจากอินเทอรเน็ตคาเฟ เปนตน

Page 89: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-7

EDI คืออะไร

1. EDI ( Electronic Data Interchange ) คืออะไร EDI คือ การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหวางบริษัทคูคาในรูปแบบมาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่อง หนึ่ง ไปยงัเครื่องคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึง่ มีสององคประกอบที่สําคัญในระบบ EDI คือ การใช เอกสารอิเล็กทรอนิกสมาแทนเอกสารที่เปนกระดาษ เอกสารอิเล็กทรอนิกสเหลานี้ตองอยูในรูปแบบมาตรฐานสากล ดวยสองปจจัยนี้ทุกธุรกิจสามารถแลกเปลี่ยนเอกสารกันไดทั่วโลก

2. ประโยชนของ EDI คืออะไร ประโยชนหลัก ๆ ของ EDI ตอธุรกิจ มีดังตอไปนี ้ - เพิ่มความถูกตอง รวดเร็ว และแมนยํา ในการรับ-สงเอกสาร - ลดงานซ้ําซอน และลดขั้นตอนการจัดการรบั-สงเอกสาร - สามารถนําเอาขอมูลมาใชประโยชนมากที่สุด - ลดคาใชจายในการจัดสงเอกสาร เชน คาแสตมป คาพัสดุไปรษณีย และพนักงาน - เพิ่มความรวดเร็วในการทําธุรกิจโดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาวะทีม่ีการแขงขันสูงข้ึน - เพิ่มความสัมพันธที่ดีกับคูคา

3. เหตุใดจึงตองใชรูปแบบมาตรฐานสากล สาํหรับเอกสาร EDI มาตรฐานเอกสาร EDI เปรียบเสมือนภาษากลางในการสื่อสารระหวางคูคา มาตรฐานเอกสาร EDI ที่ใชอยูใน

ปจจุบัน ใน ภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก มีอยูหลายมาตรฐาน อาทิเชน ANSI X12 ซึ่งใชแพรหลายในประเทศอเมริกา และประเทศออสเตรเลีย ODDETTE, TRADACOMS ซึ่งใชกันอยูในประเทศตางๆ ในทวีปยุโรปสําหรับประเทศในทวีปเอเชีย รวมถึงประเทศไทย สวนใหญจะใช มาตรฐานของ UN/EDIFACT ซ่ึงยอมาจาก United Nation/Electronic Data Interchange for Administration, Commerce, and Transportation เปนมาตรฐานที่กําหนดโดย United Nation ขณะนี้ หลายๆ ประเทศ กําลังพยายามปรับมาตรฐานของตนใหเขากับมาตรฐานนี้เน่ืองจากมีการคา ระหวางประเทศเพิ่มมากข้ึนเปน ลําดับ

4. เอกสารประเภทใดบางที่ใช EDI มาทดแทนได เอกสารทางธุรกิจที่ใชอยูในปจจุบันน้ี สามารถทดแทนดวยเอกสาร EDI ไดทั้งหมด เชน

Page 90: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-8 - เอกสารทางดานการจัดซื้อ ไดแก ใบส่ังซื้อ (Purchase Order) ใบแจงหนี้ (Invoice) ใบเสนอราคา

(Quotation) ใบแจงราคาสินคา (Price/Sales Catalogue) เปนตน - เอกสารทางดานการเงิน ไดแก ใบสั่งใหธนาคารจายเงิน (Payment Order) ใบแจงการสั่งจาย (Remittance

Advice) เปนตน - เอกสารทางดานการขนสง ไดแก ใบตราสง (Bill of Lading) ใบจองตูสินคา (Booking) แผนผังการบรรทกุ

สินคา ภายในเรอื (Bayplan) ใบส่ังปลอยสินคา (Delivery Order) เปนตน - เอกสารทางดานการคาระหวางประเทศ ไดแก ใบขนสินคา (Customs Declaration) บัญชีตูสินคา

(Manifest) เปนตน 5. ธุรกิจประเภทใดที่สามารถนํา EDI มาใชได ทุกธุรกิจที่มีการใชเอกสารจํานวนมากและเปนประจําโดยมีขั้นตอนซ้ําๆ แตตองการความถูกตองรวดเร็วและแมนยํา ของขอมูล เชนธุรกิจคาสงและคาปลีก ที่ตองมีการสั่งซื้อสินคาเปนประจํา ธุรกิจขนสงซึ่งตองใชขอมูลประกอบในการจดัการ ขนสงสินคา ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตสินคา ที่ตองส่ังซ้ือวัตถุดิบและธุรกิจการคาระหวางประเทศ เปนตน 6. ผลกระทบของการใช EDI กับระบบการทาํงานของพนกังานในปจจุบัน

หลายทานอาจกังวลวา การนําเอา EDI มาใชจะเขามาทดแทนการทํางานของพนักงาน สงผลใหพนักงานวางงานแตที่จริงแลว EDI สามารถชวยลดงานเอกสารที่มีปริมาณมาก และตองทําซ้ํา ๆ ทําใหเราสามารถนําพนักงานที่มีอยูไปพัฒนาใหทํางานประเภทอืน่ๆ ที่มีคุณคาเพิ่มใหกับบริษัทได ถือเปนการเพิ่มศักยภาพการทํางานใหแกพนกังานและบริษัท 7. EDI ทํางานอยางไร ขั้นตอนการทํางานของระบบ EDI มีดังนี ้ 1. ผูสงทําการเตรียมขอมูล และแปลงใหอยูในรูปแบบมาตรฐาน UN/EDIFACT โดยใช Translation Software 2. ผูสงทําการสงขอมูลไปยังศูนยบรกิารของผูใหบริการ EDI ผานเครือขายสาธารณะโดยใช Modem 3. ผูใหบริการ EDI จะจัดเก็บขอมูลเหลาน้ีไวในตูไปรษณยี (Mailbox) ของผูรับเมื่อขอมูลไปถึงศูนยบรกิาร 4. ผูรับตดิตอมายังศนูยบรกิารผาน Modem เพื่อรับขอมูล EDI ที่อยูในตูไปรษณยีของตน 5. ผูรับแปลงขอมูลกลับโดยใช Translation Software อยูในรปูแบบที่ระบบงานของตนสามารถรับไปประมวลผลได

Page 91: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-9 8. Translation Software คืออะไร Translation Software คือ โปรแกรมที่ทําหนาที่ในการแปลงขอมูลใหอยูในรูปแบบมาตรฐาน เชน มาตรฐาน UN/EDIFACT, ANSI X12 ทานสามารถซ้ือโปรแกรมดังกลาวไดจากผูใหบรกิาร EDI หรือบริษัทคอมพิวเตอร ที่จําหนายซอฟตแวรเหลาน้ี 9. หนาท่ีของผูใหบริการ EDI หรอืท่ีเรียกกนัวา VAN คืออะไร ผูใหบริการ EDI ทําหนาที่เปนศูนยกลางไปรษณีย ในการรบั-สงขอมูลระหวางคูคา ใหสามารถรับสงขอมูลไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยปกตผิูใหบริการ EDI สามารถใหบรกิารในการรบั-สงขอมูล ทั้ง EDI, File Transfer (non-EDI) และ E-mail ความรับผิดชอบหลักของผูใหบริการ EDI นอกจากการรบั-สงขอมูลไดอยางถกูตองสมบูรณแลว ยังตองสามารถรกัษาความปลอดภัย ของตูไปรษณยี( Mailbox) ของลูกคาแตละราย มิใหผูอ่ืนเขาไปดูขอมูลไดอีกดวย

10. ขอบเขตการใหบรกิาร EDI กวางขวางเพียงใด ทานสามารถรับ-สงเอกสาร EDI ไดทั้งภายในประเทศและตางประเทศ เราแบงผูใหบรกิาร EDI หรือที่เรียกวา VAN (Value Added Network) เปน 2 ประเภทหลักๆ คือ ผูใหบรกิาร EDI ภายในประเทศ (Domestic VAN) เชน การสื่อสารแหงประเทศไทย, บริษัทชินวัตร, บริษัทไทยเทรดเน็ท, และบริษัทเอ็กซิมเน็ท บริษัทเหลาน้ีมีศูนยบรกิาร (Host) อยูในประเทศและจะใหบริการเครือขาย ภายในประเทศเปนหลัก ผูใหบรกิาร EDI ระหวางประเทศ (International VAN) เชน IBM , BT , AT&T บริษัทเหลาน้ีมีศูนยบริการ (Host) อยูตางประเทศ และใหบรกิารเครือขายระหวางประเทศเปนหลัก ทานสามารถเลือกใชบรกิารของผูใหบรกิาร EDI ตามความเหมาะสมกับการใชงานในธุรกิจ ตัวอยาง เชน บริษัทที่มีเอกสารรับสงระหวางประเทศเปนหลัก ควรเลือกใชผูใหบริการ EDI ระหวางประเทศ สวนบริษัทที่มีเอกสาร รับสงภายในประเทศเปนหลัก ควรใชบริการของผูใหบริการ EDI ภายในประเทศ เพราะคาใชจายจะต่ํากวา 11. เหตุใดจึงตองใชบริการของ VAN (Value Added Network) หลาย ๆ บริษัทอาจคิดวาควรติดตอกับคูคาดวยตนเองมากกวาการใชบริการของ VAN เน่ืองจาก มีคาใชจายเพิ่มขึ้น โดยไมจาํเปน หากแตปญหาที่ตองประสบ รวมถึงปริมาณงานที่เกิดเพิ่มขึน้มีดังตอไปนี ้ - การใชเครื่องคอมพิวเตอรตางระบบ ระหวางทานและคูคาซึ่งจะมีความยุงยากเพิ่มขึ้น หากทานมคูีคาเปนจํานวนมาก ตองบริหารเครือขายการส่ือสารดวยตนเอง โดยทานตองรับภาระในการดูแลทั้งอุปกรณ คอมพิวเตอร Modems การสง และรับขอมูล สายโทรศัพท และอ่ืน ๆ - ขาดผูชํานาญงานในการฝกอบรมพนกังานใหเขาใจถึง EDI

Page 92: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-10 - ตองลงทุนสูงทางดานอุปกรณเครือขาย และการรักษาความปลอดภัยของขอมูล 12. ขอแตกตางระหวาง EC (Electronic Commerce) กับ EDI (Electronic Data Interchange) Electronic Commerce หรือ อิเล็กทรอนิกสวาณิชย หมายรวมถึงการคาขายโดยใชอิเล็กทรอนิกสเปนสื่อกลาง เชน การแลกเปล่ียนเอกสารโดยใช EDI การจายเงินโดยใชบัตรเครดิตผานสายโทรศัพท การโฆษณาและสั่งซื้อสินคาผาน Internet เปนตน ดังนั้นเราอาจกลาวไดวา EDI เปนเพียงสวนหนึ่งของ EC

13. EDI กับ E-mail แตกตางกันอยางไร E-mail เปนการสงขอความซึ่งไมมีรูปแบบบังคับ เปนการสื่อสารระหวางบุคคลที่ไมมีมาตรฐานกาํหนดตายตัว ตางจาก EDI ซึ่งขอมูลตองมีรูปแบบที่แนนอนภายใตรูปแบบมาตรฐานสากล เน่ืองจาก EDI เปนการส่ือสารระหวาง คอมพิวเตอร ทําใหสามารถ นําขอมูลเขาสูระบบงานคอมพิวเตอรของบริษัทคูคาไดทันท ีโดยไมตองมีคนบันทึกขอมลูซ้ํา 14. ประโยชนและขอแตกตางระหวางการใช EDI กับ Fax ในการรับ-สงเอกสาร สําหรับผูรับเอกสาร ทานสามารถนําขอมูล EDI ที่ไดรับมาจากบริษัทคูคาขึ้นสูระบบงานคอมพิวเตอรของทานไดทันท ีโดยไมตองทําการบันทึกขอมูลซ้ํา ซึ่งเปนการลดระยะเวลาและขอผิดพลาด แตกตางจากการรับเอกสารทาง Fax ซึ่งสวนใหญจะประสบกับปญหากระดาษหมด ขอความไมชัดเจน อานไมได อีกทั้งยังไมมกีารรายงานสถานภาพความถูกตอง สมบูรณของเอกสารที่ไดรบัสําหรับผูสงเอกสาร ทานสามารถนําขอมูลจากระบบคอมพิวเตอรของทาน ผลิตเอกสาร EDI และสงไปยังคูคาโดยไมตองมกีารใสขอมูลหรือพิมพออกมาในแตละครั้งของการสงหากทานสงเอกสารผานเครื่อง Fax โดยทั่วไปเอกสารตองถูกจัดพมิพออกมากอนจะสงไปยงัคูคา เปนการเพิ่มทั้งปริมาณงานและปริมาณเอกสารกระดาษที่ใช 15. อุปกรณท่ีตองจัดเตรียมในการนํา EDI มาใชในบริษัท ระบบ EDI ที่ใชกันอยูทั่วโลกมอียูมากมายหลายระบบ ในที่น้ีจะขอกลาวถึงอุปกรณที่จําเปนอยางนอยในระบบ EDI ที่ใช Personal Computer เปนตัวกลางในการรับ-สงขอมูล - เครื่อง PC รุน 486 ข้ึนไป ที่มีหนวยความจําอยางนอย 4 MB - Translation Software - Modem 16. คาใชจายในการนําระบบ EDI มาใชมีสวนใดบาง คาใชจายในการติดตั้งระบบ EDI ไมรวมถึงคาอุปกรณ (Hardware) โดยท่ัวไปจะประกอบดวย - คา Set up Mailbox - คา Translation Software

Page 93: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-11 - คาบํารุงรักษา Mailbox รายเดือน - คาใชบริการ (Transaction) โดยปกติคิดจากปริมาณขอมูลที่รับสง (เปนจํานวน บาท ตอ 1024 ตัวอักษร) 17. Interconnection หมายถึงอะไร และมีประโยชนอยางไร Interconnection หมายถึงการเชื่อมตอระบบกันระหวางผูใหบริการ EDI เพื่ออํานวยความสะดวกแกลูกคา ใหสามารถติดตอ รับ-สงขอมูล EDI กับคูคาไดทั้งหมด โดยเปนสมาชิกของผูใหบรกิารรายใดรายหนึ่งเทาน้ัน ซึ่ง นอกจากจะเปนการอํานวยความสะดวกแลว ยังประหยัดคาใชจายอกีดวย การ Interconnect อาจทําไดระหวางผูให บริการภายในประเทศ หรือกับผูใหบริการ EDI ในตางประเทศ 18. Internet มีประโยชนกับ EDI หรือไม การแลกเปล่ียนขอมูลดวยสื่ออิเล็กทรอนกิส มีแนวโนมที่จะขยายขอบเขตการใชงานไปยังองคกรตาง ๆ ในภาครัฐ และเอกชนอยางกวางขวางยิ่งข้ึน ทั้งในแงของจํานวนผูใชปริมาณการใช และลักษณะการใชงานเครือขาย Internet เปนเครือขายที่สามารถติดตอสื่อสารไดทั่วโลกโดยไรขอบเขต หากการพฒันาเทคโนโลยีสามารถแกปญหาเรื่องความ ปลอดภัยของการสงผานขอมูลบนเครือขาย Internetไดแลวนั้นจะทําใหการสงขอมูลผานเครือขายเปนไปอยางม ีประสิทธิภาพ และเหมาะกับการใชเปนชองทางการสงขอมูล EDI ในอนาคต

19. มีกฎหมายรองรับ EDI ในประเทศไทยหรอืไม การใช EDI ในประเทศตาง ๆ สวนใหญ จะไมมีกฎหมายบังคับหรือรองรับโดยตรง ทางออกที่หลายๆ ประเทศ

เริ่มนํามาใชคือ การทําสัญญาระหวางคูคาที่รับ-สง EDI กัน โดยระบุความรับผิดชอบ หากความผิดพลาดเกิดมาจากการปฎิบัติของคูคาสําหรับประเทศไทยก็เชนเดียวกัน กฎหมายที่เกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนขอมูลดวยส่ืออิเล็กทรอนิกส โดยตรงยังไมมีการประกาศใช ซึ่งอาจเปนอุปสรรคตอความสําเร็จของการพัฒนาระบบ EDI ในประเทศ สํานักงาน เลขานุการ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ไดเล็งเห็นปญหานี้ จึงมีการศึกษาหาแนวทางในการพัฒนา กฎหมายดังกลาว โดยเฉพาะในเรื่องการใหการรับรองและอางอิงเอกสารตัวจริง ภาระความรับผิดชอบในความผิดพลาด ของขอมูลที่เกิดขึ้น และมีแผนที่จะดําเนินการปรับปรุง แกไขกฎหมายที่มี อยูเดิมใหสอดคลองกับการพฒันาระบบ อยางไรก็ด ีจะเห็นวาปญหาของกฎหมาย รับรอง EDI ไมใชปญหาหลัก ในการนาํเอา EDI มาใชในธุรกิจใน ภูมิภาคตาง ๆ เชน อเมริกาและยุโรป เนื่องจาก EDI ไดมีบทบาทมาเปนระยะเวลามากกวา 30 ป และธุรกิจตาง ๆ มีความเขาใจ และเล็งเห็นถึงคุณประโยชนของ EDI เปนอยางดี 20. ปญหาและอุปสรรคของการใช EDI ในปจจุบัน การนํา EDI มาใชในการดําเนนิธุรกิจในปจจุบนั แมวาจะเปนประโยชนอยางมากตอองคกรตางๆ แตก็ยังคงมี

Page 94: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-12 ปญหา และอุปสรรคที่ทําใหการใช EDI ในประเทศไทยไมแพรหลายเทาที่ควร ดังนี ้ - ผูบริหารระดบัสูงไมใหความสนใจและไมม ีCommitment ที่ชัดเจน - องคกรสวนใหญ ยังขาดบคุลากรที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่อง EDI - ตองใชเวลาในการปรับเปล่ียนระบบงานและขั้นตอนการบรหิารงานภายใน - ขาดผูชํานาญงานทางดาน IT ที่จะนํา EDI ไปใชใหสอดคลองกับระบบคอมพวิเตอรที่มีอยู - กฎหมายและระเบียบของหนวยงานราชการ ที่ไมเอื้ออํานวยตอการใช EDI 21. Bar Code และ EDI เกี่ยวของกันอยางไร

Bar Code มีประโยชนหลักในการทําใหการรวบรวมขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอรภายในองคกรเปนไปไดอยางสะดวก รวดเร็วและถูกตอง สวน EDI มีประโยชนในแงที่ทําใหการแลกเปล่ียนขอมูลของคอมพิวเตอรระหวางองคกร เปนไปอยางรวดเร็วและถูกตอง การใช Bar Code จะมีประโยชนแบบครบวงจร ถาขอมูลที่รวบรวมไดจาก Bar Code สามารถแลกเปลี่ยนกับบริษัทคูคาอยางมีประสิทธิภาพดวย EDI ในขณะเดียวกัน การใช EDI จะมีประสิทธิภาพสูงสุด ก็ตอเม่ือคอมพิวเตอรของแตละบริษัท สามารถอางถึงสินคา สถานที่ ฯลฯ โดยใชรหัสเดียวกันตามมาตรฐานสากลของ Bar Code เชน EAN Product Code หรือ EAN Location Number ดังนั้นหากสามารถนํา Bar Code และ EDI มาใชรวมกันไดจะทําใหการจัดการขอมูลมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

เทคโนโลยีส่ือสารขอมูลออนไลน

ในยุคปจจุบันที่ระบบเครือขายขยายตัวไปทุกแหงหนและมีผูใหบริการเครือขายมากมายไมวาจะเปนบริการขอมูลออนไลนธรรมดาหรือบริการอินเทอรเน็ต

รูปแบบการเชื่อมโยงเขาสูศูนยขอมูลท่ีพบไดท่ัวไปคือใชโมเด็มผานขายสายโทรศัพท ความเร็วของโมเด็มที่นิยมใชในปจจุบันคือ ที่ 28.8 กิโลบิตตอวินาทีสําหรับมาตรฐาน V.34 และ 14.4 กิโลบิตตอวินาทีสําหรับมาตรฐาน V.32bis หรือหากเปนหนวยงานที่ตองใชขอมูลแบบออนไลนตลอดเวลาก็อาจใชคูสายเชา (leased lines) ซึ่งมีความเร็วตั้งแต 2.4 กิโลบิตตอวินาที ไปจนกระทั่งถึง 2 เมกะบิตตอวินาที (ความเร็วที่มีใหบริการในประเทศไทย)

สําหรับในตางประเทศแลวการประยุกตใชงานมัลติมีเดียกําลังขยายตัวอยางตอเน่ือง การใชบริการขอมูลออนไลน หรืออินเทอรเน็ตผานทางโมเด็มจึงไมเพียงพอตอการสงถายขอมูลปริมาณมหาศาลอีกตอไป ผูใหบริการโครงสรางพื้นฐานดานเครือขายตางแขงขันกันนําเสนอทางเลือก สําหรับการถายโอนขอมูลดวยความเร็วสูงไมวาจะเปนระบบ ISDN, ดาวเทียม, เคเบิลโมเด็ม, ADSL หรือสายเชาความเร็วสูง เทคโนโลยีการสงขอมูลความเร็วสูงเหลาน้ีมีใชอยางแพรหลายในตางประเทศโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและประเทศในแถบยุโรป สําหรับประเทศไทยเองนั้นถึงแมวาจะมีการขยายตัวอยางมากทั้งบริการขอมูลออนไลนและอินเทอรเน็ต แตเทคโนโลยีที่รองรับโครงสรางพื้นฐานการสื่อสารยังคงจํากัดอยูเพียงการ ใชโมเด็มหรือสายเชา แตในอนาคตแลว

Page 95: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-13เทคโนโลยีบางประเภทก็เริ่มนํามาใชในประเทศไทย และบางสวนดูเหมือนวาจะเปนเทคโนโลยีที่มีโอกาสเติบโตไดในอนาคต เทคโนโลยีเหลาน้ีมีจุดออนจุดแข็งและแตกตางกันอยางไรบาง จะไดสรุปใหไดมองเห็นภาพโดยรวมของการใชเทคโนโลยีเหลาน้ีในตางประเทศ และสถานภาพของการใชงานในประเทศไทย

ISDN เครือขายที่มีอยูในปจจุบันมีรูปแบบและการใหบริการเฉพาะอยางตามลักษณะของขอมูลที่ตองการสื่อสาร เชน เครือขายโทรศัพทใชเพื่อการติดตอสนทนา เครือขายในรูปของสายเชา (Leased line) ใหบริการรับสงขอมูลระหวางคอมพิวเตอร หรือเครือขาย X.25 ใหบริการขอมูลในรูปของแพคเก็ต เครือขายแตละประเภทลวนมีจุดมุงหมายเชนเดียวกันคือเพื่อการแลกเปล่ียนขาวสาร แตตางแยกสวนกนัโดยมีอุปกรณ สายสัญญาณ และกรรมวิธีส่ือสารตางกัน

แนวโนมความตองการระบบส่ือสารในปจจุบันและอนาคตคือบริการแบบมัลติมีเดีย ที่มีขาวสารหลายแบบโดยไมวาจะเปนขอมูล เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพวิดีโอ รูปแบบเครือขายซึ่งรองรับการสื่อสารระบบมัลติมีเดียได คือ เครือขายบริการส่ือสารรวมแบบดิจิตัล (Integrated Service Digital Network หรือ ISDN) ซึ่งสามารถใหบริการตางๆอยูในเครือขายเดียวกัน

ISDN เปนเครือขายที่ใหบริการในระบบดิจิตัลทั้งทางตนทางและปลายทาง ตางกับระบบโทรศัพททั่วไปที่ดานคอมพิวเตอรปลายทางทํางานดวยสัญญาณดิจิตัลแลวแปลงสัญญาณผานโมเด็มไปเปนแอนาล็อกเพื่อสงเขาขายสายโทรศัพท กลาวอีกนัยหนึ่งแลวคือไมตองมีการแปลงระหวางสัญญาณดิจิตัล และแอนาล็อก สัญญาณขอมูลในระบบ ISDN จึงมีความเพี้ยนนอยกวาและนาเชื่อถือ สูงกวาระบบเดิม

แนวคิดของ ISDN คือการรวมบริการหลายอยางไวภายใตคูสายเดียว อุปกรณปลายทาง เชน โทรสาร โทรศัพท คอมพิวเตอร หรืออุปกรณสื่อสารขอมูลอื่นๆจึงสามารถเชื่อมเขากับเครือขายโดยใชเพียงคูสายรวมกันได เครือขาย ISDN จึงเปนเครือขายเอนกประสงคสําหรับทุกบริการ นอกจากจะสงขอมูลซ่ึงอาจเปนภาพ เสียง หรือขอความแลว ยังสามารถเชื่อมโยงกับขายโทรศัพทที่มีในปจจุบันไดทําใหสามารถใชบริการ ISDN เพื่อการสื่อสารขอมูลหรือการสนทนาไดพรอมกัน บริการ ISDN ในปจจุบันมี 2 บริการหลักตามจํานวนชองสัญญาณคือแบบ BAI และ PRI

BAI (Basic Access Interface) เปนรูปแบบที่ใหบริการตอผูเชาดวยสายโทรศัพทธรรมดาจากชุมสาย ISDN ถึงดานปลายทาง คูสายที่ลากโยงมาใหน้ีจะมีชองสัญญาณรับสงขอมูลซึ่งเรียกวา ชองสัญญาณ B จํานวน 2 ชอง ความเร็วชองละ 64 กิโลบิตตอวินาที และมีอีกหนึ่งชองสัญญาณ เรียกวาชองสัญญาณ D ใชสําหรับควบคุมการติดตอที่ความเร็ว 16 กิโลบิตตอวินาที จึงนิยม เรียกบริการ BAI นี้วา 2B+D ผูเชาคูสาย ISDN หนึ่งคูสามารถรับสงขอมูลดวยความเร็ว 144 กิโลบิตตอวินาที โดยสามารถเชื่อมอุปกรณเขาคูสายไดสูงสุด 8 เครื่อง และสามารถใชอุปกรณ 2 เครื่องไดในเวลาเดียวกัน

Page 96: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-14

PRI (Primary Rate Access Interface) รูปแบบนี้เปนบรกิารเครือขายผาน ไยแกวนําแสง โดยมีชองสัญญาณขอมูลใหใช 30 ชองๆละ 64 กิโลบิตตอวินาท ีและชองสัญญาณ ควบคุมความเร็ว 64 กิโลบิตอีกหนึ่งชอง จึงเรียกบรกิารแบบนีว้า 30B+D

บริการ ISDN ขางตนเปนรูปแบบที่แพรหลายในยุโรปและญี่ปุนรวมทั้งใน ประเทศไทย สําหรับ ISDN ในสหรัฐอเมริกามีรูปแบบการใหบริการแบบ BAI และ PRI เชนกัน แตมีความเร็วของชองสัญญาณขอมูลที่ 56 กิโลบิตตอวินาที อีกทั้งแบบ PRI จะมีชองสัญญาณขอมูล 23 ชอง (23B+D)

ในกรณีที่ใชระบบ ISDN เพื่อการส่ือสารทางเสียงจําเปนตองใชโทรศัพทหรือ โทรสารแบบ ISDN โดยเฉพาะแตถาตองการใชโทรศัพทหรือโทรสารแบบเดิมจําเปนตองติดตั้งอะแดปเตอรซึ่งเรียกโดยทั่วไปวา Terminal Adapter เพื่อชวยเชื่อมตออุปกรณเดิมใหเขากับระบบ ISDN ได สําหรับการเชื่อมตอคอมพิวเตอร อุปกรณจําเปนที่ตองใชคือ โมเด็ม ISDN ซึ่งแทที่จริงแลวไมไดทํางาน เหมือนกับโมเด็มที่ใชอยูทั่วไป แตเปนอุปกรณเช่ือมโยงคูสายเขากับพอรตขนานของคอมพิวเตอร ISDN โมเด็ม บางรุนอาจมีคุณสมบัติพิเศษเชนมีพอรตสําหรับเชื่อมตออุปกรณแอนาล็อก ไดชวยใหสามารถนําโทรศัพทหรือโทรสารแบบเดิมมาใชกับระบบ ISDN ไดทันทีโดยไมตองมีอะแดปเตอร

การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาสู ISDN สามารถทําไดโดยเลือกใชโมเด็ม หรืออะแดปเตอร ซ่ึงมีทั้งจุดแข็งและจุดออนที่แตกตางกันดานราคาและสมรรถนะ โมเด็ม ISDN เชื่อมเขาคอมพิวเตอรผานทางพอรตอนุกรมจึงมีขีดความเร็วจํากัดตามชิพที่ใชกับพอรตอนุกรมนั้น แต ISDN โมเด็มนับเปนอุปกรณเช่ือมตอที่มีราคาต่ําเม่ือเทียบกับอะแดปเตอร โดยท่ีตัวอะแดปเตอรมีสมรรถนะการถายโอนขอมูลสูงกวาเน่ืองจากตอเชื่อมเขา กับบัสของเครื่องโดยตรง

ปจจุบันในประเทศไทยมีองคการโทรศัพทแหงประเทศไทยเปนผูใหบริการระบบ ISDN แตยังไมมีผูใหบริการออนไลนหรือผูใหบริการอินเทอรเน็ตรายใดที่ใหบริการเชื่อมตอ ISDN อีกทั้งพื้นที่ใหบริการยังไมครอบคลุมไปทั่วเหมือนกับเครือขายของ โทรศัพท ในกรุงเทพมหานครเองนั้นก็มีเพียงบางพื้นที่และคาดวาจะครอบคลุมทุกเขตในป 2540 สําหรับในสหรัฐอเมริกาคิดคาบริการ BAI เริ่มตนคาติดตั้งราว 300 เหรียญสหรัฐ และคาเชาเดือนละ 50 เหรียญสหรัฐ สายเชา ในองคกรที่ตองการแลกเปลี่ยนขอมูลปริมาณมากอยูตลอดเวลา การใชโมเด็มเพื่อเชื่อมตอเปนครั้งคราวเปนวิธีการที่ไมสะดวก ทางเลือกอีกประการหนึ่งสําหรับการเชื่อมเครือขายไดแกการเชาคูสายซ่ึงจะให คุณภาพของการสงและความเร็วที่ดีที่สุด และสามารถใชสายเชาเพื่อสงขอมูลไดตลอด 24 ชั่วโมง บริการสื่อสารขอมูลดวยสายเชาโดยทั่วไปแลวมีความเร็วในระดับ 56 กิโลบิตตอวินาที ถึง 45 เมกะบิตตอวินาที สําหรับในประเทศไทยนั้นมีใหบริการทั้งที่วงจรความเร็วต่ําระดับ 2.4 กิโลบิตตอวินาที ถึง 2 เมกะบิตตอวินาที วงจรเชาจึงเหมาะสมกับบริษัทธุรกิจทุกระดบัที่ตองการความสะดวกในการรับสงขอมูล โดยเฉพาะอยางยิ่งธุรกิจที่มีสาขาหรือบริษัทในเครือที่ตองการเครือขายเพื่อการส่ือสารขอมูลเปนของตนเอง

การใชวงจรเชามักไมไดใชงานเฉพาะบุคคลจากที่บาน (แตบุคคลธรรมดาก็สามารถขอใชบริการได) อุปกรณปลายทางจึง ไมไดเปนเพียงคอมพิวเตอรธรรมดา โดยปกติสายเชามักจะใชเพื่อเชื่อมโยงเครือขายสองจุดเขาดวยกัน อุปกรณที่ใชจึงประกอบดวย

Page 97: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-15DSU/CSU (Data Service Unit/Channel Service Unit) และเราเตอร ซ่ึงในประเทศไทยนั้นเมือ่ขอติดตั้งบริการสายเชาทางผูใหบริการจะจัดหา DSU/CSU ให สวนเราเตอรตองจัดหาเอง DSU/CSU เปนอุปกรณที่เช่ือมตอเครือขายเขาสูสายเช่ือมตอแบบดิจิตัล DSU จะทําหนาที่เปนตัวแปลงสัญญาณใหอยูในรูปที่กําหนดสวน CSU ทําหนาที่เชื่อมตอเขากับสายสง ทั้ง DSU และ CSU เปนอุปกรณตางชนิดกนัแตจะใชประกอบกัน จึงมีการผลิตอุปกรณทั้งสองรวมกันเปนอุปกรณชิ้นเดียวและเรียกรวมวา CSU/DSU

รูปแบบการใหบริการวงจรสายเชาในแถบอเมริกาเหนือ จะใชวงจรที่เรียกวา T-carrier ซึ่งมีความเร็วชองสัญญาณเริ่มตนที่ 1.544 เมกะบิตตอวินาที โดยเรียกวงจรสื่อสารนี้วา T1 สําหรับวงจรที่ความเร็วสูงขึ้นจะประกอบจากหลาย ๆ วงจร T1 รวมเขาดวยกัน ในกรณีที่ผูขอบริการไมมีความจําเปนตองใชวงจรสื่อสารความ เร็วสูงในระดับ T1 ก็สามารถเลือกชองสัญญาณความเร็วต่ําระดับ 64 กิโลบิตตอวินาที ซ่ึงเรียกวา Fractional T1 ได ทั้งนี้วงจร T1 จะประกอบขึ้นมาจาก Fractional T1 จํานวน 24 วงจร โดยผูขอบริการสามารถเลือกจํานวนชองสัญญาณตาม ความจําเปนตอการใชงานเชนตองการวงจรความเร็ว 128 กิโลบิตตอวินาที ก็เพียงแตใช Fractional T1 จํานวน 2 วงจร ตารางที่ 1 วงจร T-carrier

วงจร อัตราเร็ว (Mbps) จํานวนชองสัญญาณ จํานวนวงจร T1 T1 1.544 24 1 T1C 3.152 48 2 T2 6.312 96 4 (2xT1C) T3 44.736 672 28 (7xT2) T4 274.176 4032 168 (6xT3)

สําหรับในประเทศไทยนั้นไมไดมาตรฐานวงจรสื่อสารตามแบบอเมริกา หากแตใชมาตรฐานของ ITU-T ตามประเทศใน

แถบยุโรปและญี่ปุน ซึ่งเรียกวงจรส่ือสารนี้วา E-carrier และมีวงจรความเร็วที่แตกตางกัน โดยระบบ E-carrier มีวงจรยอยหรือ fractional E1 ที่ความเร็ว 64 กิโลบิตเชนเดียวกัน บริษัทเทเลคอมเอเชียซึ่งเปนผูไดรับสัมปทานการใหเชาวงจรส่ือสารไดเปดบริการวงจรเชาที่ความเร็วตาง ๆ สําหรับในสหรัฐอเมริกามีอัตราการใชงานโดยประมาณดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 วงจร E-carrier

วงจร อัตราเร็ว (Mbps) จํานวนชองสัญญาณ จํานวนวงจร E1 E1 2.048 30 1 E2 8.448 120 4 E3 34.368 480 16 (4xE2)

Page 98: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-16

E4 139.264 1920 64 (4xE3) E5 565.148 7680 256 (4xE4)

ตารางที่ 3 บริการสายเชาของเทเลคอมเอเชีย (ท่ีมา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย)

รายละเอียด 2.4, 4.8, 9.6 Kbps 64 Kpbs 2 Mbps

คาติดตั้ง/ขอใช 6,700 บาท/วงจร 8,000 บาท/วงจร 45,000 บาท/วงจรคาเชารายเดือน -ภายในชมุสายเดียวกัน 1,300 บาท 3,000 บาท 25,000 บาท -ผาน 2 ชุมสาย 2,000 บาท 6,000 บาท 50,000 บาท -ผาน 3 ชุมสายหรือมากกวา 3,000 บาท 9,000 บาท 75,000 บาท

ตารางที่ 4 บริการสายเชาในสหรัฐฯ

รายละเอียด T1 (1.544 Mbps) T3 (45 Mbps) คาติดตั้ง/ขอใช 2500 เหรียญ/วงจร 50,000 เหรียญ/วงจร คาเชารายเดือน 1,000 เหรียญ 75,000 เหรียญ เคเบิลโมเด็ม ในอนาคตขางหนาเราอาจเลือกขอมูลขาวสารในอินเทอรเน็ตโดยวิธีเปล่ียนชองเหมือนกับที่ใชในโทรทัศนหากวาเคเบิลโมเด็มแพรหลายไปทั่ว ในสหรัฐอเมริกาเองนั้นระบบเคเบิลโมเด็มยังไมไดเปดใชงานอยางเต็มรูปแบบและกลาวไดวากําลังอยูในข้ันของการทดลองระบบ สวนในประเทศไทยนั้นการวางสายเคเบิลคงมีแตเพื่อใชประโยชนสําหรับการรับชมโทรทัศนอยางเชนระบบยูทีวี โครงสรางพื้นฐานของสายเคเบิลที่สมาชิกยูทีวีใชงานอยูมีโครงสรางเดียว กับการใชบริการขอมูลออนไลนและอินเทอรเน็ตผานสายเคเบิล โดยเพียงแตติดตั้งเคเบิลโมเด็มเพิ่มเติมเขาไปเพื่อแยกสัญญาณขอมูลเขาสูพีซี แนวทางพื้นฐานของระบบเคเบิลโมเด็มคือการนําชองสัญญาณที่มีในสายเคเบิลทีวีมาใชเพื่องานออนไลน

เนื่องจากการสงสัญญาณผานเคเบิลเปนแบบแถบความถี่กวางจึงสามารถผสมสัญญาณที่ความถ่ีตาง ๆ กันได และจัด แบงออกเปนชองสัญญาณไมใหรบกวนกัน ชองสัญญาณที่สงออกไปในระบบเคเบิลโมเด็มแยกออกไดเปน 3 ชองสัญญาณ คือ ชองสัญญาณโทรทัศนที่เหลืออยูอีก 2 ชองสัญญาณ คือ ชองสัญญาณรับและชองสัญญาณสงขอมูล

หากมองในรูปของอัตราเร็วการถายโอนขอมูลแลวชองสัญญาณสงขอมูลจากศูนยบริการไปยังปลายทาง (เรียกวา Downlink) จะมีอัตราเร็ว 96 กิโลบิตตอวินาที ถึง 2 เมกะบิต ตอวินาที สวนชองสัญญาณรับขอมูล (เรียกวา

Page 99: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-17Uplink) จะมีอัตราเร็วอยูระหวาง 500 กิโลบิตตอวินาที ถึง 10 เมกะบิตตอวินาที ตามปกติแลวมักจะจัดชอง สัญญาณรับใหมีความเร็วสูงกวาชองสัญญาณสงเพราะในสภาพปกติแลวผูใชบริการนั้นตองการถายขอมูลมาใชมากกวาที่จะสงขอมูลออก

ในรูปแบบของการบริการเชนน้ีจึงเห็นไดวาผูใชปลายทางสามารถใชบริการขอมูลออนไลนดวยพีซีไปพรอม ๆ กับรับชม รายการทางโทรทัศนได อุปกรณที่ใชเช่ือมตอกับพีซีคือตัวเคเบิลโมเด็มซึ่งทําหนาที่มอดูเลต (ผสมสัญญาณ) และดีมอดูเลต (ถอดสัญญาณ) ระหวางสัญญาณขอมูลของพีซีเขากับสัญญาณสายเคเบิล ในขณะเดียวกันก็ทําหนาที่เปนตัวจูนเนอรเพื่อแยกสัญญาณขอมูลออกจากสัญญาณทีวีหรืออาจมีฟงกชันอ่ืน ๆ ดวย เชน การเขารหัสสัญญาณเฉพาะเพื่อปองกันการลักลอบใช

เคเบิลโมเด็มแตละตัวจะมีพอรตอีเธอรเน็ตเพื่อเชื่อมเขากับพีซี ดังนั้นดาน พีซีจึงตองมีการดอีเธอรเน็ตติดตั้งไวภายในเครื่อง เม่ือเชื่อมพีซีเขากับเคเบิลโมเด็มไดแลวก็ติดตั้งซอฟตแวร TCP/IP พีซีก็จะเช่ือมเขาสูเครือขายเปนสถานีตัวหนึ่ง การใชงานพีซีจึงทําไดอยางเต็มรูปแบบทั้งแบบขอความและแบบกราฟกตลอดเวลา แตเน่ืองจากเคเบิลโมเด็มใชหลักการใชสายสัญญาณรวมกันตามแบบ อีเธอรเน็ต หากมีผูใชบริการในกลุมหลายคนพรอมกันหรือผูใชบริการคนใดคนหนึ่งถายโอนขอมูลจํานวนมากจะสงผลใหสมรรถนะการทํางานโดยรวมลดลง

เคเบิลโมเด็มจัดไดวาเปนบริการคอนขางใหมในสหรัฐอเมริกา ตารางที่ 5 เปนอัตราคาบริการโดยประมาณสําหรับบริการเคเบิลโมเด็มในสหรัฐฯ ในปจจุบันเริ่มมีหลายบริษัทผลิตเคเบิลโมเด็มออกจําหนายเชนอินเทล, เดค, เซนิธ และมอโตโรลลา เปนตน แตเคเบิลโมเด็มก็ยังมีราคาแพงและยังไมมีมาตรฐานกําหนดใหแตละผลิตภัณฑทํางานรวมกันได ปญหาจึงอาจเกิดกับผูใชซ่ึงเดิมใชบริการกับศูนยบริการหนึ่งและตองยายที่อยูใหมจะไมสามารถใชเคเบิลโมเด็มกับผูใหบริการอีกรายหนึ่งที่ใชระบบเคเบิลโมเด็มตนทางตางผลิตภัณฑได ตารางที่ 5 อัตราคาบริการเคเบิลโมเด็มในสหรัฐฯ

รายละเอียด ราคา คาติดตั้ง/ขอใช 100 เหรียญ คาเชารายเดือน 50 เหรียญ

* อัตราโดยประมาณและในแตละรัฐมีการคิดคาบริการตางกัน

ปญหาและอุปสรรคสําคัญของการขยายตัวของเคเบิลโมเด็มคือการวางขายสายไปถึงผูใชปลายทางซึ่งตองใชเงินลงทุนสูง โดยปกติแลวสายเคเบิลหลักมักใชใยแกวนําแสงเนื่องจากสามารถครอบคลุมระยะทางไดไกล และใชสายโคแอกเชียลเปนสายเคเบิลรองเพื่อกระจายไปยังผูใชปลายทาง ในกรณีที่ไมสามารถวางสายโคแอกเชียลไปถึงผูใชปลายทางไดก็อาจจําเปนตองติดตั้งรีพีตเตอรขยายสัญญาณ หรือในบริเวณที่มีผูใชบริการนอยไมคุมตอการตนทุนบริษัทผูลงทุน ก็มักจะชะลอพื้นที่การใหบริการในเขตนั้นจนกวาจะมีผูอยูอาศัยมากพอที่จะคุมตอการลงทุน ระบบยูทีวีในประเทศไทยก็หลีกไมพนปญหาและอุปสรรคนี้และคงตองใชเวลาอีกระยะหนึ่งในการขยายขอบเขตการใหบริการไดทั่วถึง หลังจากเวลานั้นแลวจึงจะคาดการณตอไปไดวาเคเบิลโมเด็มในประเทศไทยจะมีโอกาสเติบโตไดหรือไม

การสงขอมูลและอุปกรณพืน้ฐาน

xDSL

Page 100: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-18 เทคโนโลยี DSL (Digital Subscriber Line) ตัวอักษร x ที่อยูดานหนาน้ันคือตัวแปรที่อาจมีการเปล่ียนแปลงไปไดตาม

ความหลากหลายของเทคโนโลยี DSL ที่ออกแบบมาเพื่อใหสามารถสงขอมูลความเร็วสูงบนสายโทรศัพท ทองแดงที่ใชกันอยูทั่วไป กลาวไดวาสายเหลาน้ีไมไดมีความเปนดิจิตอลแมแตนอย สายของระบบ xDSL นั้นคือสายทองแดงธรรมดาที่มีโมเด็มแบบดิจิตอลอยูที่ปลายทั้งสองดาน ขอดีที่เห็นชัดอยางหนึ่งของ xDSL ก็คือ เมื่อมีปญหาทางดานกระแสไฟฟา ระบบโทรศัพทธรรมดายังคงสามารถทํางานไดบนระบบ xDSL ซึ่งตางจากระบบ ISDN

สายทองแดงที่มีอยูสามารถรองรับสัญญาณที่มีแบนดวิดธที่สูงขึ้น (อยูในยาน MHz) เพราะขอจํากัดของสัญญาณเสียงที่มีเพียง 3.3 MHz น้ันเนื่องมาจากตัวกรองสัญญาณทางฝงชุมสายระบบโทรศัพทไมไดเปนที่สายสัญญาณเอง สัญญาณบนสายทองแดงนั้นลดทอนไดอยางรวดเร็ว แบนดวิดธที่ไดจึงมีความสัมพันธโดยตรงกับความยาวของสาย เชน สายขนาด 24-guage สามารถรองรับขอมูลไดในอัตราความเร็ว 1.544 Mbps ในระยะทาง 18,000 ฟุต แตจะสามารถรองรับขอมูลไดในอัตรา 51.840 Mbps ในระยะทาง 1,000 ฟุต

เทคโนโลยีที่จะไดกลาวถึงตอไปนี้มีความเหมือนกันอยูขอหนึ่ง คือ สัญญาณพาหะความถี่สูงของสายโทรศัพท ถูกสรางจากผูใหบริการโทรศัพท ซึ่งเทคโนโลยี DSL เองก็ทํากระบวนการมอดูเลตสัญญาณที่สรางขึ้นมานั้นดวยผูใหบริการระบบโทรศัพทเชนกัน DS1/T1/E1 เทคโนโลยี DS1/T1/E1 น้ันเริ่มตนพฒันามาจากสถาบันวิจยั Bell โดยเปนเทคโนโลยีที่มัลติเพล็กซ (Mulitplex) ขอมูลขนาด 64 Kbps จํานวน 20 ชุดเขาเปนเฟรมขอมูลเดียวกันใหมีขนาด 193 บิต ทั้งนี้ไดรวม Overhead ที่ใชควบคุมกระบวนการมัลติเพล็กซ/ดีมัลติเพล็กซ (Multiplex/Demultiplex คือ วิธีการรวมและแยกขอมูลออกจากกัน) เขาไปดวย เทคโนโลยีน้ีสามารถรองรบัขอมูลดิบไดที่อัตรา 1.5444 Mbps และเปนที่รูจักกันดีในช่ือ DS1 และอีกชื่อหนึ่งคอื T1 ซึ่งเปนชนิดที่นิยมใชงานกันมาก แตการติดตั้งสัญญาณของ T1 ตองการอุปกรณทวนสัญญาณอยางรพีีตเตอร (Repeater) ทุกๆ ระยะ 6,000 ฟุต ในยุโรปเองก็มีการรวมสัญญาณขนาด 64 Kbps จํานวน 20 ชุดเขาดวยกัน ซึ่งสามารถรองรับการสื่อสารขอมูลไดที่อัตรา 2.048 Mbps โดยมีชื่อเรียกวา E1

T1/E1 ใชในการเชื่อมโยง LAN/WAN (ทั้งในลักษณะเซิรฟเวอรและการใชงานสวนตัว) ในปจจุบันยังใชเชื่อมโยงเครือขายดวยเสาอากาศของเครือขายโทรศัพทแบบเซลลูลาร, เราเตอร และอ่ืนๆ เทคโนโลยี T1/E1 ยังไมเหมาะกับการใชในบานพักอาศัยเน่ืองจากสัญญาณรบกวนที่จํากดัใหสามารถใชสาย T1 ไดเพียง 1 คูภายในสายเคเบิลชนิด 50 คู นอกจากนี้ระบบส่ือสารแบบไมสมมาตร ที่มีการสงขอมูลเขามากกวาสงขอมูลออกนั้น ดูจะเหมาะกับการใชในบานมากกวาการใชเทคโนโลยี T1/E1

DSL/ISDN โมเด็มชนิดทีใ่ชกับ DAL/ISDN (Digital Dubscriber Line/Intergrated Services Digital Network) สามารถสงขอมูลที่อัตราความเร็ว 160 Kbps บนสายทองแดงไดยาวถึง 18,000 ฟุต เชนเดียวกับเทคโนโลยี ISDN แบนดวิดธจะถูกแบงออกเปนชอง B จํานวน 2 ชอง ซึ่งสามารถรองรับขอมูลไดทีอั่ตรา

Page 101: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-19ความเร็ว 64 Kbps และชอง D หนึ่งชองที่ความเร็ว 16 Kbps การใหบริการ Basic Rate Inferfae ของ ISDN ใชโมเด็มชนิดน้ี

HDSL ใชในการเชื่อมตอสถานีสายอากาศระบบเซลลูลา, PBX, เซิรฟเวอรของอินเตอรเน็ต และเครือขายขอมูลสวนตัว เทคโนโลยี HDSL (High-Data-Rate Digital Subscriber Line) มีความสามารถในการมอดูเลตขั้นสูงที่ทําใหสงขอมูลไดความเร็วสูง และความตองการใชรีพีตเตอรลดจํานวนลง การใช HDSL จํานวน 2 เสนจะไดความเร็วที่เทากับสายของ T1 (1.544 Mbps) ในระยะทาง 12,000 ฟุต และสามารถใหความเร็วเทียบเทา E1 โดยการใช HDSL จํานวน 3 เสน เทคโนโลยี HDSL เปนการสื่อสารแบบสมมาตรทีก่ารรับ/สงขอมูลในอัตราที่เทากันทั้งสองทิศทาง

ADSL ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) พัฒนาขึ้นตอจาก HDSL เพื่อใชในงาน

ที่ตองการโหลดของขอมูลแบบไมสมมาตร เชน การใชบนอินเทอรเน็ต , การติดตั้งเครือขาย LAN จากระยะไกล , วิดีโอตามประสงค และอื่นๆ เทคโนโลยีADSL รองรับชวงความเร็วตั้งแต 1.5 Mbps ไปจนถึง 9 Mbps ในทศิทางขาลง (จากเครือขายไปยังผูใชบรกิาร) สวนในทางขาขึน้ความเร็วอาจผันแปรอยูในชวง 16 Kbps ไปจนถึง 640 Kbps เทคโนโลยีน้ีมีขอดีเหนือกวาเทคโนโลยี ISDN ในเรื่องพลังงานไฟฟาเพราะใชสายโทรศัพททองถิน่ จึงยังคงทํางานตอไปไดแมไฟจะดับ เทคโนโลยี ADSL ไดรบัการกําหนดมาตรฐานโดย ANSI และ ETSI (European Telecommunications Standards Institute) ในการใชงาน ADSL บางแหงนั้นมีการใชเทคนิคที่เรียกวา CAP (Carrierless Amplitude/Phase) เพื่อมอดูเลตสัญญาณในสายดังชื่อไดแจงไว เทคนิคน้ีจะทําการลดสัญญาณพาหะบนสายกอนที่จะสงออกไป แมวาวิธีการนี้จะดูงายคาใชจายไมสูง แตความสามารถในการรองรับความเร็วจะเทากับสาย T1 เทาน้ัน และยังมีปญหาจากการถูกรบกวนไดโดยงายอกีดวย เหตุน้ีจึงไมไดรับอนมัุติใหเปนสวนหนึ่งของมาตรฐาน ADSL ทั้งโดย ANSI และ ETSI

การมอดูเลตอีกวิธีหนึ่งของ ADSL คือ DMT (Discrete Multitone) วิธีการนี้แบงความถ่ีที่มีอยูออกเปน 256 ชองขนาดเล็กที่ไมทับกัน แตละชองสัญญาณขนสงชุดขอมูลไดขนาดตางกันไป ทั้งนี้ในชวงความถี่ที่สูงเปนชวงที่มีโอกาสถูกสัญญาณรบกวนไดงายกวาจึงขนสงขอมูลไดนอยที่สุด วิธีการนี้ไดรับการรับรองเปนมาตรฐานทั้ง ANSI และ ETSI ที่มีความสามารถทําความเร็วไดสูงกวาระบบ CAP แตจนถึงปจจุบันระบบยังมีคาใชจายในการดําเนินการที่แพงกวา

RADSL RADSL (Rate-Adaptive-Digital Subscriber Line) คือ ระบบ ADSL ที่เพิ่มเติมการตรวจสอบคุณภาพและความยาวของสายในตอนเริ่มตนทํางาน และทําการปรับเปลี่ยนความเร็วของสายมาตรฐานของ RADSL น้ันเพิ่งจะอยูในข้ันเริ่มตน ดังนั้นจึงไมเปนทีช่ัดเจนวากระบวนการปรับเปลี่ยนความเร็วนี้จะเปนสิ่งที่ทํา "ครั้งเดียว" หรือตองคอยกระทําอยูอยางตอเน่ือง

Page 102: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-20

VDSL เปนเทคโนโลยี DSL ที่เร็วที่สุด ใหความเร็วที่อัตรา 13-52 Mbps ในขาลง และ 1.5-2.3 Mbps ในขาขึ้น ทํางานบนสายทองแดงทีค่วามยาวสาย 1,000-4,500 ฟุต เทคโนโลยี VDSL (Very-High-Data-Rate Digital Subscriber Line) น้ีคงเปนเทคโนโลยีที่ดูจะหางไกลที่สุดที่จะนํามาทําเปนมาตรฐาน

SDSL SDSL (Single-Line Digital Subscriber Line) น้ีจะคลายกบั VDSL แตจะมีขอแตกตางกันที่สําคัญสองประการคือ - SDSL จํากัดระยะทางที่ไมเกิน 10,000 ฟุต - SDSL ใชสายสัญญาณเพยีงเสนเดียว เทคโนโลยี SDSL ยังคงอยูในขัน้ตอนพฒันาซ่ึงตองใชเวลาอยางนอย 1 ป (หรือมากกวานี)้ จึงจะสามารถนํามาเปน มาตรฐานได ADSL เทคโนโลยี ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) จัดเปนบริการรูปแบบใหมที่ กําลังเติบโตในกลุมของการใหบริการขอมูลดิจิตัลความเร็วสูงผานทางระบบโทรศัพท ดังนั้นจึงไมตองมีการวางขายสายใหมแตอยางใดอีกทั้งผูใชบริการสามารถใชโทรศัพทแบบปกติไดพรอม ๆ กับมีชองสัญญาณรับสงขอมูลความเร็วสูงเพิ่มขึ้น

เทคโนโลยีของ ADSL จะแยกสัญญาณออกเปน 3 ชองเชนเดียวกับที่มีใชในระบบเคเบิลโมเด็ม คือ ชองสัญญาณเสียงสําหรับใชงานโทรศัพท และอีก 2 ชองสัญญาณสําหรับชองสัญญาณรับและชองสัญญาณสงขอมูล

Page 103: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-21อุปกรณที่ตองการใชสําหรับเชื่อมพีซีเขากับระบบ ADSL คือ โมเด็มซึ่งตองเปนโมเด็มเฉพาะแบบ ADSL โมเด็ม

ชนิดนี้มีลักษณะเฉพาะตางกับโมเด็มทั่วไป คือ ใชหัวตอ RJ-11 สําหรับตอกับโทรศัพท สวนการเชื่อมเขากับพีซีจะใชหัวตอ RJ-45 เสียบเขากับการดอีเธอรเน็ตประจําพีซี ชองสัญญาณสงขอมูลจากศูนยบริการไปยังปลายทางหรือ Downlink จะมีอัตราเร็วระหวาง 16-640 กิโลบิตตอวินาที สวนชองสัญญาณรับขอมูลหรือ Uplink จะมีอัตรา เร็วอยูระหวาง 1.5 ถึง 9 เมกะบิตตอวินาที เหตุผลการจัดชองสัญญาณที่ความเร็วตางกันยังคงเปนเพราะผูใชบริการตองการถายโอนขอมูลมาใชมากกวาที่จะสงขอมูลออก และเปนที่มาของช่ือระบบเนื่องจากความเร็วการรับสงไมสมมาตรกัน (Asymmetric)

ในปจจุบันนี้ประเทศไทยยังไมมีบริการ ADSL สําหรับในสหรัฐอเมริกาก็เพิ่งจะอยูในชวงทดลองการใหบริการ บริษัทที่เปดใหบริการสวนใหญจึงเปนบริษัทที่ใหบริการขายสายโทรศัพทอยูแลว เชน GTE หรือ AT&T เปนตน

ขอบเขตการใหบริการของ ADSL คอนขางจํากัดกวาระบบ ISDN เนื่องจากระยะทางระหวางชุมสายและผูขอบริการจะตองไมเกิน 3 กิโลเมตร ทั้งนี้เพราะอัตราการสงถายขอมูลสูงเกือบ 10 เมกะบิต ในขณะที่ ISDN มีขอบเขตที่ประมาณ 5.5 กิโลเมตร แตใหอัตราเร็วขอมูลเพียง 64 กิโลบิตตอวินาที ในสหรัฐอเมริกาน้ันศูนยบริการสวนใหญจะครอบคลุมรัศมี 3 กิโลเมตร อยูแลว การใหบริการในรูปแบบ ADSL ระยะทางการใหบริการจึงไมเปนปญหาใดและไมจําเปนตองวางรีพีตเตอรเพื่อขยายสัญญาณ แตถาผูเชาปลายทางอยูในระยะที่เกิน 3 กิโลเมตรก็อาจสามารถลดอัตราเร็วขอมูลลงไดเชนใชอัตราเร็วที่ 2 เมกะบิตสําหรับระยะทาง 5.5 กิโลเมตรโดยไมตองใชรีพีตเตอร

ปญหาและอุปสรรคหลักคงมีแตเพียงการติดตั้งอุปกรณ ADSL ทุกจุดปลายทางที่ผูเชา อีกทั้งโมเด็ม ADSL ยังคงมีราคาสูงราว 2000 เหรียญสหรัฐ แตก็เริ่มมีการผลิตโมเด็มราคาต่ําระดับ 500 เหรียญสหรัฐ ซ่ึงเปนราคาที่ใกลเคียงกับเคเบิลโมเด็ม เม่ือ เปรียบเทียบบริการรูปแบบอื่น อยางเชน เคเบิลโมเด็ม ซึ่งอยูในระยะเริ่มตนของการใหบริการงาน ในขณะที่ ISDN เปนบริการที่แพรหลายแลว จากสภาพปจจุบันน้ี ADSL ยังคงตองการเวลาอีกหลายปในการขยายตัวและเติบโตตอไปในอนาคต

Page 104: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-21

พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ใหไว ณ วันท่ี 24 พฤศจกิายน พ.ศ. 2542 เปนปท่ี 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวาโดยที่เปนการ สมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติใหกระทํา ไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายจึงทรงพระกรุณาโปรดกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม ของรัฐสภาดังตอไปนี้ มาตรา1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542” มาตรา2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา3 ใหยกเลิก

(1) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (2) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515

พ.ศ. 2521 (3) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา4 ในพระราชบัญญัตินี้

“คนตางดาว” หมายความวา (1) บุคคลธรรมดาซึ่งไมมีสัญชาติไทย (2) นิติบุคคลซึ่งไมไดจดทะเบียนในประเทศไทย

(3) นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย และมีลักษณะดังตอไปนี้ (ก) นิติบุคคลซึ่งมีหุนอันเปนทุนตั้งแตกึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้นถือโดยบุคคลตาม (1) หรือ (2) หรือนิติ

บุคคล ซึ่งมีบุคคลตาม (1) หรือ (2) ลงทุนมีมูลคาตั้งแตกึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดในนิติบุคคลนั้น (ข) หางหุนสวนจํากัดหรือหางหุนสวนสามัญที่จดทะเบียน ซึ่งหุนสวนผูจัดการหรือผูจัดการเปนบุคคลตาม

(1) (4) นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย ซึ่งมีหุนอันเปนทุนตั้งแตกึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้นถือโดยบุคคล ตาม (1) (2) หรือ (3) หรือนิติบุคคลซึ่งมีบุคคลตาม (1) (2) หรือ (3) ลงทุนมีมูลคาตั้งแตกึ่งหนึ่งของทุน ทั้งหมดในนิติบุคคลนั้น เพื่อประโยชนแหงคํานิยามนี้ใหถือวาหุนของบริษัทจํากัดที่มีใบหุนชนิดออกใหแกผูถือเปนหุนของคนตางดาว เวนแตจะไดมี กฎกระทรวงกําหนดไวเปนอยางอื่น

Page 105: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-22 “ทุน” หมายความวา ทุนจดทะเบียนของบริษัทจํากัด หรือทุนชําระแลวของบริษัทมหาชนจํากัด หรือเงินที่ผูเปน

หุนสวนหรือสมาชิกนํามาลงหุนในหางหุนสวนหรือนิติบุคคลนั้น “ทุนขั้นต่ํา” หมายความวา ทุนของคนตางดาวในกรณีที่คนตางดาวเปนนิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย และ

ในกรณีที่คนตาวดาวเปนนิติบุคคลซึ่งไมไดจดทะเบียนในประเทศไทยหรือเปนบุคคลธรรมดาใหหมายถึง เงินตราตางประเทศที่คนตางดาวนํามาใชเมื่อเริ่มตนประกอบธุรกิจในประเทศไทย

“ธุรกิจ” หมายความวา การประกอบกิจการในทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หัตถกรรม พาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอยางอื่น อันเปนการคา

“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ “ผูรับใบอนุญาต” หมายความวา คนตางดาวที่ไดรับใบอนุญาต “หนังสือรับรอง” หมายความวา หนังสือรับรองการประกอบธุรกิจ “ผูรับหนังสือรับรอง” หมายความวา คนตางดาวที่ไดรับหนังสือรับรอง “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนตางดาว “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “นายทะเบียน” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปนนายทะเบียนการประกอบธุรกิจของคนตางดาว “อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคา “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา5 การอนุญาตใหคนตางดาวประกอบธุรกิจตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพิจารณาโดยคํานึงถึงผลดีและผลเสียตอความ ปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ความสงบเรียบรอยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน ศิลปวัฒนธรรมและจารีตประเพณีของประเทศ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การพลังงานและการรักษาสิ่งแวดลอม การคุมครองผูบริโภค ขนาดของกิจการ การจางแรงงาน การถายทอดเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา มาตรา6 คนตางดาวตอไปนี้ หามประกอบธุรกิจในราชอาณาจักร

(1) คนตางดาวที่ถูกเนรเทศหรือรอการเนรเทศตามกฎหมาย (2) คนตางดาวที่เขามาอยูในราชอาณาจักรโดยไมไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองหรือกฎหมายอื่น

มาตรา7 คนตางดาวตอไปนี้จะประกอบธุรกิจไดเมื่อไดรับใบอนุญาตจากอธิบดี และจะประกอบธุรกิจไดเฉพาะประเภทธุรกิจและในทองที่ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในประกาศดังกลาวรัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขอยางใดไวก็ไดตามที่เห็นสมควร

(1) คนตางดาวที่เกิดในราชอาณาจักร แตไมไดรับสัญชาติไทยตามกฎหมายวาดวยสัญชาติหรือตามกฎหมายอื่น (2) คนตางดาวโดยผลของการถูกถอนสัญชาติตามกฎหมายวาดวยสัญชาติหรือตามกฎหมายอื่น การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และระยะเวลาการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน

กฎกระทรวงในกรณีที่อธิบดีไมอนุญาตใหคนตางดาวตามวรรคหนึ่งประกอบธุรกิจ คนตางดาวนั้นมีสิทธิอุทธรณ ตอรัฐมนตรีได และใหนําความในมาตรา 20 วรรคหนึ่ง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 106: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-23มาตรา8 ภายใตบังคับมาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 10 และมาตรา 12

(1) หามมิใหคนตางดาวประกอบธุรกิจที่ไมอนุญาตใหคนตางดาวประกอบกิจการดวยเหตุผลพิเศษตามที่กําหนดไวในบัญชีหนึ่ง

(2) หามมิใหคนตางดาวประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ ธุรกิจที่มีผลกระทบตอ ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบาน หรือธุรกิจที่มีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติหรือ สิ่งแวดลอม ตามที่กําหนดไวในบัญชีสองเวนแตจะไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี

(3) หามมิใหคนตางดาวประกอบธุรกิจที่คนไทยยังไมมีความพรอมที่จะแขงขันในการประกอบกิจการกับคนตางดาว ตามที่กาํหนดไวในบัญชีสาม เวนแตจะไดรับอนุญาตจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

มาตรา9 การปรับปรุงหรือแกไขประเภทธุรกิจตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ใหทําเปนพระราชกฤษฎีกา เวนแตธุรกิจตามบัญชีหนึ่ง หรือตามบัญชีสอง หมวด 1 ใหทําเปนพระราชบัญญัติ ใหคณะกรรมการพิจารณาทบทวนประเภทธุรกิจตามบัญชีทาย พระราชบัญญัตินี้อยางนอยครั้งหนึ่งในทุกรอบระยะเวลาหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับแลวทําความเห็น เสนอรัฐมนตรี

คนตางดาวที่ประกอบธุรกิจที่มิไดกําหนดไวในบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้อยูกอนการปรับปรุงหรือแกไขประเภทธุรกิจตามวรรคหนึ่ง หากตอมาธุรกิจนั้นเปนธุรกิจที่ตองขออนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ และคนตางดาวนั้นประสงคจะประกอบธุรกิจนั้นตอไปใหดําเนินการแจงตออธิบดีเพื่อขอหนังสือรับรองตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในมาตรา 11 ในระหวางระยะเวลาที่ปฏิบัติตามวรรคสามและยังไมไดรับหนังสือรับรอง มิใหถือวาคนตางดาวนั้นเปนผูประกอบธุรกิจโดยมิไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา10 บทบัญญัติมาตรา 5 มาตรา 8 มาตรา 15 มาตรา 17 และมาตรา 18 ไมใชบังคับแกคนตางดาวที่ประกอบธุรกิจตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ โดยไดรับอนุญาตจากรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยเปนการเฉพาะกาล

คนตางดาวที่ประกอบธุรกิจตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้โดยสนธิสัญญาที่ประเทศไทยเปนภาคีหรือมีความผูกพันตามพันธกรณีใหไดรับยกเวนจากการบังคับใชบทบัญญัติแหงมาตราตาง ๆ ตามที่กําหนดไวในวรรคหนึ่ง และใหเปนไปตามบทบัญญัติและเงื่อนไขของสนธิสัญญานั้น ซึ่งอาจรวมถึงการใหสิทธิคนไทยและวิสาหกิจของคนไทยเขาไปประกอบธุรกิจในประเทศสัญชาติของคนตางดาวนั้นเปนการตางตอบแทนดวย

มาตรา11 คนตางดาวตามมาตรา 10 หากประสงคจะประกอบธุรกิจตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ ใหแจงตออธิบดีตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวงเพื่อขอหนังสือรับรอง และใหอธิบดีออกหนังสือรับรองใหคนตางดาวนั้นโดยเร็ว แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือแจงจากคนตางดาว เวนแตอธิบดีเห็นวาการแจงมิไดเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง หรือกรณีไมเปนไปตามมาตรา 10 ใหอธิบดีแจงแกคนตางดาวนั้นทราบโดยเรว็ แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือแจงจาก คนตางดาวหนังสือรับรองตองระบุเงื่อนไขตามที่รัฐบาลกําหนดหรือตามที่กําหนดในสนธิสัญญาดวย มาตรา12 ในกรณีที่ธุรกิจของคนตางดาวซึ่งไดรับการสงเสริมการลงทุนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน หรือไดรับอนุญาตเปนหนังสือใหประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบการคาเพื่อสงออกตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยหรือตามกฎหมายอื่น เปนธุรกิจตามบัญชีสองหรือบัญชีสามทายพระราชบัญญัตินี้ ใหคนตางดาวดังกลาวแจง

Page 107: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-24 ตออธิบดีเพื่อขอหนังสือรับรอง เมื่ออธิบดีหรือพนักงานเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายตรวจสอบความถูกตองของบัตรสงเสริมการลงทุนหรือหนังสืออนุญาตดังกลาวแลว ใหอธิบดีออกหนังสือรับรองโดยเร็ว แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงการรับบัตรสงเสริมการลงทุนหรือหนังสืออนุญาตแลวแตกรณี ในกรณีนี้ใหคนตางดาวดังกลาวนั้น ไดรับยกเวนจากการบังคับใชพระราชบัญญัตินี้ เวนแตมาตรา 21 มาตรา 22 มาตรา 39 มาตรา 40 และมาตรา 42 ตลอดระยะเวลาที่ธุรกิจนั้นไดรับการสงเสริม การลงทุนหรือไดรับอนุญาตใหประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบการคาเพื่อสงออกแลวแตกรณี การออกหนังสือรับรองตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด มาตรา13 ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นกําหนดเรื่องการถือหุนการเปนหุนสวนหรือการลงทุนของคนตางดาว การอนุญาตหรือการหามคน ตางดาวในการประกอบธุรกิจบางประเภท หรือกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของคนตางดาวไวเปนประการใด ใหใชบังคับตามกฎหมายดังกลาว และมิใหนําความในพระราชบัญญัตินี้ไปใชบังคับในสวนที่มีกฎหมายอื่นกําหนดไวเปนการเฉพาะแลว มาตรา14 ทุนขั้นต่ําที่คนตางดาวใชในการเริ่มตนประกอบธุรกิจในประเทศไทยตองมีจํานวนไมนอยกวาที่กําหนดในกฎกระทรวงแตตอง ไมนอยกวาสองลานบาท ในกรณีการประกอบธุรกิจของคนตางดาวในวรรคแรกเปนธุรกิจที่ตองไดรับอนุญาตตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ ทุนขั้นต่ําที่กําหนดในกฎกระทรวงสําหรับแตละธุรกิจตองไมนอยกวาสามลานบาทกฎกระทรวงที่ออกตามบทบัญญัติมาตรานี้ อาจกําหนดระยะเวลาทุนขั้นต่ําที่ตองนําหรือสงเขามาในประเทศไทยไวดวยก็ไดความ ในมาตรานี้ไมใชบังคับกับกรณีที่คนตางดาวนําเงินหรือทรัพยสินอันเกิดจากรายไดที่ไดมาจากการประกอบธุรกิจเดิมที่เริ่มดําเนินการมากอนแลวในประเทศไทยไปเริ่มประกอบธุรกิจรายอื่น หรือนําไปลงหุนหรือลงทุนในกิจการหรือในนิติบุคคลอื่น มาตรา15 คนตางดาวจะประกอบธุรกิจตามบัญชีสองไดจะตองมีคนไทยหรือนิติบุคคลที่มิใชคนตางดาวตามพระราชบัญญัตินี้ถือหุนอยูไมนอยกวารอยละสี่สิบของทุนของคนตางดาวที่เปนนิติบุคคลนั้น เวนแตจะมีเหตุสมควร รัฐมนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีอาจผอนผันสัดสวนในเรื่องดังกลาวใหนอยลงไดแตตองไมนอยกวารอยละยี่สิบหา และตองมีกรรมการที่เปนคนไทยไมนอยกวาสองในหาของจํานวนกรรมการทั้งหมด มาตรา16 คนตางดาวซึ่งจะขอรับใบอนุญาตไดตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้

(1) มีอายุไมต่ํากวายี่สิบปบริบูรณ (2) มีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรหรือไดรับอนุญาตใหเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวตาม กฎหมายวาดวยคนเขา

เมือง (3) ไมเปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (4) ไมเปนบุคคลลมละลาย (5) ไมเคยตองโทษตามคําพิพากษาหรือถูกเปรียบเทียบปรับในความผิดตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ตามประกาศ

ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 เวนแตพนโทษ มาแลวไมนอยกวาหาปกอนวันขอรับใบอนุญาต

Page 108: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-25(6) ไมเคยตองโทษจําคุกตามคําพิพากษาในความผิดฐานฉอโกง โกงเจาหนี้ ยักยอก ความผิดเกี่ยวกับการคาตาม

ประมวลกฎหมายอาญาหรือในความผิดตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชนหรือในความผิดตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง เวนแตพนโทษมาแลวไมนอยกวาหาปกอนวันขอรับใบอนุญาต

(7) ไมเคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ในระยะเวลาหาปกอนวันขอรับใบอนุญาต

ในกรณีนิติบุคคลเปนผูขอรับใบอนุญาต กรรมการ ผูจัดการ หรือผูรับผิดชอบในการดําเนินการของนิติบุคคลนั้น ที่เปนคนตางดาวตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามดังกลาวในวรรคหนึ่งดวย มาตรา17 ในการขออนุญาตประกอบธุรกิจ ใหคนตางดาวยื่นคําขออนุญาตประกอบธุรกิจตอรัฐมนตรีหรืออธิบดีตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง และใหคณะรัฐมนตรีในกรณีธุรกิจตามบัญชีสองหรืออธิบดีในกรณีธุรกิจตามบัญชีสามพิจารณาอนุมัติ หรืออนุญาตแลวแตกรณี ใหแลวเสร็จภายในกําหนดหกสิบวันนับแตวันที่ยื่นคําขอ ในกรณีการพิจารณาอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีเหตุจําเปน ซึ่งคณะรัฐมนตรีไมอาจพิจารณาใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาดังกลาวได ใหขยายระยะเวลาการพิจารณาออกไปอีกไดตามความจําเปน แตทั้งนี้ตองไมเกินหกสิบวันนับแตวันครบกําหนดเวลาดังกลาว

เมื่อคณะรัฐมนตรีใหการอนุมัติหรืออธิบดีอนุญาตตามวรรคหนึ่งแลว ใหรัฐมนตรีหรืออธิบดีออกใบอนุญาตภายใน สิบหาวันนับแตวันที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติหรืออธิบดีอนุญาต ในการอนุญาต รัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนดหรือตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 18 สําหรับกรณีธุรกิจตามบัญชีสอง หรืออธิบดีจะกําหนดเงื่อนไขตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 18 สําหรับกรณีธุรกิจตามบัญชีสามก็ได

ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีไมอนุมัติใหคนตางดาวประกอบธุรกิจตามบัญชีสอง ใหรัฐมนตรีแจงการไมอนุมัติใหคนตางดาวนั้นทราบเปนหนังสือภายในสามสิบวัน และใหระบุเหตุที่ไมใหการอนุมัตินั้นไวโดยชัดแจง

ในกรณีที่อธิบดีไมอนุญาตใหคนตางดาวประกอบธุรกิจตามบัญชีสาม ใหอธิบดีแจงการไมอนุญาตใหคนตางดาวนั้นทราบเปนหนังสือภายในสิบหาวันและใหระบุเหตุที่ไมใหการอนุญาตนั้นไวโดยชัดแจง คนตางดาวนั้นมีสิทธิอุทธรณคําสั่งไมอนุญาตตอรัฐมนตรีได และใหนําความในมาตรา 20 มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา18 รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดเงื่อนไขหนึ่งเงื่อนไขใดใหคนตางดาว ผูรับใบอนุญาตตองปฏิบัติ ดังตอไปนี้

(1) อัตราสวนทุนกับเงินกูที่จะใชในการประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาต (2) จํานวนกรรมการที่เปนคนตางดาวซึ่งจะตองมีภูมิลําเนาหรือที่อยูในราชอาณาจักร (3) จํานวนและระยะเวลาการดํารงไวซึ่งทุนขั้นต่ําภายในประเทศ (4) เทคโนโลยีหรือทรัพยสิน (5) เงื่อนไขอื่นที่จําเปน

มาตรา19 เมื่อปรากฎวาผูรับใบอนุญาตหรือผูรับหนังสือรับรองผูใด (1) ฝาฝนเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนดตามมาตรา 7 วรรคหนึ่ง

(2) ไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดตามมาตรา 11 วรรคสอง หรือ มาตรา 17 วรรคสาม (3) ฝาฝนมาตรา 15 (4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา 16 (5) กระทําความผิดตามมาตรา 35

Page 109: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-26 ในกรณีตาม (1) (2) และ (3) ใหอธิบดีมีหนังสือแจงใหผูรับใบอนุญาตหรือผูรับหนังสือรับรองปฏิบัติตาม

เงื่อนไขตามมาตรา 7 วรรคหนึ่ง มาตรา 11 วรรคสอง หรือมาตรา 17 วรรคสาม หรือปฏิบัติใหถูกตองตามมาตรา 15 แลวแตกรณี ภายในเวลาที่อธิบดี เห็นสมควร ถาผูรับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองไมปฏิบัติตามที่อธิบดีมีหนังสือแจงดังกลาวโดยไมมีเหตุสมควร ใหอธิบดีมีอํานาจ สั่งพักการใชใบอนุญาตชั่วคราวหรือสั่งระงับการประกอบธุรกิจชั่วคราวไดในระยะเวลาที่เห็นสมควร แตตองไมเกินหกสิบวันนับ แตวันมีคําสั่ง เมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังกลาวแลวคนตางดาวยังมิไดดําเนินการใหถูกตองครบถวน ใหอธิบดีพิจารณาสั่งเพิก ถอนใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองดังกลาว หรือเสนอรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต แลวแตกรณี

ในกรณีตาม (4) และ (5) ใหอธิบดีพิจารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตหรือเสนอรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต แลวแตกรณี มาตรา20 ในกรณีที่อธิบดีสั่งพักการใชใบอนุญาตชั่วคราวหรือสั่งระงับการประกอบธุรกิจชั่วคราว หรือสั่งเพิกถอนใบอนุญาตหรือ หนังสือรับรอง ตามมาตรา 19 วรรคสอง ใหผูรับใบอนุญาตหรือผูรับหนังสือรับรองมีสิทธิอุทธรณโดยทําเปนหนังสือยื่นตอ รัฐมนตรี ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่ง

การอุทธรณไมเปนการทุเลาการบังคับตามคําสั่งอธิบดี เวนแตรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการจะสั่งทุเลาให รัฐมนตรีตองวินิจฉัยอุทธรณใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ยื่นอุทธรณคําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด มาตรา21 ภายใตบังคับมาตรา 7 มาตรา 19 และมาตรา 20 ใบอนุญาตใหใชไดตลอดไปจนกวาผูรับใบอนุญาตจะเลิกประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาต สําหรับหนังสือรับรองใหใชไดเทาระยะเวลาที่ไดรับอนุญาตจากรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยหรือตามที่สนธิสัญญา กําหนดใหประกอบธุรกิจนั้น หรือตลอดระยะเวลาที่ธุรกิจนั้นไดรับการสงเสริมการลงทุนหรือไดรับอนุญาตใหประกอบอุตสาหกรรม หรือประกอบการคาเพื่อการสงออก แลวแตกรณี เวนแตผูไดรับหนังสือรับรองเลิกประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตกอนครบกําหนดระยะ เวลาดังกลาวก็ใหหนังสือรับรองใชไดเพียงนั้น

ผูรับใบอนุญาตหรือผูรับหนังสือรับรองตองแสดงใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองดังกลาวไว ณ สถานที่ประกอบธุรกิจของตนในที่เปดเผยถาใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองชํารุดหรือสูญหาย ใหยื่นคําขอรับใบแทนตอนายทะเบียนภายในสิบหาวนันบัแตวันที่ทราบการชํารุดหรือสูญหายการขอและการออกใบแทนใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองใหเปนไปตามแบบและวิธีการที่ รัฐมนตรีกําหนด แตระยะเวลาในการออกใบแทนตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอ และใหถือวาใบแทนนั้นเปนเอกสารที่ใชแทนใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองไดจนกวาจะไดรับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองใหม มาตรา22 เมื่อผูรับใบอนุญาต ผูรับหนังสือรับรองเลิกประกอบธุรกิจ หรือยายสํานักงาน หรือสถานที่ประกอบธุรกิจใหแจงการเลิก หรือยายตอนายทะเบียนภายในสิบหาวันนับแตวันเลิกหรือวันยายนั้นตามแบบและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา23 ใหมีคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนตางดาว ประกอบดวยปลัดกระทรวงพาณิชยเปนประธานกรรมการ ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงการตางประเทศ ผูแทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูแทนกระทรวงคมนาคม ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผูแทนกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ผูแทนกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ผูแทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ ผูแทนกระทรวง

Page 110: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-27สาธารณสุข ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ผูแทนสํานักงานตํารวจแหงชาติ ผูแทนสภาหอการคาแหงประเทศไทย ผูแทนสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ผูแทนสมาคมธนาคารไทยและผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งอีกไมเกินหาคนเปนกรรมการ และใหอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคา เปนกรรมการและเลขานุการ

ผูทรงคุณวุฒิตองเปนผูมีความรูความชํานาญในดานเศรษฐศาสตร นิติศาสตร พาณิชยศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม การคา การลงทุน การบริหารธุรกิจ หรือการอุตสาหกรรม และตองไมเปนที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือดํารงตําแหนงทางการเมือง

ผูแทนตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่เปนผูแทนของสวนราชการ ผูแทนนั้นจะตองมีตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดีหรือเทียบเทา และในกรณีที่เปนผูแทนของสภาหอการคาแหงประเทศไทย ผูแทนของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หรือผูแทนของสมาคมธนาคารไทย ผูแทนนั้นจะตองมีตําแหนงไมต่ํากวากรรมการของสภาหรือสมาคมนั้น มาตรา24 กรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองปในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงกอนครบวาระ หรือในกรณีที่รัฐมนตรีแตงตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหวางที่กรรมการซึ่งแตงตั้งไวแลวยังมีวาระอยูในตําแหนงใหผูไดรับแตงตั้งดํารงตําแหนงแทนหรือเปนกรรมการเพิ่มขึ้นอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งไดแตงตั้งไวแลวกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับการแตงตั้งอีกได แตจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินสองวาระไมได มาตรา25 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา 24 กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนง เมื่อ

(1) ตาย (2) ลาออก (3) รัฐมนตรีใหออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย ไมสุจริตหรือบกพรองตอหนาที่ หรือหยอนความ สามารถ (4) เปนบุคคลลมละลาย (5) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (6) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาท หรือความผิด

ลหุโทษ (7) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา 23 วรรคสอง

มาตรา26 คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้และใหมีหนาที่ ดังตอไปนี้

(1) ใหคําปรึกษา เสนอแนะ หรือใหความเห็นแกรัฐมนตรีในเรื่องการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวง ตามพระราชบัญญัตินี้หรือการกําหนดประเภทธุรกิจและทองที่ประกอบธุรกิจของคนตางดาวตามมาตรา 7 หรือการ ขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามมาตรา 8 (2)

(2) ศึกษา รวบรวม และจัดทํารายงานเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของคนตางดาวในราชอาณาจักร รวมถึงผลกระทบ และความเหมาะสมในเรื่องดังกลาวเสนอตอรัฐมนตรีเปนครั้งคราว แตตองไมนอยกวาปละหนึ่งครั้ง

(3) ใหคําปรึกษา เสนอแนะ หรือใหความเห็นแกรัฐมนตรีในเรื่องอื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย

Page 111: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-28 มาตรา27 การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเปน องคประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม

การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธาน ในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด มาตรา28 ใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายและใหนํามาตรา 27 มาใชบังคับแกการประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม มาตรา29 ใหกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ โดยใหมีอํานาจหนาที่ดัง ตอไปนี้

(1) ปฏิบัติงานตามมติของคณะกรรมการหรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย (2) พิจารณาเสนอความเห็นตอคณะกรรมการเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของคนตางดาวในราชอาณาจักร เพื่อ

ประโยชนในการศึกษา รวบรวมขอมูลและจัดทํารายงานเสนอตอรัฐมนตรี (3) ปฏิบัติงานธุรการทั่วไปของคณะกรรมการ

มาตรา30 ใหนายทะเบียนและพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจ

(1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจงขอเท็จจริง รวมทั้งใหสงเอกสารหรือหลักฐานที่มีความจําเปนตอการ ตรวจสอบขอเท็จจริง

(2) เขาไปในสถานที่ที่คนตางดาวประกอบธุรกิจในระหวางเวลาทําการ เพื่อตรวจสอบใหการเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้โดยตองไดรับความเห็นชอบเปนหนังสือจากอธิบดีกอน เวนแตกรณีมีเหตุฉุกเฉินจําเปนอยางยิ่ง ในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวใหมีอํานาจสอบถามขอเท็จจริงหรือเรียกตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ที่จําเปนอยางยิ่งตอการตรวจสอบขอเท็จจริงจากบุคคลที่อยูในสถานที่ดังกลาวได

ในการปฏิบัติหนาที่ตาม (2) ใหเจาของหรือผูครอบครองสถานที่อํานวยความสะดวกแกนายทะเบียนหรือพนักงาน เจาหนาที่ตามสมควร นายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ตองไมกระทําการอันมีลักษณะเปนการขมขูหรือเปนการตรวจคนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาและตองมีหนังสือบอกกลาวแกเจาของหรือผูครอบครองสถานที่ลวงหนาไมนอยกวาสามวันทําการ เวนแตกรณีมีเหตุฉุกเฉินจําเปน อยางยิ่ง และเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติหนาที่แลว ใหรายงานรัฐมนตรีทราบผลการปฏิบัติหนาที่เปนลายลักษณอักษรโดยเร็ว มาตรา31 ผูใดขอตรวจหรือขอคัดสําเนาเอกสารหรือขอใหนายทะเบียนคัดสําเนาหรือถายเอกสารพรอมทั้งคํารับรองหรือขอใหออกหนังสือรับรองขอความที่นายทะเบียนเก็บรักษาไว ใหนายทะเบียนดําเนินการอนุญาตโดยเร็ว เวนแตเอกสารนั้นมีลักษณะตองหามมิให เปดเผยตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการหรือกฎหมายอื่น โดยผูขอตองเสียคาธรรมเนียมตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา32 พนักงานเจาหนาที่ตองมีบัตรประจําตัวตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวงในการปฏิบัติการตามหนาที่ พนักงาน เจาหนาที่ตอง แสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลซึ่งเกี่ยวของ

Page 112: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-29 มาตรา33 ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการ อธิบดี นายทะเบียน และพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา34 คนตางดาวซึ่งไดรับใบอนุญาต หรือหนังสือรับรองผูใดถูกสั่งพักใชหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตหรือถูกสั่งระงับการประกอบธุรกิจตามหนังสือรับรองและหมดสิทธิอุทธรณ หรือรัฐมนตรีมีคําวินิจฉัยเปนที่สุดใหพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตหรือใหระงับการประกอบธุรกิจแลวแตคนตางดาวนั้นยังคงประกอบธุรกิจนั้นตอไป ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ และปรับอีกวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู มาตรา35 คนตางดาวซึ่งไดรับใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจใดตามพระราชบัญญัตินี้ หากรวมทําธุรกิจอันเปนของคนตางดาว รายอื่นซึ่งมิไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจตามพระราชบัญญัตินี้ หรือประกอบธุรกิจที่คนตางดาวรายอื่นนั้นเปนเจาของรวมโดยแสดงออกวาเปนธุรกิจของตนแตผูเดียวเพ่ือใหคนตางดาวรายอื่นนั้นหลีกเลี่ยงหรือฝาฝนบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และใหศาลส่ังเลิกการรวมทําธุรกิจหรือการประกอบธุรกิจนั้นเสีย หากฝาฝนไมปฏิบัติตามคําสั่งศาล ตองระวางโทษปรับวันละหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู มาตรา36 ผูมีสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่มิใชคนตางดาวตามพระราชบัญญัตินี้ใหความชวยเหลือหรือสนับสนุนหรือรวมประกอบธุรกิจของ คนตางดาว อันเปนธุรกิจที่กําหนดไวในบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ โดยคนตางดาวนั้นมิไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจดังกลาว หรือรวมประกอบธุรกิจของคนตางดาวโดยแสดงออกวาเปนธุรกิจของตนแตผูเดียวหรือถือหุนแทนคนตางดาวในหางหุนสวนหรือบริษัทจํากัด หรือนิติบุคคลใดๆ เพื่อใหคนตางดาวประกอบธุรกิจโดยหลีกเลี่ยงหรือฝาฝนบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งคนตางดาวซึ่งยินยอมให ผูมีสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่มิใชคนตางดาวตามพระราชบัญญัตินี้กระทําการดังกลาว ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และใหศาลสั่งใหเลิกการใหความชวยเหลือหรือสนับสนุน หรือสั่งใหเลิกการรวมประกอบธุรกิจ หรือสั่งใหเลิกการถือหุน หรือการเปนหุนสวนนั้นเสีย แลวแตกรณี หากฝาฝนไมปฏิบัติตามคําสั่งศาลตองระวางโทษปรับวันละหนึ่งหมื่นบาท ถึงหาหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู มาตรา37 คนตางดาวผูใดประกอบธุรกิจโดยฝาฝนมาตรา 6 มาตรา 7 หรือมาตรา 8 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และใหศาลสั่งเลิกการประกอบธุรกิจ หรือเลิกกจิการ หรอืสัง่เลกิการเปนผูถือหุน หรือเปนหุนสวน แลวแตกรณี หากฝาฝนไมปฏิบัติตามคําสั่งศาลตองระวางโทษปรับวันละหนึ่งหมื่นบาทถงึหาหมืน่บาทตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู มาตรา38 คนตางดาวผูใดประกอบธุรกิจโดยฝาฝนตามมาตรา 14 หรือฝาฝนเงื่อนไขตามมาตรา 18 (3) ตองระวางโทษปรับ ตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาทและปรับวันละหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู มาตรา39 ผูรับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 21 วรรคสองหรือวรรคสามหรือฝาฝนมาตรา 22 ตองระวางโทษปรับ ไมเกินหาพันบาท

Page 113: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-30 มาตรา40 ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือสอบถามหรือหนังสือเรียกของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ หรือไมยอมใหขอเท็จจริง หรือไมสงเอกสารหรือหลักฐานเมื่อนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่สอบถามหรือเรียกตรวจสอบหรือไมใหความสะดวกแกนายทะเบียนหรือพนักงาน เจาหนาที่ตามมาตรา 30 โดยไมมีเหตุอันสมควรตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท มาตรา41 ในกรณีที่นิติบุคคลเปนผูกระทําความผิดตามมาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 หรือมาตรา 37 กรรมการ หุนสวน หรือผูมีอํานาจ กระทําการแทนนิติบุคคลซึ่งรูเห็นเปนใจกับการกระทําความผิดนั้น หรือมิไดจัดการตามสมควรเพื่อปองกันมิใหเกิดความผิดนั้น ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินสามป หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา42 ในกรณีความผิดตามมาตรา 39 และมาตรา 40 ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบปรับได เมื่อผูตองหาไดชําระคาปรับตามจํานวนที่อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายไดเปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแตวันเปรียบเทียบใหคดีนั้นเปน อันเลิกกัน มาตรา43 บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ และคําสั่ง ซึ่งใชบังคับอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับใหยังคงใชไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะไดมีพระราชกฤษฎีกากฎกระทรวง ประกาศและ คําสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา44 คนตางดาวซึ่งไดรับสิทธิหรือไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 อยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ ใหไดรับสิทธิหรือไดรับอนุญาตในการประกอบธรุกิจนั้นตอไปตามเงื่อนไขและระยะ เวลาของการไดรับสิทธิหรือไดรับอนุญาตดังกลาว มาตรา45 คนตางดาวซึ่งประกอบธุรกิจประเภทที่กําหนดไวในบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้อยูแลวในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ซึ่งธุรกิจดังกลาวเปนธุรกิจที่ไมไดกําหนดไวในบัญชีทายประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 หากประสงคจะประกอบธุรกิจนั้นตอไปใหดําเนินการแจงตออธิบดีเพื่อขอหนังสือรับรองตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในมาตรา 11 ทั้งนี้ ภายในกําหนดหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และในระหวางที่ยังไมไดรับหนังสือรับรองมิใหถือวาคนตางดาวนั้นเปนผูประกอบธุรกิจโดยมิไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตนิี้ มาตรา46 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และใหมีอํานาจแตงตั้งนายทะเบียนและพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ตลอดจนยกเวนคาธรรมเนียมและกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้

กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได ผูรับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ: เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัตินี้ คือ โดยที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ซึ่งใชบังคับอยูในปจจุบันไดออกใชบังคับมาเปนเวลานานแลว และมีหลักการบางประการไมสอดคลองกับสภาวการณทางเศรษฐกิจ การลงทุน และการคาระหวางประเทศในปจจุบัน สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกลาวเสียใหมเพื่อสงเสริมใหมีการแขงขันในการประกอบธุรกิจทั้งในประเทศและตางประเทศซึ่งจะเปนประโยชนกับประเทศไทยโดย

Page 114: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-31สวนรวม ทั้งยังเปนการดําเนินการใหสอดคลองกับพันธกรณีตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ ---------------------------------------------------------------------------

อัตราคาธรรมเนียม

1. คําขอใบอนุญาต (ก) คําขอใบอนุญาตตามมาตรา 7 = 1,000 บาท (ข) คําขอใบอนุญาตตามมาตรา 17 = 2,000 บาท (ค) คําขอหนังสือรับรองตามมาตรา 11 หรือมาตรา 12 = 2,000 บาท

2. ใบอนุญาต (ก) ใบอนุญาตตามมาตรา 7 = 5,000 บาท (ข) ใบอนุญาตสําหรับธุรกิจบัญชีสอง

(1) บุคคลธรรมดา 40,000 บาท (2) นิติบุคคล พันละสิบบาทของทุนจดทะเบียน ทั้งนี้ไมต่ํากวา 40,000 บาท และไมเกิน 500,000

บาท เศษของพันบาทใหคิดเทากับหนึ่งพันบาท (ค) ใบอนุญาตสําหรับธุรกิจบัญชีสาม

(1) บุคคลธรรมดา 20,000 บาท (2) นิติบุคคล พันละหาบาทของทุนจดทะเบียน ทั้งนี้ไมต่ํากวา 20,000 บาท และไมเกิน 250,000

บาท เศษของพันบาทใหคิดเทากับหนึ่งพันบาท 3. หนังสือรับรอง 20,000 บาท 4. ใบแทนใบอนุญาต หรือใบแทนหนังสือรับรอง 5,000 บาท 5. อุทธรณ

(ก) อุทธรณคําสั่งไมอนุญาตตามมาตรา 7 = 1,000 บาท (ข) อุทธรณคําสั่งไมอนุญาตตามมาตรา 17 = 2,000 บาท (ค) อุทธรณคําสั่งพักหรือเพิกถอนใบอนุญาตหรือหนังสือรับรอง ตามมาตรา 20 = 2,000 บาท

6. การแจงเลิก หรือยายสํานักงานหรือสถานที่ประกอบธุรกิจ 1,000 บาท 7. การขอแกไขรายการทะเบียน ใบอนุญาตหรือหนังสือรับรอง 1,000 บาท 8. การตรวจหรือคัดสําเนาเอกสาร รายละ 200 บาท 9. การขอใหคัดสําเนาหรือขอใหถายเอกสารพรอมทั้งคํารับรอง หนาละ 100 บาท 10. การออกหนังสือรับรองขอความในทะเบียน เรื่องละ 100 บาท --------------------------------------------------------------------------- บัญชีทายพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542

Page 115: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-32

บัญชีหน่ึง ธุรกิจที่ไมอนุญาตใหคนตางดาวประกอบกิจการดวยเหตุผลพิเศษ

(1) การทํากิจการหนังสือพิมพ การทํากิจการสถานีวิทยุกระจายเสียงหรือสถานีวิทยุโทรทัศน (2) การทํานา ทําไร หรือทําสวน (3) การเลี้ยงสัตว (4) การทําปาไมและการแปรรูปไมจากปาธรรมชาติ (5) การทําการประมงเฉพาะการจับสัตวน้ําในนานน้ําไทยและในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศไทย (6) การสกัดสมุนไพรไทย (7) การคาและการขายทอดตลาดโบราณวัตถุของไทย หรือที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรของประเทศ (8) การทําหรือหลอพระพุทธรูป และการทําบาตร (9) การคาที่ดิน

บัญชีสอง

ธุรกิจที่เกีย่วกบัความปลอดภัยหรอืความมั่นคงของประเทศหรือมีผลกระทบตอศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี หัตถกรรม พื้นบาน หรือทรพัยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม

หมวด 1 ธุรกิจที่เกี่ยวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ (1) การผลิต การจําหนาย และการซอมบํารุง

(ก) อาวุธปน เครื่องกระสุนปน ดินปน วัตถุระเบิด (ข) สวนประกอบของอาวุธปน เครื่องกระสุนปน และวัตถุระเบิด (ค) อาวุธยุทโธปกรณ เรือ อากาศยาน หรือยานพาหนะทางการทหาร (ง) อุปกรณหรือสวนประกอบของอุปกรณสงครามทุกประเภท

(2) การขนสงทางบก ทางน้ํา หรือทางอากาศในประเทศ รวมถึงกิจการการบินในประเทศ หมวด 2 ธุรกิจที่มีผลกระทบตอศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบาน (1) การคาของเกา หรือศิลปวัตถุ ซึ่งเปนงานศิลปกรรม หัตถกรรมของไทย (2) การผลิตเครื่องไมแกะสลัก (3) การเลี้ยงไหม การผลิตเสนไหมไทย การทอผาไหมไทย หรือการพิมพลวดลายผาไหมไทย (4) การผลิตเครื่องดนตรีไทย (5) การผลิตเครื่องทอง เครื่องเงิน เครื่องถม เครื่องทองลงหิน หรือเครื่องเขิน (6) การผลิตถวยชามหรือเครื่องปนดินเผาที่เปนศิลปวัฒนธรรมไทย หมวด 3 ธุรกิจที่มีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม (1) การผลิตน้ําตาลจากออย (2) การทํานาเกลือ รวมทั้งการทําเกลือสินเธาว

Page 116: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-33(3) การทําเกลือหิน (4) การทําเหมือง รวมทั้งการระเบิดหรือยอยหิน (5) การแปรรูปไมเพื่อทําเครื่องเรือนและเครื่องใชสอย

บัญชีสาม ธุรกิจที่คนไทยยังไมมีความพรอมที่จะแขงขันในการประกอบกจิการกับคนตางดาว

(1) การสีขาว และการผลิตแปงจากขาวและพืชไร (2) การทําการประมง เฉพาะการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (3) การทําปาไมจากปาปลูก (4) การผลิตไมอัด แผนไมวีเนียร ชิปบอรด หรือฮารดบอรด (5) การผลิตปูนขาว (6) การทํากิจการบริการทางบัญชี (7) การทํากิจการบริการทางกฎหมาย (8) การทํากิจการบริการทางสถาปตยกรรม (9) การทํากิจการบริการทางวิศวกรรม (10) การกอสราง ยกเวน

(ก) การกอสรางสิ่งซึ่งเปนการใหบริการพื้นฐานแกประชาชน ดานการสาธารณูปโภคหรือการคมนาคมที่ตองใชเครื่องมือเครื่องจักร เทคโนโลยีหรือความชํานาญในการกอสรางเปนพิเศษ โดยมีทุนขั้นต่ําของคนตางดาวตั้งแตหารอยลานบาทขึ้นไป (ข) การกอสรางประเภทอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (11) การทํากิจการนายหนาหรือตัวแทน ยกเวน

(ก) การเปนนายหนาหรือตัวแทนซื้อขายหลักทรัพยหรือการบริการที่เกี่ยวกับการซื้อขายลวงหนาซึ่ง สินคาเกษตรหรือตราสารทางการเงินหรือหลักทรัพย

(ข) การเปนนายหนาหรือตัวแทนซื้อขายหรือจัดหาสินคาหรือบริการที่จําเปนตอการผลิตหรือการใหบริการของวิสาหกิจในเครือเดียวกัน (ค) การเปนนายหนาหรือตัวแทนซื้อขาย จัดซื้อหรือจัดจําหนายหรือจัดหาตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อการจําหนายซึ่งสินคาที่ผลิตในประเทศหรือนําเขามาจากตางประเทศอันมีลักษณะเปนการประกอบธุรกิจระหวางประเทศ โดยมี ทุนขั้นต่ําของคนตางดาวตั้งแตหนึ่งรอยลานบาทขึ้นไป

(ง) การเปนนายหนาหรือตัวแทนประเภทอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (12) การขายทอดตลาด ยกเวน

(ก) การขายทอดตลาดที่มีลักษณะเปนการประมูลซื้อขายระหวางประเทศที่มิใชการประมูลซื้อขายของเกา วัตถุโบราณ หรือศิลปวัตถุซึ่งเปนงานศิลปกรรม หัตถกรรม หรือโบราณวัตถุของไทย หรือที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรของประเทศ

(ข) การขายทอดตลาดประเภทอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (13) การคาภายในเกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือผลิตผลทางเกษตรพื้นเมืองที่ยังไมมีกฎหมายหามไว (14) การคาปลีกสินคาทุกประเภทที่มีทุนขั้นต่ํารวมทั้งสิ้นนอยกวาหนึ่งรอยลานบาท หรือที่มีทุนขั้นต่ําของแตละรานคานอยกวายี่สิบลานบาท (15) การคาสงสินคาทุกประเภทที่มีทุนขั้นต่ําของแตละรานคานอยกวาหนึ่งรอยลานบาท

Page 117: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-34 (16) การทํากิจการโฆษณา (17) การทํากิจการโรงแรม เวนแตบริการจัดการโรงแรม (18) การนําเที่ยว (19) การขายอาหารหรือเครื่องดื่ม (20) การทํากิจการเพาะขยายหรือปรับปรุงพันธุพืช (21) การทําธุรกิจบริการอื่น ยกเวนธุรกิจบริการที่กําหนดในกฎกระทรวง กลุมอาชีพ/ตําแหนงดาน IT หมู 213 นักวิชาชีพดานคอมพิวเตอร (Computing Professionals)

ผูปฏิบัติงานในหมูนี้ ไดแก ผูที่ทํางานเกี่ยวกับการวิจัย วางแผน พัฒนาและปรับปรุงระบบฐานขอมูลคอมพิวเตอร และซอฟตแวรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน การออกแบบโครงสรางขอมูลและฐานขอมูล การคํานวณแบบอัลกอริซึ่ม (ALGORITHMS) การสื่อสารขอมูลในรูปของภาษาคอมพิวเตอรแบบตาง ๆ การประเมินผล วางแผนและออกแบบฮารดแวรและซอฟตแวรคอนฟกเกอเรชั่น เพื่อการใชงานเฉพาะดาน ทดสอบและบํารุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร รวมทั้งควบคุมดูแลการทํางานของเจาหนาที่อื่น ๆ

กลุมอาชีพในหมูน้ี มีดังนี้ 2131 นักออกแบบและวิเคราะหระบบงานคอมพิวเตอร 2132 โปรแกรมเมอร นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 2139 ผูประกอบวิชาชีพดานคอมพิวเตอรที่มิไดจัดประเภทไวในที่อื่น

หนวย 2131 นักออกแบบและวิเคราะหระบบงานคอมพิวเตอร (Computer Systems Designers and Analysts)

ผูปฏิบัติงานอาชีพในหนวยนี้ ไดแก ผูที่ทําการวิจัย ปรับปรุง พัฒนาแนวคิดและวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับงานคอมพิวเตอร วิเคราะห วางแผนและออกแบบระบบงานดานคอมพิวเตอร รวมทั้งเทคนิคตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบการจัดการฐานขอมูล การประมวลผลขอมูล การจัดทําเครือขายการพัฒนาและทําโปรแกรมซอฟตแวรตาง ๆ การบํารุงรักษาฮารดแวร และซอฟตแวร ตลอดจนปฏิบัติหนาที่การงานที่เกี่ยวของและควบคุมดูแลผูปฏิบัติงานอื่น ๆ อาชีพในหนวยน้ี มีดังนี้ 2131.10 นักวิเคราะหระบบ (Analyst, computer systems ; Designers)

วางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นําไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผลและบํารุงรักษาระบบงานคอมพิวเตอร เพื่อตอบสนองความตองการของผูใชงาน 2131.20 ผูเชี่ยวชาญดานซอฟตแวรประยุกต (Specialist, application software)

วางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นําไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผลและบํารุงรักษาซอฟตแวรประยุกต รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 2131.30 ผูเชี่ยวชาญดานสื่อสารขอมูล (Specialist, data communication)

วางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นําไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผลและบํารุงรักษาระบบเครือขาย และระบบสื่อสารขอมูลอื่น ๆ รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 2131.40 ผูเชี่ยวชาญดานฐานขอมูล (Specialist, database)

Page 118: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-35วางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นําไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผลและบํารุงรักษาระบบฐานขอมูล และโปรแกรม

ระบบจัดการฐานขอมูล รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 2131.50 ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยของไอที (Specialist, IT security)

วางแผน ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ นําไปใชงาน ทดสอบและประเมินงานดานความปลอดภัยของไอที รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น 2131.60 วิศวกรซอฟตแวร (Software Engineer)

วิจัย วิเคราะห ออกแบบ นําไปใชงาน ทดสอบวิธีการ/กระบวนการ ตลอดจนเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการพัฒนาซอฟตแวรที่เปนระบบใหญใหมีคุณภาพสูง 2131.70 ผูเชี่ยวชาญดานแคดแคม (Specialist, CAD & CAM)

วางแผน ศึกษา วิเคราะห สรางงานดานการออกแบบและการผลิตโดยใชคอมพิวเตอร รวมทั้งนําไปใชงาน ทดสอบ ประเมินผลและใหคําปรึกษาดานเทคนิค

หนวย 2132 โปรแกรมเมอร (Computer Programmers)

ผูปฏิบัติงานอาชีพในหนวยนี้ ไดแก ผูที่ทําหนาที่เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรตามความตองการของผูใชหรือตามคําแนะนําและขอกําหนดของนักออกแบบและวิเคราะหระบบงานคอมพิวเตอร ทดสอบและบํารุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร เขียนและจัดทําเอกสารประกอบการใชโปรแกรม เชน รหัสเครื่อง ภาษาเครื่องที่จําเปน รวมทั้งการจัดทําโปรแกรมทดสอบเพื่อแกไขขอผิดพลาด ตลอดจนปฏิบัติหนาที่การงานที่เกี่ยวของและควบคุมดูแลผูปฏิบัติงานอื่น ๆ

อาชีพในหนวยน้ี มีดังนี้ 2132.10 โปรแกรมเมอร (Programmer)

เขียน/สราง ดัดแปลง ทดสอบและแกไขซอฟตแวรประยุกต (Application Software) และ/หรือซอฟตแวรระบบ (System Software) ใหเปนไปตามขอกําหนดของโปรแกรม รวมถึงการใหคําแนะนําดานเทคนิคและการแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 2132.20 เว็บมาสเตอร (Web Master)

ออกแบบ สราง ดัดแปลง ทดสอบและแกไข ปรับปรุงเว็บไซตและขอมูลตาง ๆ จากเว็บไซตใหทันสมัย 2132.30 เจาหนาที่ฝกอบรมคอมพิวเตอร (Computer trainer)

ใหการฝกอบรมวิชาการทางดานคอมพิวเตอร ที่เปนหลักสูตรระยะสั้นและหลักสูตรเฉพาะทาง รวมทั้งใหคําปรึกษาทางวิชาการและทางเทคนิค

หนวย 2139 ผูประกอบวิชาชีพดานคอมพิวเตอรที่มิไดจัดประเภทไวในที่อื่น (Computing Professionals Not Elsewhere Classified)

ผูประกอบวิชาชีพดานคอมพิวเตอรที่มิไดจัดอยูในกลุมใด เปนผูที่มีความรูทั่วไปทั้งดานฮารดแวร และซอฟตแวรคอมพิวเตอร ออกแบบและดําเนินการดานการประยุกตใชฮารดแวรและซอฟตแวรคอมพิวเตอร

อาชีพในหนวยน้ี มีดังนี้ 2139.10 วิศวกรขายดานไอที (Sales Engineer)

วางแผน และดําเนินงานดานการขายและการตลาด วิเคราะหความตองการของลูกคาใหความรูและใหการสนับสนุนดานเทคนิคและการพัฒนาธุรกิจ

Page 119: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ภาคผนวก-36 2139.90 ผูประกอบวิชาชีพดานคอมพิวเตอร ซึ่งมิไดจัดประเภทไวในที่อื่น

ผูปฏิบัติงานอาชีพในกลุมนี้ รวมถึง ผูประกอบวิชาชีพดานคอมพิวเตอร ซึ่งมิไดจัดประเภทไวในที่อื่น

ที่มา : การจัดประเภทมาตราฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ป 2544 กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน (THAILAND STANDARD CLASSIFICATION OF OCCUPATIONS : TSCO – 2001)

Page 120: NSOservice.nso.go.th/nso/nsopublish/know/ict50.pdf · 2008. 11. 3. · คูู มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข อมูล การสํํารวจข

ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติม โครงการสํ ารวจขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการส่ือสาร พ.ศ. 2550 (สถานประกอบการ)

กลุมสถิติสถานประกอบการ สํ านักสถิติเศรษฐกิจและสังคม

- นางลักขณา ยุวประกร 1210- นางสาวจันทนา สาราเลิศ 1212- นางสาวปวรพัชร สิทธิกูล 1212- นางสาวนฤมล ขาวลิขิต 1212

กลุมมาตรฐานสถิติ สํ านักนโยบายและวิชาการสถิติ(ดานแนวคิดการจัดประเภทกิจกรรมทางเศรษฐกิจ)

- นางสาวลัคนา ตันติวัฒน 1307- นางสาววิไลรัตน อนนัตพฤทธิ์ 1308- นางสาวกาญจนา ภูมาลี 1308

กลุมระเบียบวิธีสถิติ สํ านักนโยบายและวิชาการสถิติ(ดานระเบียบวิธีการเลือกสถานประกอบการตัวอยาง)

- นางสาวจันทรเพ็ญ ศรีธวัชพงศ 1313

กลุมพัฒนาระบบงานประมวลผลขอมูล ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร(ดานโปรแกรมการประมวลผล)

- นายบุญสม สุวรรณโคตร 1110- นางสาวภิรมย ลักษณะ 1112