69

 · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

������������ ���������������

��������������� ���������

Page 2:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

สารบัญ สวนที่ 1 สรุปภาวะเศรษฐกิจ 1.1 บทสรุปผูบริหาร .......................................................................................... 1.1.1 1.2 ภาวะเศรษฐกิจโลก ...................................................................................... 1.2.1

สวนที่ 2 ภาวะเศรษฐกิจ ป 2546 2.1 ภาคการเกษตร ............................................................................................ 2.1.1 2.2 ภาคอุตสาหกรรม ....................................................................................... 2.2.1 2.3 ภาคบริการ.................................................................................................. 2.3.1

2.3.1 ภาคการทองเที่ยวและโรงแรม 2.3.2 ภาคอสังหาริมทรัพย 2.3.3 ภาคการคา 2.3.4 ภาคโทรคมนาคม

2.4 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ................................................................... 2.4.1 2.5 การลงทุนภาคเอกชน.................................................................................. 2.5.1 2.6 แรงงาน....................................................................................................... 2.6.1 2.7 ระดับราคา .................................................................................................. 2.7.1 2.8 การคาตางประเทศและดุลการชําระเงิน...................................................... 2.8.1 2.9 หนี้ตางประเทศ .......................................................................................... 2.9.1 2.10 การคลัง .................................................................................................... 2.10.1 2.11 การเงินและอตัราแลกเปลี่ยน.................................................................... 2.11.1 2.12 ตลาดทุน................................................................................................... 2.12.1

สวนที่ 3 มาตรการทางเศรษฐกิจ 3.1 มาตรการการเงิน ........................................................................................ 3.1.1 3.2 มาตรการการคลัง ....................................................................................... 3.2.1 3.3 มาตรการอื่น ๆ............................................................................................ 3.3.1

Page 3:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

1.1.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

สวนท่ี 1 : สรุปภาวะเศรษฐกิจ 1.1 บทสรุปผูบริหาร

ภาวะเศรษฐกิจไทยป 2546 เศรษฐกิจไทยในป 2546 เติบโตด ีโดยขยายตัวรอยละ 6.7 เรงขึ้นจากรอยละ 5.4 ในปกอน แมวาในชวงครึ่งแรกของปความไมแนนอนของสถานการณสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรักและความกังวลเก่ียวกับโรค ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) ไดสงผลกระทบตอความเช่ือม่ันของภาคเอกชนบาง ทําใหมี การเล่ือนการลงทุนบางสวนออกไประยะหนึง่ ประกอบกับรายไดของธุรกิจที่ เก่ียวของกับการทองเที่ยวหดตัว คอนขางรุนแรง แตเม่ือสถานการณเหลานั้นผานพนไปภายในไตรมาสที่ 3 เศรษฐกิจไทยก็กลับมาขยายตัวด ี ซึ่งบงช้ีถึงพ้ืนฐานของการฟนตัวที่เขมแข็งและยืดหยุนตอปจจัยลบจากภายนอกประเทศ แรงขับ เค ล่ือนห ลักของเศรษฐกิจมาจาก การขยายตัวอยางตอ เนื่องของการอุปโภคบริโภค ภาคเอกชนและการสงออก ทั้งนี้ ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวประมาณรอยละ 5.1 สวน มูลคาการสงออกขยายตวัสูงในอัตรารอยละ 18.6 ขณะที ่การลงทุ นภาค เอกชน ซ่ึ งเร่ิม เรงตั ว ชัด เจน ก็ เป น ปจจัยเสริมใหการขยายตัวแข็งแกรงย่ิงขึ้น โดยดัชน ีการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวประมาณรอยละ 13.2 ในปนี้ สําหรับบทบาทของภาครัฐนั้น รายไดรัฐบาลขยายตัวสูงถึงรอยละ 13.6 ในปงบประมาณ 2546 สะทอน กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ กํ าลังขยายตัวด ี โดยเฉพาะการใชจายของครัวเรือนและผลประกอบการของธุรกิจ และแมวาการใชจายโดยตรงของรัฐบาล จะออนตัวลง โดยหดตัวรอยละ 3.5 ในปงบประมาณ 2546 สวนหนึ่งเพราะความจําเปนในการรักษาวินัย การคลังเพ่ือใหสอดรับกับการฟนตัวของภาคเอกชน แตภาครัฐยังคงมีบทบาทสําคัญตอเนื่องผานนโยบายทวิภาค (Dual Track Policy) ซ่ึงเนนการกระตุนกิจกรรมภายในประเทศของภาคเอกชน เชน การตออายุมาตรการสนับสนุนภาคอสังหาริมทรัพยจนถึงส้ินป 2546 และการสงเสริมความเขมแข็งของวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดยอมโดยการให สิน เช่ือและความ รู ในด าน การบริหารจัดการ เปนตน ควบคูไปกับการเพ่ิมรายไดจากตางประเทศผานการสรางเครือขายความรวมมือทางการคาในภูมิภาคและการแสวงหาตลาดสงออกใหม ๆ ในขณ ะเดี ยว กันภาค อุปท าน ก็ส าม ารถ ตอบสนองอุปสงคที่เพ่ิมขึ้นไดเปนอยางดี ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นรอยละ 12.3 ในปนี้ เที ยบ กับ รอยละ 8.5 ในปกอน ตามการขยายตัวของทั้งสินคา ที่ผลิตเพ่ือจําหนายในประเทศเปนหลัก อาทิ ยานยนต ป โตรเลียม และ เค ร่ืองดื่ ม และสินค าที่ ผ ลิต เพ่ื อ การสงออกเปนหลัก อาทิ แผงวงจรรวม อาหาร และ ยางแทง สวนในภาคเกษตร สภาพอากาศที่เอื้ออํานวยทําใหผลผลิตพืชผลหลักขยายตัวรอยละ 7.8 เทียบกับ รอยละ 0.0 ในปกอน และเม่ือประกอบกับราคาพืชผล ที่สูงขึ้นมาก โดยเฉพาะราคายางพาราและขาวหอมมะลิ รายไดเกษตรกรจากพืชผลหลักจึงขยายตัวถึงรอยละ 25.6 ซ่ึ งเปน อัตราที่ สู ง เปนประวัติการณ สําห รับ ภาคบริการในชวงเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคม จํานวน นักทองเที่ ยวชาวต างประเทศลดลงอยางมากจาก ความกังวลเก่ียวกับการแพรระบาดของโรค SARS สงผลใหรวมทั้งปจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศลดลงรอยละ 7.8 อยางไรก็ดี ภาคการทองเที่ยวเร่ิมฟนตัวอยางรวดเร็วในไตรมาสที่ 3 และจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศก็กลับมาขยายตัวเปนปกติในไตรมาส สุดทายของป การขยายตัวสูงของภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนภาคการกอสรางและภาคบริการซ่ึงสอดคลองกับ กิจกรรมการลงทุนและการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ที่ เพ่ิมขึ้น สงผลใหการจางงานในภาคนอกเกษตร ขยายตัวดีในอัตรารอยละ 5.0 อยางไรก็ตาม แรงกดดันตอคาจางแรงงานยังไมปรากฏเนื่องจากสวนหนึ่งของ การจางงานในภาคนอกเกษตรเปนการดูดซับแรงงานจากภาคเกษตร ซ่ึงการจางงานในภาคดังกลาวหดตัว รอยละ 1.2 ในปนี้ รวมท้ังยังมีแรงงานสวนเกินอยู

Page 4:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

1.1.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

สภาพคลองในระบบการเงินที่ ยังคงมีสูง ประกอบกับการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ ธปท. ในเดือนมิถุนายนจากรอยละ 1.75 ตอปเปนรอยละ 1.25 ตอป สงผลใหอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยโนมลดลงและอยูในระดับต่ําตอเนื่องตลอดทั้งป 2546 ซึ่งภาวะอัตราดอกเบี้ยต่ํานี้มีสวนชวยสนับสนุนการใชจายของภาคเอกชน โดยเฉพาะการใชจายในสินคาคงทน และลดภาระตนทุนกูยืมของภาคธุรกิจ ทั้งนี้ ภาวะ การปลอยสินเช่ือของธนาคารพาณิชยปรับตัวดีขึ้น ชัดเจนในปน้ี โดยสินเช่ือที่ปลอยสูภาคอุตสาหกรรม การคา และการสงออกขยายตัวตอเนื่องทั้งปเปนปแรกนับตัง้แตชวงวิกฤตเศรษฐกิจ ขณะทีสิ่นเช่ือเพ่ือการบริโภคสวนบุคคลและท่ีอยูอาศัยขยายตัวสูงตอเน่ืองจากปกอน

เงินบาทโนมแข็งคาขึ้นในป 2546 โดยทั้งปเฉลี่ยอยูที่ 41.50 บาทตอดอลลาร สรอ. หรือแข็งคาขึ้นรอยละ 3.6 จากคาเฉล่ียในป 2545 การแข็งคาของเงินบาทดังกลาวเปนผลจากปจจัยทัง้ภายนอกและภายในประเทศ ที่สําคัญไดแก การออนคาของเงินดอลลาร สรอ. เนื่องจากความกังวลเก่ียวกับปญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดและการขาดดุลการคลังของสหรัฐฯ และความเช่ือม่ันของนักลงทุนตอเศรษฐกิจไทย ซ่ึงสะทอนไดจาก การปรับตัวสูงขึ้น ถึงรอยละ 116.6 ของดัชนีตลาด หลักทรัพยไทยและการปรับเพ่ิมอันดับความนาเช่ือถือของไทยโดยสถาบันจัดอันดับในตางประเทศหลายแหง อยางไรก็ตาม ในชวงไตรมาสที่ 3 ธปท. พบวาการแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็วของเงินบาทมิไดเปนผลจากปจจัย พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจเทานั้น หากมาจากการเก็งกําไรของนักลงทุนในตลาดการเงินดวย ดังนั้ น ธปท . จึงไดออกมาตรการปองปรามการเก็งกําไรคาเงินบาท ในวันที่ 11 กันยายน และ 14 ตุลาคม 2546 ซ่ึงก็ไดผลเปนที่นาพอใจ

เสถียรภาพเศรษฐกิจอยูในเกณฑดีตลอดทั้งป 2546 อัตราเงินเฟอทั่วไปเฉล่ียอยูที่รอยละ 1.8 สูงขึ้นจากรอยละ 0.7 ในปกอนตามการเรงตัวของราคาอาหารสดและพลังงาน ขณะที่ อัตราเงินเฟอพ้ืนฐานเฉล่ียอยู ท่ี รอยละ 0.2 ลดลงเล็กนอยจากรอยละ 0.4 ในปกอน

ตามคาเชาบานที่โนมลดลงตอเนื่องเปนสําคัญ สวนอัตราการวางงานมีเพียงรอยละ 2.2 และหนี้สาธารณะลดลงมาอยูต่ํากวารอยละ 50 ของผลิตภัณฑมวลรวม ในประเทศ (GDP) ดานตางประเทศ ดุลบัญชีเดินสะพัดยังคงเกินดุลจากทั้งดุลการคาและดุลบริการ เงินโอน และรายได สงผลใหทางการสามารถชําระคืนหนี ้กองทุ น ก าร เงิน ระห ว างป ระ เท ศ (IMF Package) กอนกําหนดไดถึงเกือบ 2 ป อนึ่ง แมเม่ือไดชําระหนี้กอนกําหนดดังกลาวแลว ระดับทุนสํารองระหวางประเทศของไทยก็ยังอยูในเกณฑม่ันคง โดย ณ ส้ินป อยูที่ 42.1 พันลานดอลลาร สรอ. หรือคิดเปนกวา 3 เทาของหนี้ตางประเทศระยะสั้น

แนวโนมเศรษฐกิจป 2547

เศรษฐกิจไทยในป 2547 นาจะขยายตัวสูง ตอเนื่ อง โดยแรงขับ เคล่ือนหลักมาจากการเรงตัว ของการลงทุนภาคเอกชนตามความตองการขยายกําลังการผลิตในประเทศ ประกอบกับแนวโนมการสงออก ที่ ยังแจมใสเพราะเศรษฐกิจของประเทศคูคาสําคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ อยูในวัฏจักรฟนตัว สําหรับการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวดีในชวงที่ผานมานาจะ ปรับตัวเขาสูระดับการขยายตัวปกติ กลาวคือมิได รอนแรงนักแตก็ยังขยายตัวไดตอเนื่อง สวนการใชจายของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุน มีแนวโนมจะเพ่ิมขึ้นและเปนปจจัยเสริมการขยายตัวของเศรษฐกิจ สวนหน่ึงเปนผลจากงบกลาง 135.5 พันลานบาทที่รัฐบาลตั้งไวเปนรายจายเพ่ิมเติมสําหรับปงบประมาณนี ้

การลงทุนที่ ข ยายตัว เพ่ิ มขึ้ นจะส งผลให การนําเขาเรงตัว ดังนั้นแมวาแนวโนมการสงออกจะดีอยู แตก็มีความเปนไปไดท่ีดุลการคาและดลุบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลลดลงในป 2547 ซ่ึงเปนภาวะปกติของเศรษฐกิจในชวงขาขึ้น สวนอัตราเงินเฟอท่ัวไปและอัตราเงินเฟอพ้ืนฐานนาจะทรงตัวอยูในระดับต่ําตอเนื่องเชนเดียวกันกับอัตราการวางงาน

เมื่อเทียบกับป 2546 ปจจัยเสี่ยงดานตางประเทศตอการขยายตัวของเศรษฐกิจในป 2547 ลดลงเพราะ

Page 5:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

1.1.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกชัดเจนขึ้น เปน ลําดับ อยางไรก็ตาม ยังคงมีความจําเปนตองจับตามอง การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในตางประเทศ ตลอดจนปญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐฯ ซ่ึงอาจเพ่ิมแรงกดดันตอคาเงินดอลลาร สรอ. ตลอดจนเงิน สกุลอ่ืน ๆ ในภูมิภาคในระยะตอไป นอกจากนั้น ปญหาเก่ียวกับการกอการรายในระดับนานาชาต ิและความผันผวนของราคาน้ํ ามันโลกยังคงเปน

ปจจัยเส่ียงที่ตอเนื่องมาจากปกอน สวนความเส่ียงจากภายในประเทศ ไดแก ความไมสมดุลที่อาจเกิดขึ้น จากความรอนแรงในบางจุดของระบบเศรษฐกิจ เชน การขยายตัวของภาคอสังหาริมทรัพย และการกอหนี ้เพ่ือการบริโภคของภาคครัวเรือน นอกจากนี้ ในระยะส้ันยังคงมีความเสี่ยงจากการแพรระบาดของโรคไขหวัดนก แต ก็คาดวาทางการจะสามารถควบคุมสถานการณ ดังกลาวไดภายในชวงคร่ึงแรกของป 2547

ทีมเศรษฐกิจมหภาค โทร. 0 2283 5639

Page 6:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

1.2.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

1.2 ภาวะเศรษฐกิจโลก การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกในป 2546 เปนไปอยางคอยเปนคอยไปเนื่องจากไดรับผลกระทบจากสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรักในชวงตนป ขณะที่เศรษฐกิจประเทศหลักเร่ิมฟนตัวแตยังไมสมดุลนัก และการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกยังขึ้นอยูกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ เปนสําคัญ ทั้ งนี้ เม่ือเดือนกันยายน 2546 กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) ไดประมาณการการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกป 2546 และ 2547 ไวที่รอยละ 3.2 และ 4.1 ตามลําดับ

เศรษฐกิจสหรัฐฯ ซ่ึงเปนตัวขับเคล่ือนหลักของเศรษฐกิจโลกเร่ิมแสดงสัญญาณการฟนตัว โดยความเช่ือม่ันของภาคธุรกิจและประชาชนปรับตัวดีขึ้น และสงผลดีตอการบริโภคและการลงทุน อยางไรก็ตาม สหรัฐฯ ยังประสบกับภาวะขาดดุลบัญชีเดินสะพัดและขาดดุลงบประมาณในระดับสูง ในขณะเดียวกันตลาดแรงงานก็ยังคงออนแอและยังมีกําลังการผลิตสวนเกิน อยูมาก ซึ่งสงผลตอความเชื่อมั่นในคาเงินดอลลาร สรอ. และอาจกระทบตอเสถียรภาพโดยรวมของเศรษฐกิจโลก

เศรษฐกิจสหภาพยุโรปยังคงออนแอแมจะมีสัญญาณวาภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ําที่สุดไดผานพนไปแลวและทั้งภาคธุรกิจและประชาชนเร่ิมมีความเช่ือม่ันมากขึ้น แตเศรษฐกิจก็ยังมีแนวโนมท่ีจะฟนตัวอยางชา ๆ และการวางงานยังคงสูงขึ้น ขณะที่การผลิตในภาค อุตสาหกรรมก็ยังไมมีแนวโนมของการปรับตัวดีข้ึนอยางตอเนื่อง (sustained upward trend) นอกจากนี้ เศรษฐกิจของเยอรมนีที่อยูในภาวะถดถอยเปนปที่ 3 ยังเปนอุปสรรคตอการฟนตวัของภูมิภาคน้ี ทั้งนี้ คาดวาอุปสงคจากตางประเทศจะเปนปจจัยชวยเรงการเติบโตของ ภูมิภาคในระยะตอไป

เศรษฐกิจญ่ีปุนปรับตัวดีขึ้นมากในป 2546 โดยมีปจจัยมาจากการฟนตัวของการสงออก การผลิตภาคอุตสาหกรรม และการลงทุน (business fixed investment) กอปรกับภาวะทางการเงินตาง ๆ ที่ดีขึ้น อาทิ ราคา หลักทรัพยและพันธบัตรที่ปรับตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ คาดวาเศรษฐกิจจะคอย ๆ ฟนตัว (moderate recovery) แตยังคง

อยูในภาวะเงินฝด และปญหาโครงสรางภายในประเทศอาจจะเปนอุปสรรตอการเติบโตของเศรษฐกิจในระยะตอไป

เศ รษฐกิจของป ระ เท ศใน ภู มิ ภาค เอ เชี ย ชะลอตัวในชวงตนป 2546 เนื่องจากปจจัยตาง ๆ อาท ิ ความไมแนนอนจากภาวะสงครามระหวางสหรัฐฯ กับ อิรักและผลกระทบจากการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) อยางไรก็ดี เศรษฐกิจของภูมิภาคนี้เร่ิมปรับตัวดีขึ้นในไตรมาสที่ 3 โดยปจจัยผลักดันเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก การอุปโภคบริโภค ภาคเอกชนที่ปรับตัวดีขึ้นเนื่องจากการดําเนินนโยบายการเงินและการคลังแบบผอนคลาย กอปรกับวัฏจักรการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก

ปริมาณการคาโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) ประมาณการวาปริมาณการคาโลก ในป 2546 จะขยายตัวรอยละ 2.9 ชะลอลงเล็กนอยจากรอยละ 3.2 ในป 2545 เนื่องจากชวงคร่ึงปแรกไดรับ ผลกระทบจากสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรัก กอปรกับประเทศในภูมิภาคเอเชียไดรับผลกระทบจากการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS)

อัตราเงินเฟอ แรงกดดันดานราคายังคงต่ําเนื่องจากเศรษฐกิจโลกยังฟนตัวอยางคอยเปนคอยไป ทั้งนี้ อัตราเงินเฟอของประเทศพัฒนาแลวเฉล่ียอยูที่ รอยละ 1.8 ขณะที่อัตราเงินเฟอเฉล่ียของกลุมประเทศกําลังพัฒนาอยูท่ีรอยละ 5.9

อั ต ราดอก เบี้ ย ใน ช วงตน ป 2546 อั ต รา ดอกเบี้ยยังคงโนมลดลง โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับลดอัตราดอกเบี้ย Fed Funds ลงรอยละ 0.25 ในเดือนมิถุนายนมาอยูที่รอยละ 1.0 เนื่องจากมีความเส่ียงวาอาจจะเกิดปญหาเงินฝดขึ้น กอปรกับการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังมีความไมแนนอน สวนธนาคารกลางกลุมประเทศยูโรไดปรับลดอัตราดอกเบี้ยทางการลง 2 คร้ังในเดือนมีนาคมและมิถุนายนรวมรอยละ 0.75 มาอยูที่รอยละ 2.0 เนื่องจากเศรษฐกิจขยายตัวในระดับต่ําและเงิน ยูโรแข็งค าขึ้น เที ยบกับ เงินดอลลาร สรอ . อยางไรก็ตาม ในชวงคร่ึงหลังของป 2546 นักวิเคราะห

Page 7:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

1.2.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

หลายรายมองวาอัตราดอกเบี้ยโลกนาจะถึงจุดต่ําสุดแลว โดยธนาคารกลางออสเตรเลียปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 2 คร้ังในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคมรวมรอยละ 0.5 มาอยูที่รอยละ 5.25 เนื่องจากเศรษฐกิจออสเตรเลีย ที่ป รับตัวดีขึ้นไดสงผลให อัตราเงินเฟอเรงตัวและ

สินเช่ือขยายตัวเร็วเกินไป นอกจากนี้ ธนาคารกลางอังกฤษไดปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.25 มาอยูที่ รอยละ 3.75 เนื่องจากการฟนตัวของเศรษฐกิจและ การขยายตัวของสินเช่ือท่ีแข็งแกรง

สวนเศรษฐกิจตางประเทศ โทร. 0 2283 5146

Page 8:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.1.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

สวนท่ี 2: ภาวะเศรษฐกิจ ป 2546

2.1 ภาคการเกษตร

ภาพรวมป 2546

รายไดเกษตรกรจากการขายพืชผลสําคัญ ขยายตัวรอยละ 25.6 ซ่ึงสูงเปนประวัติการณและ เปนผลจากทั้งดานผลผลิตและราคา ทั้งนี้ผลผลิต พื ชผล เพ่ิ มขึ้ น ร อ ยละ 7.8 ตามผลผ ลิตข าวและ มันสําปะหลังเปนสําคัญ ขณะที่ราคาพืชผลเพ่ิมขึ้น รอยละ 16.5 จากการเพ่ิมขึ้นของราคายางพาราและ ขาวหอมมะลิท่ีมีความตองการในตลาดโลกสูงตอเน่ือง

รายไดเกษตรกรที่ขยายตัวสูงชวยสนับสนุนใหการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวดีในป 2546 ซ่ึงสะทอนไดจากยอดจําหนายรถยนตเพ่ือการพาณิชย และจักรยานยนตในทุกภูมิภาค

ขณะที่รายไดเกษตรกรจากการขายพืชผลขยายตัวอยูในเกณฑดี รายไดเกษตรกรจากการทํา ปศุสัตวและประมงกลับประสบปญหาดานราคา โดยราคาสินคาหมวดปศุสัตวลดลงรอยละ 2.0 จากราคาเนื้อสุกรที่ลดลงมาก เนื่องจากราคาไกที่ตกต่ําในชวงคร่ึงแรกของปไดสงผลใหผูบริโภคหันไปบริโภคไกแทนสุกร สําหรับราคาสินคาหมวดประมงลดลง รอยละ 0.8 ตามราคากุงที่ลดลงรอยละ 6.3 เปนสําคัญ เนื่องจากมีการแขงขันจากผูผลิตรายอ่ืนในตลาดโลก กอปรกับมีผลผลิตกุงขาวออกสูตลาดในประเทศมาก

ราคาสินคาเกษตรโลก (เฉพาะราคาสินคาเกษตร 12 ชนิดท่ีมีผลตอราคาสินคาเกษตรไทย ) อยูในวัฏจักรขาขึ้นตอเนื่องจากปกอนโดยในปนี้ เพ่ิมขึ้นรอยละ 12.5 จากราคายางพารา มันสําปะหลัง และถ่ัวเหลือง เปนสําคัญ

ββββ% 2545ท้ังป ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4

รายไดเกษตรกร 11.1 25.6 22.2 35.0 25.0 22.6

ผลผลิตพืชผล 0.0 7.8 5.6 14.7 5.4 7.4

ราคาพืชผล 11.0 16.5 15.7 17.7 18.6 14.1

รายไดเกษตรกรจากการขายพืชผลสําคัญ2546

ดัชนีราคาสินคาเกษตรของไทยและตลาดโลก

505254565860626466687072

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.100105110115120125130135140145150ดัชนรีาคาสินคาเกษตรหลักในตลาดโลก ( แกนซาย )

ดัชนรีาคาสินคาเกษตรรวมของไทย ( แกนขวา )

2544 2545 2546

1/

หมายเหตุ: 1/ ประกอบดวย ขาว กุง ยางพารา น้าํตาล ขาวโพด มันสําปะหลัง กาแฟ ถ่ัวเหลือง ปาลมน้าํมัน ยาสูบ ฝาย และขาวฟาง ท่ีมา: ธนาคารโลก

ดัชนีผลผลิตและราคาพืชผลสําคัญ

4080

120160200240280320360400

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.80

90

100

110

120

130

140

150ดัชนีผลผลิตพืชผลสําคัญ ดัชนรีาคาพชืผลสําคญั

2544 2545 2546

ดัชนีราคาดัชนีผลผลิต(แกนซาย) (แกนขวา)

หมายเหตุ: คํานวณจากขอมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

รายไดเกษตรกรจากการขายพืชผลสําคัญ

-20

-10

0

10

20

30

40

50

60

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.050100150200250300350400450500550600650ดัชนีรายไดเกษตรกร อัตราการเปลีย่นแปลง

ββββ% ดัชนี

2544 2545 2546หมายเหตุ: จากการคํานวณของธนาคารแหงประเทศไทย

Page 9:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.1.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546 สินคาเกษตรท่ีสําคัญ

ขาวเปลือก ผลผลิตขาวเปลือกในป 2546 เพ่ิมขึ้นทั้งขาวนาปและขาวนาปรัง โดยผลผลิตขาวนาปรังเพ่ิมขึ้นรอยละ 14.2 จากการเรงปลูกเพ่ือทดแทน ขาวนาป 2545/46 ที่เสียหายจากภาวะน้ําทวมในชวงปลายป 2545 กอปรกับสภาพอากาศทีเ่อ้ืออํานวยในปน้ีทําใหผลผลิตขาวนาป 2546/47 ขยายตัวดีในอัตรา รอยละ 6.9

นอกจากน้ี การสงออกขาวของไทยในป 2546 ดีขึ้นเนื่องจากผลผลิตขาวโลกป 2545/46 ลดลงจาก ภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะความแหงแลงอยางรุนแรง ในอินเดีย ดังนั้น ปริมาณการสงออกขาวของไทย จึงเพ่ิมขึ้นรอยละ 3.1 เปน 7.6 ลานตัน โดยเฉพาะปริมาณการสงออกขาวหอมมะลิขยายตัวสูงถึงรอยละ 52.7 ขณะที่มูลคาการสงออกขาวเพ่ิมขึ้นรวมทั้งสิ้นรอยละ 9.1 เปน 76.3 พันลานบาท

มันสําปะหลัง ผลผลิตมันสําปะหลังเพ่ิมขึ้นรอยละ 15.1 เพราะมีการขยายพ้ืนที่เพาะปลูกทดแทนการปลูกขาวโพดเนื่องจากมีแรงจูงใจจากราคาในป 2545 อีกทั้ งยังเปนพืชที่ งายตอการเพาะปลูกและ เก็บเก่ียว ทั้งนี้ พ้ืนที่เพาะปลูกมันสําปะหลังเพ่ิมขึ้นรอยละ 9.1 และ 3.4 ในฤดูเก็บเก่ียว 2545/46 และ2546/47 ตามลําดับ การขยายอุปทานดังกลาวสงผลใหราคา มันสําปะหลังในป 2546 ลดลงรอยละ 15.7

ยางพารา ผลผลิตยางพาราในประเทศเพ่ิมขึ้นรอยละ 2.0 จากการเพ่ิมขึ้นของผลผลิตตอไร สวนราคายางพาราสูงขึ้นตอเนื่องเฉล่ียรอยละ 38.8 ตามความตองการในตลาดโลกที่เพ่ิมขึ้นมาก โดยเฉพาะความตองการจากจีนท่ีอุตสาหกรรมรถยนตขยายตัวสูง

ไก เนื้อ ผลผลิตไก เนื้อเพ่ิมขึ้นรอยละ 3.9 ขณะที่ราคาเพ่ิมขึ้นรอยละ 2.7 ตามความตองการที่ เพ่ิมขึ้น ทั้งจากสหภาพยุโรปที่มีการระบาดของโรค ไขหวัดนกในชวงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม 2546 และญ่ีปุนที่มีความตองการซ้ือไกอยางตอเนื่อง สงผลใหมูลคาการสงออกไกเนื้อเพ่ิมขึ้นจากปกอนรอยละ 13.5

อยางไรก็ดี ในชวงกลางเดือนพฤศจิกายน 2546 โรคไขหวัดนกเร่ิมระบาดในจังหวัดนครสวรรคและแพรขยายไปทั่วทุกภาคของประเทศ ซ่ึงคาดวา เหตุการณดังกลาวจะสงผลกระทบตอการผลิตและ การสงออกไกในป 2547

กุ ง ผลผลิต กุ งในประเทศขยายตั วมาก โดยเฉพาะกุงขาว แตการสงออกกุงประสบปญหา สารตกคางในชวงตนป กอปรกับผลผลิตกุงโลก เพ่ิมขึ้นจากการขยายการเพาะเล้ียง โดยเฉพาะในจีนและเวียดนาม ทําใหราคากุงลดลงอยางตอเนื่องในป 2546 แมวาภาครัฐจะมีมาตรการชวยเหลือดวยการรับจํานํากุงและรณรงคใหมีการบริโภคกุงเพิ่มขึ้น

แนวโนมป 2547 รายได เกษตรกรจากพืชผลสําคัญคาดวา จะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากปจจัยทั้งดานผลผลิตและราคา โดยผลผลิตพืชผลจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเพราะฝนที่ตกนอยในปที่ผานมาทําใหปริมาณน้ําเพ่ือการปลูกขาวนาปรังนอยกวาปกอน สวนราคาพืชผลสําคัญมีแนวโนมที่จะเพ่ิมขึ้นในอัตราที่ชะลอลงเชนกัน เพราะฐานราคาขาวหอมมะลิและยางพาราที่สูงในปกอน แมวาจะยังมีความตองการอยางตอเนื่องจากตลาดตางประเทศ

ราคาประมงและปศุสัตวคาดวาจะลดลง ตามราคากุงและไก เนื่องจากมีการแขงขันจากผูผลิตรายใหม เชน จีนและเวียดนาม ตลอดจนปญหาโรค ไขหวัดนกที่ทําใหราคาไกภายในประเทศตกต่ําตาม อุปสงคที่ลดลงทั้งในและตางประเทศ

โดยรวมราคาสินคาเกษตรท่ีสําคัญของไทย มีแนวโนมทรงตัวจากราคาพืชผลสําคัญที่ เพ่ิมขึ้น ในอัตราที่ชะลอลง ขณะที่ราคาประมงและปศุสัตว ลดลงตอเนื่อง

ราคาสินคาเกษตรโลก (เฉพาะราคาสินคาเกษตร 12 ชนิดท่ีมีผลตอราคาสินคาเกษตรไทย ) คาดวาจะขยายตัวตอเนื่องแตในอัตราที่ชะลอลงจากฐานราคาท่ีสูง

Page 10:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.1.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546 แนวโนมสินคาเกษตรท่ีสําคัญ

ขาว ผลผลิตขาวคาดวาจะทรงตัวใกลเคียงกับป 2546 โดยผลผลิตขาวนาปรังจะลดลงเนื่องจาก มีปริมาณน้ําเพ่ือการเพาะปลูกนอยกวาปกอน แตจะสามารถชดเชยดวยผลผลิตขาวนาปที่ จะเพ่ิมขึ้น เล็กนอย สําหรับราคาขาวในประเทศมีแนวโนมที่จะเพ่ิมขึ้นเล็กนอย สวนหนึ่งจากมาตรการของรัฐบาลที่กําหนดราคารับจํานําขาวสูงกวาปกอนตันละ 200 บาท และการสงออกขาวทีค่าดวาจะยังอยูในเกณฑดี

ยางพารา ผลผลิตยางพาราคาดวาจะเรงตัวตามพ้ืนที่ใหผลผลิตที่เพ่ิมขึ้น ขณะที่ความตองการ ในตลาดโลกซ่ึงมีตอเนื่องจะทําใหราคายางพารา

เพ่ิมขึ้นอีกแตในอัตราที่ชะลอตัวลงจากป 2546 จากฐานราคาท่ีสูงแลว

มันสําปะหลัง ผลผลิตมันสําปะหลังนาจะเพ่ิมขึ้นเล็กนอยตามผลผลิตตอไรท่ีมีแนวโนมเพ่ิมขึ้น อีกทั้งมีความตองการเพ่ือทดแทนธัญพืชในยุโรปท่ี เสียหายจากคล่ืนความรอน ประกอบกับอํานาจซ้ือของยุโรปเพ่ิมขึ้นจากการแข็งคาของเงินยูโรเม่ือ เทียบกับดอลลาร สรอ. ทําใหราคานาจะสูงขึ้นดวย

ไกเนื้อ ผลผลิตและราคาไกเนื้อคาดวาจะ ลดลงจากการระบาดของโรคไขห วัดนกที่ทํ าให อุปสงคทั้งในและตางประเทศลดลง

ทีมวิเคราะหสาขาเศรษฐกิจ 2 โทร. 0 2283 5650

Page 11:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.1.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

เคร่ืองช้ีภาวะสินคาเกษตรกรรมท่ีสําคัญ (หนวย: ลานเมตริกตัน)

ผลผลิตภาคเกษตรของไทย1/ 2542/43 2543/44 2544/45 2545/46 2546/47E ββββ% จากปกอน ขาวเปลือก 24.18 25.85 26.52 26.06 26.84 3.0 นาป 19.02 19.79 20.90 19.63 20.91 6.5 นาปรัง3/ 5.16 6.06 5.62 6.43 5.93 -7.7 ยางพารา 2.20 2.38 2.45 2.46 2.51 2.0 ขาวโพด 4.06 4.16 4.47 4.23 4.16 -1.7 มันสําปะหลัง 19.06 18.40 16.87 18.28 20.40 11.6 ออย 52.86 52.17 62.64 77.56 78.17 0.8 ถ่ัวเขียว 0.24 0.22 0.24 0.22 0.23 6.0 ถั่วเหลือง 0.32 0.31 0.26 0.26 0.27 4.9 ปาลมน้าํมัน 3.26 4.09 4.01 4.00 4.59 14.7 กาแฟ 0.08 0.09 0.05 0.05 0.06 9.9 ผลผลิตพืชผลสําคัญของโลก2/ 2542/43 2543/44 2544/45 2545/46 2546/47E ββββ% จากปกอน ธัญพืชรวม ผลผลติ 1,871.4 1,839.3 1,872.8 1,816.7 1,825.6 0.5 การคา 240.4 232.5 240.3 239.8 224.7 -6.3 ขาว ผลผลติ 408.7 397.9 398.6 380.1 391.3 2.9 การคา 22.8 24.4 27.9 27.2 25.5 -6.3 ขาวโพด ผลผลติ 607.4 588.6 599.3 602.5 610.0 1.2 การคา 73.4 76.5 74.3 78.1 77.0 -1.3 ถั่วเหลือง ผลผลติ 159.9 175.2 184.9 196.8 198.7 1.0 การคา 45.7 53.9 53.6 62.7 67.5 7.7 ยางพารา ผลผลติ 6.9 6.9 7.1 7.4 7.7 5.0 การบริโภค 6.8 7.2 7.0 7.4 7.7 4.6

หมายเหตุ: E = ตัวเลขประมาณการ 1/ ขอมูลพยากรณจากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประจําเดือนมิถุนายน 2546 2/ ตัวเลขประมาณการในเดือนมกราคม 2547 3/ ผลผลิตเปนปปฏิทินโดยป 2546/47 หมายถึงผลผลิตระหวาง 1 มกราคม 2547 – 31 ธันวาคม 2547 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร World Production, Market and Trade Reports, Foreign Agriculture Service, United States Department of Agriculture. LMC Commodity Bulletin, January 2004.

Page 12:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.1.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ราคาสินคาเกษตรท่ีเกษตรกรขายได(หนวย: บาท/ตัน)

2545 2546 ท้ังป ท้ังป ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4

ดัชนีราคารวม 1/ (2538 =100) 116.9 127.8 120.6 128.7 131.7 130.1

υ% 5.8 9.4 6.5 10.0 11.7 9.0 ดัชนีราคาพืชผล 1/

114.3 133.1 124.3 133.1 137.3 137.8

υ% 11.0 16.5 15.7 17.7 18.6 14.1

ขาวหอมมะลิ 5,582 7,477 6,139 7,675 8,439 7,655

υ% 1.5 34.0 23.4 47.6 36.2 9.6

ขาวเปลือกเจาชั้น 1 (5%) 4,973 5,107 5,083 5,146 5,215 4,983

υ% 8.7 2.7 8.2 5.4 0.6 -2.8

ยางพารา 27,103 37,631 35,283 36,220 36,967 42,050

υ% 29.4 38.8 59.6 40.3 21.4 40.0

ขาวโพด 4,050 4,480 4,320 4533 4,613 4,453

υ% 3.9 7.5 6.7 5.0 11.7 6.8

มันสําปะหลัง 1,113 871 933 920 837 793

υ% 33.1 -15.7 -12.2 -17.4 -17.4 -15.6

ดัชนีราคาปศุสัตว 1/ 111.9 109.6 99.1 111.8 115.9 111.6 υ% -1.6 -2.0 -14.8 -2.5 4.7 5.5

ดัชนีราคาปลา และสัตวนํ้า 1/ 130.1 129.0 130.6 131.6 129.7 124.2

υ% -0.9 -0.8 1.4 0.2 -1.5 -3.4

ดัชนีราคาไม 1/ 104.5 108.8 107.6 109.2 109.2 109.2 υ% 0.9 4.2 3.3 4.4 4.4 4.4

หมายเหตุ: 1/ ป 2538 เปนปฐาน ′% คืออัตราการเปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน ที่มา: ดัชนีราคาสินคาเกษตรท่ีเกษตรกรขายไดคํานวณจากขอมูลราคาสินคาเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย และองคการสะพานปลา

Page 13:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.1.6 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ราคาสินคาเกษตรในตลาดโลก 1/ (หนวย: ดอลลาร สรอ./ตัน)

2545 2546 ท้ังป ท้ังป ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4

ดัชนีราคารวม 59.2 66.6 65.9 65.5 65.3 69.9

(2538 =100)

βΧ -0.9 12.5 14.2 13.2 8.0 14.7

ขาวสาร 5% 192 198 199 199 197 196

βΧ 11.0 3.0 3.6 1.0 2.7 5.0

กุง 10,515 11,456 11,797 11,680 11,350 10,997

βΧ -30.3 8.9 1.5 18.8 14.4 2.9

ยางพารา 771 1,056 955 978 1,019 1,273

βΧ 28.4 37.0 50.0 28.9 18.1 54.4

น้ําตาล 152 156 186 159 144 135

βΧ -20.3 2.9 20.9 15.6 0.0 -21.2

มันสําปะหลัง 88 111 95 99 113 139

βΧ 10.9 26.6 16.8 15.3 18.6 54.7

ขาวโพด 99 105 106 107 101 108

βΧ 10.7 6.2 16.6 18.0 -6.2 -0.2

ปาลมน้าํมัน 390 443 445 420 409 499

βΧ 36.6 13.6 32.8 11.4 -0.4 13.9

หมายเหตุ: 1/ เฉพาะสินคาเกษตร 12 ชนิดท่ีมีผลตอราคาสินคาเกษตรไทย ไดแก ขาว กุง ยางพารา นํ้าตาล ขาวโพด มันสําปะหลัง กาแฟ ถั่วเหลือง ปาลมนํ้ามัน ยาสูบ ฝาย และขาวฟาง β% คืออัตราการเปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน ที่มา: ดัชนีราคาสินคาเกษตรในตลาดโลกคํานวณจากขอมูลราคาสินคาเกษตรของธนาคารโลก

a a
a a
a a
Page 14:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.2.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

อัตราการใชกําลังการผลิต *(หนวย: รอยละ)

75.0

74.589.582.665.940.388.064.779.778.9

เฉลี่ยป2538-2539

2546 p25452544อุตสาหกรรม

65.7

66.279.156.055.865.757.563.554.477.4

คร่ึงปแรก

66.9

72.780.057.268.342.457.665.357.170.7

คร่ึงปหลัง

59.3

54.676.250.555.445.156.960.653.871.4

53.5

44.574.836.447.542.152.350.052.177.0

ทั้งป

66.3

69.479.556.662.154.057.664.455.874.0

รวม *

ยานยนตปโตรเลียมเคร่ืองด่ืมเคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสอาหารวัสดุกอสรางผลิตภัณฑเหล็กยาสูบอื่นๆ

ผลผลิตส ินคาอุตสาหกรรม *(อัตราการเปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน)

2546 p25452544อุตสาหกรรม

9.014.1

0.346.05.8

22.115.619.8-1.2-3.20.90.9

24.0

คร่ึงปแรก

8.310.6

-0.321.63.1

13.730.012.64.86.73.36.54.0

คร่ึงปหลัง

6.68.5

-0.419.71.9

20.024.12.80.0

13.424.33.22.3

-1.61.3

0.623.32.213.6-26.8-2.93.99.92.5-3.00.7

ทั้งป

8.712.3

0.032.14.4

17.723.117.02.01.52.13.7

13.2

ไมรวมหมวดยานยนตรวม *

สิ่งทอยานยนตปโตรเลียมเคร่ืองด่ืมเคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสอาหารอัญมณีและเคร่ืองประดับวัสดุกอสรางผลิตภัณฑเหล็กยาสูบอืน่ๆ

2.2 ภาคอตุสาหกรรม

การผลิตภาคอุตสาหกรรมในป 2546 เรงตัวขึ้นจากปกอนทั้งในกลุมสินคาที่ผลิตเพื่อจําหนายในประเทศและในกลุมสินคาที่ผลิตเพ่ือสงออก ทั้งนี้ การขยายตัวของการผลิตแสดงแนวโนมการกระจายตัวไปสูสาขา อุตสาหกรรมตาง ๆ มากกวาเม่ือชวง 2 – 3 ปกอน

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (Manufacturing Production Index: MPI) ขยายตัวรอยละ 12.3 ในป 2546 เรงขึ้นจากรอยละ 8.5 ในปกอน โดยรายไดและความ เช่ือม่ันของผูบริโภคที่ปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่อง รวมทั้ง อัตราดอกเบี้ยที่อยูในเกณฑต่ํา ไดสงผลใหอุตสาหกรรม ที่ผลิตเพื่อจําหนายในประเทศ (สงออกนอยกวารอยละ 30) ขยายตัวดี โดยเฉพาะรถยนตนั่ง รถจักรยานยนต และเครื่องดื่ม ขณะเดียวกันอุปสงคจากตางประเทศที่เรงตัว ก็เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหอุตสาหกรรมที่ผลิตเพ่ือสงออก (สงออกมากกวารอยละ 60) ขยายตัวสูงกวาปกอนมาก โดยเฉพาะการผลิตแผงวงจรรวม อาหาร และผลิตภัณฑยางแทง อยางไรก็ตาม อุตสาหกรรมที่ผลิตทั้งเพ่ือสงออกและจําหนายในประเทศ (สงออกรอยละ 30 - 60) ชะลอตัวจากปกอนเล็กนอยตามการผลิตผลิตภัณฑเหล็กและ ส่ิงทอบางประเภทเปนสําคัญ

อั ต ร า ก า ร ใช กํ า ลั ง ก า ร ผ ลิ ต (Capacity Utilization Rate) ของภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยอยูที่รอยละ 66.3 เพิ่มขึ้นจากรอยละ 59.3 ในปกอน ซ่ึงสอดคลองกับ การเรงตัวของผลผลิตอุตสาหกรรม

รายละเอียดของอุตสาหกรรมที่ผลผลิตขยายตัวดีในป 2546 มีดังนี ้

หมวดยานยนตและอุปกรณขนสงมีการขยายการผลิตในอัตรารอยละ 32.1 ตามการเพ่ิมขึ้นของอุปสงครถยนตทั้ งจากตลาดในประเทศและตลาดสงออก โดยเฉพาะรถยนตน่ังซ่ึงมีรถรุนใหมออกมากระตุนตลาดเปนระยะ ๆ ตั้งแตชวงปลายป 2545 ประกอบกับมี แรงจูงใจผูบริโภคภายในประเทศ ทั้งจากอัตราดอกเบี้ยเงินกูที่อยูในระดับต่ําและกลยุทธสงเสริมการขายของ ผูผลิต เชน การเสนอเงื่อนไขการชําระเงินที่ผอนปรน และการแถมประกันภัย เปนตน ขณะที่การสงออกรถยนต

หมายเหต:ุ * ครอบคลุมสินคา 43 รายการ คิดเปนรอยละ 44.5 ของมูลคาเพิ่มภาคอุตสาหกรรม P เปนขอมูลเบ้ืองตน ท่ีมา: การสอบถามผูประกอบการ

หมายเหตุ: * ครอบคลุมสินคา 45 รายการ ซึง่คิดเปนรอยละ 62.4 ของมูลคาเพ่ิมภาคอุตสาหกรรม P เปนขอมูลเบื้องตน ท่ีมา: การสอบถามผูประกอบการ

64.365.066.462.559.657.457.769.5

0

20

40

60

80

100

ไตรมาสที ่1 ไตรมาสที ่1 -30

-20

-10

0

10

20อตัราการใชกาํลังการผลติ ดัชนีผลผลิตอตุสาหกรรม

2545 2546

4.17.9 10.7 11.4 14.2 14.0

9.5 11.7

∆%รอยละ

การผลิตภาคอุตสาหกรรม

Page 15:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.2.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

เพ่ิมขึ้นในเกณฑสูงจากการขยายโครงการผลิตเพ่ือ สงออก ทั้งนี้ อัตราการใชกําลังการผลิตในอุตสาหกรรมนี้ เพ่ิมขึ้นจากรอยละ 54.6 ในปกอนเปนรอยละ 69.4 ในปนี้

หมวดอิ เล็กทรอนิ กสและเครื่องใช ไฟฟ า ขยายตัวสูงตอเนื่องจากปกอน โดยเฉพาะในชวงคร่ึงหลังของปที่การผลิตแผงวงจรรวมเรงตัวตามวัฏจักรขาขึ้นของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสโลก ประกอบกับเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ซ่ึงเปนตลาดสงออกสําคัญกําลังฟนตัว นอกจากนี้ การผลิตเคร่ืองรับโทรทัศนขยายตัวดีจาก การขยายตลาดสงออกในกลุมประเทศยุโรปและภูมิภาคตะวันออกกลาง อัตราการใช กํ าลังการผลิตของ อุตสาหกรรมน้ีจึงเพ่ิมขึ้นจากรอยละ 55.4 ในปกอน เปนรอยละ 62.1

หมวดเคร่ืองด่ืมขยายตัวรอยละ 17.7 ในป 2546 จากการผลิตเบียรเปนสําคัญ ซ่ึงเปนการเรงตัวตามภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที่ดีขึ้นเปนลําดับ ประกอบกับปจจัยสนับสนุน ไดแก การแขงขันผลิตเบียรราคาถูกเพ่ือรักษาสวนแบงตลาด เฉล่ียท้ังปอัตราการใชกําลังการผลิตของอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอยูที่รอยละ 56.6 เทียบกับรอยละ 50.5 ในปกอน หมวดอาหารขยายตัวดี เกือบทุกสินคา โดย การผลิตน้ํ าตาลและสับปะรดกระปองเพ่ิมขึ้นมาก ตามการขยาย พ้ืนที่ เพ าะป ลูกและสภาพอากาศที ่เอ้ืออํานวย ขณะที่การผลิตอาหารทะเลทั้งแชแข็งและบรรจุกระปองขยายตัวสูงโดยเฉพาะในชวงคร่ึงแรก ของปที่ เกิดสงครามในอิรักและมีการระบาดของโรค ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) ในประเทศ คูแขงสําคัญ ไดแก จีน และเวียดนาม เฉลี่ยทั้งปอัตรา การใชกําลังการผลิตในอุตสาหกรรมนี้อยูที่รอยละ 54.0 เพ่ิมข้ึนจากรอยละ 45.1ในปกอน

หมวดปโตรเลียมขยายการผลิตรอยละ 4.4 ซ่ึงเปนอัตราที่เรงขึ้นจากปกอนตามอุปสงคในประเทศเปนสําคัญ ทั้งนี ้อัตราการใชกําลังการผลิตของอุตสาหกรรมปโตรเลียมเฉลี่ยอยูที่รอยละ 79.5 ในป 2546 เพ่ิมขึ้น เล็กนอยจากรอยละ 76.2 ในป 2545

หมวดสินค าอื่น ๆ มีการผลิต เพ่ิม ข้ึนจาก ปกอนมาก โดยเฉพาะปโตรเคมีขั้นตนและยางแทงที ่ความตองการเพ่ิมขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ในประเทศและประเทศคูคา ประกอบกับมีแรงจูงใจ จากราคาที่ปรับตัวสูงขึ้นดวย อัตราการใชกําลังการผลิต ในหมวดนี้ เฉล่ียอยูที่รอยละ 74.0 สูงกวารอยละ 71.4 ในปกอน

สําห รับ อุตสาหกรรมที่ การผลิตชะลอตัว ในป 2546 ไดแก วัสดุกอสราง และผลิตภัณฑ เหล็ก โดยการผลิตในหมวดวัส ดุกอสรางขยายตั วเพี ยง รอยละ 1.5 ชะลอลงมากจากรอยละ 13.4 ในปกอน ทั้งนี้เปนผลจากฐานป 2545 ซ่ึงสูงเพราะการแขงขันดานราคาและการเรงผลิตเพ่ือรักษาสวนแบงตลาดในกลุมผูผลิตปูนซีเมนตในชวงคร่ึงแรกของปดังกลาว สวนหมวดผลิตภัณฑ เหล็กประสบปญหาราคาวัตถุดิบ สูงขึ้น อยางตอเนื่องขณะที่ผูผลิตไมสามารถปรับขึ้นราคาขายได จึงจําเปนตองลดการผลิตในชวงไตรมาสที่ 2 และ 3 ของป 2546 ทําใหเฉลี่ยทั้งปการผลิตของอุตสาหกรรมนี้ขยายตัวเพียงรอยละ 2.1 เทียบกับรอยละ 24.3 ในปกอน อยางไรก็ตาม ในไตรมาสที่ 4 การผลิตปูนซีเมนตและผลิตภัณฑเหล็กเร่ิมปรับตัวดีขึ้นอยางชัดเจน เนื่องจาก มีความตองการสินคามากในภาคกอสราง

ทีมวิเคราะหสาขาเศรษฐกิจ 1 โทร. 0 2283 5646

Page 16:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.3 ภาคบริการ 2.3.1 ภาคการทองเท่ียวและโรงแรม

ธุรกิจการท องเท่ียวและโรงแรม ถูกกระทบ จากปจจัยช่ัวคราวในชวงตนป 2546 ไดแก สถานการณสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรักและการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) ในภูมิภาคเอเชีย จํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศในไตรมาสที่ 2 จึง ลดลงถึงรอยละ 40.3 จากระยะเดียวกันปกอน อยางไรก็ดี สถานการณ เร่ิมคล่ีคลายในชวงปลายไตรมาสที่ 3 จาก มาตรการควบคุมการแพรระบาดของโรคที่ ไดผล ซ่ึงสะทอนไดจากความเช่ือม่ันของนักทองเที่ยวที่กลับคืนมา นอกจากนี้ มาตรการกระต ุ นการทองเที่ ยว โดยเฉพาะ การสงเสริมไทยเที่ยวไทยในชวงวันหยุดตอเนื่องระหวางการประชุมผูนํ าเศรษฐกิจเอเปคและการเปด เสนทาง สายการบินราคาถูกมีสวนทําใหการทองเที่ยวฟนตัวและกลับสูภาวะปกติในไตรมาสที่ 4 รวมทั้งป 2546 นักทองเที่ยวชาวตางประเทศมีจํานวนทั้งส้ิน 9.95 ลานคนหรือลดลง รอยละ 7.8 จากปกอน ขณะที่รายไดที่เปนเงินตราตางประเทศจากการทองเที่ยวคิดเปนมูลคาประมาณ 323.4 พันลานบาท และอัตราเขาพักโรงแรมเฉล่ียอยูที่รอยละ 57 ต่ํากวาปกอนเล็กนอย โครงสรางนักทองเที่ยวชาวตางประเทศในชวง 9 เดือนแรกของป 2546 ไม เปล่ียนแปลงมากนัก ทั้งนี ้ สถานการณ โรคระบาดที่ เกิดขึ้นทํ าใหนั กทองเที่ ยว ชาวตางประเทศลดลงทุกประเทศ แตโดยเฉพาะอยางยิ่งจากกลุมประเทศเอเชียตะวันออก อยางไรก็ตาม นักทองเที่ยวจากภูมิภาคดังกลาวยังคงมีสัดสวนสูงที่สุดถึงรอยละ 56.5 ของจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติทั้งหมด รองลงมา ไดแก กลุมประเทศยุโรปและอเมริกาในสัดสวนรอยละ 25.3 และ 6.8 ตามลําดับ ในป 2547 ภาวะการทองเที่ยวมีแนวโนมที่จะขยายตัวเพ่ิมขึ้นจากนโยบายของรัฐบาลที่ตองการใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวของเอเชีย (tourism capital of Asia) โดยมุงเนนการเปนจุดหมายการทองเที่ยว ที่ไดคุณภาพมาตรฐานสากลภายในป 2549 อนึ่ง ตลาด การทองเที่ยวไทยยังสามารถขยายตัวไดอีกมากทั้งจาก กลุมนักทองเที่ ยว MICE (Meeting Incentive Convention Exhibition) การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ และตลาด Long Stay ซ่ึงจะสงผลตอเน่ืองใหธุรกิจโรงแรมขยายตัวดวย

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

3,000

3,500

Q1 Q3 Q1-50

-40

-30

-20

-10

0

10

20จํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศอัตราการเปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน

����%พันคน

P

จํานวนนักทองเท่ียวชาวตางประเทศ

P

ท่ีมา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

ไตรมาสที ่1 ไตรมาสที่ 1 2 ไตรมาสที ่1ไตรมาสที ่12543 2544 2545 2546

20

30

40

50

60

70

80

Q1 Q3 Q1

อัตราเขาพัก อัตราเขาพักท่ีปรับฤดูกาลแลวรอยละ

P

อัตราเขาพักโรงแรม

P

ที่มา: แบบสํารวจของธนาคารแหงประเทศไทย 2544 2545 25462543

ไตรมาสที ่1 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1

2546 2545 2546ทั้งป ม.ค.-ก.ย. ม.ค.-ก.ย. ม.ค.-ก.ย. ม.ค.-ก.ย.

เอเชียตะวันออก 7.8 7.4 -15.3 58.1 56.5 - มาเลเซีย 12.4 17.3 -11.5 12.0 12.1 - ญี่ปุน 5.2 -2.7 -19.9 11.6 10.7 - เกาหลี 28.4 26.7 -6.7 6.3 6.8ยุโรป 5.7 3.5 -6.0 23.5 25.3อเมริกา 6.9 1.7 -9.4 6.5 6.8อื่น ๆ 7.3 7.1 -15.6 11.9 11.4หมายเหตุ: �% คืออัตราการเปลีย่นแปลงจากระยะเดยีวกันปกอนที่มา: การทองเท่ียวแหงประเทศไทย

โครงสรางนักทองเที่ยวจําแนกตามสัญชาติของนักทองเที่ยวสวนแบงตลาด (%)

ประเทศ�%

2545

(แกนซาย) (แกนขวา)

Page 17:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ทีมวิเคราะหสาขาเศรษฐกิจ 2โทร. 0 2283 6859

2545 2546P

ท้ังป ท้ังป ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 41. จํานวนนักทองเท่ียวชาวตางประเทศ (ลานคน) 10.8 10.0 2.9 1.4 2 .6 3.1 � � % 7.3 -7.8 -1.6 -40.3 0 .5 5.9 2. รายไดจากการทองเท่ียว (พันลานบาท) 339.7 323.4 92.2 53.3 78 .8 9 9.0 3. อัตราเขาพักโรงแรม (รอยละ) 60.6 57.0 65.4 41.3 56 .9 6 5.1 4. ราคาหองพัก (บาท ) 1,194 1,170 1,334 1,082 1,02 6 1,2 37 หมายเหตุ : P = ขอมูลเบ้ืองตน

ท่ีมา: การทองเท่ียวแหงประเทศไทยและธนาคารแหงประเทศไทย

25 46เคร่ืองชี้ภาวะการทองเท่ียวและโรงแรม

� % คืออัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน

Page 18:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.3.2 ภาคอสังหาริมทรัพย ในป 2546 ธุรกิจอสังหาริมทรัพยขยายตัว ในเกณฑสูงภายหลังจากที่ผานพนจุดตกต่ําที่สุดในป 2543 มาแลว มูลคาการซื้อขายที่ดินทั้งประเทศในป 2546 รวมเปนมูลคา 437.0 พันลานบาท เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 64.6 จาก ปกอน โดยในจํานวนนี้ประมาณรอยละ 25 เปนการเรงการโอนในเดือนธันวาคมกอนที่มาตรการลดหยอนทางภาษี จะสิ้นสุดลง ประกอบกับยังมีการเรงโอนกอน การปรับราคาประเมินที่ดินของกรมธนารักษจะมีผลบังคับใชในป 2547 และการปรับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานครจะสงผลใหราคาบานและที่ดินเพิ่มขึ้นอีกในป 2547

มูลคาการซื้อขายที่ดินและจํานวนธุรกรรมซื้อขาย ที่สูงมากในเดือนธันวาคม 2546 สงผลใหมูลคาการซื้อขาย ที่ ดิ น เฉลี่ ย ต อ เดื อนในปนี้ อยู ในระดับใกล เคี ยงกั บ ป 2539 (36.8 พันลานบาท) ซึ่งเปนปที่มีมูลคาการซื้อขาย สูงสุดกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 และจํานวน ธุรกรรมการซื้อขายเฉลี่ยอยูในระดับใกลเคียงกับป 2538 (74,402 ราย) ซึ่งเปนปที่มีธุรกรรมการซื้อขายสูงสุดกอน เกิดวิกฤตเศรษฐกิจดวย อย า ง ไ รก็ ต าม เ มื่ อ พิ จ า รณา เครื่ อ ง ช้ี ภ าวะอสังหาริมทรัพยอื่น ๆ เชน พ้ืนที่ไดรับอนุญาตกอสรางและที่อยูอาศัยจดทะเบียนเพิ่ม พบวาแมวาเครื่องช้ีเหลานั้นจะขยายตัวสูงแตก็ยังอยูในระดับที่ตํ่ากวาชวงสูงสุดกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ปจจัยสําคัญที่สนับสนุนใหธุรกิจอสังหาริมทรัพยขยายตัวดีตอเนื่องในป 2546 ไดแก ภาวะอัตราดอกเบี้ยตํ่า ที่เอื้อใหผูบริโภคสามารถซื้อที่อยูอาศัยไดงายขึ้น กอปรกับการแขงขันปลอยสินเชื่อที่อยูอาศัยของธนาคารพาณิชย ซึ่ง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2546 มียอดคงคาง 444.9 พันลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 15 จากระยะเดียวกันปกอน แมวาอุปทานจะเขาสูตลาดมากขึ้นในป 2546 แตอุปสงคที่ขยายตัวสูงมีสวนเพิ่มแรงกดดันตอราคาอสังหาริมทรัพย ทั้งนี้ ราคาที่อยูอาศัยโดยรวมสูงขึ้นประมาณรอยละ 10 ขณะที่ราคาที่ดินในบางทําเลก็สูงขึ้น และตนทุนการกอสรางก็ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาวัสดุ กอสราง ทั้งเหล็กและปูนซีเมนต อนึ่ง ดัชนีคาเชาอาคาร

0

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

ลานบาทมูลคาการซ้ือขายที่ดินทั้งประเทศ เฉล่ียตอเดือน

ทีม่า: กรมทีด่นิ และธนาคารแหงประเทศไทย

0

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

45,000

2527 2530 2533 2536 2539 2542 2545

ท่ีอยูอาศัย พาณิชยกรรม อุตสาหกรรมและอ่ืน ๆ

พ้ืนท่ีไดรับอนุญาตกอสรางพันตารางเมตร

ท่ีมา: สํานักงานเขตใน กทม. และเทศบาลในตางจังหวัด

020,00040,00060,00080,000

100,000120,000140,000160,000180,000200,000

2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

บานเดี่ยว บานแฝด ทาวนเฮาส-ตึกแถว แฟลต-อาคารชุด

ท่ีอยูอาศัยจดทะเบียนเพ่ิมหนวย

ท่ีมา: ธนาคารอาคารสงเคราะห

0100200300400500600700

2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

สินเชื่อผูประกอบการ สินเชื่อท่ีอยูอาศัยพันลานบาท

สินเช่ือธนาคารพาณิชย

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 19:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ชุดในยานธุรกิจใจกลางเมืองที่เพิ่มขึ้นไดสรางแรงจูงใจ ใหเกิดความตองการซื้ออาคารชุดเพื่อการลงทุนมากขึ้นดวย

ในป 2547 ธุรกิจอสังหาริมทรัพยมีแนวโนมที่จะชะลอลงในชวงไตรมาสแรกของป สวนหนึ่ง เพราะ มาตรการลดหยอนภาษีไดสิ้นสุดลง ประกอบกับมาตรการของ ธปท. นาจะทําใหการซื้อขายอสังหาริมทรัพยเพื่อ เก็งกําไรชะลอตัวบาง อยางไรก็ตาม แนวโนมการขยายตัวในชวงที่ เหลือของปน าจะยังดีอยูตามความตองการ ที่อยูอาศัยที่ยังคงมีมาก ประกอบกับภาวะอัตราดอกเบี้ย ยังคงเอื้ออํานวย ทั้งนี้ อุปสงคที่คาดวาจะชะลอลงบาง พรอมกับ อุปทานที่จะเขาสูตลาดมากขึ้น โดยสวนหนึ่ งมาจาก โครงการบานเอื้ออาทรนั้น1/ นาจะทําใหแรงกดดันดานราคาลดลง รายละเอียดของแนวโนมอสังหาริมทรัพยแตละประเภทมีดังนี้ บานจัดสรร ธุรกิจบานจัดสรรนาจะขยายตัว ในอัตราที่ชะลอลงจากการชะลอตัวของบานระดับบน ซึ่งขยายตัวไปมากแลวในป 2546 อยางไรก็ตาม ความตองการบานระดับกลางยังคงมีอยูมาก อาคารชุด คาดวาจะมีอุปทานอาคารชุดเขาสูตลาดมากในป 2547 - 2548 เพราะโครงการเปดใหมยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง ซึ่งการขยายตัวของอุปทานดังกลาวนาจะชวยลดอุปสงคสวนเกินที่มีอยูในปจจุบันได อาคารสํานักงาน ธุรกิจอาคารสํานักงานเริ่ม ขยายตัวสูงขึ้นหลังจากที่ไมมีอุปทานเพิ่มในชวง 2-3 ปที่ผานมา ทั้งนี้ เริ่มมีการนําโครงการที่ เคยหยุดกอสราง กลับมาพัฒนาใหมเพื่อตอบสนองตอการขยายตัวของธุรกิจ

1 โครงการบานเอื้ออาทรจะสรางที่อยูอาศัยเพื่อผูมีรายไดนอยจํานวน 1 ลานหนวยภายในระยะเวลา 5 ป (2546-2550) ซึ่งขณะนี้แลวเสร็จและมีการสงมอบอาคารแลว 112 หนวยจากเปาหมายการสรางที่อยูอาศัยทั้งสิ้น 4,175 หนวยในป 2546

ทีมวิเคราะหสาขาเศรษฐกิจ 2 โทร. 0 2283 6859

ดัชนีคาเชา

40

50

60

70

80

90

100

110

120

2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

อาคารสํานักงาน อาคารชุด

(ธันวาคม 2537 = 100)

หมายเหตุ: บริษัท โจนสแลง ลาซาลล (ประเทศไทย) จํากัด

ดัชนีราคาวัสดุกอสราง

708090100110120130140150160170180

2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

ดัชนีราคาวัสดุกอสราง ราคาซีเมนต ราคาเหล็ก

ท่ีมา: กระทรวงพาณิชย

(ป 2538 = 100)

Page 20:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

เคร่ืองชี้ภาวะอสังหาริมทรัพย 2546 2545 2546

ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 มูลคาซื้อขายที่ดนิ (ลานบาท) 265,746 436,998 74,615 85,232 98,205 178,911

∆% 40.5 64.4 38.4 33.9 40.9 128.0

พื้นที่อนุญาตกอสราง (พันตารางเมตร)

13,891 18,539 3,456 4,174 4,939 6,108

∆% 55.1 33.5 9.7 29.7 38.6 54.4

ที่อยูอาศัยจดทะเบียนเพิ่ม (กทม. - ปริมณฑล) (หนวย)

34,035 50,549 8,764 10,359 11,998 19,473

∆% 0.0 48.7 4.9 2.4 53.4 165.2

- บานจัดสรร 14,371 30,088 3,999 5,390 6,189 14,510

- แฟลต/อาคารชดุ 1,971 1,908 220 196 1,017 475

- บานสรางเอง 17,693 18,598 4,545 4,773 4,792 4,488

ปริมาณการจําหนายปูนซีเมนต (พันตนั)

23,020 24,249 6,321 5,921 5,942 6,065

∆% 20.9 5.3 -6.0 10.5 4.1 15.9

สินเช่ือธนาคารพาณิชย 1/ (ลานบาท)

655,463 701,118 2/ 664,176 681,108 701,118 n.a.

∆% - สินเชื่อพัฒนาโครงการ 1/

- สินเชื่อที่อยูอาศยั 1/

9.2 254,906 400,557

9.0 2/ 256,202 2/ 444,916 2/

8.0 251,949 412,227

6.0 253,196 427,912

9.0 256,202 444,916

n.a. n.a. n.a.

หมายเหตุ: 1/ เปนขอมูล ณ วันสิ้นงวด 2/ เปนขอมูล ณ สิ้นเดือนกันยายน 2546 ∆% คืออัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดยีวกันปกอน n.a. = ไมมีขอมูล ท่ีมา: กรมที่ดิน ธนาคารอาคารสงเคราะห กระทรวงพาณิชย และธนาคารแหงประเทศไทย

Page 21:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.6 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.3.3 ภาคการคา ธุรกิจการคาในป 2546 ขยายตัวดีทั้งการคาปลีกและคาสง แมในชวงไตรมาสที่ 2 จะชะลอตัวลงบางเพราะไดรับผลกระทบจากโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) แต ก็ฟ นตัวไดคอนขางเร็ว โดยเฉพาะในชวง ไตรมาสที่ 4 เมื่อประเทศไทยเปนเจาภาพจัดการประชุม ผูนําเศรษฐกิจเอเปคและรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมไทย เที่ยวไทยในชวงวันหยุดตอเนื่องดังกลาว

ปจจัยสําคัญที่สนับสนุนการเติบโตของธุรกิจ การคา ไดแก รายไดเกษตรกรที่อยูในเกณฑสูง การจางงานนอกภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้น ราคาสินคาที่เพิ่มขึ้นไมมาก อัตราดอกเบี้ยที่อยูในเกณฑตํ่า และการขยายตัวของสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคของธุรกิจเอกชนที่ ไม ใชธนาคาร นอกจากนี้ ความสําเร็จของนโยบายสงเสริมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (สินคา OTOP) ของรัฐบาลก็มีสวนชวยกระตุนธุรกิจการคา กอปรกับภาวะเศรษฐกิจที่อยูในเกณฑดีตอเนื่องไดสงผลใหความเชื่อมั่นของทั้งผูบริโภคและผูประกอบการดีขึ้น

แนวโนมธุรกิจการคาในป 2547 นาจะขยายตัว ไดตอเนื่องจากปจจัยสนับสนุนซึ่งคาดวาจะยังอยูในเกณฑดี

ทีมวิเคราะหสาขาเศรษฐกิจ 2

โทร. 0 2283 5607

2546 2545 2546

ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4

ดัชนีมูลคาคาปลีก 202.5 233.0 219.4 222.3 236.1 254.3 ∆% 14.6 15.1 14.2 13.1 15.8 16.9 ดัชนีมูลคาคาสง 162.1 188.0 177.1 176.3 189.2 209.3 ∆% 8.9 15.9 19.0 13.6 13.0 18.3

ดัชนีมูลคาคาปลีกและคาสงของประเทศ

หมายเหตุ: ∆% คืออัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ดัชนีมูลคาคาปลีกทั้งประเทศ (ณ ราคาป 2541)

0

5

10

15

20

25

30

ม .ค . เม .ย . ก .ค . ต .ค . ม .ค . เม .ย . ก .ค . ต .ค . ม .ค . เม .ย . ก .ค . ต .ค . ม .ค . เม .ย . ก .ค . ต .ค .

80

120

160

200

240

280ดัชนี อัตราการเปลี่ยนแปลง

2543 2544 2545 2546

∆% ดัชนี

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ดัชนีมูลคาคาสงทั้งประเทศ (ณ ราคาป 2541)

-10-505

1015202530

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เมย. ก.ค. ต.ค.80

120

160

200

240ดัชนี อัตราการเปล่ียนแปลง

2543 2544 2545 2546

∆% ดัชนี

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย

(แกนขวา) (แกนซาย)

(แกนขวา) (แกนซาย)

Page 22:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.3.7 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.3.4 ภาคโทรคมนาคม ธุ ร กิ จ โท รคมน าคมข ยายตั วสู ง ใน ป 2546 ตามการขยายตัวของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนสําคัญ โดยจํานวนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2546 อยูที่ 21.6 ลานเลขหมายหรือเพิ่มขึ้นรอยละ 30.5 จากระยะเดียวกันปกอน ขณะที่จํานวนเลขหมายโทรศัพท พ้ืนฐานไมเปลี่ยนแปลงมากนัก

การขยายตัวอยางตอเนื่องของบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในชวงสองปที่ผานมามีปจจัยสนับสนุน ไดแก การขยายตัวของเศรษฐกิจและกําลังซื้ อของผูบริโภค นอกจากนี้ การพัฒนาเทคโนโลยีและการสงเสริมการตลาดของผูใหบริการก็มีสวนทําใหความตองการซื้อโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการเสริมเพิ่มขึ้น

อยางไรก็ดี ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่มีแนวโนม ที่จะชะลอตัวเนื่องจากจํานวนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ต อจํ านวนประชากรของไทยอยู ในระดับที่ สู งแล ว ขณะเดียวกันการแขงขันดานการตลาดของผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่จะทวีความรุนแรงขึ้นทั้งดานบริการ และราคาจะผลักดันใหอัตราคาบริการและราคาเครื่อง ลูกขายลดลง สําหรับโทรศัพทพ้ืนฐานนาจะมีการปรับตัวเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันกับโทรศัพทเคลื่อนที่โดยมีการปรับลดคาบริการและเพิ่มบริการเสริม ในป 2547 ธุรกิจโทรคมนาคมนาจะชะลอตัว ตอเนื่องตามการชะลอตัวของโทรศัพทเคลื่อนที่ สวนอัตราคาบริการมีแนวโนมที่จะลดลงจากการแขงขันที่รุนแรง ขณะที่การใหบริการในธุรกิจนี้จะมีรูปแบบหลากหลายขึ้นตามการพัฒนาเทคโนโลยี เชน การสงขอมูลสื่อสารดวยภาพ

ทีมวิเคราะหสาขาเศรษฐกิจ 2 โทร. 0 2283 5650

30.535.557.390.8117.7∆%21.61121.33019.94818.99417.436ผูใชโทรศัพทเคล่ือนท่ี

0.50.72.34.56.4∆%6.5526.5446.5556.5646.513ผูใชโทรศัพทพ้ืนฐานต.ค.Eไตรมาสท่ี 3ไตรมาสท่ี 2ไตรมาสท่ี 1

25462545

จํานวนเลขหมายการใชบริการ

หมายเหตุ: 1/ เปนขอมูล ณ วันสิ้นงวด ∆% คืออัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน E = ตัวเลขประมาณการ ท่ีมา: บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.0

3

6

9

12จํานวนผูใชบริการ (แกนซาย)อัตราการเปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน (แกนขวา)

∆%ผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐาน

2544

พันเลขหมาย

2545 2546

ท่ีมา:บมจ. ทศท คอรปอเรช่ัน

0

3,000

6,000

9,000

12,000

15,000

18,000

21,000

24,000

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.0

30

60

90

120

150

180

210จํานวนผูใชบริการ (แกนซาย)อัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน (แกนขวา)

∆%ผูใชบริการโทรศัพทเคล่ือนท่ี

2544

ท่ีมา:บมจ. ทศท คอรปอเรช่ัน และบมจ. กสท โทรคมนาคม

พันเลขหมาย

2545 2546

Page 23:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.4.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.4 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน

ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (PCI) ขยายตัวรอยละ 5.1 ในป 2546 เทียบกับที่ขยายตัวรอยละ 3.7 ในป 2545 ทั้งนี้ ดัชนีฯ เรงตัวมากในไตรมาสแรกจากเคร่ืองช้ีกลุมยานพาหนะเปนสําคัญ แตชะลอลง ในไตรมาสที่ 2 จากความกังวลเก่ียวกับการแพรระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉี ยบพลัน รุนแรง (SARS) ตอเนื่องมาถึงไตรมาสที่ 3 ตามการชะลอตัวของปริมาณจําหนายรถยนตเน่ืองจากไมมีสินคารุนใหมออกมาจูงใจผู ซ้ือ อยางไรก็ดี ในไตรมาสสุดทายของปการเพ่ิม วันหยุดราชการในชวงการจัดประชุมเอเปคและการเพ่ิมขึ้นของปริมาณจําหนายรถยนตนั่งและรถจักรยานยนต รุนใหมทําใหดัชนีฯเรงตัวขึ้นอีกครั้ง

ปจจัยสนับสนุนการบริโภคในปนี ้ไดแก (1) อํานาจซ้ือของผูบ ริโภคที่ เพ่ิมขึ้นตาม รายไดเกษตรกรที่ขยายตัวสูง และอัตราการวางงาน ที่โนมลดลง รวมทั้งผลประกอบการของธุรกิจและ ผลตอบแทนจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพยที่ดีขึ้น (2) ความเชื่อม่ันของผูบริโภคที่ปรับตัวดีขึ้น ตอเนื่อง ยกเวนในชวงท่ีมีความกังวลเก่ียวกับโรค SARS (3) สภาวะแวดลอมทางการเงินที่เอ้ืออํานวย โดยเฉพาะอัตราดอกเบี้ยที่อยูในระดับต่ําและชองทางการเขาถึงสินเช่ือเพ่ือการบริโภคท่ีสะดวกข้ึน

สําหรับเคร่ืองช้ีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน มีรายละเอียดดังนี ้

เครื่องช้ี สินคาอุปโภคบริโภคท่ัวไป ไดแก การจัดเก็บภาษี มูลค าเพ่ิมจากสินค าอุปโภคบริโภค ที่ขยายตัวรอยละ 15.0 ซ่ึงเปน อัตราที่ เรงตัวขึ้นจาก ปกอนสอดคลองกับยอดคาปลีกทั้งประเทศที่ สูงขึ้น ตอเนื่อง สวนปริมาณการนําเขาสินคาอุปโภคบริโภค ขยายตัวรอยละ 10.4 โดยสินคาในหมวดอาหาร เครื่องดื่ม และเคร่ืองใชไฟฟาขยายตัวสูง

เครื่อ ง ช้ีกลุ ม ยานพาหนะ ได แก ป ริมาณจําหนายรถยนตนั่งที่ขยายตัวสูงถึงรอยละ 42.0 เทียบกับรอยละ 20.8 ในป 2545 ตามกําลังซ้ือท่ีอยูในระดับสูงจากอัตราดอกเบี้ยผอนชําระที่อยูในระดับต่ํามาก ประกอบกับรถยนตรุนใหมที่ เปดตัวในงานมหกรรมยานยนตปลายป 2545 มีมากกวาปกอนๆ ขณะที่ปริมาณจําหนายรถจักรยานยนตแมจะชะลอลงจากรอยละ 42.0 ในป 2545 เหลือรอยละ 28.2 ในปนี้ แตก็ยังเปนอัตราการขยายตัว ท่ีอยูในเกณฑสูง

ดัชนีความเชื่อม่ันของผูบริโภคโดยรวม

60708090

100110120

ม.ค. 2543 ม.ค. 2544 ม.ค. 2545 ม.ค. 2546

ธ.ค.112.4

พ.ย.110.2

ดัชนี > 100 หมายถึง ความเช่ือมั่นของผูบริโภคดีข้ึน

ท่ีมา: มหาวทิยาลัยหอการคาไทย

92

96

100

104

108

112

116

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.

0

2

4

6

8

10

12

ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน1/

ดัชนี χχχχ%

ดัชนี (แกนซาย)

อัตราการเปลี่ยนแปลง (แกนขวา)

5.6%111.1

ไตรมาสท ี่ 2

7.0%111.1

ไตรมาสท ี่ 1

5.1%112.1

2546

3.2%111.2

ไตรมาสท ี่ 325462545

ไตรมาส ท ี่ 4

4.7%115.0

3.7%106.7

อัตราการเป ล่ียนแปลงดัชน ี

2543 2544 2545 2546หมายเหตุ: 1/ ดัชนีสรางจากเครื่องช้ีการอุปโภคภาคเอกชนที่ปรับฤดูกาลแลว 9 รายการ ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 24:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.4.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

เครื่องช้ีกลุมพลังงานไดแก การใชไฟฟ า เพ่ือที่ อยูอาศัยของครัวเรือนซ่ึงขยายตัวรอยละ 6.2 เรงขึ้นจากรอยละ 3.7 ในป 2545 ตามการฟนตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพยและยอดจําหน ายเค ร่ืองใชไฟฟ า ที่ขยายตัวดี อยางไรก็ตาม ปริมาณการใชน้ํามันเบนซินขยายตั วใน อัตราที่ ชะลอลงจากป กอนท ามกลาง ความผันผวนของราคานํ้ามัน เคร่ืองช้ีกลุมเครื่องด่ืม ไดแก ปริมาณจําหนายเบียรและเคร่ืองดื่มไมมีแอลกอฮอลที่ขยายตัวรอยละ 25.1 และ 14.4 เทียบกับรอยละ 1.7 และ 4.5 ในป 2545 ตามลําดับ การเรงตัวดังกลาวสวนหนึ่ งเปนเพราะ ผูประกอบการมีการสงเสริมการขายอยางตอเนื่อง สวนปริมาณจําหนายสุราขยายตัวไมสูงนักเพราะการรณรงคงดด่ืมสุรา โดยเฉพาะในชวงเขาพรรษา

อยางไรก็ดี ความย่ังยืนของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในระยะตอไปนั้นมีประเด็นที่ควรติดตามอยางใกลชิด กลาวคือภาวะหนี้ครัวเรือนท่ีเพิ่มขึ้นควบคูไปกับการขยายตัวของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ทั้งนี้ เพราะความเช่ือม่ันของผูบริโภคที่มีตอเศรษฐกิจ รายได และการมีงานทําซ่ึงปรับตัวดีขึ้นอยางตอเนื่อง และการเขาถึงแหลงเงินกู เพ่ือการอุปโภคบริโภคที่สะดวกขึ้นอาจเปนปจจัยที่ทําใหพฤติกรรมการใชจายของครัวเรือนเปนไปอยางไมระมัดระวังเทาที่ควร อนึ่ง จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติพบวา ในป 2545 หนี้ครัวเรือนมีจํานวนสูงถึง 82,485 บาทตอครัวเรือน เทียบกับ 68,279 บาทตอครัวเรือนในป 2544 หรือสูงขึ้นรอยละ 17.9 ซ่ึงระดับหนี้ดังกลาวคิดเปนประมาณ รอยละ 51.1 ของรายไดที่ใชจายไดจริง (disposible income) ขณะที่ขอมูลของ ธปท. ชี้วาหนี้ครัวเรือนในระบบ ณ ส้ินไตรมาสที่ 3 ป 2546 คิดเปนรอยละ 49.6 ของรายไดที ่ใชจายไดจริงและมีแนวโนมเพิ่มขึ้น

020406080

100120140160

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

รถยนตนั่ง

รถจักรยานยนต

(ป 2538 = 100)

0

25

50

75

100

125

150

175

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

ภาษีมูลคาเพิ่มจากสินคาอุปโภคบริโภคณ ราคาป 2538

ปริมาณการนําเขาสินคาทุน

0

50

100

150

200

250

300

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

สุรา

เคร่ืองดื่มไมมีแอลกอฮอล

เบียร

เครื่องชี้การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน(ปรับฤดูกาลและ เฉลี่ยถอยหล ัง 3 เดือน)

ยานพาหนะสินคาอุปโภคบริโภคท่ัวไป

เคร่ืองด่ืม

ยอดคาปลีก ณ ราคาป 2538

(ป 2538 = 100)

(ป 2538 = 100)

0255075

100125150175200

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

ปริมาณการใชน้ํามันเบนซิน

ปริมาณการใชไฟฟาเพื่อที่อยูอาศัย

พลังงาน(ป 2538 = 100)

32.842.0

48.7 48.8 48.8 48.6 51.1

0102030405060

2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546ธนาคารพาณิชย บรษัิทเงินทุนบรษัิทเครดติฟองซิเอร ธนาคารออมสินธ.อ.ส. ธ.ก.ส.กองทุนหมูบาน บรษัิทเชาซ้ือและอ่ืนๆบรษัิทบัตรเครดติ (ท่ีมิใชสถาบันการเงิน) ยอดหนี้ในระบบผลการสํารวจของสํานักงานสถติแิหงชาติ

สัดสวนตอรายไดท่ีใชจายได จริง (รอยละ )

ขอมูลหน้ีในระบบณ สิ้นไตรมาสที ่3ป 2546

หนี้ครัวเรือนในระบบ

47.5 49.6

ที่มา: : สํานักงานสถิติแหงชาติและธนาคารแหงประเทศไทย

ทีมดัชนีชี้เศรษฐกิจ โทร. 02283 5648

Page 25:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.5.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.5 การลงทุนภาคเอกชน

การลงทุนภาคเอกชนซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 15 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ขยายตัว รอยละ 17.9 ในป 2546 เรงขึ้นจากรอยละ 13.2 ในปกอน ขณะที่ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (PII) ซึ่งจัดทําโดย ธปท. แสดงแนวโนมการเรงตัวตอเนื่อง ทั้งดานเครื่องจักรและอุปกรณและดานกอสราง ซึ่งสอดคลองกับความเชื่อมั่นของ ผูประกอบการที่เพิ่มขึ้นเปนลําดับ นอกจากนี้ มูลคาโครงการที่ไดรับอนุมั ติสงเสริมการลงทุนและเงินทุนของธุรกิจ จดทะเบียนใหมในชวงป 2546 ก็บงช้ีวาบรรยากาศการลงทุนไดปรับตัวดีขึ้นชัดเจนจากปกอน องคประกอบของดัชนีการลงทุนภาคเอกชน ซึ่งไดแก ยอดจําหนายรถยนตเชิงพาณิชย ปริมาณสินคาทุน นําเขา พ้ืนที่รับอนุญาตกอสราง และยอดจําหนายปูนซีเมนต ในประเทศ ตางก็ขยายตัวดี แมวาสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรักและการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน รุนแรง (SARS) ไดสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจนทําใหมีการเลื่อนการลงทุนออกไปบางในชวงครึ่งแรกของป 2546 ขณะที่การฟนตัวทางเศรษฐกิจที่แข็งแกรง และการสงออกที่ขยายตัวดีทําใหภาคอุตสาหกรรมใชกําลังการผลิตมากขึ้น และสงผลตอเนื่องใหเกิดความตองการลงทุนเพื่อขยายกําลังการผลิต โดยอุตสาหกรรมที่ขยายกําลัง การผลิตในปนี้ ไดแก อุตสาหกรรมปูนซีเมนต และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา นอกจากนั้น สภาวะ แวดลอมทางการเงินที่เอื้ออํานวยทั้งในดานแหลงเงินทุน โดยตรงและอัตราดอกเบี้ยตํ่า ตลอดจนผลประกอบการ ที่ดีขึ้นก็เปนปจจัยเสริมศักยภาพในการลงทุนของภาคธุรกิจ อนึ่ง การขยายตัวของดัชนีการลงทุนภาคเอกชน และองคประกอบในป 2546 ที่ชะลอลงเมื่อเทียบกับป 2545 นั้น เปนขอจํากัดทางดานความครอบคลุมของตัวแปรที่ใชเปนองคประกอบของดัชนีฯ กลาวคือ องคประกอบมิไดสะทอนการลงทุนในสวนที่เกิดจากการใชเครื่องจักรและอุปกรณ ที่ผลิตภายในประเทศ ซึ่งมีความสําคัญมากขึ้นเปนลําดับ อยางไรก็ตาม หากคํานึงถึงปจจัยดังกลาวโดยพิจารณา ยอดจําหนายสินคาทุนในประเทศจะพบวามีการขยายตัวดี ทั้งนี้ในชวง 10 เดือนแรกของป 2546 ยอดจําหนายสินคาทุนในประเทศ (ที่เปนฐานในการคํานวณภาษีมูลคาเพิ่ม) ณ ราคาคงที่ขยายตัวรอยละ 6.8 เทียบกับที่หดตัวรอยละ 4.7 ในชวงเดียวกันปกอน

ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน

0

15

30

45

60

75

2542 2543 2544 2545 2546

ป 2538 = 100

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน

ดัชนีดานเครื่องจักร

ดัชนีดานกอสราง

52.7

56.8

55.8Q2

69.059.945.756.844.8ดัชนีดานกอสราง58.5

58.2

2546

63.1

64.8Q4

60.4

60.3Q3

53.7

51.8Q1

53.6ดัชนีดานเคร่ืองจักร51.4

25452546

ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน

เคร่ืองช้ีการลงทุนภาคเอกชนและแนวโนมยอดจําหนายปูนซีเมนตในประเทศ

1,000 ตัน

ลานบาท

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

0

1,000

2,000

3,000

4,000

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

0

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

0

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

ยอดจําหนายรถยนตเชิงพาณิชยคัน

0

1,000

2,000

3,000

4,000

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

พ้ืนที่รับอนุญาตกอสราง1,000 ตารางเมตร

254625452544

34.555.017.8% yoy

254625452544

5.220.95.7% yoy

254625452544

25.147.07.5% yoy254625452544

5.36.4-11.2% yoy

สินคาทุนนําเขา

เครื่องช้ีการลงทุนภาคเอกชน: ดานแหลงเงนิทุน

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ธ.ค. 4615,387

02,0004,0006,0008,000

10,00012,00014,00016,000

2544 2545 2546

การออกตราสารหน้ีใหม(เฉล่ียเคล่ือนท่ี 12 เดือน)

การออกตราสารทุนใหม(เฉล่ียเคล่ือนท่ี 12 เดือน)

ลานบาทลานบาท

ธ.ค. 46549

200

300

400

500

600

700

800

2544 2545 2546

เงินลงทุนนําเขาโดยตรงจากตางประเทศ(เฉล่ียเคล่ือนท่ี 12 เดือน)ลานดอลลาร สรอ.

ธ.ค. 4616,101

0

5,000

10,000

15,000

20,000

2544 2545 2546

ลานบาท

ก.ย. 464,815

4,500

4,600

4,700

4,800

4,900

5,000

2544 2545 2546

สนิเช่ือของธนาคารพาณิชยเพื่อการลงทุน**(เฉล่ียเคล่ือนท่ี 12 เดือน)

ท่ีมา: สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

**สิทธิเรียกรองของธนาคารพาณิชยจากภาคเอกชน ไมรวมสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภค

(% เปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน) 2544 2545 2546มลูคาโครงการขอรับสงเสริมจาก BOI -47.9 41.7 21.5มลูคาโครงการไดรับอนุมตัจิาก BOI -4.6 -39.0 75.8เงนิทุนธรุกจิจดทะเบียนใหม -19.0 1.9 22.9*ยอดจําหนายสินคาทุนในประเทศ ณ ราคาคงที่ 7.6 -3.7 6.8**หมายเหตุ: * ม.ค.-พ.ย. 46 ** ม.ค.-ต.ค. 46 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) กระทรวงพาณิชย ธนาคารแหงประเทศไทย และกรมสรรพากร

ตารางเคร่ืองชีก้ารลงทุนภาคเอกชน

Q1 Q2 Q3 Q4การลงทุนภาคเอกชน 13.2 17.9 19.8 16.8 16.5 18.5ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน 23.4 13.2 13.8 10.7 10.6 17.5ท่ีมา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และธนาคารแหงประเทศไทย

ตารางการลงทุนภาคเอกชน2546

2545 2546 (% เปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน)

Page 26:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.5.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

สําหรับในป 2547 นั้น เครื่องช้ีการลงทุนมีแนวโนมดีจากปจจัยสําคัญ ดังนี้ (1) ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ใน 3 เดือนขางหนาที่สํารวจ ณ เดือนมกราคม 2547 อยูเหนือระดับ 50 ช้ีถึงความเชื่อมั่นของผูประกอบการในประเทศ ที่ปรับตัวดีขึ้นเปนลําดับ (2) มูลคาโครงการที่ไดรับบัตร สงเสริมการลงทุนในชวงครึ่งหลังของป 2546 มีมูลคาประมาณ 105 พันลานบาท (3) อุตสาหกรรมหลายประเภท มีการใชกําลังการผลิตสูงกวาในชวงกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจและเกินระดับรอยละ 70 แลว จึงมีแนวโนมที่จะขยาย การลงทุน อาทิ อุตสาหกรรมแผนเหล็กชุบสังกะสี เหล็กลวด รถจักรยานยนต ยางรถยนต แผงวงจรรวม โลหะสังกะสี เยื่อกระดาษ และปโตรเคมีขั้นตน

ทีมดัชนีช้ีเศรษฐกิจ

โทร. 0 2283 5648

เคร่ืองช้ีการลงทุนภาคเอกชน: เคร่ืองจักรและอุปกรณท่ีผลิตภายในประเทศ

ต.ค. 4630,538

05,000

10,00015,00020,00025,00030,00035,00040,000

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

ยอดจําหนายสินคาทุน ณ ราคาคงท่ี(เฉล่ียเคล่ือนท่ี 3 เดือน)

ลานบาท

Page 27:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.6.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.6 แรงงาน ในป 2546 จํานวนผูมีงานทําเพ่ิมขึ้นจากปกอนรอยละ

2.4 โดยเปนการขยายตัวของแรงงานในภาคนอกเกษตร รอยละ 5.0 สอดคลองกับการขยายตัวสูงของแรงงานใน ภาคอุตสาหกรรม การกอสราง การโรงแรมภัตตาคาร และ การคาปลีกคาสง ขณะทีแ่รงงานในภาคเกษตรหดตวัรอยละ 1.2 เนื่องจากสภาพอากาศแหงแลงและความตองการแรงงาน ในภาคนอกเกษตรที่เพ่ิมขึ้นทําใหแรงงานบางสวนเคล่ือนยายเขาสูภาคนอกเกษตร

เม่ือจําแนกตามภูมิภาคพบวา การจางงานเพ่ิมขึ้น ในทุ กภาคของประเทศโดยเฉพาะก รุง เทพฯ ส วนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตราการวางงานลดลงมากที่ สุด สวนหนึ่ ง เพราะแรงงานเค ล่ือนยายเข ามาทํ างานในภาค อุตสาหกรรมและบริการท่ีอยูในกรุงเทพฯ และปริมณฑล

เม่ือพิจารณาการจางงานภาคเอกชนจากเคร่ืองช้ี รายเดือน ณ ส้ินป 2546 จํานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคมมีจํานวนทั้งส้ิน 7.43 ลานคน เพ่ิมขึ้นจากสิ้นป 2545 ประมาณ 5 แสนคนหรือรอยละ 7.7 สะทอนภาวะการจางงาน ภาคเอกชนในระบบ (formal sector) ที่ขยายตัวดีตอเนื่อง

อนึ่ ง ประเด็นด านแรงงานที่ จํ าเปนตองติดตาม ในระยะตอไปคือตลาดแรงงานจะเริ่มตึงตัวและอาจสราง แรงกดดันตอคาจางแรงงานเมื่อใด ทั้งนี้ จํานวนผูมีงานทํา ที่ ข ยายตั ว สู งต ามภาวะการฟ น ตั วของเศรษฐ กิจทํ าให อัตราการว างงานอ ยู ใน ระดับ ต่ํ าที่ สุ ดนั บตั้ งแต ป 2541 เปนตนมา โดยในป 2546 อัตราการวางงานอยูที่รอยละ 2.2 ลดลงจากรอยละ 2.4 ในป 2545 ซ่ึงเทากับคาเฉล่ียของชวง ป 2533 – 2539 อีกดวย แนวโนมดังกลาวประกอบกับอัตรา การทํางานต่ํากวาระดับที่ลดลงและการประกาศหาคนเพ่ือบรรจุตําแหนงงานวางที่ เ ร่ิมสูงขึ้นแสดงวาตลาดแรงงานนาจะ ตึงตัวขึ้นในระยะตอไป อยางไรก็ดี ในระยะที่ผานมายังไมมี แรงกดดันตอคาจางแรงงานเพราะระบบเศรษฐกิจยังมีแรงงานสวนเกินในภาคเกษตรซ่ึงสามารถเคล่ือนยายไปทํางานในภาค นอกเกษตรได

βΧ

จํานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคมลานคน

ที่มา: สํานักงานประกันสังคม

-2

0

2

4

6

8

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.-5

0

5

10

15

20

จํานวนผูประกันตน อัตราการเปลีย่นแปลง (แกนขวา)2544 2545 2546

หมายเหตุ: ต้ังแตเดือนเมษายน 2545 สํานกังานประกันสงัคมขยายความคุมครองระบบประกนัสังคม สูสถานประกอบการที่มีลูกจางต่ํากวา 10 คน ทําใหอัตราการขยายตัวของจํานวนผูประกันตน ในชวงเดือนเมษายน 2545 – มีนาคม 2546 สูงกวาปกติ

-4

0

4

8

12

ม.ค.2545

มี.ค. พ.ค. ก.ค. ก.ย. พ.ย. ม.ค.2546

มี.ค. พ.ค. ก.ค. ก.ย. พ.ย.

ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร ผูมีงานทํา

30313233343536

ม.ค.2545

มี.ค. พ.ค. ก.ค. ก.ย. พ.ย. ม.ค.2546

มี.ค. พ.ค. ก.ค. ก.ย. พ.ย.

จํานวนผูมีงานทําลานคน

����% อัตราการขยายตัวของผูมีงานทํา

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ

0123456

2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

อัตราการวางงาน อัตราการทํางานตํ่ากวาระดับ

0

0.4

0.8

1.2

1.6

2540 2541 2542 2543 2544 2545 25460

0.4

0.8

1.2

1.6

ตําแหนงงานวาง ผูวางงาน (แกนขวา)

ตําแหนงงานวางและผูวางงาน

อัตราการวางงานและอัตราการทํางานต่ํากวาระดับรอยละ

ลานตําแหนง ลานคน

ท่ีมา: กรมการจัดหาแรงงาน

ท่ีมา: สํานักงานสถิติแหงชาติ

ทีมเศรษฐกิจมหภาค โทร. 0 2283 5639

หมายเหตุ: จํานวนผูมีงานทําจะสูงในชวงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม และเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม เพราะเปนฤดูเกษตรและฤดูเก็บเกี่ยว ตามลาํดับ

2.4100 .0รวม4.316 .0อ่ืน ๆ ๆ5.45.5ก อสราง

5.816 .4อุต สาหก รรก รรม5.215 .3ค าปลีก ค าสง te5.36.4โรงแรมภัต ต าค าร er

5.059 .7ภาคนอก เก ษตร-1.240 .3ภาค เกษต ร

อัตราการขยายตัวของผูมีงานทํา ป 2546

สัดสวนผูมีงานทําป 22546

2.53.32.431 .6ภาคต ะวันออก เฉ ียงเหน ือ1.92.02.513 .0ภาค ใต

2.32.64.413 .3ก รุงเทพฯ ฉ ี2.32.01.218 .3ภาค เหน ือ

2.22.42.4100 .0ท ั้งป ระเทศ

1.81.72.423 .8ภาคก ลาง25462545

อัตราการวางงานอัตราการขยายตัวของผูมีงานทํา ป 2546

สัดสวนผูมีงานทําป 2546

ท ี่ม า: สําน ัก งานสถ ิต ิแห งชาต ิ

(หนวย: รอยละ)

ตลาดแรงงานจําแนกตามภาคการผลิตและภูมิภาค

Page 28:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.7.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.7 ระดับราคา

ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไป เพิ่มขึ้นรอยละ 1.8 ในป 2546 เรงตัวขึ้นจากรอยละ 0.7 ในปกอน โดยเปนผลจากการเพิ่มขึ้นของราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่มรอยละ 3.6 และราคาหมวดอื่น ๆ ที่มิใชอาหารรอยละ 0.7 สําหรับดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐาน (ไมรวมราคาอาหารสดและ พลังงาน) เพิ่มขึ้นรอยละ 0.2 ซึ่งยังคงอยูในชวงเปาหมายรอยละ 0 - 3.5 ของนโยบายการเงิน

ปจจัยสําคัญที่ทําใหอัตราเงินเฟออยูในเกณฑตํ่าไดแก

(1) การลดลงอยางตอเนื่องของคาเชาบานในหมวดเคหสถาน สวนหนึ่งเพราะอัตราดอกเบี้ยที่อยูในระดับต่ํา จูงใจใหประชาชนซื้อบานเปนของตนเองแทนการเชา

(2) คาเงินบาทที่แข็งขึ้นจากเฉลี่ย 43.00 บาทตอดอลลาร สรอ. ในป 2545 เปน 41.50 บาทตอดอลลาร สรอ. ในป 2546 สงผลใหราคาสินคานําเขาในรูปเงินบาทลดลง

(3) ภาวะการแขงขันที่รุนแรงขึ้นทําใหผูประกอบการพยายามตรึงราคาสินคาไวเพื่อรักษาสวนแบงการตลาด

(4) การที่รัฐเขามาดูแลราคาสินคาพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีพของประชาชนบางรายการ เชน คาสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน และคาเลาเรียน ทําใหราคาของสินคาในกลุมนี้ ไมสูงขึ้นมาก

อยางไรก็ดี มีราคาสินคาบางหมวดที่เพิ่มขึ้นมากในปนี้ ไดแก สินคาในหมวดอาหารและเครื่องดื่ม โดยเฉพาะกลุมขาวแปงและผลิตภัณฑจากแปงที่เพิ่มขึ้นรอยละ 9.8 ตามความตองการขาวหอมมะลิเพื่อสงออกที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งสินคาในหมวดพาหนะ การขนสง และการสื่อสารที่เพิ่มขึ้นรอยละ 3.1 จากราคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น

โดยรวม อัตราเงินเฟอทั่วไปยังคงอยูในระดับ ที่สูงกวาอัตราเงินเฟอพ้ืนฐาน ซึ่งเปนผลจากการเพิ่มขึ้นของราคาสินคากลุมอาหารสดและพลังงานเปนสําคัญ

ดัชนีราคาผูบริโภค (อัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน)

น้ําหนัก 2545 2546 2546 (รอยละ) ทั้งป ทั้งป ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไป 100.0 0.7 1.8 1.9 1.7 1.9 1.6 หมวดอาหารและเครื่องดื่ม 38.5 0.3 3.6 2.0 4.2 4.4 4.2 หมวดอ่ืน ๆ ที่มิใชอาหาร 61.5 0.8 0.7 1.9 0.4 0.4 0.2 ดัชนีราคาผูบริโภคพ้ืนฐาน 75.3 0.4 0.2 0.3 0.2 0.0 0.1

ที่มา: สํานักดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวงพาณิชย

Page 29:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.7.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ดัชนีราคาผูผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 4.0 ในป 2546 เร งตั วขึ้ น จากรอยละ 1.6 ในปกอน โดยเปนผลจาก การเพิ่มขึ้นของราคาในทุกหมวด ไดแก หมวดผลผลิต เกษตรกรรม หมวดผลิตภัณฑจากเหมือง และหมวด ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมในอัตรารอยละ 10.9 5.8 และ 2.9 ตามลําดับ ทั้งนี้ ราคาในหมวดผลผลิตเกษตรกรรมเพิ่มขึ้นตามราคาขาวเปลือกและยางพาราเพราะผลจากนโยบายของรัฐบาลเปนสําคัญ

สวนสินคาในหมวดผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นตามราคาผลิตภัณฑปโตรเลียม และผลิตภัณฑโลหะและอโลหะ ขณะที่ราคาสินคาในหมวดผลิตภัณฑจากเหมืองเพิ่มขึ้นตามราคากาซปโตรเลียมเหลว กาซธรรมชาติ และแรโลหะ

ดัชนีราคาผูผลิต (อัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอน)

น้ําหนัก 2545 2546 2546 (รอยละ) ทั้งป ทั้งป ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ดัชนีราคาผูผลิต 100.0 1.6 4.0 5.3 4.0 4.0 2.9 ผลผลิตเกษตรกรรม 13.1 10.0 10.9 9.9 12.2 11.5 9.8 ผลิตภัณฑจากเหมือง 1.9 -1.3 5.8 8.1 6.5 6.4 2.5 ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 85.0 0.6 2.9 4.5 2.7 2.7 1.7

ที่มา: สํานักดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวงพาณิชย

ทีมพยากรณและเศรษฐมิติ โทร. 0 2283 6185

Page 30:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.8.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.8 การคาตางประเทศและดุลการชําระเงิน มูลคาการส งออกเพ่ิมขึ้นมากจากปกอนตาม

การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคูคา ประกอบกับ การฟ นตัวของอุตสาหกรรมอิ เล็กทรอนิกสโลกและ การเพ่ิมขึ้นของราคาสินคาเกษตร สวนมูลคาการนําเขาขยายตัวตามอุปสงคในประเทศและการนําเขาวัตถุดิบ เพ่ือผลิตสินคาสงออก โดยรวมดุลการคาเกินดุลสูงขึ้นในปน้ี แตดุลบริการ รายได และเงินโอนเกินดุลลดลงจากปกอนเนื่องจากการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) ไดสงผลกระทบสําคัญตอรายรับการทองเที่ยว อยางไรก็ตาม ดุลการคาที่เกินดุลสูงทําใหดุลบัญชีเดินสะพัดยังเกินดุลเพ่ิมขึ้นจากปกอน สําหรับเงินทุนเคล่ือนยายสุทธิขาดดุลเพ่ิมขึ้นมากเพราะการชําระคืนหนี้ของ ธปท. และ ภาครัฐ ประกอบกับการเพ่ิมสินทรัพยตางประเทศของธนาคารพาณิชย สงผลใหดุลการชําระเงินเกินดุลลดลง จากที่เกินดุลกวา 4 พันลานดอลลาร สรอ. ในปกอนมาอยู ใกลสมดุลในปนี ้

การสงออก การสงออกมีมูลคารวม 78.4 พันลานดอลลาร สรอ.

เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 18.6 จากการขยายตัวของปริมาณรอยละ 10.0 และราคารอยละ 7.9 ปจจัยสําคัญที่ทําใหมูลคาการสงออกขยายตัวสูง ไดแก การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศคูคาสําคัญ โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน และจีน ซ่ึงมีสัดสวนการสงออกรวมกันรอยละ 27.7 และ มูลคาการสงออกไปยังประเทศเหลาน้ันเพ่ิมขึ้นถึงรอยละ 30 ในปนี้ นอกจากนั้น การสงออกสินคาอุตสาหกรรมยังไดรับผลดีจากการฟนตัวของวัฏจักรอิเล็กทรอนิกสโลกและ การขยายตัวของตลาดยานยนตโลก ประกอบกับอุปสงค ตอสินคาเกษตรในตางประเทศก็เพิ่มขึ้น ซ่ึงทําใหการสงออก สินคาเกษตรไดรับประโยชนทั้งดานปริมาณและราคา

รายละเอียดของสินคาสงออกท่ีสําคัญมีดังน้ี

สินคาเกษตร มูลคาการสงออกสินคาเกษตรเพ่ิมขึ้นจากปจจัยดานราคาเปนสําคัญ ทั้งนี้ มูลคาการสงออกยางพาราเพ่ิมขึ้นรอยละ 60.2 ตามการขยายตัวของอุตสาหกรรม ยานยนต โดยเฉพาะในจีน กลุมประเทศอาเซียน และญ่ีปุน

สําหรับมูลคาการสงออกขาวเพ่ิมขึ้นรอยละ 13.7 จากปจจัยดานราคา โดยเฉพาะราคาขาวเจาขาวหอมมะลิในตลาด อาเซียน สวนปริมาณการสงออกขาวไมไดเพ่ิมขึ้นเนื่องจากมีการแขงขันสูง โดยเฉพาะจากอินเดียซ่ึงมีการอุดหนุน การสงออกในชวงคร่ึงแรกของป สําหรับมันสําปะหลัง แมราคาจะลดลง แตป ริมาณการสงออกที่ เพ่ิมขึ้นตาม อุปสงค มัน เสนและมัน อัด เม็ดจากจีน เพ่ือนํ าไปผลิตแอลกอฮอลและจากสหภาพยุโรปเพ่ือไปใชในการเล้ียงสัตว ทําใหมูลคาสงออกเพ่ิมขึ้นรอยละ 26.9 สวนมูลคาการสงออกเป ด ไก แช เย็น แช แข็ ง เพ่ิ มขึ้ น ร อ ยละ 11.7 จากป จจั ย ดานปริมาณ โดยเฉพาะการสงออกไปสหภาพยุโรปซ่ึงเปน ตลาดสําคัญ ขณะที่ราคาลดลงเนื่องจากการแขงขันสูง โดยเฉพาะจากบราซิลและจีนท่ีมีตนทุนการผลิตตํ่ากวา

สินคาประมง มูลคาการสงออกกุงสดแช เย็น แชแข็ง เพ่ิมขึ้นรอยละ 7.9 จากปกอน โดยเปนผลจาก การขยายตัวของปริมาณเปนสําคัญ โดยเฉพาะอุปสงคจากสหรัฐฯ ซ่ึงเปนตลาดหลักและครองสัดสวนการสงออก สินคาประเภทนี้ถึงรอยละ 52.1 อยางไรก็ดี ในชวงปลายป 2546 กลุมชาวประมงกุงของสหรัฐฯ ไดยื่นคํารองขอไตสวน การทุมตลาดกับ 6 ประเทศ ไดแก ไทย อินเดีย เวียดนาม จีน บราซิล และเอกวาดอร สําหรับการสงออกกุงไป สหภาพยุโรปไดรับผลกระทบจากมาตรการตรวจสอบ สารเคมีตกคาง สงผลใหมูลคาการสงออกลดลงถึงรอยละ 66.7 อยางไรก็ตาม สัดสวนการสงออกกุงไปสหภาพยุโรปคิดเปนเพียงรอยละ 0.5 ของการสงออกกุงทั้งหมด และเม่ือวันที่ 27 มิถุนายน 2546 ก็ไดมีการยกเลิกมาตรการตรวจสอบที่ เขมงวดแลว โดยสุมตรวจสอบเพียงรอยละ 10 จากเดิม ที่ตรวจสอบทั้งหมด

สินคาอุตสาหกรรม มูลคาการสงออกสินคา อุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 17.9 และคิดเปนสัดสวน รอยละ 85.8 ของการสงออกรวม ซึ่งใกลเคียงกับปกอน

สินค า ท่ี ใช เทคโน โล ยี ใน การผลิต สู งคิ ด เป น สัดสวนรอยละ 59.4 ของการสงออกทั้งหมดและในป 2546 มูลคาการสงออกขยายตัวรอยละ 18.4 ที่สําคัญไดแก สินคา

Page 31:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.8.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

อิเล็กทรอนิกสซ่ึงขยายตัวรอยละ 18.0 ตามการฟนตัวของ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสโลก โดยเฉพาะคอมพิวเตอรและช้ินสวนและแผงวงจรรวมและช้ินสวน ทั้งนี้ ตลาด สงออกที่สําคัญของสินคาประเภทนี้ ไดแก กลุมประเทศ อาเซียน สหภาพยุโรป และจีนซ่ึงนําเขาเพ่ือใชเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคาสงออกไปประเทศอ่ืนอีกตอหนึ่ง สวน การสงออกไปตลาดสหรัฐฯ ลดลง สําหรับมูลคาการสงออกเครื่องใชไฟฟาขยายตัวรอยละ 13.7 ในปนี้ โดยตลาดที ่ขยายตัวมาก ไดแก สหรัฐฯ สหภาพยุโรป กลุมประเทศ อาเซียน และญ่ีปุน ขณะที่มูลคาการสงออกผลิตภัณฑโลหะสามัญ เพ่ิมขึ้นรอยละ 27.2 โดยเฉพาะการส งออกเหล็ก และเหล็กกลาไปจีนซ่ึงเปนตลาดหลัก เนื่องจากสินคาที่ผลิตภายในจีน ยังไม เพี ยงพอตอความตองการในประเทศ สวนมูลคาการสงออกยานพาหนะและช้ินสวนขยายตัว รอยละ 37.7 โดยตลาดที่สําคัญไดแก กลุมประเทศอาเซียน ออสเตรเลีย และญ่ีปุน มูลคาการสงออกผลิตภัณฑเคมีขยายตัวรอยละ 36.3 ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคูคา อีกทั้งยังเปนชวงวัฏจักรขาขึ้นของอุตสาหกรรม ปโตรเคมี และมูลคาการสงออกผลิตภัณฑพลาสติกขยายตัวรอยละ 24.0 โดยตลาดสงออกสําคัญ ไดแก กลุมประเทศ อาเซียน จีน ฮองกง และสหรัฐฯ

ในกลุมสินคาท่ีใชแรงงานสูง มูลคาการสงออกเส้ือผาสําเร็จรูปเพ่ิมขึ้นเพียงรอยละ 1.6 ในป 2546 เพราะการสงออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ซ่ึงเปนตลาดหลักที่มีสัดสวนการสงออกเกินคร่ึงหนึ่ง หดตัวรอยละ 1.9 เนื่องจากประสบภาวะการแขงขันรุนแรงจากจีนและเวียดนามซ่ึงไดเปรียบดานตนทุนคาแรง อยางไรก็ตาม ตลาดสงออกที่ยังขยายตัวไดอยูคือ สหภาพยุโรป สําหรับมูลคาการสงออกอัญมณ ีและเครื่องประดับขยายตัวดีตอเนื่องจากปกอนในอัตรา รอยละ 8.3 โดยเฉพาะการสงออกเคร่ืองเงินไปสหรัฐฯ ซ่ึงสงผลใหไทยมีสวนแบงในตลาดดังกลาวเพ่ิมขึ้น ขณะที่มูลคาการสงออกรองเทาขยายตัวรอยละ 3.4 โดยสวนใหญเปนการสงออกรองเทากีฬาไปสหรัฐฯ

สําหรับสินคาท่ีใชวัตถุดิบในประเทศในการผลิต มูลคาการสงออกอาหารทะเลบรรจุกระปองเพ่ิมขึ้นรอยละ

4.7 จากดานปริมาณเปนสําคัญ สวนมูลคาการสงออกเฟอรนิเจอรและช้ินสวนขยายตัวรอยละ 8.6 โดยตลาดหลักที่ขยายตัวดี คือ สหรัฐฯ ญ่ีปุน และสหภาพยุโรป ขณะที่มูลค าการส งออกน้ํ าตาลขยายตัวจากการเพ่ิมขึ้นของ ทั้งปริมาณและราคา โดยตลาดสงออกที่ขยายตัวดี ไดแก อินโดนีเซีย ญ่ีปุน และรัสเซีย มูลคาการสงออกผลิตภัณฑยางเพ่ิมขึ้นตามการขยายตัวของอุปสงคจากอุตสาหกรรม รถยนตในตางประเทศ และมูลคาการสงออกสับปะรด บรรจุกระปองขยายตัวรอยละ 27.4 เปนผลจากทั้งปริมาณการสงออกที่ เพ่ิมขึ้นและราคาที่สูงขึ้นจากการขาดแคลน วัตถุดิบในตลาดโลก

การนําเขา การนําเขามีมูลคารวมทั้งส้ิน 74.2 พันลานดอลลาร

สรอ. หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 17.1 ในป 2546 โดยเปนผลจากการขยายตัวของปริมาณการนําเขารอยละ 9.3 ตามอุปสงคในประเทศที่ขยายตัวสูงขึ้นและความตองการวัตถุดิบเพ่ือผลิตสินคาสงออก ขณะที่ราคานําเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 7.2

รายละเอียดของสินคานําเขาที่สําคัญมีดังนี้

สินคาอุปโภคบริโภค มูลคาการนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคขยายตัวรอยละ 12.9 ที่สําคัญ ไดแก สินคาไมคงทนประเภทอาหารและเคร่ืองดื่ม เชน ผลิตภัณฑนม ธัญพืช และผักผลไม ซ่ึงขยายตัวโดยรวมในอัตรารอยละ 15.9 ทั้งนี้ สวนหนึ่งเปนผลจากการเปดเสรีสินคาผักผลไมไทย-จีนในเดือนตุลาคม 2546 นอกจากนี้ ยังมีการนําเขาเพ่ิมขึ้นในกลุมสบู ผงซักฟอก และเคร่ืองสําอาง รวมทั้ง เส้ือผาและรองเทา และเภสัชภัณฑ สําหรับสินคา คงทนขยายตัวรอยละ 9.8 จากการนําเขาเคร่ืองใชไฟฟาเปนสําคัญ

วัตถุดิบและก่ึงวัตถุดิบ สินคานําเขาที่ สําคัญ ในกลุมนี้ ไดแก อัญมณีซ่ึงเพ่ิมขึ้นตามการสงออกที่ขยายตัว และเหล็กและเหล็กกลาซ่ึงเพ่ิมขึ้นตามการขยายตัวของ อุตสาหกรรมในประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมรถยนต

สินคาทุน มูลคาการนําเขาสินคาทุนเพ่ิมขึ้นรอยละ 14.9 ตามการขยายตัวของปริมาณการนําเขาในอัตรารอยละ 11.7 เปนสําคัญ อนึ่ง แมวาในปนี้จะมีการนําเขาคอมพิวเตอร

Page 32:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.8.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

สําเร็จรูปลดลงรอยละ 3.6 แตการนําเขาช้ินสวนคอมพวิเตอรขยายตัวสูงถึงรอยละ 33.5 และการนําเขาแผงวงจรรวม และช้ินสวนก็เพ่ิมขึ้นสอดคลองกัน สวนมูลคาการนําเขาเครื่องจักรกลและส วนประกอบขยายตัวรอยละ 23.0 โดยเฉพาะเคร่ืองจักรที่ใชในอุตสาหกรรมประกอบรถยนต กอสราง กระดาษ ขนสงและส่ือสาร อาหาร และโลหะ รวมทั้งเครื่องจักรที่ใชในสํานักงาน สําหรับมูลคาการนําเขา เครื่ องจักรไฟฟ าและส วนประกอบ ซ่ึ งส วนใหญ ใช ใน อุตสาหกรรมอิ เล็กทรอนิ กส ขยายตั วรอยละ 6.3 สอดคลองกับการฟนตัวของวัฏจักรอิเล็กทรอนิกสโลก ในชวงคร่ึงหลังของป นอกจากนี้ ยังมีการนําเขาเคร่ืองบินเพ่ือการพาณิชยจํานวน 2 ลํา ซ่ึงรวมเปนมูลคาประมาณ 400 ลานดอลลาร สรอ. อีกดวย

รถยนตและสวนประกอบ มูลคาการนําเขารถยนตและสวนประกอบเพ่ิมขึ้นรอยละ 36.7 โดยสวนใหญเปนการนาํเขาแชสซีส ตัวถัง และยางรถยนต

นํ้ามันดิบ มูลคาการนําเขาน้ํ ามันดิบขยายตัว รอยละ 23.7 ตามราคาที่สูงขึ้นเปนสําคัญ ทั้งนี้ ราคานําเขาเฉลี่ยในป 2546 อยูที่ 26 ดอลลาร สรอ. ตอบารเรลเทียบกับ 22 ดอลลาร สรอ. ตอบารเรลในปกอน ขณะที่ปริมาณนําเขาเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 4.1

ดุลการคา ดุลบริการฯ และดุลบัญชีเดินสะพัด แมวาการนําเขาจะขยายตัวคอนขางสูงในป 2546

แตการสงออกที่ขยายตัวสูงกวาสงผลใหดุลการคาเกินดุล เพ่ิมขึ้นจาก 2.7 พันลานดอลลาร สรอ. ในป 2545 เปน 4.2 พันลานดอลลาร สรอ. ในปนี้ สวนดุลบริการ รายได และ เงินโอนเกินดุลลดลงจาก 4.3 พันลานดอลลาร สรอ. เปน 3.8 พันลานดอลลาร สรอ. เนื่องจากรายรับไดรับผลกระทบสํ าคั ญ จ ากส ถ าน ก ารณ โ รค SARS ที่ ทํ าให จํ าน วน นักทองเที่ยวชาวตางประเทศลดลงจากปกอนถึงรอยละ 7.8 ประกอบกับผลประโยชนจากการลงทุนด าน รับ โดยเฉพาะของภาคทางการก็ลดลงดวยจากอัตราผลตอบแทนที่ลดลง ขณะที่ดานจายกลับสูงขึ้นเนื่องจากรายจายทองเที่ยวตางประเทศของคนไทยยังเพ่ิมขึ้นรอยละ 5.8 แมวาจํานวนนักทองเที่ยวขาออกจะลดลงรอยละ 4.4 นอกจากนั้น

ผลประโยชนจากการลงทุนดานจายโดยรวมก็เพ่ิมขึ้นจาก ปกอนจากการเพ่ิมขึ้นของรายจายดอกเบี้ยและการสงกลับกําไรและเงินปนผลของภาคเอกชน แมวาในขณะเดียวกันรายจายดอกเบี้ยภาคทางการจะลดลงจากการชําระคืนเงินกู IMF Package กอนกําหนดก็ตาม

อยางไรก็ดี การเกินดุลการคาที่ เพ่ิมขึ้นมากกวา การลดลงของดุลบริการฯ ทําใหดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล เพ่ิมขึ้นจาก 7.0 พันลานดอลลาร สรอ. ในปกอนเปน 8.0 พันลานดอลลาร สรอ. ในปนี้

เงินทุนเคล่ือนยายสุทธิ

สําหรับเงินทุนเคลื่อนยายสุทธิขาดดุล 8.6 พันลานดอลลาร สรอ. ซ่ึงเปนการขาดดุลเพ่ิมขึ้นจาก 4.2 พันลานดอลลาร สรอ . ในป 2545 โดยเปนผลจากการชําระคืน หนี้ตางประเทศของภาคทางการเปนสําคัญ ประกอบกับธนาคารพาณิชยก็มีการถือสินทรัพยตางประเทศเพ่ิมขึ้นดวย รายละเอียดมีดังนี ้

เงินทุนภาคเอกชนขาดดุล 8.8 พันลานดอลลาร สรอ. ซ่ึงเปนการขาดดุลเพ่ิมขึ้นจากปกอน โดยภาคธนาคารเปล่ียนจากที่เคยเกินดุลจํานวน 1.8 พันลานดอลลาร สรอ. ในป 2545 เปนขาดดุล 2.4 พันลานดอลลาร สรอ . ตาม การเพ่ิมขึ้นของสินทรัพยตางประเทศของธนาคารพาณิชยจํานวน 1.6 พันลานดอลลาร สรอ . เทียบกับในปกอนที่ธนาคารพาณิชยลดสินทรัพยตางประเทศลงเปนจํานวน ถึง 3.6 พันลานดอลลาร สรอ. ทั้งนี้ การเพ่ิมขึ้นของสินทรัพย ตางประเทศดังกลาวเปนผลจากการทําธุรกรรมเงินตรา ตางประเทศลวงหนา (swap) กับ ธปท . เปนสําคัญ สวน การชําระหนี้ของกิจการวิเทศธนกิจอยูในระดับใกลเคียงกับปกอน สําหรับภาคธุรกิจท่ีไม ใชธนาคารยังคงขาดดุล ในระดับสูงคือ 6.4 พันลานดอลลาร สรอ. แตก็นับวาขาดดุล ลดลงจาก 7.5 พันลานดอลลาร สรอ. ในปกอน โดยเงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะทุนเรือนหุน (equity investment) เนื่องจากในปกอนบริษัทตางชาติในไทยไดปรับเปล่ียนโครงสรางโดยแปลงทุนเปนหนี้ จึงทําใหมีการไหลออกของทุนเรือนหุนจํานวนสูง ประกอบกับในปนี้ตางชาติลงทุนในอุตสาหกรรมโลหะและยานยนตเพ่ิมขึ้น

Page 33:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.8.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ดวย สวนเงินลงทุนในหลักทรัพยเปล่ียนจากที่ขาดดุล 1.1 พันลานดอลลาร สรอ. ในปกอนเปนเกินดุลเล็กนอยในปนี ้เนื่องจากมีเงินทุนไหลเขามาลงทุนในหลักทรัพยตราสารทุน (equity securities) ประกอบกับการไถถอนตราสารหนี ้ที่ครบกําหนดลดลงจากปกอนมาก นอกจากนี้ การชําระคืนเงินกูนอกเครือ (other loans) ลดลงจาก 2.2 พันลานดอลลาร สรอ. ในปกอนเหลือเพียง 1.5 พันลานดอลลาร สรอ. โดยเปนการชําระคืนสุทธิทั้ งตามกําหนดและกอนกําหนด ของกลุมธุรกิจเคมีภัณฑ เค ร่ืองจักรและอุปกรณขนสง และการคาผลิตภัณฑนํ้ามันเปนสําคัญ

สวนเงินทุนภาคทางการ (รวม ธปท.) เกินดุล 0.2 พันลานดอลลาร สรอ. โดย ธปท. เกินดุลสุทธิจํานวน 2.6 พันลานดอลลาร สรอ. แมวาจะมีการชําระคืนเงินกู IMF Package จํานวน 4.9 พันลานดอลลาร สรอ. ก็ตาม ขณะที ่

ภาครัฐขาดดุล 2.4 พันลานดอลลาร สรอ. สวนใหญจาก การชําระคืนเงินกูระยะยาวตามการปรับโครงสรางหนี้ของทั้งรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งมีการ refinance เงินกูโครงการตาง ๆ โดยสวนใหญเปนเงินกูจากธนาคารเพ่ือความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (JBIC)

ดุลการชําระเงิน

แมวาดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลในระดับสูง แตเงินทุนเคล่ือนยายสุทธิที่ขาดดุลเพ่ิมขึ้นมากจากปกอน ทําใหดุลการชําระเงินเกินดุลเพียง 143 ลานดอลลาร สรอ. ในปนี้ เทียบกับที่ เกินดุล 4.2 พันลานดอลลาร สรอ. ในป 2545 อยางไรก็ดี การเกินดุลดุลการชําระเงินดังกลาว สงผลใหเงินสํารองระหวางประเทศ ณ ส้ินป 2546 เพ่ิมขึ้นจาก ณ ส้ินป 2545 เปน 42.1 พันลานดอลลาร สรอ. หรือเทียบเทากับการนําเขา 6.8 เดือน โดยมียอดคงคางการซ้ือ เงินตราตางประเทศลวงหนาสุท ธิจํานวน 5.2 พันลานดอลลาร สรอ.

ทีมวิเคราะหดุลการชําระเงิน โทร. 0 2283 5636

Page 34:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.8.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2545 2546ทั้งป ครึ่งปแรก ครึ่งปหลัง ทั้งป1/ ครึ่งปแรก1/ คร่ึงปหลัง1/

สินคาออก เอฟ.โอ.บี. 66,092 31,015 35,077 78,416 37,034 41,382↵% 4.8 -2.0 11.6 18.6 19.4 18.0สินคาเขา ซี.ไอ.เอฟ. 63,353 29,854 33,499 74,214 34,496 39,718↵% 4.6 -4.3 14.0 17.1 15.5 18.6ดุลการคา 2,739 1,161 1,578 4,202 2,538 1,664ดุลบริการ รายได และเงินโอน 4,269 1,438 2,831 3,773 1,191 2,582ดุลบัญชีเดินสะพัด 7,008 2,599 4,409 7,975 3,729 4,246เงินทุนเคลื่อนยายสุทธิ -4,181 -672 -3,509 -8,604 -4,925 -3,679 เอกชน -5,703 -3,440 -2,263 -8,855 -4,659 -4,196 - ธนาคาร 1,776 904 872 -2,446 -2,386 -60 ธนาคารพาณิชย 3,401 1,355 2,046 -1,298 -1,981 683 กิจการวิเทศธนกิจ -1,625 -451 -1,174 -1,148 -405 -743 - ธุรกจิท่ีไมใชธนาคาร -7,479 -4,344 -3,135 -6,409 -2,273 -4,136 ทางการ -2,510 -583 -1,927 -2,418 -381 -2,037 ธปท. 4,032 3,351 681 2,669 115 2,554คลาดเคลื่อนสุทธิ 1,407 853 554 772 143 629ดุลการชําระเงินรวม 2/ 4,234 2,780 1,454 143 -1,053 1,196หมายเหตุ: 1/ ขอมูลเบื้องตน 2/ ขอมูลจริง ↵% คืออัตราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปกอนที่มา: กรมศุลกากร และธนาคารแหงประเทศไทย

ตารางดุลการชําระเงิน(หนวย: ลานดอลลาร สรอ.)

Page 35:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.9.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.9 หนี้ตางประเทศ ณ ส้ินป 2546 ยอดคงค างหนี้ ต างประเทศ มีจํานวนรวมทั้งส้ิน 52.3 พันลานดอลลาร สรอ. ลดลงจาก 59.5 พันลานดอลลาร สรอ. ณ ส้ินปกอน โดยในปนี ้มีการชําระหนี้ตางประเทศรวมทั้งส้ิน 9.6 พันลานดอลลาร สรอ. แตเนื่องจากเงินเยนมีคาแข็งขึ้นทําใหเม่ือตีราคา หนี้ตางประเทศใหอยูในรูปดอลลาร สรอ. ณ ส้ินป 2546 หนี้ตางประเทศรวมจึงลดลงเพียง 7.2 พันลานดอลลาร สรอ. โดยรายละเอียดสรุปไดดังนี ้

หนี้ภาคเอกชน เหลือยอดคงคางจํานวน 35.3 พันลานดอลลาร สรอ. ลดลง 0.8 พันลานดอลลาร สรอ. สวนใหญเปนการลดลงของหนี้ระยะส้ันของกิจการวิเทศธนกิจและหนี้ระยะยาวของธนาคารพาณิชย ในขณะที่ธุรกิจที่ไมใชธนาคารมียอดหนี้คงคางเพิ่มขึ้น 0.2 พันลานดอลลาร สรอ. จากการนําเขาเงินกูระยะส้ัน

หนี้ ภ าคทางการ มี ยอดคงค างจํ านวน 17.0 พันลานดอลลาร สรอ. ลดลง 6.4 พันลานดอลลาร สรอ. โดยเปนผลมาจากการชําระคืนหนี้ IMF package ของ ธปท. จํานวน 4.9 พันลานดอลลาร สรอ. และการลดลงของหนี้ภาครัฐบาลอีก 1.5 พันลานดอลลาร สรอ. จาก การชําระคืนเงินกูทั้งตามกําหนดและกอนกําหนดของ รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งการไถถอนพันธบัตร เงิน เยนและบัตรเงินฝากที่ครบกําหนดของกองทุน เพ่ือการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) ประกอบกับธนาคารพาณิชยไทยไดไปซื้อคืนตราสารหนี้ระยะส้ัน Euro Commercial Paper (ECP) และตราสารหน้ีระยะยาว Floating Rate Notes (FRN) ที่ออกโดยรัฐบาลไทยดวย

โครงสรางหน้ีตางประเทศ

สัดสวนหนี้ระยะยาวตอหนี้ระยะส้ัน ณ ส้ินป 2546 อยูที่รอยละ 78:22 ลดลงจากรอยละ 80:20 ในปกอน สําหรับสัดสวนหนี้ภาคเอกชนตอหนี้ภาคทางการอยูที่รอยละ 68:32 สูงขึ้นมากจากรอยละ 61:39 ในปกอน เนื่องจากการชําระคืนหนี้ของภาคทางการ

ทีมวิเคราะหดุลการชําระเงิน โทร. 0 2283 5625

2544 2545 2546 เทยีบกับส้ินป 2545

1. ภาคทางการ 28,306 23,305 16,946 -6,359 1.1 ธปท. (ระยะยาว) 8,325 4,902 0 -4,902 1.2 ภาครฐับาล 19,981 18,403 16,946 -1,457 ระยะยาว 19,834 18,016 16,561 -1,455 ระยะส้ัน 147 387 385 -22. ภาคเอกชน 39,203 36,154 35,312 -842 ระยะยาว 25,961 24,622 24,315 -307 ระยะส้ัน 13,242 11,532 10,997 -535 2.1 ภาคธนาคาร 9,354 8,136 7,051 -1,085 ระยะยาว 4,334 3,929 3,735 -194 ระยะส้ัน 5,020 4,207 3,316 -891 2.1.1ธนาคารพาณิชย 3,262 2,963 2,796 -167 ระยะยาว 1,765 1,529 1,277 -252 ระยะส้ัน 1,497 1,434 1,519 85 2.1.2 วเิทศธนกิจ 6,092 5,173 4,255 -918 ระยะยาว 2,569 2,400 2,458 58 ระยะส้ัน 3,523 2,773 1,797 -976 2.2 ภาคธุรกิจที่ไมใชธนาคาร 29,849 28,018 28,261 243 ระยะยาว 21,627 20,693 20,580 -113 ระยะส้ัน 8,222 7,325 7,681 356รวม (1+2) 67,509 59,459 52,258 -7,201 ระยะยาว 54,120 47,540 40,876 -6,664 ระยะสั้น 13,389 11,919 11,382 -537สัดสวน (รอยละ) 100.0 100.0 100.0 ระยะยาว 80.2 80.0 78.2 ระยะสั้น 19.8 20.0 21.8สัดสวน (รอยละ) 100.0 100.0 100.0 เอกชน 58.1 60.8 67.6 ทางการ 41.9 39.2 32.4

ยอดคงคางหน้ีตางประเทศ*(หนวย :ลานดอลลาร สรอ.)

* หมายเหต:ุ ยอดคงคางหน้ีตางประเทศรวมผลจากการเปล่ียนแปลงของคาเงิน ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 36:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.10.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.10 การคลัง ตามเอกสารงบประมาณสําหรับปงบประมาณ 2546 รัฐบาลประมาณการรายไดจัดเก็บสุทธิ 825.0 พันลานบาท ขณะที่กําหนดวงเงินงบประมาณรายจาย 999.9 พันลานบาท สงผลใหประมาณการงบประมาณขาดดุลเทากับ 174.9 พันลานบาท อยางไรก็ตาม ปรากฏวาในปงบประมาณดังกลาวรัฐบาลจัดเก็บรายไดจริงสูงเกินคาดเนื่องจากเศรษฐกิจเติบโตดีและมีการปรับปรุงประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีดวย ขณะที่รายจายของรัฐบาลลดลงจากปกอน สวนหนึ่งเพราะอัตราการเบิกจายต่ํากวาเปาหมายที่ตั้งไว รัฐบาลจึงเกินดุลเงินสดในปงบประมาณนี ้ สําหรับปงบประมาณ 2547 รัฐบาลดําเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุลในจํานวนที่ ลดลงเพ่ือ รักษา แรงกระตุนทางการคลังพรอม ๆ กับกรอบความย่ังยืนทาง การคลังระยะปานกลาง โดยกําหนดวงเงินงบประมาณรวมทั้งส้ิน 1,028 พันลานบาท ทําใหประมาณการงบประมาณขาดดุล 99.9 พันลานบาท

อย างไร ก็ ดี ใน ช ว งต น ป งบ ป ระม าณ 2547 กระทรวงการคลังคาดวาจะจัด เก็บรายไดได สูงกว าที ่ประมาณการไวเดิมประมาณ 135.5 พันลานบาท จึงได จัดทํางบประมาณเพ่ิมเติมในจํานวนเดียวกันเพ่ือรักษาแรงกระตุนทางการคลังใหเทากับเม่ือตอนจัดทํางบประมาณ โดยกําหนดรายการคาใชจายในลักษณะงบกลาง 5 รายการ ไดแก (1) เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 33.0 พันลานบาท (2) คาใชจายตามมาตรการพัฒนาและบริหารกําลังคนเพ่ือ รองรับการเปล่ียนแปลง 14.6 พันลานบาท (3) คาใชจาย การปรับเงินคาตอบแทนบุคลากรภาครัฐ 16.6 พันลานบาท (4) คาใชจายเพ่ือการเสริมสรางศักยภาพการแขงขันและ การพัฒนาที่ ย่ังยืนของประเทศ 59.0 พันลานบาท และ (5) เงินอุดหนุนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) เพ่ือดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด 12.3 พันลานบาท

2545 2546ไตรมาสท่ี 1 ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

รายได 845.4 960.6 256.8 81.9 69.0 105.9(υ%) (10.5) (13.6) (25.4) (28.2) (5.9) (39.7)

รายจาย 972.2 938.4 298.3 84.2 83.4 130.6(υ%) (11.0) (-3.5) (24.0) (-2.9) (5.2) (75.7): อัตราการเบิกจายงปม. (%) 89.2 89.1 26.0 7.2 7.1 11.7 (ไมรวมชําระคืนตนเงินกู)

ดุลเงินในงบประมาณ -126.8 22.2 -41.5 -2.3 -14.4 -24.7ดุลเงินนอกงบประมาณ 8.1 12.1 4.0 4.7 -6.6 5.8ดุลเงินสด -118.7 34.3 -37.5 2.4 -21.0 -18.9

: (% ตอ GDP) (-2.2) (0.6) (n.a.)การชดเชยการขาดดุล

กูยืมในประเทศสุทธิ 161.0 45.0 -33.1 -21.2 -11.5 -0.3กูยืมตางประเทศสุทธิ -31.9 -38.9 -3.0 -0.3 -1.7 -1.0ใชเงินคงคลัง -10.4 -40.5 73.6 19.1 34.2 20.2

ยอดคงคางเงินคงคลัง 82.8 123.3 49.7 104.1 69.9 49.7ที่มา: กรมบัญชีกลาง สายบริหารขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย

ฐานะการคลังรัฐบาล

ปงบประมาณ2547

(หนวย: พันลานบาท)

Page 37:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.10.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ฐานะการคลังรัฐบาล

รายได

ในปงบประมาณ 2546 รัฐบาลมีรายไดนําสงสุทธิ 960.6 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปกอนรอยละ 13.6 โดยเปนรายไดภาษีอากร 869.8 พันลานบาท ซ่ึงขยายตัวรอยละ 14.8 จากปกอนตามภาวะเศรษฐกิจที่ ดีขึ้นและการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีที่รวมถึงการขยายฐานภาษี ทั้งนี้รายไดภาษีสําคัญที่เพ่ิมขึ้น ไดแก ภาษีเงินไดนิติบุคคล รอยละ 27.0 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดารอยละ 7.9 และภาษีสรรพสามิตรอยละ 18.6 สวนหนึ่งเพราะมีการจัดเก็บภาษี สรรพสามิตใหม เชน ภาษีจากกิจการโทรคมนาคม เปนตน สวนภาษี มูลค าเพ่ิมขยายตัวเพี ยงรอยละ 2.8 เนื่ องจาก การโอนภาษีมูลคาเพ่ิมใหแก อปท. จํานวน 40.6 พันลานบาท เทียบกับ 16.5 พันลานบาทในปงบประมาณกอน อยางไรก็ด ี

หากไมนับรวมการโอนภาษีใหแก อปท . ดังกลาว ภาษ ีมูลคาเพ่ิมจะขยายตัวรอยละ 18.0 สําหรับในไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2547 รัฐบาลมีรายไดนําสงสุทธิ 256.8 พันลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 25.4 จากระยะเดียวกันปกอน โดยสวนหนึ่งมาจากการขายหุนใหแกกองทนุวายุภักษ 1 จํานวน 70.0 พันลานบาทและนําสงเปนรายไดแผนดิน 25.1 พันลานบาท อนึ่ ง เม่ือ พิ จารณาผลการจัด เก็บรายไดพบวา รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิจํานวน 257.5 พันลานบาท ซ่ึงสูงกวาเอกสารงบประมาณ 71.9 พันลานบาท โดยรายไดภาษีและรายไดที่มิใชภาษีสูงกวาเอกสารงบประมาณ 40.9 และ 31.7 พันลานบาท ตามลําดับ

2545 2546ไตรมาสท่ี 1 ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

รายไดท้ังหมด 845.4 960.6 256.8 81.9 68.9 105.9(χ%) (10.5) (13.6) (25.4) (28.2) (5.9) (39.7)ภาษี 758.0 869.8 219.7 77.8 64.7 77.2

(χ%) (10.7) (14.8) (17.5) (31.3) (3.8) (18.2)- ฐานรายได 279.3 332.6 61.5 21.2 16.6 23.7

(χ%) (10.2) (19.1) (29.5) (43.8) (19.4) (25.7) บุคคลธรรมดา 103.2 111.4 28.7 10.0 9.0 9.7

(χ%) (6.4) (7.9) (19.7) (26.3) (12.9) (20.0)นิติบุคคล 157.2 199.7 32.1 11.2 7.4 13.5(χ%) (12.6) (27.0) (36.3) (64.2) (24.0) (25.4)

- ฐานการบริโภค 362.3 404.3 125.1 43.8 38.6 42.7(χ%) (13.5) (11.6) (15.9) (23.6) (9.1) (15.0)มูลคาเพ่ิม 138.7 142.6 52.8 20.3 15.9 16.6(χ%) (8.8) (2.8) (17.5) (38.3) (12.3) (3.0)สรรพสามิต 210.0 249.1 68.8 22.2 21.6 25.1(χ%) (17.4) (18.6) (15.1) (14.0) (7.1) (24.3)

- ฐานการคาระหวางประเทศ 95.1 109.1 27.8 8.9 8.8 10.1(χ%) (5.2) (14.7) (2.8) (2.7) (-7.6) (14.1)

รายไดอ่ืน ๆ 87.4 90.8 37.1 4.1 4.3 28.8(χ%) (8.1) (3.9) (107.1) (-11.8) (53.0) (173.8)

ที่มา: กรมบัญชีกลาง สายบริหารขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย

รายไดรัฐบาล

2547ปงบประมาณ

(หนวย: พันลานบาท)

Page 38:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.10.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

รายจาย

ในปงบประมาณ 2546 รายจายของรัฐบาลมีจํานวนทั้งส้ิน 938.4 พันลานบาท ลดลงจากปกอนรอยละ 3.5 โดยใน 2 ไตรมาสแรกรายจายลดลงจากระยะเดียวกันปกอน รอยละ 6.5 และ 20.2 ตามลําดับ สวนหนึ่งเน่ืองจากการปฏิรูประบบราชการที่มีการปรับโครงสรางกระทรวง ทบวง กรม ประกอบกับการเปล่ียนแปลงวิธีการเบิกจายเงินอุดหนุนที ่ จัดสรรใหแก อปท. ในลักษณะงบลงทุน อยางไรก็ตาม ในไตรมาสที ่3 และ 4 รายจายเรงตัวขึ้นเนื่องจากมาตรการเรงรัดการเบิกจายของรัฐบาล โดยขยายตวัรอยละ 13.2 และ 2.6 จากระยะเดียวกันปกอน ตามลําดับ สงผลใหอัตราเบิกจายทั้งป งบประมาณเทากับรอยละ 89.1 แตยังต่ํากวาเปาหมายที่ตั้งไวในอัตรารอยละ 92.0

สวนในไตรมาสแรกของป งบประมาณ 2547 รายจายของรัฐบาลมีจํานวน 298.3 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นจากระยะเดียวกันปกอนรอยละ 24.0 อนึ่ง แมวารายจายจะหดตัวรอยละ 2.9 ในเดือนตุลาคม แตก็เรงตวัข้ึนในชวง 2 เดือนหลังของไตรมาส โดยรายจายที่สําคัญ ไดแก รายจายเงินบําเหน็จดํารงชีพ 32.5 พันลานบาท รายจายกองทุนกูยืมเพ่ือการศึกษา 14.7 พันลานบาท และรายจายเพ่ือกองทุนหลักประกัน สุขภาพแหงชาติ 14.8 พันลานบาท สงผลใหอัตราเบิกจาย ทั้ งไตรมาส เท ากับรอยละ 26.0 สู งกว ารอยละ 22.3 ใน ไตรมาสแรกของปงบประมาณกอน

2546 2547 2547ไตรมาสที่ 1 ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

รายจายรวม 972.2 938.4 298.3 84.2 83.4 130.6(υ%) (11.0) (-3.5) (24.0) (-2.9) (5.2) (75.7)รายจายประจํา 761.6 775.2 260.2 73.1 71.7 115.4

(υ%) (11.3) (1.8) (24.6) (-6.4) (8.9) (77.5)- เงินเดือนและคาจาง 317.3 338.7 86.6 28.9 28.3 29.4

(υ%) (0.7) (6.7) (3.4) (1.7) (4.4) (4.1)- ซ้ือสินคาและบริการ 173.2 168.9 39.7 11.2 12.1 16.4

(υ%) (7.2) (-2.5) (16.9) (38.7) (-4.3) (23.9)- ดอกเบี้ยจาย 69.0 65.1 20.0 7.2 3.4 9.4

(υ%) (8.3) (-5.7) (7.1) (-4.9) (37.9) (8.9)- เงินอุดหนุนและเงินโอน 202.1 202.5 113.9 25.8 27.9 60.2

(υ%) (40.6) (0.2) (57.1) (-24.1) (18.2) (304.1)รายจายลงทุน 210.6 163.2 38.1 11.1 11.7 15.2

(υ%) (9.8) (-22.5) (20.7) (27.8) (-13.1) (62.9)- จัดหาสินทรัพยถาวร 139.0 112.1 19.6 4.2 7.5 7.9

(υ%) (-10.5) (-19.3) (-19.1) (-49.8) (-6.9) (1.1)- เงินโอนเพ่ือการลงทุน 71.5 51.0 16.5 6.9 4.2 5.3

(υ%) (98.5) (-28.6) (124.9) (1741.3) (-22.5) (244.3)- การใหกูยมืและซ้ือสินทรัพยทางการเงิน 0.1 0.1 2.0 0.0 0.0 2.0

(υ%) (-80.4) (-17.9) (n.a.) (0.0) (0.0) (0.0)

ท่ีมา: กรมบัญชีกลาง สายบริหารขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย

2545

รายจายรัฐบาล จําแนกตามลกัษณะเศรษฐกิจ(หนวย: พันลานบาท)ปงบประมาณ

Page 39:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.10.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

การชดเชยการขาดดุล ในปงบประมาณ 2546 รัฐบาลเกินดุลเงินสด 34.3

พันลานบาท ซ่ึงคิดเปนรอยละ 0.6 ของผลิตภัณฑมวลรวม ในประเทศ (GDP) ขณะที่รัฐบาลมีการกูยืมในประเทศสุทธิ 45.0 พันลานบาทและชําระคืนเงินกูตางประเทศสุทธิ 38.9 พันลานบาท เงินคงคลังจึงเพ่ิมขึ้นเปน 123.3 พันลานบาท ณ ส้ินปงบประมาณ

ในไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2547 รัฐบาล ชดเชยการขาดดุลเงินสดจํานวน 37.5 พันลานบาท พรอมกับชําระคืนเงินกูในประเทศและตางประเทศสุทธิจํานวน 33.1 พันลานบาทและ 3.0 พันลานบาท ตามลําดับ โดยการใช เงินคงคลัง 73.6 พันลานบาท ทําใหยอดเงินคงคลัง ณ ส้ิน ไตรมาสลดลงเหลือ 49.7 พันลานบาท

รัฐวิสาหกิจ ในปงบประมาณ 2546 รัฐวิสาหกิจมีกําไรสุทธิจาก

การดําเนินงาน 83.7 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปกอนรอยละ 7.3 แตเนื่องจากการนําสงรายไดใหกระทรวงการคลังเพ่ิมขึ้นรอยละ 12.4 รัฐวิสาหกิจจึงมีเงินสดเพ่ือใชในการลงทุน 137.5 พันลานบาท ลดลงรอยละ 6.4 จากปกอน

ในสวนของการเบิกจายรายจายลงทุนรวมเปนจํานวนทั้งสิ้น 93.0 พันลานบาท ลดลงจากปกอนรอยละ 20.4 และเทากับรอยละ 62.9 ของเปาหมายที่ตั้งไว 147.9 พันลานบาท การเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ต่ํากวาเปาหมายนี้ สวนหนึ่งเปนผลจากความลาชาในการดําเนินการโครงการ ลงทุนขนาดใหญ เชน โครงการทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการซ้ือเคร่ืองบินใหมของบริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) และโครงการโรงไฟฟากระบี่ เปนตน ดังนั้น รัฐวิสาหกิจจึงเกินดุล 44.5 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 0.8 ของ GDP

2544 2545 2546เงินสดท่ีมีเพ่ือใชในการลงทุน (retained income) 130.1 146.9 137.5

(β%) (22.9) (13.0) (-6.4)รายจายลงทุน 131.0 116.9 93.0

(β%) (-12.6) (-10.8) (-20.4)ดุลรัฐวิสาหกจิ -0.9 30.1 44.5

(% ตอ GDP) (-0.0) (0.6) (0.8)

ทีม่า: สํานกังานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ปงบประมาณ

ดุลรัฐวิสาหกจิ(หนวย: พันลานบาท)

Page 40:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.10.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

หน้ีสาธารณะ ณ ส้ินปงบประมาณ 2546 รัฐบาลมีหนี้สาธารณะ

2,918.1 พันลานบาท ซ่ึงคิดเปนรอยละ 49.7 ของ GDP และโนมลดลงจากรอยละ 55.1 ของ GDP ณ ส้ินปงบประมาณกอน โดยเปนหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 1,639.6 พันลานบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม เปนสถาบันการเงินทั้งที่ รัฐบาล ค้ําประกันและไมค้ําประกัน 694.6 และ 156.5 พันลานบาท ตามลําดับ และหนี้สินของกองทุนเพ่ือการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) อีก 427.4 พันลานบาท

การลดลงของสัดส วนหนี้ สาธารณะตอ GDP ดังกลาวสวนหนึ่งเปนผลจากการลดวงเงินขาดดุลงบประมาณ

ในปงบประมาณ 2546 ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ฟนตัวอยางตอเนื่องทําใหการจัดเก็บรายไดขยายตัวสูงกวาเปาหมาย การกอหนี้สาธารณะจึงนอยกวาที่คาด และรัฐบาลสามารถชําระหนี้ตางประเทศกอนกําหนดอีกดวย

อนึ่ ง กระท รวงก ารค ลั งได กํ าห น ด กรอบ ความ ย่ังยืนทางการคลังไว ดังนี้ (1) รักษาสัดส วนหนี้สาธารณะใหไมเกินรอยละ 55 ของ GDP (2) รักษาภาระหนี ้ซ่ึงรวมถึงรายจายเพ่ือการชําระคืนเงินกู รายจายดอกเบี้ย และคาธรรมเนียมใหไมเกินรอยละ 16 ของงบประมาณรายจาย และ (3) จัดทํางบประมาณสมดุลใหไดในปงบประมาณ 2548

2544 2545 25461. หน้ีท่ีรัฐบาลกูโดยตรง 1,263.7 1,670.5 1,639.6

(% ตอ GDP) (24.8) (31.4) (27.9)1.1 หน้ีตางประเทศ 449.6 409.6 332.31.2 หน้ีในประเทศ 814.1 1,261.0 1,307.4

2. หน้ีของรัฐวิสาหกิจท่ีไมเปนสถาบันการเงิน 970.5 907.1 851.0(% ตอ GDP) (19.1) (17.0) (14.5)2.1 หน้ีที่รัฐบาลค้ําประกัน 796.4 772.0 694.6

หนี้ตางประเทศ 384.8 351.4 305.1 หนี้ในประเทศ 411.6 420.6 389.5

2.2 หน้ีที่รัฐบาลไมค้ําประกัน 174.1 135.2 156.5 หนี้ตางประเทศ 74.9 63.2 61.1 หนี้ในประเทศ 99.2 71.9 95.3

3. หน้ีสนิของกองทุนเพ่ือการฟนฟูฯ 697.5 357.3 427.4(% ตอ GDP) (13.7) (6.7) (7.3)3.1 หน้ีที่รัฐบาลค้ําประกัน 112.0 112.0 62.03.2 หน้ีที่รัฐบาลไมค้ําประกัน 585.5 245.3 365.4

4. รวม (1+2+3) 2,931.7 2,934.9 2,918.1(% ตอ GDP) (57.6) (55.1) (49.7)

ที่มา: สํานักบริหารหน้ีสาธารณะ

หนีส้าธารณะ(หนวย: พันลานบาท)ปงบประมาณ

Page 41:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.10.6 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

ทีมวิเคราะหคลัง โทร. 0 2283 5628

0

10

20

30

40

50

60

70

2528

2529

2530

2531

2532

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

หนี้รัฐบาล หนี้รัฐวิสาหกิจหนี้สินของ FIDF หนี้สาธารณะตอ GDP

(49.7%)2546*

7.3%

14.5%

27.9%

%GDP หนีส้าธารณะ

หมายเหต:ุ * ขอมูล ณ ส้ินปงบประมาณ 2546 ท่ีมา: สํานักบริหารหน้ีสาธารณะ

ตามกรอบความย่ังยืนทางการคลัง (55% ตอ GDP)

มาตรฐานสากล (60% ตอ GDP)52.3% (2530)

14.0%(2539)

57.6%(2544)

49.7% (2546*)

Page 42:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.11 การเงินและอตัราแลกเปลีย่น

1. ฐานเงินและปริมาณเงิน

ฐาน เงินขยายตัวตามภาวะเศรษฐกิจที่ ดีขึ้น ตอเนื่อง โดย ณ ส้ินเดือนธันวาคม 2546 มียอดคงคาง 699.7 พันลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 10.6 จาก 632.7 พันลานบาท ณ สิ้นป 2545

ในป 2546 การเปล่ียนแปลงที่สําคัญดานอุปทานของฐานเงิน ไดแก (1) สินทรัพยตางประเทศสุทธิของ ธปท . เพ่ิมขึ้นตอเนื่องจากการเกินดุลบัญชีเดินสะพัด และการรับซ้ือเงินตราตางประเทศของ ธปท. จากเงินทุนไหลเขา แมในขณะเดียวกันจะมีการชําระคืนหนี้ เงินกู ทั้งจากภาครัฐและเอกชนก็ตาม (2) สินเช่ือสุทธิที่ ธปท. ใหแกรัฐบาลเพ่ิมขึ้นเม่ือเทียบกับปกอนตามการลดลง ของเงินฝากของรัฐบาลที่ ธปท. (3) สินเช่ือสุทธิที่ ธปท. ใหแกสถาบันการเงินลดลงคอนขางมาก เนื่องจาก ธปท. ทําการดูดซับสภาพคลองที่ เพ่ิมขึ้นจากธุรกรรมการซ้ือ เงินตราตางประเทศ

ปริมาณเงิน M2A และ M3 ในป 2546 ขยายตัวรอยละ 5.1 และ 4.3 ตามลําดับ ทั้งนี้ ในชวง 8 เดือนแรกของป อัตราการขยายตัวของปริมาณเงินทั้ง M2A และ M3 อยูในระดับต่ําตอเนื่อง โดยขยายตัวเฉล่ียเพียงรอยละ 1.4 และ 2.7 ตามลําดับ เนื่องจากมีการถอนเงินฝากในบัญชีของประชาชนไปลงทุนในพันธบัตรออมทรัพยชวยชาติ ตั้งแต เดือนกันยายน 2545 อยางไรก็ดี ในชวง 4 เดือน สุดทายของป อัตราการขยายตัวของปริมาณเงินไดโนม สูงข้ึนมาใกลเคียงกับชวงกอนการออกพันธบัตรออมทรัพยชวยชาติ

-20-10

010203040

ม.ค. 2542 ก.ค. ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

อัตราการขยายตัว

350

450

550

650

750

ม.ค. 2542 ก.ค. ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

ยอดคงคาง

Y2K

Y2K

ฐานเงิน′%

พันลานบาท

5.1

4.3

-5

0

5

10

15

ม.ค. 2542 ก.ค. ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

M2A M3

M3

อัตราการขยายตัวของปรมิาณเงนิ

′%

หมายเหตุ: ต้ังแตเดือนมกราคม 2545 ไมรวมขอมูลของบริษัทเงินทุน 56 แหงซึง่ถูกปดกิจการท่ีมา: รายงานและแบบสาํรวจของธนาคารแหงประเทศไทย

Page 43:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2. อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

2.1 อัตราแลกเปลี่ยน

ในป 2546 คาเงินบาทแข็งคาขึ้นตอเนื่องโดยเคล่ือนไหวอยูระหวาง 39.21 – 43.15 บาทตอดอลลาร สรอ. และคาเฉล่ียทั้งปอยูที่ 41.50 บาทตอดอลลาร สรอ. หรือแข็งคาขึ้นรอยละ 3.6 จากคาเฉลี่ยของปกอน

ในชวงคร่ึงแรกของป คาเงินบาทแข็งคาขึ้นจากปจจัยสนับสนุนทั้งภายนอกและภายในประเทศที่สําคัญ ไดแก Sentiment ของเงินดอลลาร สรอ . ที่ เปราะบางจากความไมแนนอนเก่ียวกับสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรัก ขณะที่เศรษฐกิจของสหรัฐฯ ก็ยังมิไดฟนตัวอยางชัดเจน นอกจากนั้ น ภาวะ เศรษฐกิจไท ยที่ ดี ต อ เนื่ อ งต าม

การขยายตัวของการใชจายภาคเอกชนและการสงออก ทําใหมีเงินลงทุนจากตางประเทศเขามาลงทุนในตลาดหลักทรัพยไทยเปนจํ านวนมาก อยางไรก็ดี ค าเงินบาท ในชวงคร่ึงแรกของปมีความผันผวนและออนคาลงเปนบางชวงส้ัน ๆ จากปจจัยภายนอกเปนหลัก ที่สําคัญคือความกังวลเก่ียวกับสงครามและการแพรระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) และการปรับตัวตามคาเงินในภูมิภาคโดยเฉพาะคาเงินเยน

สําหรับในชวงคร่ึงหลังของป 2546 คาเงินบาทแข็ งค าขึ้ นอย างชัด เจน โดยแข็ งค าสู งสุดในรอบป ในเดือนตุลาคมที่ ระดับ 39.21 บาทตอดอลลาร สรอ . ทั้งนี้ ปจจัยสําคัญที่สงผลตอการแข็งคาของเงินบาท ไดแก (1) ป จจั ย พ้ื นฐาน ในประ เท ศที่ ดี และความ เช่ื อมั่ น ตอเศรษฐกิจไทย (2) การปรับตัวสูงขึ้นของดัชนีตลาด หลักทรัพยไทย (3) การปรับเพ่ิมอันดับความนาเช่ือถือ ของประเทศไทยจากสถาบันจัดอันดับในตางประเทศ และ (4) Sentiment ของคาเงินดอลลาร สรอ. ที่ยังคงเปราะบาง ทั้ งนี้ ธปท . ไดออกมาตรการปองปรามการเก็งกําไร คาเงินบาทในวันที่ 11 กันยายน และ 14 ตุลาคม 2546 เพ่ือดูแลการเคล่ือนไหวของคาเงินบาทไมให เปนไป ในลักษณะการเก็งกําไร

39.0

40.0

41.0

42.0

43.0

44.0

2 ม.ค.

46

31 ม.ค

. 46

4 มี.ค.

46

2 เม.ย.

46

8 พ.ค.

46

9 มิ.ย.

46

9 ก.ค.

46

8 ส.ค.

46

9 ก.ย.

46

8 ต.ค.

46

7 พ.ย.

46

9 ธ.ค.

46

อัตราแลกเปล่ียนอางอิงบาท/ดอลลาร สรอ.

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน(2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2546)

Page 44:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.2 อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในตลาดเงิน

อัตราดอกเบี้ยระยะส้ันในตลาดเงินโนมต่ําลง ในป 2546 โดยในไตรมาสที ่1 ไดปรับลดลงตามสภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชยที่ มีอยู สูง ซ่ึงสวนหนึ่งเปน สภาพคลองที่กลับเขาสูระบบหลังผานชวงเทศกาลปใหมและตรุษจีน อยางไรก็ตาม สภาพคลองในเดือนมีนาคม ตึงตัวขึ้นเล็กนอยเนื่องจากสงครามระหวางสหรัฐฯ กับ อิรักทําใหเกิดความไมแนนอนในตลาดการเงินโดยรวม เฉล่ียทั้งไตรมาสแรกอัตราดอกเบี้ยตลาดซ้ือคืนพันธบัตรระยะ 1 วันลดลงมาอยูที่รอยละ 1.50 ตอป เทียบกับรอยละ 1.65 ตอปในไตรมาสที่ 4 ของป 2545 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยกูยืมระหวางธนาคาร (Interbank) ระยะ1 วันอยูที่รอยละ 1.49 ตอป เทียบกับรอยละ 1.76 ตอปในไตรมาสที่ 4 ของป 2545

ในไตรมาสที่ 2 อัตราดอกเบี้ ยระยะส้ันใน ตลาดเงินปรับสูงขึ้น สวนหนึ่ งเนื่องจากสภาพคลอง

ในระบบธนาคารพาณิชยตึงตัวขึ้นจากการเตรียมเงินสําหรับการเบิกจายในชวงเทศกาลสงกรานต ทั้งนี ้ในวันที่ 27 มิถุนายน ธปท. ไดปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง รอยละ 0.50 ตอป สงผลใหอัตราดอกเบี้ยระยะส้ันปรับ ลดลงตามทิศทางการสงสัญญาณของ ธปท. อยางไรก็ตาม เนื่ องจากการปรับลดอัตราดอกเบี้ ยนโยบายเกิดขึ้น ในชวงทายไตรมาส คาเฉล่ียของอัตราดอกเบี้ยตลาด ซ้ือคืนพันธบัตรระยะ 1 วันและอัตราดอกเบี้ยกูยืมระหวางธนาคารระยะ 1 วันจึงยังไมลดลง โดยเฉล่ียอยูที่รอยละ 1.66 และ 1.59 ตอป ตามลําดับ

สําหรับในไตรมาสที่ 3 ผลจากการลดอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายดังกลาวขางตนทําใหอัตราดอกเบี้ยระยะส้ันในตลาดเงินปรับลดลงคอนขางมาก โดยอัตราดอกเบี้ยตลาดซ้ือคืนพันธบัตรระยะ 1 วันเฉล่ียอยูที่รอยละ 1.11 ตอป ขณะที่อัตราดอกเบี้ยกูยืมระหวางธนาคารระยะ 1 วันเฉล่ียอยูท่ีรอยละ 1.07 ตอป

สํ าห รับไตรมาสสุดท ายของป 2546 อัตรา ดอกเบี้ยในตลาดเงินยังโนมลดลงและอยูในระดับต่ํ า เนื่องจากในเดือนพฤศจิกายนธนาคารพาณิชยที่ เปน ตัวแทนจําหนายกองทุนวายุภักษไดนําเงินรอโอนมาลงทุนในตลาดซ้ือคืนคอนขางมาก รวมทั้งสภาพคลองก็เพ่ิมขึ้นในเดือนธันวาคมจากเงินบําเหน็จดํารงชีพที่ ยังไมถูก เบิกถอนและเงินกูยืมที่ภาครัฐชําระคืนแกสถาบันการเงิน ดังนั้ น เฉ ล่ียทั้ งไตรมาสอัตราดอกเบี้ ยตลาด ซ้ือคืน พันธบัตรระยะ 1 วันจึงอยูที่รอยละ 1.06 ตอป และอัตรา ดอกเบี้ยกูยืมระหวางธนาคารระยะ1 วันอยูที่รอยละ 1.09 ตอป

0

1

2

3

4

ม.ค. 2542 ก.ค. ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

อัตราดอกเบ้ียซื้อคืนพันธบัตร 1 วัน อัตราดอกเบ้ียเงินกูระหวางธนาคารอัตราดอกเบ้ียซื้อคืนพันธบัตร 14 วัน

อัตราดอกเบ้ียในตลาดเงิน

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

รอยละตอป

Page 45:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.3 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลในไตรมาส ที่ 1 ของป 2546 ปรับตัวลดลงตอเนื่องจากปลายป 2545 โดยเปนผลจากแนวโนมการปรับลดอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชยและความตองการลงทุนของธนาคารพาณิชยที่ มีอยูสูง ขณะที่ปริมาณพันธบัตรออกใหมมีคอนขางนอย อยางไรก็ดี ในชวงตนเดือนกุมภาพันธ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไดปรับเพ่ิมขึ้นจากการขายทํากําไรของนักลงทุนเปนหลัก

ในไตรมาสที่ 2 อัตราผลตอบแทนพันธบัตร ทุ กระยะป รับ เพ่ิ มขึ้ น ใน เดื อน เมษายนตามทิ ศท าง อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินที่สูงขึ้น อยางไรก็ดี ในเดือนพฤษภาคมถึ งกลางเดื อนมิ ถุนายน อั ตราผลตอบแทน พันธบัตรไดปรับลดลงโดยเฉพาะในระยะยาว เนื่องจากการคาดการณวาอุปทานพันธบัตรรัฐบาลจะลดลงจาก การปรับประมาณการฐานะการคลังจากการขาดดุลเปน การเกินดุล ประกอบกับการคาดการณวาอัตราดอกเบี้ย federal funds rate จะลดลงและอาจสงผลใหอัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยลดลงดวย ซ่ึงตอมาเม่ือ ธปท. ประกาศลดอัตราดอกเบี้ ยนโยบายลงรอยละ 0.50 ตอป อัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลก็ปรับลดลงอีกในชวง ปลายเดือนมิถุนายน

ใน ไตรมาสที่ 3 ของป อัตราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาลปรับลดลงในชวงตนเดือนกรกฎาคม จากผลตอเนื่องของการประกาศลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย หลังจากนั้นอัตราผลตอบแทนไดปรับสูงขึ้นโดยเฉพาะ ในพันธบัตรระยะยาว ทั้ งนี้ ปจจัยสนับสนุน ไดแก การประกาศมาตรการผอนคลายการแลกเปล่ียนเงินตรา

ของ ธปท. ในเดือนกรกฎาคม และการประกาศอนุญาตใหนักลงทุนสถาบัน 6 ประเภทสามารถลงทุนในตราสารหนี้ของตางประเทศในเดือนสิงหาคม รวมทั้งความไมแนนอนเร่ืองการออกพันธบัตรเพ่ือชดเชยความเสียหายของกองทุนเพ่ือการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF)

อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลปรับ เพ่ิมข้ึนในไตรมาสสุดทายของป โดยเฉพาะระยะกลางและระยะยาวปรับตัวขึ้นชันมาก สาเหตุสําคัญ คือ (1) ขาว การออกพันธบัตรระยะ 7 ปเพ่ือชดเชยความเสียหายให FIDF (2) อุปทานที่ เพ่ิมขึ้นของพันธบัตรออกใหมจาก ทั้งภาครัฐและเอกชน และ (3) การปรับเพ่ิมขึ้นของดัชนี ตลาดหลักทรัพยไทยที่จูงใจใหนักลงทุนยายการลงทุน ออกจากตลาดพันธบัตรไปตลาดหลักทรัพย อยางไรก็ตาม ตั้งแตกลางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม อัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรปรับลดลงจากการเล่ือนการประมูล พัน ธบั ตร FIDF ไป เป นตนป 2547 และการงดออก พันธบัตร ธปท. ในเดือนธันวาคม

ผลตอบแทนของพนัธบัตรรฐับาลไทย(2 มกราคม– 31 ธันวาคม 2546)

รอยละ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

0

1

2

3

4

5

6

2 ม.ค.

46

2 ก.พ.

46

4 ม.ค.

46

2 เม.ย.

46

2 พ.ค.

46

2 มิ.ย.

46

2 ก.ค.

46

2 ส.ค.

46

2 ก.ย.

46

2 ต.ค.

46

2 พ.ย.

46

2 ธ.ค.

46

18ป14ป 12ป 10ป

7ป

5ป

3ป 2ป 1ป 3เดือน

Page 46:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3. เงินฝากและสินเชื่อภาคเอกชนของระบบธนาคารพาณิชย

3.1 เงินฝากธนาคารพาณิชย ในป 2546 เงินฝากธนาคารพาณิชยขยายตัวในอัตราต่ําตอเนื่องระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม โดยเปนผลจากฐานเงินฝากที่ลดลงตั้งแตเดือนกันยายน 2545 เม่ือมีการถอนเงินฝากสวนหนึ่งเพ่ือไปลงทุนใน พันธบัตรออมทรัพยชวยชาติ อยางไรก็ดี เมื่อผลของปจจัยดังกลาวหมดลงในเดือนกันยายน 2546 อัตราการขยายตัวของเงินฝากจึงกลับมาอยูในระดับปกติในชวง 4 เดือน สุดทายของป โดย ณ ส้ินป 2546 เงินฝากขยายตัวรอยละ 4.4 จากส้ินปกอน

3.2 สินเช่ือภาคเอกชน (รวมการถือครองหลักทรัพยภาคเอกชน) ของธนาคารพาณิชย

ในป 2546 สินเช่ือภาคเอกชน (รวมการถือครอง หลักทรัพยภาคเอกชน) ของธนาคารพาณิชยขยายตัวอยางตอเนื่องตามการฟนตัวของภาวะการผลิตในประเทศ โดยในไตรมาสที่ 1 การเพ่ิมขึ้นของสินเช่ือสวนหนึ่งเปนผลจากการขยายสินเช่ือของธนาคารพาณิชยของรัฐตามนโยบายกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล สําหรับในชวงเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคม สินเช่ือยังคงขยายตัว ตอเนื่องแตในอัตราที่ชะลอลงเล็กนอย โดยเฉล่ีย 9 เดือนหลังของปขยายตัวอยูที่รอยละ 3.8 สวนใหญเปนการใหสินเช่ือแกภาคธุรกิจทั้งจากธนาคารพาณิชยเอกชนและ ของรัฐ ทั้ งนี้ ณ ส้ินป 2546 สิน เช่ือภาค เอกชนของธนาคารพาณิชยขยายตัวรอยละ 3.6 จากส้ินปกอน ในสวนของสินเช่ือธนาคารพาณิชยที่บวกกลับการตัด หนี้สูญและสินเช่ือท่ีโอนไปบริษัทบริหารสินทรัพย แต ไมรวมสินเช่ือที่ธนาคารพาณิชยใหกับบริษัทบริหาร สินทรัพยขยายตัวเฉล่ียรอยละ 4.8 ในป 2546

เม่ือพิจารณาแยกตามสาขาเศรษฐกิจพบวา สินเช่ือสําหรับสาขาเศรษฐกิจหลักที่มีการเติบโตสูงในป

2546 ไดแก สินเช่ือเพ่ือการสงออก การคาสงผลิตผล ทางการเกษตร การพาณิชย อสังหาริมทรัพย และธุรกิจ โรงแรมและภัตตาคาร ในขณะที่สินเช่ือเพ่ือที่อยูอาศัย และสินเช่ือเพ่ือการอุปโภคบริโภคสวนบุคคล ซ่ึงรวมถึงสินเช่ือบัตรเครดิต ที่มีสัดสวนโดยรวมประมาณรอยละ 13 ของสินเช่ือทั้งหมด ขยายตัวสูงตอเนื่องจากปกอน สวนหนึ่งเปนผลจากอัตราดอกเบี้ยที่อยูในระดับต่ําและสภาวะการแขงขันระหวางธนาคารพาณิชย รวมทั้งเปนการขยายตัวตามภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้นดวย อยางไรก็ด ีธปท. ไดติดตามดูแลแนวทางการปลอยสินเช่ือบัตรเครดิตของธนาคารพาณิชยอยางใกลชิดเพ่ือปองกันมิใหผูบริโภคสรางภาระหน้ีมากเกินความสามารถท่ีจะชําระคืน

-15

-10

-5

0

5

10

15

20

25

30

ม.ค. 2541 ก.ค. ม.ค. 2542 ก.ค. ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

เงินฝาก สินเชื่อภาคเอกชน สินเชื่อภาคเอกชน *β%

อัตราการขยายตัวของเงินฝากและส ินเชื่อของธนาคารพาณิชย

หมายเหตุ: * สินเช่ือที่บวกกลับการตัดหนี้สูญและสินเช่ือที่โอนไปบริษัทบริหารหลักทรัพย แตไมรวมสินเช่ือที่ใหแกบริษัทบริหารหลักทรัพย ท่ีมา: รายงานและแบบสาํรวจของธนาคารแหงประเทศไทย ซึง่รวมขอมูลของธนาคารธนชาต

-30

-10

10

30

ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

การจัดหาที่อยูอาศยัสวนบุคคล (8.3%) การสาธารณปูโภค (5.5%)การอปุโภคบริโภคสวนบุคคล (3.3%)

-50

-30

-10

10

30

50

ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

อตุสาหกรรมการผลติ (26.0%) การพาณชิย (14.5%)ธุรกจิอสังหาริมทรัพย (5.1%) การกอสราง (3.1%)ธุรกจิโรงแรมและภัตตาคาร (3.1%)

สินเชื่อธนาคารพาณิชยแยกตามสาขาเศรษฐกิจ

υ%

υ%

หมายเหตุ: (ตัวเลขในวงเล็บคือสัดสวนตอสินเช่ือทั้งหมด)

Page 47:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.6 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย

ในป 2546 ธนาคารพาณิชยขนาดใหญทยอย ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินใหกูในชวงเดือนมีนาคม มิถุนายน และกรกฎาคม ซ่ึงเปนการปรับตัวตามการสงสัญญาณทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ ธปท. และสอดคลองกับการบริหารสภาพคลองของแตละธนาคาร โดยอัตราดอกเบี้ยเฉล่ียของธนาคารพาณิชยขนาดใหญ 4 แหง ประเภทเงินฝากประจําระยะ 3 เดือนลดลงจาก รอยละ 1.75 ตอป ณ ส้ินเดือนธันวาคม 2545 เปนรอยละ 1.00 ตอป ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะ 12 เดือนลดลงจากรอยละ 2.00 ตอปเปนรอยละ 1.00 ตอป และอัตราดอกเบีย้เงนิใหกูยืม MLR ลดลงจากรอยละ 6.69 ตอปเปนรอยละ 5.69 ตอป

สําหรับอัตราดอกเบี้ ยเงินฝากและเงินกู ยืมที ่ แทจริงในป 2546 ปรับลดลงตามการคาดการณ อัตรา เงินเฟอที่เพ่ิมขึ้น ทั้งนี้ การโนมลดลงของอัตราดอกเบี้ย เงินใหกูยืม MLR ที่แทจริงมีสวนชวยสงเสริมการขยายตัว ของภาคเศรษฐกิจ และ ณ ส้ินเดือนธันวาคม 2546 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะ 12 เดือนและอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูยืม MLR ที่แทจริงของธนาคารพาณิชยขนาดใหญทั้ง 4 แหงเฉลี่ยอยูที่รอยละ –0.20 และ 4.46 ตอป ตามลําดับ

อัตราดอกเบ้ียเฉล่ียของ ธ.พ. ขนาดใหญ 4 แหง อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

ประจํา 3 เดือน

ประจํา 12 เดือน MLR

ม.ค. 46 1.75 2.00 6.69 ก.พ. 46 1.75 2.00 6.69 มี.ค. 46 1.50 1.81 6.50 เม.ย. 46 1.50 1.81 6.50 พ.ค. 46 1.50 1.81 6.50 มิ.ย. 46 1.25 1.25 6.00 ก.ค. 46 1.06 1.06 5.69 ส.ค. 46 1.06 1.06 5.69 ก.ย. 46 1.06 1.06 5.69 ต.ค. 46 1.00 1.00 5.69 พ.ย. 46 1.00 1.00 5.69 ธ.ค. 46 1.00 1.00 5.69

-1

1

3

5

7

9

ม.ค. 2543 ก.ค. ม.ค. 2544 ก.ค. ม.ค. 2545 ก.ค. ม.ค. 2546 ก.ค.

เงินกู MLR เงินกู MLR ท่ีแทจริง *เงินฝากประจํา 12 เดือน เงินฝากประจํา 12 เดือนท่ีแทจริง *รอยละตอป

-0.20

1.00

4.46

5.69

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินใหกูยืมของธนาคารพาณิชย

หมายเหตุ: *เงินเฟอคาดการณคืออัตราการเปล่ียนแปลงของระดับราคาถัวเฉล่ียในชวง 12 เดือนขางหนาท่ีมา: ธนาคารพาณิชยขนาดใหญ 4 แหง

Page 48:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.11.7 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

4. การดําเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย

ผลการดําเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย ป รับ ตั วดี ขึ้ น ใน ช วง 9 เดื อน แรกของป 2546 โด ย ธนาคารพาณิชยไทยมีผลการดําเนินการงานที่ดีตอเนื่อง แมในไตรมาสที่ 3 ผลประกอบการเปนขาดทุนสุทธิ แตก็เนื่องมาจากการกันสํารองหนี้สูญเพ่ิมขึ้นของธนาคารพาณิชยบางแหง สําหรับกําไรจากการดําเนินงานของธนาคารพาณิชยทั้งระบบ (กอนหักการกันสํารองหนี้สูญ) ในชวง 9 เดือนแรกของป 2546 อยูที่ 67.35 พันลานบาท เทียบกับ 54.03 พันลานบาทในชวงเดียวกันปกอน โดยธนาคารพาณิชยไทยมีกําไรจากการดําเนินงาน 61.30 พันลานบาทเทียบกับ 42.31 พันลานบาทในชวงเดียวกัน ปกอน สวนใหญเปนผลจากการปรับเพ่ิมขึ้นของรายได ดอก เบี้ ย สุ ท ธิจ ากก ารลดลงของรายจ ายด อก เบี้ ย กอปรกับการเพ่ิมขึ้นของรายไดท่ีมิใชดอกเบ้ีย ทั้งจาก คาธรรมเนียม คาบริการ และกําไรจากการปริวรรตเงินตรา

สําหรับสาขาธนาคารพาณิชยตางประเทศมีกําไรจากการดําเนินงานลดลงเหลือ 6.05 พันลานบาทในชวง 9 เดือนแรกของป 2546 เที ยบ กับ 11.72 พันล านบาท ในชวงเดียวกันปกอน โดยเปนผลจากการลดลงของรายได ดอกเบี้ยและเงินปนผลเปนสําคัญ

สวนตางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินใหกูยืมเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย (Effective Interest Rate Spread) เพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่องในป 2546 โดย ณ ส้ินไตรมาสที่ 3 เทากับรอยละ 2.73 เทียบกับรอยละ 2.62 ณ ส้ินไตรมาส ที่ 3 ของป 2545 จากการเพ่ิมขึ้นของสวนตางอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยไทยเปนสําคัญ เนื่องจากตนทุน ดอกเบี้ยจายจากเงินฝากลดลงมากกวาดอกเบี้ยรับที่ไดจากสินเช่ือ ในขณะที่สวนตางอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยตางประเทศปรับลดลงเล็กนอย

อัตราเงินกองทุนตอสินทรัพยเส่ียงเฉลี่ยอยูที่ รอยละ 13.41 ในชวง 9 เดือนแรกของป 2546 เทียบกับ รอยละ 14.06 ในป 2545 สวนหนี้ ท่ีไมกอใหเกิดรายไดทยอยป รับลดลง โดย ณ ส้ินป 2546 อยูที่ 641.58 พัน ลานบาทเทียบ กับ 772.56 พันลานบาท ณ ส้ินป 2545 ทั้งนี้ สัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอสินเช่ือรวม ณ ส้ินป 2546 อยูที่ รอยละ 12.72 เที ยบ กับรอยละ 15.79 ณ ส้ินปกอน

สวนวิเคราะหและกลยุทธนโยบายการเงิน โทร. 0 2283 5621

ไตรมาสท ี่ 4 ไตรมาสท ี่ 2 ไตรมาสท ี่ 3ไตรมาสท ี ่ 1ท ั้งป

4.3

4.3

0.0

16.0

-7.2

23.2

20.3

-2.9

23.2

3.0

0.7

2.3

-2.9

-23.1

20.3

0.1

-22.4

22.5

3.8

0.1

3.8

13.7

-4.1

17.9

17.5

-4.1

21.6

2546

0.4

0.7

-0.3

-9.7

-23.6

13.8

-9.4

-22.9

13.5

2545

12.8

1.4

11.4

11.4

-44.7

56.2

24.2

43.3

67.5

2545

-กําไรสุทธิ (กอนหักภาษ)ี-การกนัสํารองหนีสู้ญ -กําไรขาดทุนจากการดําเนินงาน ธนาคารพาณิชยไทย

ธนาคารพาณิชยตางประเทศ

ธนาคารพาณชิยท้ังหมด

-การกนัสํารองหนีสู้ญ -กําไรขาดทุนจากการดําเนินงาน

-กําไรสุทธิ (กอนหักภาษ)ี

-กําไรสุทธิ (กอนหักภาษ)ี-การกนัสํารองหนีสู้ญ -กําไรขาดทุนจากการดําเนินงาน

หนวย: พันลานบาท

ผลการดําเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย

0

2

4

6

8

ไตรมาส 12543

ไตรมาส 3 ไตรมาส 12544

ไตรมาส 3 ไตรมาส 12545

ไตรมาส 3 ไตรมาส 12546

ไตรมาส 3

รอยละตอปสวนตางดอกเบ้ียของระบบธนาคารพาณิชย

หมายเหตุ : สินเช่ือคือสนิเช่ือทีไ่มใชระหวางสถาบนัการเงิน เงนิรับฝากคือเงินรับฝากทีไ่มใชระหวางสถาบนัการเงิน

ดอกเบ้ียรับสินเช่ือตอสินเช่ือ

ดอกเบ้ียจายเงินรับฝากตอเงินรับฝาก

สวนตางอัตราดอกเบ้ีย

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 49:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

2.12.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

2.12 ตลาดทุนแหลงเงินทุนที่มิใชธนาคารพาณิชยของภาคเอกชน ในป 2546 ภาคธุรกิจและครัวเรือนมีแหลงเงินทุนสําคัญท่ีมิใชธนาคารพาณิชย คือ

1. การออกตราสารทุนและตราสารหนี้ โดยหุนสามัญที่เพ่ิมขึ้นสวนใหญเปนการเพ่ิมทุนของกลุมอสังหาริมทรัพย ขนสง และบริษัทที่อยูระหวางการฟนฟูกิจการ สวนตราสารหนี้ เปนการออกหุนกูของกลุมวัสดุกอสราง เคมีภัณฑ และ ขนสง ที่สําคัญไดแก บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท อะโรเมติกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

2. การปลอยสินเช่ือของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ซ่ึงในป 2546 (ขอมูล ณ เดือนพฤศจิกายน ) เพ่ิมขึ้น 108.3 พันลานบาทจาก ณ ส้ินป 2545 สวนหนึ่ งเพราะนโยบายสนับสนุนการปลอยสินเช่ือของรัฐบาลที่มีผลตอเนื่องจาก ปกอน ที่สําคัญคือ โครงการธนาคารประชาชนของธนาคารออมสิน สินเช่ือตามมาตรการสงเสริมธุรกิจอสังหาริมทรัพยของธนาคารอาคารสงเคราะห และสินเช่ือตามมาตรการ สงเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย

3. สิน เชื่ อ เพื่ อการอุป โภคและบริ โภค สิน เช่ือ สวนบุคคล และสินเช่ือเพื่อการคา ซึ่งขยายตัวสูงตอเนื่อง โดยเฉพาะสินเช่ือเชาซ้ือเพ่ือการอุปโภคและบริโภค และ

สินเช่ือบัตรเครดิต เนื่องจากผูบริโภคมีความม่ันใจในภาวะเศรษฐกิจและรายไดที่คาดวาจะม่ันคงขึ้น กอปรกับไดรับ แรงจูงใจจากการเสนอบริการของบริษัทผูใหสินเช่ือที่มักจะ ใหรวมกับผูประกอบธุรกิจ โดยเฉพาะสินเช่ือรถยนต เครื่องใชไฟฟา และโทรศัพทมือถือ นอกจากนั้น สินเช่ือบัตรเครดิต และสินเช่ือเพ่ือการกูยืมสวนบุคคลโดยตรงก็มีการแขงขัน ใหบริการสูงข้ึนดวย

ภาวะตลาดรองตลาดตราสารหนี้ ในป 2546 การซ้ือขายตราสารหนี้ มี มูลคาทั้งส้ิน 2,606.7 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นจากป 2545 รอยละ 21.5 ทั้งนี้เปนผลจากการออกตราสารหนี้ของภาครัฐและภาคเอกชน ที่ เพ่ิมขึ้นเพ่ือขยายทางเลือกใหกับนักลงทุนในภาวะอัตรา ดอกเบี้ ยต่ํา อยางไรก็ตาม มูลคาการซ้ือขายตราสารหนี ้ในตลาดรองไดลดลงในชวงคร่ึงหลังของปเพราะนักลงทุนโยกยายเงินลงทุนไปยังตลาดหลักทรัพยที่ใหผลตอบแทน สูงกวา ทั้งนี้ มูลคาการซ้ือขายเฉล่ียตอวันเพ่ิมขึ้นจาก 10.3 พันลานบาทในไตรมาสที่ 1 เปน 11.8 พันลานบาทในไตรมาสที่ 2 กอนจะลดลงเปน 10.6 พันลานบาทและ 9.7 พันลานบาทในไตรมาสท่ี 3 และ 4 ตามลําดับ

ทีมวิเคราะหเงินทุนธุรกิจ โทร. 0 2283 5642

แหลงเงินทุน 2545 2546 p

1. สินเช่ือสถาบันการเงินและบริษัทท่ีปลอยสินเชื่อ 1/ 36.90 175.90 บริษัทเงินทุน -75.20 52.20 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ 104.00 108.30 บริษัทท่ีใหสินเชื่อเพื่อการบริโภคและเชาซื้อที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ 2/ 8.10 15.402. ตลาดทุน (ทีไ่มใชสถาบันการเงิน)3/ 131.50 187.20 ตราสารทุน (หุนสามัญและหุนบุริมสิทธ)ิ 56.30 84.80 ตราสารหนี้ภายในประเทศ 75.20 102.40

รวม 168.40 363.10

แหลงเงินทุนภาคเอกชนท่ีไมใชธนาคารพาณิชย(หนวย: พันลานบาท)

หมายเหตุ: 1/ การเปลี่ยนแปลงของยอดคงคางจากปกอน 2/ ยอดรวมการเปล่ียนแปลงของบริษัทท่ีใหสินเช่ือ 8 ราย ไมรวมบริษัทฐิติกร ซึง่เพิง่เขาจดทะเบียนในป 2546 3/ มูลคาหลักทรัพยออกใหม P: ตัวเลขเบ้ืองตน - บริษัทเงินทุนและสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ณ สิน้เดือนพฤศจิกายน 2546 - บริษัทท่ีใหสินเช่ือเพือ่การบริโภคและเชาซือ้ท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ณ สิน้เดือนกนัยายน 2546 - ตราสารทุนและหนี้ภายในประเทศ ณ สิน้เดือนธนัวาคม 2546 ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

Page 50:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.1.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

สวนท่ี 3: สรุปนโยบายและมาตรการเศรษฐกิจท่ีสําคัญ

3.1 มาตรการการเงิน ผูเกี่ยวของ สาระสําคัญ วันท่ีบังคับใช แหลงท่ีมา

1. มาตรการดานอัตราดอกเบี้ย นโยบาย

ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน

- วันที ่20 มกราคม 2546 - วันที ่3 มีนาคม 2546 - วันที ่21 เมษายน 2546 - วันที ่2 มิถุนายน 2546 - วันที ่27 มิถุนายน 2546

(วาระพิเศษ) - วันที ่21 กรกฎาคม 2546 - วันที ่11 กันยายน 2546 - วันที ่28 ตุลาคม 2546 - วันที ่12 ธันวาคม 2546

คณะกรรมการฯ มีมติใหลดอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 14 วันจากรอยละ 1.75 ตอปเหลือรอยละ 1.25 ตอปเม่ือวันที่ 27 มิถุนายน 2546 เนื่องจากเห็นวาอัตราเงินเฟอพ้ืนฐานที่อย ู ในระดับต่ําเอ้ือใหนโยบายการเงินสามารถผอนคลายไดมากขึ้นเพ่ือรองรับความไมแนนอนของภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจและการเงินในตางประเทศนอกจากนั้ น การลดอัตราดอกเบี้ ยนโยบายดังกลาวจะชวยลดความเส่ียงท่ีอาจกดดันใหอัตราเงินเฟอพ้ืนฐานต่ํากว าเป า และลดความผันผวนของการเคลื่อนยายเงินทุนระยะสั้นที่เขามาเพื่อเก็งกําไรในสวนตางอัตราดอกเบี้ยภายในและภายนอกประเทศ ซ่ึงจะช วยเส ริมสร างค วาม เข ม แข็ งต อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะตอไป

- ขาว ธปท. 2/2546 ขาว ธปท. 9/2546 ขาว ธปท. 12/2546ขาว ธปท. 17/2546ขาว ธปท. 19/2546ขาว ธปท. 22/2546ขาว ธปท. 31/2546ขาว ธปท. 34/2546ขาว ธปท. 41/2546ตามลําดับ

2. มาตรการดานตลาดการเงิน

2.1 หลักเกณฑการดํารงฐานะ เงินตราตางประเทศ

1. ธนาคารพาณิชย ในประเทศ

2. สาขาธนาคารพาณิชย ตางประเทศ

(ไมรวมกิจการวิเทศธนกิจ: BIBF)

3. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (IFCT)

ธปท. ปรับปรุงการคํานวณฐานะเงินตราต างประเทศของสาขาในต างประเทศของธนาคารพาณิชยที่จดทะเบียนในประเทศไทย เชน ใหนับรวมบัญชีเงินใหสินเชื่อเปนเงินตราตางประเทศที่ถูกจัดช้ันสงสัยจะสูญ เฉพาะยอดมูลหนี้คงคางสุทธิหลังหักเงินสํารองที่กันไวตามเกณฑการกันเงินสํารองของประเทศที่สาขาไปเปดดําเนินการ เปนตน

- หนังสือเวียนที ่ธปท.สนส. (21)ว.167/2546 วันที ่ 21 มกราคม 2546

Page 51:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.1.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.1 มาตรการการเงิน ผูเกี่ยวของ สาระสําคัญ วันท่ีบังคับใช แหลงท่ีมา

4. ธนาคารเพ่ือการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.)

5. บริษัทเงินทุน สินเอเซีย จํากัด (มหาชน)

2.2 การขายต อห ลักท รัพ ย เงินตราตางประเทศใหลูกคา ในประเทศ

1. ธนาคารพาณิชย(ไมรวม BIBF)

2. ธสน. 3. IFCT 4. บริษัทเงินทุน สินเอเซีย จํากัด (มหาชน)

ธป ท . ข ย าย ว ง เงิ น ก าร ข ายหลักทรัพยเงินตราตางประเทศตอใหแกผูลงทุนประเภทสถาบันที่ไมไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจเก่ียวกับปจจัยชําระเงินตราตางประเทศในขอ 3 ของหนังสือเวียนที ่สกง.(05)ว. 2/2543 ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2543 จากยอดการขายแต ละรายไม เกิน 10 ล านดอลลาร สรอ . เปนไม เกิน 50 ลานดอลลาร สรอ.

- หนังสือเวียนที ่ สกง.(51)ว.1/2546 วันที ่22 เมษายน 2546

3. มาตรการด านการควบ คุม การแลกเปลี่ยนเงิน

3.1 การขยายขอบเขตธุรกิจของ สํานักงานแลกเปล่ียนเงิน

ธนาคารพาณิชย ในประเทศ

ธปท . ขยายขอบ เขตธุรกิจใหสํานักงานแลกเปล่ียนเงินสามารถประกอบธุรกิจอ่ืนเปนการทั่วไปได เชน การใหบริการรับชําระหนี้ทั้งของธนาคารพาณิชยและบุคคลใด ๆ โดยการ รับ ชํ าระด วย เงินสดห รือ เช็ค เปนตน

- หนังสือเวียนที ่ ธปท.สนส. (31) ว.1020/2546 วันที ่18 เมษายน 2546

3.2 การกํ าหนดหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการ แลกเปล่ียนเงิน (ฉบับที่ 12)

1. ธนาคารพาณิชย(ไมรวม BIBF)

2. ธสน. 3. ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย

4. IFCT 5. บริษัทเงินทุน สินเอเซีย จํากัด (มหาชน)

ธปท. ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการแลกเปล่ียนเงินเพ่ือรองรับการประกอบธุรกิจทางดานเงินตราต างประเทศของธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย ซ่ึงได รับอนุญาตใหประกอบธุรกิจดังกลาว เมื่อวันที ่11 กันยายน 2546

11 กันยายน 2546 หนังสือเวียนที ่สกง. (03) ว.4/2546 วันที ่1 ตุลาคม 2546

Page 52:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.1.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.1 มาตรการการเงิน ผูเกี่ยวของ สาระสําคัญ วันท่ีบังคับใช แหลงท่ีมา ผูลงทุน 6 ประเภท คือ 1. บริษัทประกันชีวิต2. กองทุนบําเหน็จ บํานาญ 3. กองทนุสํารอง เล้ียงชีพ 4. กองทุนประกัน สังคม 5. กองทุนรวม (ไมรวมกองทุน สวนบุคคล) 6. สถาบันการเงิน ท่ีมีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้ง

1. ธปท. ผอนผันใหผูลงทุนสถาบัน 6ประเภทไปลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศได

1. ธนาคารพาณิชย (ไมรวม BIBF)

2. ธสน. 3. IFCT 4. บริษัทเงินทุน สินเอเซีย จํากัด (มหาชน)

2. ธปท. ขยายระยะเวลาการฝากเงินเขาบัญชีเงินฝากเงินตราตางประเทศ จาก 3 เดือนเปน 6 เดือน

3.3 การผ อนคลายระ เบี ยบ ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน

รัฐวิสาหกิจทุกแหง 3. ธป ท . อนุ ญ าต ให รั ฐ วิส าห กิ จปองกันความเส่ียงของหนี้ เงินตราตางประเทศไดโดยอิสระ แตตองไมเกินระยะเวลาอายุของหนี ้

- หนังสือเวียนที ่ธปท.สกง. (05)ว. 1691/2546 1694/2546 2/2546 วันที ่22 กรกฎาคม 2546 และขาว ธปท. 23/2546

4. มาตรการปองปรามการเก็งกําไร คาเงินบาท

4.1 ม าต ร ก าร ป อ ง ป ร าม การเก็งกําไรคาเงินบาท

1. ธนาคารพาณิชย ทุกธนาคาร (ไมรวม BIBF)

2. ธสน. 3. ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย

4. IFCT 5. บริษัทเงินทุน สินเอเซีย จํากัด (มหาชน)

ธปท . เพ่ิมเติมมาตรการจํากัดการกูยืมระยะส้ันของสถาบันการเงินจากผู มี ถ่ินท่ีอยูนอกประเทศ (Non-resident: NR) เช น NR จ ะ ฝ าก เงิ นในรูปบัญชีกระแสรายวันหรือเงินฝากออมทรัพยไดเฉพาะกรณีเพ่ือ Settlement เทานั้น หากเพ่ือวัตถุประสงคอ่ืนตองเปดบัญชีเงินฝากประจําที่มีอายุต้ังแต 6 เดือนขึ้นไป เปนตน

- หนังสือเวียนที ่ธปท.สกง.(03)ว.2262/2546 วันที ่14 ตุลาคม 2546 และขาว ธปท. 33/2546

Page 53:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.1.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.1 มาตรการการเงิน ผูเกี่ยวของ สาระสําคัญ วันท่ีบังคับใช แหลงท่ีมา 4.2 มาตรการดูแลเงินทุนนําเขา ระยะส้ัน

สถาบันการเงิน ธปท. จํากัดการกูยืมเงินบาทหรือธุรกิจอ่ืนที่มีลักษณะเปนการกูยืมเงินบาทจากผูมีถ่ินที่อยูนอกประเทศ (NR) กรณีไมมีการคาหรือการลงทุนรองรับโดยใหกูยืมไดไมเกินรายละ 50 ลานบาท เวนแตจะมีอายุสัญญาเกิน 3 เดือนขึ้นไป โดยครอบคลุมถึงธุรกิจ 6รายการ (ตามประกาศ)

12 กันยายน 2546 ขาว ธปท. 32/2546

5. มาตรการดานการกํากับและ พัฒนาสถาบันการเงิน

5.1 มาตรการดานสินเช่ือและ เงินใหสินเชื่อดอยคุณภาพ (NPL)

5.1.1 การปรับปรุงความหมาย ของ NPL

1. ธนาคารพาณิชย 2. สาขาธนาคารพาณิชย ตางประเทศ

3. บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย

4. บริษัทเครดิต ฟองซิเอร

ธปท. ปรับปรุงความหมายของ NPL จากเดิมซ่ึงหมายถึงสินเช่ือที่คางชําระเงินตนและ/หรือดอกเบี้ยเกินกวา 3 เดือน มาเปนเงินใหสินเช่ือจัดช้ันต่ํากวามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ และสูญ ตามห ลักเกณฑ การจัด ช้ันในประกาศของ ธปท. ซ่ึงรวมถึงลูกหนี้จัดช้ันสงสัยจะสูญที่ไดกันสํารองครบรอยละ 100 และตดัออกจากบัญชีแลวแตยังไมไดบันทึกกลับเขามาในบัญช ี

งวดส้ินสุดเดือนธันวาคม 2545

หนังสือเวียนที ่สนส.(22)ว.7/2546 9/2546 และ 10/2546 วันที ่16 มกราคม 2546

5.1.2 การกําหนดหลักเกณฑ การใหสินเช่ือหรือ ก า ร ใ ห กู ยื ม เ พ่ื อ การจัดหาที่อยูอาศัย

1. ธนาคารพาณิชย 2. บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย

3. บริษัทเครดิต ฟองซิเอร

ธปท. กําหนดวาสถาบันการเงินจะใหสินเชื่อหรือใหกูยืมแกบุคคลหนึ่งบุคคลใดไดไมเกินรอยละ 70 ของราคาซ้ือขายที่ตกลงกันจริง สําหรับที่อยูอาศัยราคาตั้งแต 10 ลานบาทขึ้นไป โดยมีที่ ดินห รือ ส่ิงป ลูกสรางเปนประกัน

1 ธันวาคม 2546 หนังสือเวียนที ่ ธปท.สนส. (21) ว. 2544/2546 วันที ่28 พฤศจิกายน2546

Page 54:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.1.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.1 มาตรการการเงิน ผูเกี่ยวของ สาระสําคัญ วันท่ีบังคับใช แหลงท่ีมา 5.2 การขยายขอบเขตธุรกิจ ของสถาบันการเงิน

5.2.1 การอนุญ าตใหทํ า ธุ รกรรมที่ ใช เป นเคร่ืองมือในการบริหารความเส่ียงหลักทรัพยประเภทตราสารหนี ้

ธนาคารพาณิชย (ไมรวม BIBF)

ธปท. อนญุาตใหธนาคารพาณิชยทําธุรกรรม Forward Bond, Bond Options และ Equity Linked Index Swap โดยใหถือวาการประกอบธุรกรรมทั้ง 3 ประเภทเปนการกอภาระผูกพันประเภท “สัญญาเก่ียวกับอัตราดอกเบีย้”

12 เมษายน 2546 หนังสือเวียนที่สนส.(21)ว. 56/2546 วันที ่16 เมษายน 2546 ประกาศ วันที ่8 เมษายน 2546

5.2.2 ก า ร อ นุ ญ า ต ใ ห ทําธุรกรรมเงินฝากห รื อ เงิ น กู ยื ม ที่ มี การจายผลตอบแทน อางอิงกับตัวแปร

ธนาคารพาณิชย (ไมรวม BIBF)

ธปท . กําหนดขอบเขตการทํ าธุรกรรมและแนวนโยบายในการดูแล เชน ใหดํารงสินทรัพยสภาพคลองเสมือนธุรกรรมดังกลาวเปนธุรกรรมเงินฝากประเภทหนึ่ง

18 เมษายน 2546 หนังสือเวียน ที่ สนส. (21)ว.57/2546 วันที ่18 เมษายน 2546 ประกาศ วันที ่16 เมษายน 2546

5.2.3 ก า ร อ นุ ญ า ต ใ หประกอบ ธุรกรรม Credit Default

Swaps

1. ธนาคารพาณิชย (ไมรวม BIBF)

2. บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย

ธปท. กําหนดใหสถาบันการเงินที่ทํ าธุรกรรม Credit Default Swaps จะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑการกํากับสถาบันการเงินของ ธปท. เชน เรื่องการดํารงเงินกองทุนเปนอัตราสวนกับสินทรัพยและภาระผูกพัน เปนตน

24 เมษายน 2546 (บริษัทเงนิทุน)

2 พฤษภาคม 2546 (ธนาคารพาณิชย)

หนังสือเวียนที ่สนส. (21) ว.61/2546 และ 67/2546 วันที ่29 เมษายน 2546 และ 2 พฤษภาคม 2546 ตามลําดับ

5.2.4 ก า ร อ นุ ญ า ต ใ หป ร ะ ก อ บ กิ จ ก าร การใหบ ริการทางก าร เงิน ต ามห ลั ก ช า ริ อ ะ ฮ (Shariah Banking Services)

ธนาคารพาณิชย (ไมรวม BIBF)

ธปท . ให ธน าค ารพ าณิ ช ย ที่ประกอบกิจการธนาคารปลอดดอกเบี้ย (interest-free units) เป ล่ี ย น ช่ื อ จ า กกิจการธนาคารปลอดดอกเบี้ ยเปน “กิจการใหบริการทางการเงินตามหลักชาริ อะฮ ” และ ให ถื อป ฏิ บั ติ ต ามประกาศฉบับใหมนี้แทน

21 พฤศจิกายน2546 หนังสือเวียน ที่ สนส.(11)ว 43/2546 วันที ่ 1 ธันวาคม 2546 ประกาศวันที่ 10 พฤศจิกายน 2546

5.2.5 ก า ร อ นุ ญ า ต ใ หประกอบธุรกิจเก่ียวกับการจัดใหมีบัญชีดูแลผลประโยชนของคูสัญญา (Escrow Account)

บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุน หลักทรัพย

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอนุญาตใหบ ริษัท เงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพยรับชําระคาทรัพยสินและคาอ่ืนใดจากผูซ้ือหรือผูจะซ้ือที่ ไดทํ าสัญญาซ้ือขายหรือสัญญาจะซ้ือจะขายทรัพยสินตาง ๆ กับผูขายหรือผูจะขายทรัพยสินแลวแตกรณี โดยนําไปฝากไวในรูปตั๋วสัญญาใชเงินประเภททวงถามของบริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย หรือนําไปฝากไวกับธนาคารพาณิชย และใหดูแลการเบิกถอนเงินดังกลาว

13 ธันวาคม 2546 หนังสือเวียน ที่ ธปท.สนส. (11)ว.2689/2546 วันที ่23 ธันวาคม 2546 ประกาศกระทรวงการคลัง วันที ่3 ธันวาคม 2546

Page 55:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.1.6 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.1 มาตรการการเงิน ผูเกี่ยวของ สาระสําคัญ วันท่ีบังคับใช แหลงท่ีมา

6. การใหความอนุเคราะหทาง ก าร เงิ น แก ภ าค เศ รษ ฐกิ จ ท่ีสําคัญ

6.1 ก า ร ง ด ก า ร ใ ห ค ว า มอนุเคราะหทางการเงินแกภาคเศรษฐกิจที่สําคัญ

1. ธนาคารพาณิชย 2. บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย

3. IFCT

ธปท. ยกเลิกการใหความอนุเคราะหทางการเงินแกภาคเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก กิจการอุตสาหกรรม การเก็บรักษาสินคาไวในคลังสินคา กิจการเล้ียงสัตว การคาพืชผลเกษตร โครงการดานเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมเพ่ือการพัฒนาชนบท และการขายขาวสารของผูประกอบกิจการโรงสี

31 มกราคม 2546 หนังสือเวียนที ่ธปท.สกง. (06)ว.3/2546 วันที ่ 2 มกราคม 2546

6.2 การรับซ้ือต๋ัวสัญญาใชเงิน ที ่เกิดจากการประกอบ วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม

1. ธนาคารพาณิชย 2. บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย

3. IFCT 4. ธสน. 5. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (SME Bank)

ธปท. ปรับลดอัตราดอกเบี้ยที่คิดกับสถาบั น การ เงิน ในการ รับ ซ้ื อตั๋ ว สัญ ญ าใช เงิน จ ากผู ป ระกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมจากเดิมรอยละ 1.75 ตอปเหลือรอยละ 1 ตอป

5 กรกฎาคม 2546 หนังสือเวียนที ่ธปท.สกง. (06) ว.1549/2546 วันที ่4 กรกฎาคม 2546

6.3 การให กู ยืมเงินโดยมีตั๋ว สัญญาใช เงินที่ เกิดจาก การประกอบวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอมเปน ประกัน

1. ธนาคารพาณิชย 2. บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย

3. IFCT 4. ธสน. 5. SME Bank 6. ธนาคารเพ่ือ การเกษตร และสหกรณ การเกษตร (ธ.ก.ส.)

7. ธนาคารออมสิน

ธปท . เป ล่ียนแปลงวิธีการใหความอนุ เคราะหจากการรับซ้ือตั๋วสัญญาใชเงินท่ีออกโดยผูประกอบการมาเป น วิ ธีก ารให กู ยืม แกสถาบั นการเงินโดยมีตั๋วสัญญาใช เงินของผูประกอบการวิสาหกิจเปนประกัน ซ่ึง ธปท. จะคิดดอกเบี้ยจากสถาบันการเงินในอัตรารอยละ 1 ตอป และใหกู ยืมรอยละ 60 ของจํานวนเงินตามตั๋วสัญญาใชเงินที่วางเปนประกัน

1 ตุลาคม 2546 หนังสือเวียนที ่ธปท.สกง. (06)ว.1845/2546 วันที ่15 สิงหาคม 2546

Page 56:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.2.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.2 มาตรการการคลัง ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

1. มาตรการภาษี

1.1 - การกําหนดอัตราการจัดเก็บภาษี สรรพสามิตจากบริการ ดังตอไปนี้

1) ไนทคลับและดิสโกเทค 2) สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3) สนามแขงมา 4) การออกสลากกินแบง 5) สนามกอลฟ 6) กิจการโทรคมนาคม - กิจการโทรศัพทพ้ืนฐาน - กิจการโทรศัพทเคลื่อนที่

มติ ครม. 28 มกราคม 2546

-

- การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตจากบริการ โท รคมน าคม โดยก ารหั กค าภ าษี สรรพสามิตออกจากสวนแบงรายไดที่ คูสัญญาจะตองนําสงใหคูสัญญาภาครัฐ

มติ ครม. 11 กุมภาพันธ 2546 -

1.2 การลดอัตราภาษีมูลคาเพิ่ม ดังนี้ - คงจัดเก็บในอัตรารอยละ 7 ต้ังแตวันที่

1 ตุลาคม 2546 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2548

- จัดเก็บในอัตรารอยละ 10 ต้ังแตวันที่ 1 ตุลาคม 2548 เปนตนไป

มติ ครม. 9 กันยายน 2546 -

1.3 การแกไขปญหาภาษีสุราซ้ําซอน มติ ครม. 16 กันยายน 2546 - 1.4 มาตรการยกเลิกสิทธิประโยชนทางภาษี

สําหรับกิจการวิเทศธนกิจเพื่อการใหกูยืมภายในประเทศ

มติ ครม. 11 พฤศจิกายน 2546 -

1.5 - มาตรการภาษีเพื่อจูงใจใหภาคเอกชน สนับสนุนการศึกษา

มติ ครม. 11 พฤศจิกายน 2546

-

- มาตรการภาษี อากรเพื่ อสนั บสนุ น การศึกษาโดยการยกเวนอากรสินคาที่ นําเขาสําหรับการศึกษา

มติ ครม. 2 ธันวาคม 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 57:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.2.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.2 มาตรการการคลัง ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

1.6 การลดอัตราอากรและการยกเวนอากรศุลกากรแก ผูประกอบการภายในเขตปลอดอากรที่ผลิตเพื่อจําหนายในประเทศ

มติ ครม. 25 พฤศจิกายน 2546 -

1.7 มาตรการสนั บสนุ นด านภาษี อ ากร ในการแปลงสภาพการสื่ อส ารแห งประเทศไทย (กสท) โดยการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่มใหแกการขายแสตมป และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาสําหรับเงินไดจากการขายหรือสวนลดจากการซื้อแสตมป

มติ ครม. 2 ธันวาคม 2546 -

1.8 การยกเลิกการลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ ที่ จัด เก็บ จากธุ ร กิจอสั งห าริมทรัพ ย โดยใหสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546

มติ ครม. 9 ธันวาคม 2546 1 มกราคม 2547

1.9 ม าต รก ารสนั บ ส นุ น ก ารป รั บ ป รุ ง โครงสรางหนี้ โดยขยายเวลาการยกเวนและการให สิ ทธิ ประโยชน ท างภาษีสรรพากร และคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมออกไปอีก 1 ป เปนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2547

มติ ครม. 23 ธันวาคม 2546 1 มกราคม 2547

2. มาตรการรายจาย 2.1 การปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐสําหรับ

หนวยงานภาครัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่น

มติ ครม. 4 กุมภาพันธ 2546 -

2.2 ร า งพ ร ะ ร าช บั ญ ญั ติ งบ ป ร ะ ม าณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2547 จํ าน วน 1,028 พั น ล าน บ าท ซึ่ ง เป น งบประมาณแบบขาดดุล

มติ ครม. 4 กุมภาพันธ 2546 22 เมษายน 2546

26 พฤษภาคม 2546

-

2.3 - ราง พ.ร.บ. บําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ....) พ .ศ . .... และราง พ .ร .บ . กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่….) พ.ศ. ….

มติ ครม. 22 เมษายน 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 58:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.2.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.2 มาตรการการคลัง ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

- รางกฎกระทรวงกําหนดอัตราและ วิธีการรับบําเหน็จดํารงชีพ พ.ศ. ....

14 ตุลาคม 2546 -

- การยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา สําหรับเงินบําเหน็จดํารงชีพ

2 ธันวาคม 2546 -

2.4 รางพระราชกฤษฎีกากําหนดเวลาเริ่มดําเนินการจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการใหประโยชนทดแทนกรณีวางงาน พ.ศ.....

มติ ครม. 28 เมษายน 2546 1 มกราคม 2547

2.5 - ยุทธศาสตรการปรับขนาดกําลังคน ภาครัฐ

มติ ครม. 23 กันยายน 2546

-

- มาตรการพัฒนาและบริหารกําลังคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง

29 พฤศจิกายน 2546 -

- มาตรการควบคุมคาใชจายบุคคลภาครัฐ 23 ธันวาคม 2546 - 2.6 ก าร ยก เลิ ก ก ารป ระกั น เจ าห นี้ แ ล ะ

คาธรรมเนียมนําสงกองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินจากฐาน หนี้สิน

มติ ครม. 4 พฤศจิกายน 2546 -

3. มาตรการกอหนี้และบริหารหนี้

3.1 แผนการกอหนี้จากตางประเทศประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2546 และการปรับปรุงครั้งที่ 1

มติ ครม. 4 กุมภาพันธ 2546 7 ตุลาคม 2546

-

3.2 หลักเกณฑการแปลงหนี้ เงินยืมเปนทุนของรัฐวิสาหกิจ

มติ ครม. 16 กันยายน 2546 -

4. มาตรการรัฐวิสาหกิจ

4.1 - โครงการพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมี รายไดนอยและคนจนในเมือง ไดแก โครงการบานเอื้ออาทร และโครงการ บานมั่นคง

มติ ครม. 14 มกราคม 2546 22 กรกฎาคม 2546 4 พฤศจิกายน 2546

-

- แผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาชุมชนแออัด “บานมั่นคง” (พ .ศ. 2548 – 2550) และ แผนปฏิบัติการ “โครงการบานมั่นคง” ป 2547

มติ ครม. 4 พฤศจิกายน 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 59:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.2.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.2 มาตรการการคลัง ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

4.2 การทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ หลักเกณฑและเงื่อนไขในการจัดสรร รายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

มติ ครม. 1 กรกฎาคม 2546 -

4.3 การแปลงสภาพรัฐวิสาหกิจเปนบริษัทมหาชน (corporatisation) ของ

มติ ครม.

- การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท) 8 กรกฎาคม 2546 - - การประปานครหลวง (กปน.) 19 สิงหาคม 2546 - - การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 14 ตุลาคม 2546 -

4.4 งบประมาณประจําป 2547 ของรัฐวิสาหกิจ มติ ครม. 23 กันยายน 2546 -

5. มาตรการอื่น ๆ 5.1 แนวทางการแปลงทรัพยสินเปนทุนและ

การปฏิรูปที่ดิน มติ ครม. 4 มีนาคม 2546

22 เมษายน 2546 1 มกราคม 2547

5.2 รางพระราชบัญญัติกองทุนหมูบานและ ชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ. ......

มติ ครม. 18 มีนาคม 2546 16 กันยายน 2546

-

5.3 การจัดตั้ งกองทุ นรวมวายุ ภั กษ 1 ของกระทรวงการคลัง วงเงิน 100 พันลานบาท

มติ ครม. 24 มิถุนายน 2546 1 กรกฎาคม 2546 14 ตุลาคม 2546

-

5.4 การปรับบทบาทและภารกิจของคลังจังหวัด

มติ ครม. 30 กันยายน 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 60:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.1 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ

ณ วันที่ มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง

อินเตอรเนต 1. มาตรการดานการเกษตร

1.1 ความรวมมือด านยางพาราระหวางประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย

มติ ครม. 4 กุมภาพันธ 2546 -

1.2 มาตรการชวยเหลือชาวไรออย มติ ครม. 18 กุมภาพันธ 2546 30 ธันวาคม 2546

1.3 การแกไขปญหาน้ํานมดิบ มติ ครม. 8 เมษายน 2546 -

1.4 การแกไขปญหาปาลมน้ํามันอยางเปนระบบ

มติ ครม. 22 เมษายน 2546 -

1.5 โครงการปลูกยางเพื่อยกระดับรายไดแ ล ะค ว าม มั่ น ค งให แ ก เก ษ ต รก ร ในแหลงปลูกยางใหม

มติ ครม. 26 พฤษภาคม 2546 -

1.6 การลงนามรับรองกรอบอนุสัญญาวาดวยการควบคุมยาสูบ

มติ ครม. 10 มิถุนายน 2546 -

1.7 รางกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดโรคระบาด โรคหรือลักษณะของสัตวหรือเนื้อสัตวที่ไมเหมาะสมจะใชเนื้อสัตวเชนนั้นเปนอาหาร พ.ศ. ….

มติ ครม. 17 มิถุนายน 2546 -

1.8 การจัดตั้งบริษัทมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารจํากัด

มติ ครม. 17 มิถุนายน 2546 -

1.9 โครงการถายทอดเทคโนโลยีโรงงาน ตนแบบผลิตปุยอินทรีย ปุยอินทรียเคมี และปุยชีวภาพ เพื่อกระตุนเศรษฐกิจระดับรากหญา

มติ ครม. 2 กันยายน 2546 -

1.10 การจัดสรรเงินจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกรและการขยายระยะเวลาชําระหนี้

มติ ครม. 9 กันยายน 2546 -

1.11 การสนับสนุนสินเชื่อแกเกษตรกรและ ผูประกอบกิจการเพาะเลี้ยงกุงทะเลที่ ไดรับการรับรองมาตรฐาน GAP (Good Aquaculture Practice) และ CoC (Code of Conduct)

มติ ครม. 30 กันยายน 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 61:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.2 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

1.12 รางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งการยางแหงประเทศไทย พ.ศ. …. และรางพระราชบัญญัติการส งยางออกนอกราชอาณ าจักร พ.ศ. ….

มติ ครม. 4 พฤศจิกายน 2546 -

2. มาตรการการคา

2.1 - นโยบายและมาตรการนําเขาวัตถุดิบ อาหารสัตวป 2546

มติ ครม. 21 และ 28 มกราคม 2546

-

- นโยบายและมาตรการนําเขาวัตถุดิบ อาหารสัตว ป 2547

มติ ครม. 2 และ 16 ธันวาคม 2546

-

2.2 การยกเวนอากรและการลดอัตราอากรศุลกากรสําหรับเขตการคาเสรีอาเซียน

มติ ครม. 21 มกราคม 2546

2.3 การหมุนเวียนเจาหน าที่ ด านเทคนิคประจําตามเมืองทาที่สําคัญในประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส เนเธอรแลนด อิตาลี และสหราชอาณาจักร เพื่อประสานงานกับหองปฏิบัติการตาง ๆ ที่ทําการตรวจสอบสินคานําเขาจากไทย

มติ ครม. 11 กุมภาพันธ 2546 -

2.4 การจัดระเบียบการสงออกผักและผลไม มติ ครม. 4 มีนาคม 2546 -

2.5 มาตรการป อ งกัน และปราบปราม การลักลอบนําเขาสินคาเกษตร

มติ ครม. 19 พฤษภาคม 2546 -

2.6 มาตรการของรัฐในการเก็บคาธรรมเนียมพิเศษและการปองกันการทุมตลาดจากสินคานําเขา

มติ ครม. 3 มิถุนายน 2546 -

2.7 มาตรการปรับอัตราอากรขาเขาสินคา ท อ เห ล็ กกล าไรสนิ มประ เภทยอ ย 7306.4 และ 7306.6 เฉพาะทอเหล็กกลาที่มีรูปทรงสี่ เหลี่ยมจากเดิมรอยละ 1 เปนรอยละ 12

มติ ครม. 10 มิถุนายน 2546 -

2.8 ความตกลงเรงลดภาษีสินคาผักและ ผลไมระหวางไทย – จีน

มติ ครม. 10 และ 24 มิถุนายน 2546

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 62:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.3 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

2.9 การแก ไขปญ ห าการส งออกลํ าไย ไปประเทศจีน

มติ ครม. 17 มิถุนายน 2546 -

2.10 การยกเลิกมาตรการตรวจสอบกุงไก ในประชาคมยุโรป

มติ ครม. 8 กรกฎาคม 2546 27 มิถุนายน 2546

2.11 การปรับปรุงโครงสรางพิกัดอัตราอากรศุ ล ก าก ร ข อ งก ลุ ม สิ น ค า เก ษ ต ร และเกษตรแปรรูปและกลุ มสินค า อุ ตส าหกรรม เพื่ อ รองรับนโยบ าย การเปดการคาเสรี

มติ ครม. 29 กรกฎาคม 2546 -

2.12 โ ค ร งก ารส ง เส ริ ม อ าห าร ฮ าล าล ในประเทศอิหรานและสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส

มติ ครม. 29 กรกฎาคม 2546 -

2.13 การใหความคุมครองการลงทุนภายใตความตกลงเพื่อสงเสริมและคุมครองการลงทุนระหวางประเทศไทยกับประเทศตาง ๆ

มติ ครม. 19 สิงหาคม 2546 -

2.14 การยกเลิกคาธรรมเนียมพิเศษตอบโตการทุมตลาดสินคาเหล็กโครงสราง รูปพรรณหนาตัดรูปตัว H ที่มีแหลงกําเนิดจากประเทศโปแลนด

มติ ครม. 26 สิงหาคม 2546 -

2.15 การ เป ด ตล าด เมล็ ดถั่ ว เห ลื อ งต าม ขอผูกพันภายใตองคการการคาโลก ป 2547

มติ ครม. 23 กันยายน 2546 1 มกราคม 2547 ถึง 31 ธันวาคม

2547 2.16 มาตรการดานการนําเขาเครื่องใชไฟฟา

และอิเล็กทรอนิกส มติ ครม. 23 กันยายน 2546 1 ตุลาคม 2546

2.17 การบริหารการนําเขา มติ ครม. 28 ตุลาคม 2546, 25 พฤศจิกายน 2546

-

2.18 การกําหนดหนวยงานสําหรับขึ้นทะเบียนและรับรองโรงงานเพื่อสงออกไปยังสหรัฐฯ

มติ ครม. 28 ตุลาคม 2546 -

2.19 การสงยางออกนอกราชอาณาจักร

มติ ครม. 4 พฤศจิกายน 2546 -

Page 63:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.4 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

2.20 การลดอัตราภาษีเรือยอรชและยานน้ํา ที่ใชเพื่อความสําราญ

มติ ครม. 18 พฤศจิกายน 2546

-

2.21 การจัด เก็ บ ค าธรรม เนี ยมศุ ลก ากร ใหเหมาะสมกับการพัฒนาดานระบบ พิธีการ เทคโนโลยีสารสนเทศและ สอดคลองกับนโยบายสงเสริมการคาชายแดน

มติ ครม. 25 พฤศจิกายน 2546 -

2.22 โครงการความรวมมือกับตลาดเกิดใหม (เนเธอรแลนด) ระหวางรัฐบาลไทยและรัฐบาลเนเธอรแลนด

มติ ครม. 25 พฤศจิกายน 2546 -

2.23 การยกเวนอากรศุลกากรสินคาประเภทผักและผลไมใหแกสหภาพพมา

มติ ครม. 16 ธันวาคม 2546 -

2.24 การปรับปรุงโครงสรางพิกัดอัตราศุลากรสินคากระจกแผน สังกะสีแทง สังกะสีผสม และเหรียญตัวเปลา

มติ ครม. 23 ธันวาคม 2546 -

3. มาตรการอุตสาหกรรม

3.1 งบประมาณสนับสนุนโครงการสงเสริมการผลิตสุราแชจากผลผลิตการเกษตร

มติ ครม. 14 มกราคม 2546 -

3.2 กรอบและแผนงานการใชเงินตามแผนการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ

มติ ครม. 21 มกราคม 2546 -

3.3 แนวทางแกไขปญหาราคาน้ํามันแพง มติ ครม. 11 กุมภาพันธ 2546 25 กุมภาพันธ 2546

8 กุมภาพันธ - 31 พฤษภาคม 2546

3.4 นโยบายและแผนการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของประเทศไทย (พ.ศ. 2545-2549)

มติ ครม. 6 พฤษภาคม 2546 -

3.5 ความรวมมือระหวางกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กับบริษัทโตโยตา มอเตอร จํากัด

มติ ครม. 24 มิถุนายน 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 64:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.5 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

3.6 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น มติ ครม. 8 กรกฎาคม 2546 -

3.7 แผนงานการ เพิ่ มขี ดความสามารถ ในการแขงขันของอุตสาหกรรมยานยนต

มติ ครม. 22 กรกฎาคม 2546 -

3.8 การจัดตั้งกองทุนรวมลงทุน (venture capital fund) เพื่อยกระดับความสามารถในการแขงขันของธุรกิจไทย

มติ ครม. 22 กรกฎาคม 2546 -

3.9 การแกไขปญหาราคาออยและน้ําตาล ทั้งระบบ

มติ ครม. 22 กรกฎาคม 2546 -

3.10 การขยาย เวล าก ารดํ า เนิ น ก ารต าม โครงการศูนยใหคําปรึกษาทางการเงินสําหรับวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดยอม และประชาชน

มติ ครม. 5 สิงหาคม 2546 -

3.11 การเพิ่ มประสิทธิภาพการผลิตของ อุตสาหกรรมออยและน้ําตาลทรายเพื่อการแขงขันในตลาดโลก

มติ ครม. 28 ตุลาคม 2546 -

3.12 การกํ าหนดหลัก เกณฑ และวิธีการ เกี่ยวกับการจัดทําประมาณการรายได การกํ าหนดและการชํ าระราคาออย และคาผลิตน้ําตาลทราย และอัตราสวนของผลตอบแทนระหวางชาวไรออย และโรงงานขั้นตน สําหรับฤดูกาลผลิต ป 2546/47

มติ ครม. 25 พฤศจิกายน 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

4. มาตรการราคา

4.1 การปรับคาไฟฟาอัตโนมัติ (คา Ft) มติของคณะอนุกรรมการกํากับสูตรการปรับอัตราคา ไฟฟาโดยอัตโนมัติ

14 กุมภาพันธ 2546 17 มิถุนายน 2546

มิถุนายน –

กันยายน 2546

www.eppo.go.th

Page 65:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.6 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

4.2 การเปลี่ยนแปลงอัตราคาธรรมเนียมขบวนรถไฟและคาธรรมเนียมปรับอากาศรถไฟ

การรถไฟแหงประเทศ

ไทย

26 พฤษภาคม 2546 1 ตุลาคม 2546

4.3 การปรับขึ้นราคากาซปโตรเลียมเหลว สํานักนโยบาย และแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน

4 ธันวาคม 2546 5 ธันวาคม 2546

5. มาตรการแรงงาน 5.1 รางกฎกระทรวงวาดวยการคุมครอง

แรงงานในงานที่รับไปทําที่บาน พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดอัตราน้ําหนักที่นายจางใหลูกจางทํางานได พ.ศ. ....

มติ ครม. 25 มีนาคม 2546 -

5.2 รางพระราชกฤษฎีกากําหนดเวลาเริ่มดําเนินการจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการให ประโยชนทดแทนกรณีวางงาน พ.ศ. ....

มติ ครม. 28 เมษายน 2546 1 มกราคม 2547 เปนตนไป

5.3 หลักการจัดตั้ง “ศูนยบริการการไปทํางานตางประเทศ” และรางระเบียบสํานักน าย ก รั ฐ ม น ต รี ว าด ว ย ก าร จั ด ตั้ ง ศูนยบริการการไปทํางานตางประเทศ พ.ศ. ...

มติ ครม. 26 พฤษภาคม 2546 19 สิงหาคม 2546

-

5.4 รางกฎกระทรวงกําหนดอัตราเงินสมทบกรณีวางงาน พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและอัตราการจายประโยชนทดแทนกรณีวางงาน พ.ศ. .…

มติ ครม. 17 มิถุนายน 2546 -

5.5 รางกฎกระทรวงวาดวยการคุมครอง แรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. ... และ

รางกฎกระทรวงกํ าหนดมาตรฐาน ในการบริห ารและการจัดการด าน ความปลอดภั ย อาชี วอน ามั ย และ สภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับการตรวจ การบันทึ ก การแจ งและ การรายงานเกี่ ยวกับสุขภาพอนามัย ของลูกจาง พ.ศ. ...

มติ ครม. 22 กรกฎาคม 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 66:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.7 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

5.6 - ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่องอัตรา คาจางขั้นต่ํา (ฉบับที่ 2)

มติ ครม. 5 สิงหาคม 2546 1 สิงหาคม 2546

- การกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ํา มติ ครม. 16 ธันวาคม 2546 1 มกราคม 2547

5.7 รางกฎกระทรวงว าด วยห ลักเกณฑ การพิจารณาอนุญาตการทํางานของคนตางดาว พ.ศ. ...

มติ ครม. 19 สิงหาคม 2546 -

5.8 การใหสัตยาบันอนุสัญญาขององคการแรงงานระหวางประเทศ ฉบับที่ 138 วาดวยอายุขั้นต่ํา พ.ศ. 2516

มติ ครม. 7 ตุลาคม 2546 -

5.9 การรับทราบอนุสัญญาและขอเสนอแนะขององคการแรงงานระหวางประเทศ

มติ ครม. 30 ธันวาคม 2546 -

6. มาตรการดานบริการ

6.1 การเปดและการพัฒนาจุดผานแดนเพื่อสงเสริมการคาและการทองเที่ยว

มติ ครม. 28 มกราคม 2546 -

6.2 การประชุมรัฐมนตรีทองเที่ยวอาเซียน ครั้งที่ 6 และการประชุมระหวางรัฐมนตรีทองเที่ ยวอาเซียนกับจีน ญี่ปุน และ สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 2

มติ ครม. 11 กุมภาพันธ 2546 -

6.3 มาตรการป องกันและควบคุมโรค ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS)

มติ ครม. 1, 22, 28 เมษายน 2546

-

6.4 ก า ร ดํ า เนิ น ก า ร ต า ม ญั ต ติ เรื่ อ ง การตรวจสอบการสงเสริมและพัฒนา การทองเที่ยวพํานักระยะยาวแหงชาติ

มติ ครม. 19 พฤษภาคม 2546 -

6.5 ความตกลงระหวางราชอาณาจักรไทยกั บ ส าธ ารณ รั ฐ โป รตุ เก ส ว าด ว ย การยกเวนการตรวจลงตราหนั งสือ เดินทางทูต หนั งสื อเดินทางราชการ และหนังสือเดินทางพิเศษ

มติ ครม. 3 มิถุนายน 2546 -

6.6 โครงการบัตรสมาชิกพิ เศษ Thailand Elite

มติ ครม. 29 กรกฎาคม 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

Page 67:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.8 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

6.7 การพิ จ ารณ าทบทวนพิ ธี ก ารและกระบวนการเขาเมืองของนักทองเที่ยวตางประเทศ

มติ ครม. 16 กันยายน 2546 -

6.8 การปรับปรุงระเบียบพิธีการเขาเมืองเพื่อสนับสนุนผูถือบัตรสมาชิกพิเศษ Thailand Elite

มติ ครม. 16 กันยายน 2546 -

6.9 การสงเสริมใหทาอากาศยานภูมิภาค เปนศูนยกลางการบินและสนับสนุน อุตสาหกรรมการทองเที่ยว

มติ ครม. 7 ตุลาคม 2546 -

6.10 การจัดทําความตกลงวาดวยความรวมมือดานการทองเที่ยวระหวางไทย – อินเดีย

มติ ครม. 7 ตุลาคม 2546 -

6.11 การจัดทําความตกลงวาดวยความรวมมือด าน ก ารท อ ง เที่ ย วระห ว างไท ย – สาธารณรัฐชิลี

มติ ครม. 14 ตุลาคม 2546 -

6.12 รางพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….

มติ ครม. 28 ตุลาคม 2546 -

6.13 การพัฒนาทาเทียบเรืออเนกประสงค จังหวัดระนอง

มติ ครม. 5 สิงหาคม 2546 -

6.14 ระบบการคมนาคมของประเทศและ การแปรรูปบริษัท ไทยเดินเรือทะเล จํากัด ใหเปนสายการเดินเรือแหงชาติ

มติ ครม. 4 พฤศจิกายน 2546 -

6.15 การจัดตั้งบริษัทอุตสาหกรรมการบิน จํากัด

มติ ครม. 16 ธันวาคม 2546 -

www.thaigov.go.th เลือก - ขาวการประชุม ครม. - ประมวลขาว ครม. - เลือกวันที่ตองการ

7. มาตรการตลาดทุน

7.1 การกําหนดอัตราสวนการลงทุนของ กองทุนรวม (ฉบับที่ 8)

ก.ล.ต. 10 กรกฎาคม 2546 16 กรกฎาคม 2546

7.2 หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการในการคาห ลักทรัพยอั น เป นตราสารแห งหนี้ (ฉบับที่ 7)

ก.ล.ต. 11 กรกฎาคม 2546 1 สิงหาคม 2546 www.sec.or.th

Page 68:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.9 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

7.3 การอนุญาตใหกองทุนรวมและกองทุนสวนบุคคลลงทุนในพันธบัตรหรือ ตราสารแหงหนี้ตางประเทศ

ก.ล.ต. 8 สิงหาคม 2546 8 สิงหาคม 2546

7.4 - การกําหนดอัตราสวนการลงทุนของ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 5)

ก.ล.ต. 8 สิงหาคม 2546 8 สิงหาคม 2546

- การกําหนดอัตราสวนการลงทุนของ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 6)

ก.ล.ต. 26 ธันวาคม 2546 1 มกราคม 2547

7.5 การกําหนดอัตราสวนการลงทุนของกองทุนสํ ารองเลี้ ยงชีพที่ มีนโยบาย การลงทุนในตลาดเงิน (ฉบับที่ 2)

ก.ล.ต. 8 สิงหาคม 2546 8 สิงหาคม 2546

7.6 หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมเพื่อแกไขปญหาในระบบสถาบันการเงิน (ฉบับที่ 7)

ก.ล.ต. 21 สิงหาคม 2546 26 สิงหาคม 2546

7.7 หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย และสิทธิเรียกรอง (ฉบับที่ 3)

ก.ล.ต. 21 สิงหาคม 2546 26 สิงหาคม 2546

7.8 หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย เพื่อแกไขปญหาในระบบสถาบันการเงิน (ฉบับที่ 7)

ก.ล.ต. 21 สิงหาคม 2546 26 สิงหาคม 2546

7.9 - หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้ง และจัดการกองทุนรวมวายุภักษ

ก.ล.ต. 30 กันยายน 2546 1 ตุลาคม 2546

- หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้ง และจั ดการกองทุ นรวมวายุ ภั กษ (ฉบับที่ 2)

ก.ล.ต. 3 พฤศจิกายน 2546 1 พฤศจิกายน 2546

7.10 หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดจําหนายหนวยลงทุนของกองทุนรวมวายุภักษ และการตั้งตัวแทนจําหนายหนวยลงทุนของกองทุนรวมวายุภักษ

ก.ล.ต. 3 พฤศจิกายน 2546 1 พฤศจิกายน 2546

www.sec.or.th

Page 69:  · 2015-02-26 · การเลื่อนการลงทุนบางส วนออกไประยะ ... การบริหารจัดการ เป นต

3.3.10 รายงานเศรษฐกิจและการเงิน ป 2546

3.3 มาตรการอื่น ๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่

มีผลบังคับใช แหลงขอมูลทาง อินเตอรเนต

7.11 หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับมูลคา ตอหนวยและการคํานวณจํานวนหนวยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

ก.ล.ต. 19 กันยายน 2546 1 มกราคม 2547 www.sec.or.th