62
การตรวจหาลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษหลายชนิดดวยวิธีรมไอโอดีน โดย นายวิโชติ บุรพชนก การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

การตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษหลายชนิดดวยวิธีรมไอโอดีน

โดย นายวิโชติ บุรพชนก

การคนควาอิสระน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

การตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษหลายชนิดดวยวิธีรมไอโอดีน

โดย นายวิโชติ บุรพชนก

การคนควาอิสระน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

DETERMINATION OF LATENT FINGERPRINTS ON VARIOUS TYPES OF PAPER BY

THE IODINE FUMING METHOD

By

Vichote Buraphachanok

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

MASTER OF SCIENCE

Program of Forensic Science

Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY

2010

Page 4: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหการคนควาอิสระเร่ือง “การตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษหลายชนิดดวยวิธีรมไอโอดีน” เสนอโดย นายวิโชติ บุรพชนก เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร

……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ อาจารย ดร.ศิริรัตน ชูสกุลเกรียง คณะกรรมการตรวจสอบการคนควาอิสระ .................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย ดร.ศุภชัย ศุภลักษณนารี) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (พันตํารวจเอก ปรัชญชัย ใจชาญสุขกิจ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ดร.ศิริรัตน ชูสกุลเกรียง) ............/......................../..............

Page 5: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

51312323 : สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร คําสําคัญ : ลายน้ิวมือ/ กระดาษ/ ไอโอดีน วิโชติ บุรพชนก : การตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษหลายชนิดดวยวิธีรมไอโอดีน.อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ : อาจารย ดร. ศิริรัตน ชูสกุลเกรียง. 49 หนา.

การศึกษาวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อทําการศึกษาความชัดของลายพิมพนิ้วมือแฝง

บนกระดาษ ความรอน เชน ใบเสร็จรับเงิน กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็ม เปนตน ดวยวิธีรมไอโอดีน

ในการทดลองน้ี ศึกษาผลของน้ําหนักของแรงกดพิมพลายน้ิวมือ, คุณภาพของลายน้ิวมือแฝงกอนนํามาพิมพลายน้ิวมือ, ระยะเวลาในการรมไอโอดีน

ผลการศึกษาพบวานํ้าหนักของแรงกดพิมพลายนิ้วมือที่น้ําหนัก 250 กรัม ใหคุณภาพของรอยลายนิ้วมือแฝงและรอยลายน้ิวมือแฝงจากบุคคลที่มีปริมาณเหง่ือมาก ใหความชัดของลายพิมพนิ้วมือมากท่ีสุด สําหรับระยะเวลาในการรมไอโอดีน พบวาระยะเวลา 60 นาที เปนเวลาท่ีเหมาะสม และเม่ือศึกษาความคงอยูของลายนิ้วมือแฝงพบวา บนกระดาษท่ีเก็บเปนเวลา 1 วัน ใหลายพิมพนิ้วมือที่ชัดเจนมากท่ีสุด

จากการทดลองน้ีสรุปวา วิธีการรมไอโอดีนเปนวิธีที่สะดวกงายในการทําการทดลองและสามารถหารอยลายน้ิวมือแฝงไดดีในกระดาษความรอน สามารถนํามาใชประโยชนในทางนิติวิทยาศาสตรได

สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลายมือชื่อนักศึกษา........................................ ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ........................................

Page 6: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

51312323 : MAJOR : FORENSIC SCIENCE KEY WORDS : FINGERPRIN T / PAPER / IODINE VICHOTE BURAPHACHANOK: DETERMINATION OF LATENT FINGERPRINTS ON VARIOUS TYPES OF PAPER BY THE IODINE FUMING METHOD.INDEPENDENT STUDY ADVISOR : SIRIRAT CHUSAKHUNKEANG, Ph.D. 49 pp.

The objective of this work is to examine the quality of latent fingerprint deposited on thermal paper such as the receipts and ATM slips, by using the iodine fuming method. The effects of exerted pressure, the quality of the fingermark before deposition, the iodine exposing time were investigated

It was found that the exertion pressure giving the weight of 250 g, produced the best quality fingermark. It was also found that the fingerprint obtained from the donor with a high content of sweat showed a good quality of latent fingerprint. The optimal time of iodine exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day.

The results from this work thus suggested that the iodine fuming method can produce a good quality of latent fingerprint when apply to the substrate such as thermal paper. The method is simple and convenient to use in the forensic application. Program of Forensic Science Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010 Student's signature ........................................ Independent Study Advisor's signature ........................................

Page 7: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

กิตติกรรมประกาศ กกกกกกกกในการจัดทําการคนควาอิสระ การตรวจหาลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษหลายชนิดดวยวิธีรมไอโอดีน สําเร็จลุลวงไดดวยดีเพราะไดรับความรวมมือ ชวยเหลือจากบุคคลหลายทานท่ีไดสละเวลา ใหคําแนะนํา และขอคิดเห็นที่เปนประโยชนตองานวิจัยเปนอยางย่ิง ผูวิจัยขอขอบพระคุณ อาจารย ดร.ศิริรัตน ชูสกุลเกรียง ที่ไดกรุณาเปนอาจารยที่ปรึกษาและใหคําแนะนํา ตรวจแกไขขอบกพรองตางๆ ทําใหการคนควาอิสระฉบับนี้มีความสมบูรณยิ่งข้ึน ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งในความกรุณา และขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสน้ี ผูวิจัยใครขอขอบพระคุณ อาจารย ดร.ศุภชัย ศุภลักษณนารี ที่ไดกรุณาเปนประธาน กรรมการสอบ และพันตํารวจเอกปรัชญชัย ใจชาญสุขกิจ ที่กรุณาเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในการสอบ และใหคําแนะนําในการแกไขรายงานคนควาอิสระฉบับนี้จนมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ก กกกกกกกกสุดทายนี้ ผูวิจัยขอขอบพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารยทุกทานที่ได อบรมสั่งสอนให ความรู และปลูกฝงใหเห็นคุณคาของการศึกษา รวมท้ังท่ีใหการสนับสนุนชวยเหลือ และเปนกําลังใจในการศึกษามาโดยตลอด กกกกกกกกสําหรับคุณประโยชนอันพึงมีจากงานวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยขอมอบแด บิดา มารดา ครู อาจารย ผูถายทอดวิชาความรูทุกทานที่ไดอบรมส่ังสอน ตลอดจนผูที่ใหโอกาสและสิ่งที่ดีในชีวิต จนทําใหผูวิจัยบรรลุผลสําเร็จในการทําการคนควาอิสระ นี้จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี

Page 8: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง ............................................................................................................................ ฌ สารบัญภาพ ............................................................................................................................... ญ บทที่ 1 บทนํา ............................................................................................................................. 1ดดดดดดดดดดดความเปนมาและความสําคัญของปญหา ......................................................... 1 ดดดดดดดดดดดวัตถุประสงคของการวิจัย ................................................................................ 2 ดดดดดดดดดดดสมมุติฐานของงานวิจัย ................................................................................... 2 ดดดดดดดดดดดขอบเขตการวิจัย .............................................................................................. 2 ดดดดดดดดดดดนิยามคําศัพทเฉพาะ ........................................................................................ 2 ดดดดดดดดดดดตัวแปรท่ีใชในการวิจัย .................................................................................... 3 ดดดดดดดดดดดแนวคิดในการวิจัย ........................................................................................... 3 ดดดดดดดดดดดประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย .......................................................... 4 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ...................................................................................... 5 ดดดดดดดดดดแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับลายน้ิวมือ ................................................................ 5 ดดดดดดดดดดแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะพื้นผิววสัดุ .................................................. 16 ดดดดดดดดดดแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับกระดาษเบ้ืองตน ...................................................... 18 ดดดดดดดด แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการตรวจเก็บลายนิ้วมือ ........................................................ 19ด 3 วิธีดําเนินการวิจัย ............................................................................................................ 24 ดดดดดดดดดดขั้นตอนการวิจัย ................................................................................................. 24 ดดดดดดดดดดประชากรและกลุมตัวอยาง ................................................................................ 24 ดดดดดดดดด การเตรียมตัวอยาง .............................................................................................. 25 ดดดดดดด อุปกรณและสารเคมี........................................................................................... 27 ดดดดดดดดดดสถานท่ีในการทําวิจัย ........................................................................................ 27 ดดดดดดดดดดขั้นตอนในการวิจัย ............................................................................................ 27 ความปลอดภัย .................................................................................................. 28

Page 9: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

บทที่ หนา ดดดดด 4 ผลการวิจัย ..................................................................................................................... 29 5 สรุป อภิปรายผล ........................................................................................................... 37ดบรรณานุกรม........................................................................................................................... 39 ภาคผนวก ................................................................................................................................ 40 ประวัติผูวิจัย ............................................................................................................................ 49

Page 10: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 กระดาษตัวอยางท่ีใชในการทดลองและแหลงที่มาของกระดาษ ............................ 25 2 ตารางอุปกรณสารเคมีและแหลงท่ีมา ..................................................................... 27 3 ระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยใช แรงกดของลายน้ิวมือท่ีน้ําหนักแตกตางกัน ....................................................... 30 4 ระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยใชเหงื่อ

จากบริเวณตางๆ ................................................................................................ 31 5 ระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยการ ประทับที่บริเวณตางๆ ....................................................................................... 32

6 ระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีนกับระยะ ความคงอยูของลายน้ิวมือแฝงท่ีระยะเวลาตางๆ ................................................ 34

7 ระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีนกับระยะ ความคงอยูของลายน้ิวมือแฝงท่ีระยะเวลาตางๆ ตางๆ ...................................... 35

Page 11: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา 1 ภาพเขียนหินแหงทะเลสาบเกจิมกุจิก (Kejimkujik Lake Petrglyph) ........................ 5

2 ลายแกะโครงสรางลายน้ิวมือสลักหินตั้ง L’ille Gavrinis .......................................... 6

3 ตราผนึกดินเหนียวลายน้ิวมือของชาวจีน .................................................................. 6

4 พิมพนิ้วมือของเซอรวิลเลียม เฮอรเซลล ................................................................... 7

5 แสดงโครงสรางของช้ันผิวหนัง ................................................................................ 9

6 ชั้นผิวหนังกําพรา ...................................................................................................... 10

7 แสดงภาพลายน้ิวมือ 9 ชนิด ...................................................................................... 11

8 แสดงลายน้ิวมือชนิดโคงราบ .................................................................................... 11

9 แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดขวา........................................................................ 12 10 แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวาย ................................................................................ 12

11 แสดงลายน้ิวมือชนิดกนหอยธรรมดา ....................................................................... 13 12 แสดงลายน้ิวมือชนิดกนหอยกระเปากลาง ................................................................ 13

13 แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวายคู................................................................................. 14

14 แสดงลายน้ิวมือแบบซับซอน ................................................................................... 14

15 แสดงจุดลักษณะสําคัญพิเศษ 24 ............................................................................... 15

16 กระดาษตัวอยางท่ีใชในการทดลอง .......................................................................... 26

17 ลายพิมพนิ้วมือแฝงที่น้ําหนักแรงกด 250 g ............................................................... 30 18 ลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฎบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มธนาคารกรุงศรีอยุธยา

จากเหงื่อนิ้วมือ ..................................................................................................... 33

19 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย ที่รมไอโอดีน 60 นาที ........................................................................................... 35

20 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษสลิปธนาคารกรุงศรีอยุธยาท่ีทิ้งไว 1 วัน ......................... 36

21 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทยโดยใชเหงื่อนิ้วมือ....... 40

ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทยที่รมไอโอดีน

ในเวลาตางๆ ........................................................................................................ 40

23 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษซองจดหมายท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ ......................... 41 24 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยาท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ ............. 41

Page 12: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

ภาพที่ หนา 25 ลายน้ิวมือแฝงบนใบฝากเงินธนาคารทหารไทยท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ .............. 42 26 ลายน้ิวมือแฝงบนใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotusที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ ................ 42 27 ลายน้ิวมือแฝงบนใบเสร็จรับเงิน 7- Eleven Booth ที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ ......... 43

28 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทยที่รมไอโอดีน

ในเวลาตางๆ ........................................................................................................ 43

29 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษสีขาว A4ที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ................................ 44

30 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทยที่รมไอโอดีนใน

เวลาตางๆ ............................................................................................................. 44 31 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยาท่ีรมไอโอดีน

ในเวลาตางๆ ............................................................................................................. 45 32 ลายน้ิวมือแฝงบนธนบัตรฉบับละ 20 บาทที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ ...................... 45 33 ลายน้ิวมือแฝงบนใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากรท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ 46

34 ลายน้ิวมือแฝงบนใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมมิลี่มารทท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ ..... 46

35 ลายน้ิวมือแฝงบนใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด2 ที่รมไอโอดีนในเวลาตาง ........... 47 36 ลายน้ิวมือแฝงบนใบใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยาท่ีเวลาตางๆ .................. 48

37 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทยโดยใชเหงื่อนิ้วมือ....... 48

Page 13: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

1

บทท่ี 1

บทนํา 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันเม่ือเกิดคดีอาชญากรรม เชน คดี เกี่ยวกับทรัพย ฆาตกรรม ความผิดทางเพศ และยาเสพติด สิ่งที่พบในสถานท่ีเกิดเหตุสวนมากคือ รอยลายนิ้วมือ ซึ่งสามารถใชเปนพยานหลักฐานในการหาตัวผูกระทําความผิดได เน่ืองจากรอยลายน้ิวมือแฝงของแตละบุคคลนับเปนเอกลักษณเฉพาะตัวของแตละบุคคลซึ่งจะไมซ้ํากันไมวาจะเปนพอแมลูกญาติพี่นองหรือแมกระทั่งฝาแฝดก็จะไมมีลายน้ิวมือที่ซ้ํากัน นอกจากนี้ลายน้ิวมือของคนเราก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุอีกดวย ในขณะท่ีรูปรางหนาตาของคนเราจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ดังนั้นในกระบวนการยุติธรรมของตํารวจจึงไดใชลายน้ิวมือเปนหลักฐานสําคัญในการพิสูจนหาตัวบุคคลในคดีตางๆ ลายน้ิวมือนอกจากจะใชเปนพยานหลักฐานเพื่อยืนยันตัวผูบริสุทธิ์ และหาตัวผูกระทําผิดแลว ยังสามารถนํามาใชในการพิสูจนเอกลักษณบุคคลไดอีกดวย เมื่อบุคคลใดสัมผัสพ้ืนผิวหรือวัตถุตางๆโดยไมมีเคร่ืองปองกัน เหงื่อ (สารคัดหลั่ง) จํานวนหน่ึงก็จะหลั่งออกมาทําใหไดลายน้ิวมือที่มีรูปแบบสายเสนนูนของลายนิ้วมือบุคคลน้ัน ลายนิ้วมือที่ตรวจเก็บในสถานที่เกิดเหตุเปนพยานหลักฐานท่ีแสดงวาบุคคลนั้นเปนเจาของลายน้ิวมืออยูในสถานท่ีเกิดเหตุการณตรวจพบรอยลายน้ิวมืออาจนําไปสูรองรอยของผูตองสงสัย ลายน้ิวมือจึงเปนวัตถุพยานท่ีมีคามากที่สุดสําหรับการสืบสวนสอบสวน ปจจุบันกิจกรรมการใชชีวิตประจําวันของคนมีความเกี่ยวของกับการใชกระดาษมาก เชน ธนบัตร, ใบบันทึกรายการของธนาคารตางๆจากตู ATM, กระดาษ A4 กิจกรรมตางๆ, ใบเสร็จการชําระเงิน, ซองจดหมาย เปนตน ซึ่งเมื่อบุคคลใดสัมผัสพ้ืนผิวหรือวัตถุตางๆโดยไมมีเคร่ืองปองกัน เหงื่อ (สารคัดหลั่ง) จํานวนหน่ึงก็จะหลั่งออกมาทําใหไดลายน้ิวมือที่มีรูปแบบลายเสนนูนของลายน้ิวมือบุคคลน้ัน การตรวจหาลายรอยน้ิวมือแฝงที่พบอยูบนพ้ืนผิวกระดาษแตละชนิดที่มีการจับและสัมผัส พื้นผิววัตถุที่มีการจับจะแบงตามการดูดซับ ซึ่งกระดาษแตละชนิดน้ันมีความสามารถในการดูดซับแตกตางกันไป ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาคุณภาพความชัดของลายพิมพนิ้วมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษชนิดตางๆ โดยวิธีรมไอโอดีนซึ่งเปนวิธีที่งายและประหยัดคาใชจายมาก

Page 14: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

2

2. วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษชนิดตางๆ ดวยวิธีรมไอโอดีน 3. สมมุติฐานของงานวิจัย ชนิดของกระดาษท่ีใชในการตรวจหาลายพิมพนิ้วมือแฝงมีผลตอความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษชนิดตางๆเมื่อทดสอบดวยวิธีรมไอโอดีน

4. ขอบเขตการวิจัย ในการศึกษาคร้ังน้ีใชกระดาษ 15 ชนิด ซึ่งกระดาษท่ีนํามาทดสอบการตรวจหาลายน้ิวมือแตละชนิดนํามาจากแหลงท่ีเดียวกัน ไดแก กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรี, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเ อ็มกรุงไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มไทยพาณิชย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทย, กระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยา, ใบเสร็จรับเงิน 7- Eleven Booth, ใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมิลี่มารท, ใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากร, ใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด, ใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus, กระดาษซองจดหมาย, ใบฝากเงินธนาคารทหารไทย, กระดาษสีขาว A4 และธนบัตรฉบับละ 20 บาท

5. นิยามคําศัพทเฉพาะ 5.1 เสนนูน – เสนรอง (ridges-furrows) ผิวหนังตรงบริเวณลายน้ิวมือ ฝามือ นิ้วเทา ฝาเทา ของมนุษยประกอบดวยลายเสน 2 ชนิด คือ เสนนูนและเสนรอง เสนนูน คือรอยนูนที่อยูสูงกวาผิวหนังสวนนอก เสนรอง คือรอยลึกที่อยูต่ํากวาระดับของเสนนูน

5.2 จุดสําคัญพิเศษหรือจุดตําหนิ (special characteristic of minutia) ลายเสนที่อยูบนลายนิ้วมือ ฝามือ ฝาเทา จะประกอบดวยลายเสนที่มีลักษณะเฉพาะเรียกวาจุดลักษณะสําคัญพิเศษหรือจุดตําหนิหรือมินูเชีย ดังตอไปนี้ 5.2.1 เสนแตก (ridge bifurcation หรือ fork) เปนลายเสนจากเสนเดี่ยวที่แยกออกจากกันเปนสองเสนหรือมากกวา หรือในทางกลับกันอาจเรียกวาลายเสนสองเสนมารวมกันเปนเสนเดียว

5.2.2 เสนสั้น ๆ (short ridge) เปนลายเสนที่สั้นแตไมสั้นมากถึงกับเปนจุดเล็กๆ

Page 15: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

3

5.2.3 เสนทะเลสาบ (enclosure หรือ lake) เปนลายเสนที่แยกออกเปนสองเสน

แลวกลับมารวมกันใหม จึงมีพื้นที่ปดเกิดขึ้น

5.2.4 เสนขาด (ridge beginning หรือ ending suddenly) เปนลายเสนจากเสนเด่ียว

ที่ขาดออกจากเสนเดิม 5.2.5 จุด (dot หรือ island) เปนลายเสนที่สั้นมากจนดูเหมือนเปนจุดเล็กๆ

5.2.6 ตะขอ (hook) เปนลายเสนของเสนเด่ียวแตแยกออกเปน 2 เสนโดยท่ีเสนหนึ่งสั้นอีกเสนหน่ึงยาว ดูคลายตะขอ

5.2.7 อ่ืนๆ (miscellaneous) เปนลายเสนที่มีลักษณะไมตรงกับแบบที่กลาวมาแลว เชน เปนลายเสนที่แยกจากหนึ่งเสนเปนสามเสนเรียก trifurcation

6. ตัวแปรท่ีใชในการวิจัย ตัวแปรอิสระไดแก ชนิดของกระดาษ, น้ําหนักแรงกดพิมพลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษ, บริเวณเหง่ือจากรางกายท่ีใชในการพิมพลายพิมพนิ้วมือบนกระดาษ,ระยะเวลาในการมดวยไอโอดีนเพ่ือตรวจหาลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษและระยะเวลาของความคงอยูของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษ

ตัวแปรตาม ไดแก ความคมชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ ทดสอบดวยวิธีรมไอโอดีน

7. แนวคิดในการวิจัย การกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยตองการเปรียบเทียบความชัดของลายพิมพนิ้วมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษภายใตการเปลี่ยนแปลงของ ชนิดของกระดาษ, น้ําหนักแรงกดพิมพลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษ,บริเวณเหง่ือจากรางกายท่ีใชในการพิมพลายพิมพนิ้วมือบนกระดาษ, ระยะเวลาในการมดวยไอโอดีนเพื่อตรวจหาลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษ และระยะเวลาของความคงอยูของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษ ผูวิจัยทําการวัดระดับชัดของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษ เพื่อศึกษาวาปจจัยที่กลาวขางตนมีผลตอความคมชัดของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษหรือไม

Page 16: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

4

8. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย 8.1 สามารถใชเปนแนวทางในการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษชนิดตางๆโดยวิธีรมไอโอดีน 8.2 เพื่อใชเปนแนวทางศึกษาวิจัยและพัฒนาเก่ียวกับการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษดวยวิธีรมไอโอดีนตอไป

Page 17: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

5

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ กกก การศึกษาวิจัยครั้งน้ี ไดศึกษาจาก ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้

1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับลายน้ิวมือ 2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะพื้นผิววัสดุ 3. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับกระดาษ 4. แนวคิดเก่ียวกับวิธีการตรวจเก็บลายน้ิวมือ

1. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับลายน้ิวมือ ประวัติความเปนมาของลายน้ิวมือมีมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งปรากฏหลักฐานตาง ๆ ดังนี้ ภาพเขียนหินแหงทะเลสาบเกจิมกุจิก (Kejimkujik Lake Petrglyph) การศึกษาทางโบราณคดีพบรองรอยภาพเขียนบนหินชนวนใกล ๆ กับทะเลสาบเกจิมกุจิก ในโนวาสโคเทีย (Nova Scotia) ซึ่งเขียนโดยชนพ้ืนเมืองอินเดียนยุคโบราณ

ภาพที่ 1 ภาพเขียนหินแหงทะเลสาบเกจิมกุจิก (Kejimkujik Lake Petrglyph)

ลายแกะสลกัหินตั้ง L’ille Gavrinis พบทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของฝร่ังเศส ลายแกะสลักหินยุคโบราณน้ีถูกคนพบที่ชายฝง L’ille Gavrinis ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของฝร่ังเศส เปนหินต้ังอยูเหนือหลุมฝงศพในยุคหินใหมกวา 5,000 ปมาแลว ลายแกะสลักเปนโครงสราง ลายน้ิวมือที่มีรูปแบบตาง ๆ

Page 18: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

6

ภาพที่ 2 ลายแกะโครงสรางลายนิ้วมือสลักหินตั้ง L’ille Gavrinis

ตราผนึกดินเหนียวลายน้ิวมือของชาวจีน มีรายงานการศึกษาที่พบวา จักรพรรดิจ๋ินซี (246 – 210 ปกอนคริสตกาล) เปนจักรพรรดิที่นําเอาผนึกดินเหนียวลายน้ิวมือรอยดวยลวดมาใชในการปดผนึกเอกสารที่ทําจากแทงไมหรือเยื่อไผอีกดานหนึ่งจะประทับดวยชื่อหรือสัญลักษณของบุคคลและใชลายนูนรอยน้ิวมือผนึกอีกดานหน่ึงเพ่ือระบุถึงบรรดาศักดิ์ ดินเหนียวถูกนํามาใชเปนวัสดุปดผนึกจนถึงสมัยราชวงศเหวยและชิน (ค.ศ. 220-420) เมื่อผาไหมและกระดาษเขามามีบทบาทในสื่อสิ่งพิมพ ดินเหนียวจึงถูกยกเลิกไป

ภาพที่ 3 ตราผนึกดินเหนียวลายนิ้วมือของชาวจีน

1.1 ประวัติความเปนมาของลายน้ิวมือ

ป ค.ศ. 1684 เนเฮเมียห เกรว (Nehemiah Grew) นักพฤษศาสตรชาวอังกฤษ เขียนบทความเก่ียวกับลายน้ิวมือไวใน Philosophical Transactions of The Royal Society of London และไดรับการพิจารณาวาเปนหนึ่งในผูบุกเบิกลายน้ิวมือในยุคแรกสุด บุคคลอ่ืนหลายคนเร่ิมสังเกตและตรวจดูลายน้ิวมือโดยการใชบทความของทาน

ป ค.ศ. 1685 โกวารด บิดโล (Govard Bidlo) นักกายวิภาคที่อัมสเตอรดัม

ฮอลแลนด ไดตีพิมพหนังสือกายวิภาคมนุษย แสดงลายเสนนิ้วมืออยางละเอียดถี่ถวนอยางมีศิลปะและบรรยายรายละเอียดของลายเสนนูนและโครงสรางรูตอมเหง่ือ

Page 19: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

7

ป ค.ศ. 1686 เมลปคกิ (Marcello Malpighi) ศาสตราจารยดานกายวิภาค

มหาวิทยาลัยโบลอคนา อิตาลี เขียนหนังสือเก่ียวกับลายนูนบนมือมีเพื่อการยึดจับ บนฝาเทามีเพื่อการลากเทาและยังไดระบุถึงลายเสนนิ้วมือ ลายน้ิวแบบมัดหวายและแบบกนหอยไว ชื่อของเขาไดนํามาตั้งเปนชื่อของชั้นผิวหนังที่เรียกวา “Malpighi layer”มหาวิทยาลัยเบสเลอ (University of

Breslau) เยอรมันนี เขียนหนังสืออธิบายแบบแผนลายนิ้วมือตามรูปรางและลักษณะลายเสน

ป ค.ศ. 1880 ดร.เฮนรี่ ฟาวลด (Henry Fauld) ชาวอังกฤษ ไดศึกษาวาลายน้ิวมือสามารถใชเปนเคร่ืองมือเพื่อระบุตัวบุคคลได ดวยการใชหมึกพิมพในการคัดลอกลายน้ิวมือ

งานวิจัยที่มีชื่อเสียงช้ินหนึ่ง คือการใหนักศึกษาแพทยขูดลายนูนบนฝามืออกดวยหินพูมิส ซึ่งการทดลองน้ีไดพิสูจนวาลายเสนนูนเม่ือหายดีแลวลายเสนจะกลับมามีรูปรางเหมือนเดิม จึงพิสจูนความจริงที่วา ลายน้ิวมือไมเปลี่ยนแปลง

ป ค.ศ. 1858 เซอรวิลเลียม เฮอรเซลล (Sir William Herschel) ชาวอังกฤษ คนแรกที่นําลายน้ิวมือมาใชประโยชนเพ่ือพิสูจนบุคคล ในประเทศอินเดียและเปนที่ยอมรับทั่วโลก โดยใชลายน้ิวมือลงนามในคูสัญญากับคนพื้นเมือง ในมุมมองของทานเห็นวาลายน้ิวมือทั้งหมดมีลักษณะเฉพาะตัวในแตละบุคคลและคงอยูถาวรไมเปลี่ยนแปลงกระทั่งสิ้นอายุขัย ทานไดพิมพลายน้ิวมือตนเองไวเมื่อ 50 ปผานไป นํามาเปรียบเทียบพบวาตรงกัน

ภาพที่ 4 ลายพิมพนิ้วมือของเซอรวิลเลียม เฮอรเซลล ที่มีอายุมากกวา 57 ป

ป ค.ศ. 1882 อัลโฟนเซ เบอรติลลอน (Alphonse Bertillon) ประเทศฝร่ังเศส ไดคิดคนระบบการจําแนกอันเปนที่รูจักในสาขาการวัดระยางของมนุษย (Antropometry) ที่เรียกวา ระบบเบอรติลลอน (Bertillon system) ซึ่งเปนการวัดสวนตาง ๆ ของรางกาย และไดนําเสนอการใชลายน้ิวมือเขาชวย แตจัดใหอยูในการปฏิบัตขิั้นท่ีสองของหมวดสัดสวนชี้บงพิเศษ

ป ค.ศ. 1892 เซอร ฟรานซิส กาลตัน (Galton, 1892) นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษ

ไดตีพิมพบทความวิชาการเปนคร้ังแรกเก่ียวกับระบบแบบแผนลายน้ิวมือที่สามารถระบุบุคคลไดดวยลักษณะพิเศษของลายเสนบนลายน้ิวมือที่เปนเอกลักษณเฉพาะบุคคลท่ีเรียกวาจุดสําคัญ

(minutia point; มินูเชีย) ซึ่งสามารถอยูไดทนทานถาวรตลอดอายุของบุคคลนั้น ป ค.ศ. 1897 เซอร

Page 20: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

8

เอ็ดเวอรด เฮนร่ี (Sir Edward Henry) แหงสหราชอาณาจักรไดจัดต้ังระบบการจัดจําแนกแผนลายพิมพนิ้วมือเปนระบบและสามารถสืบคนไดเรียกระบบการจัดจําแนกแผนลายพิมพนิ้วมือหรือHenry Classification

ป ค.ศ. 1904 การพิสูจนลายน้ิวมือเดินทางสูสหรัฐอเมริกา ในงานท่ีอังกฤษนําไปแสดงสินคาที่ St. Louis World's Fair Exposition เพื่อแนะนาความคิดใหม ๆ อยางระบบการตรวจพิสูจนลายพิมพนิ้วมืออาชญากร หนวยสก็อตแลนดยารดไดเลือก John Kenneth Ferrier เขาไปบรรยาย โดยเขาไดใหตํารวจ 1 ใน 8 นายจับแผนกระดาษขณะท่ีเขาอยูนอกหองประชุม เมื่อกลับเขามาเขาสามารถตรวจหาและบอกไดวาลายน้ิวมือที่แผนกระดาษน้ันเปนของใครได ป ค.ศ. 1905 กองทัพบกสหรัฐอเมริกาเร่ิมใชลายน้ิวมือในการระบุบุคคลท่ีขึ้นทะเบียนทหาร และหลังจากน้ันอีก 2 ป กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาก็เร่ิมนํามาใช และอีกกวา 25 ปตอมา องคกรดานกฎหมายทั่วสหรัฐอเมริกา ไดหันมาใชลายน้ิวมือเปนเคร่ืองระบุตัวบุคคล

ป ค.ศ. 1915 ผูตรวจการณ Herry H. Caldwell ประจําหนวยพิสูจนหลักฐานกรมตํารวจ เมืองโอคแลนด แคลิฟอรเนีย ไดสงหนังสือเชิญผูตรวจพิสูจนอาชญากรรม (Criminal

Identification Operators) เพื่อกอต้ังองคการของผูเชี่ยวชาญการตรวจพิสูจน จากนั้นในเดือนตุลาคมกลุมของผูเช่ียวชาญประมาณ 22 คนไดรวมกอตั้ง International Association for Criminal

Identification ขึ้น ในป ค.ศ1918ไดเปลี่ยนช่ือเปนInternational Association for Identification ( IAI)

1.2 ประวัติลายน้ิวมือในประเทศไทย

พ.ศ. 2444 มีการกอต้ังกองพิมพลายน้ิวมือขึ้นในกองลหุโทษเปนคร้ังแรก โดยกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมในสมัยนั้นไดใหเจากรมกองลหุโทษในสมัยนั้นจัดการทดลองพิมพลายน้ิวมือของตนนําไปถวาย และเมื่อทรงตรวจแลวเห็นวาใชการได จึงไดทรงเปนผูดําเนินการแนะนําอบรมสั่งสอนวิชาระบบพิมพลายน้ิวมือดวยพระองคเอง โดยทรงใหจัดการพิมพลายน้ิวมือตามระบบเฮนร่ี ของนักโทษที่กําลังจะพนโทษเก็บไวเพื่อใชเปนหลักฐานวาไดเคยกระทําความผิดมากอน จึงนับไดวาพระองคทรงเปนผูใหกําเนิดการพิมพลายน้ิวมือขึ้นเปนพระองคแรกในประเทศไทย เปรียบเสมือนพระองคเปนพระบิดาแหงวิชาลายน้ิวมือของประเทศไทย

พ.ศ. 2447 กองพิมพลายน้ิวมือไดรับการยกฐานะขึ้นเปนกรมพิมพลายน้ิวมือ

พ.ศ. 2455 เร่ิมมีการดําเนินการอบรมเจาหนาที่ วิธีการ ปรับเปลี่ยนหนวยงานที่เกี่ยวของ กับการพิมพลายน้ิวมือ จนกระทั่งป พ.ศ. 2500

พ.ศ. 2457 กรมพิมพลายน้ิวมือยายมาสังกัดกรมราชทัณฑ 10

Page 21: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

9

พ.ศ.2500 ยูซอมไดสงเจาหนาที่ผูเชี่ยวชาญมาชวยแนะนําและอบรมการวางหลักเกณฑใหตามแบบอยางการเก็บลายพิมพนิ้วมือของตํารวจเอฟบีไอและตอมาไดเร่ิมทําการตรวจสอบและเก็บแบบลายพิมพนิ้วมือ ตามแบบอยางและวิธีการของตํารวจเอฟบีไอ

การสรางลายเสนบนนิ้วมือถูกควบคุมดวยยีนบนโครโมโซมของรางกาย และเปนการถายทอดทางพันธุกรรมท่ีสิ่งแวดลอมมีอิทธิพลรวมดวย (polygenic trait, multifactorial inheritance)

เชน ความเครียดของแมในชวงตั้งครรภ (maternal stress) การติดเช้ือระหวางตั้งครรภ เปนตน ทําใหแตละคนมีเสนลายนิ้วมือที่แตกตางกันไป ผิวหนังมีโครงสรางอยู 2 ชั้นหลัก ๆ คือ ชั้นผิวหนังกําพรา (Epidermis) และ ชั้นผิวหนังแท (Dermis)

ภาพที่ 5 แสดงโครงสรางของชั้นผิวหนัง

ชั้นผิวหนังกําพรา (Epidermis) เปนผิวหนังชั้นนอกสุด มีความหนาโดยเฉลี่ยประมาณ

0.4 ถึง 1.5 มิลลิเมตร เทียบกับความหนาทั้งหมดของผิวหนัง (skin) ซึ่งมคีวามหนาเฉลี่ยโดยประมาณ 1.5-4.0 มิลลิเมตร แตความหนาของช้ันหนังกําพรานี้จะแตกตางกันไปในแตละบริเวณของรางกาย ทําใหสามารถแบงผิวหนังตามความหนาของช้ันหนังกําพราออกเปน 2 ชนิด คือ หนังกําพราที่หนา (thick epidermis) ที่พบบริเวณที่ฝามือ (palms) และฝาเทา (soles) และหนังกําพราที่บาง (thin epidermis) พบที่บริเวณสวนอ่ืน ๆ ของรางกายนอกเหนือจากบริเวณหนังกําพราที่หนา 2

แหง ดังกลาวขางตน

Page 22: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

10

ภาพที่ 6 ชั้นผิวหนังกําพรา ที่มา : David R. Ashbaugh, Quantitative-Qualitative Friction Ridge Analysis An Introduction to

Basic and Advanced Ridgeology( Florida: CRC Press LLC, 1999),68.

การพัฒนาเปนนิ้วมือเร่ิมขึ้นจาก Mesenchyme cells จะรวมตัวกันที่แกนกลางที่ปลายของแขน การรวมตัวของกลุมเซลลนี้จะคอย ๆ กลายเปน กระดูกออน (Cartilage) ภายหลังกระดูกออนจะกลายเปนกระดูก (bone) ซึ่งกระดูกของฝามือและกระดูกนิ้วจะเปนตัวกําหนดรูปรางลักษณะของน้ิว

ประเภทของลายน้ิวมือ จําแนกเปน 3 ประเภทหลักและแบงโดยละเอียดออกเปน 9 ชนิด

คือ ประเภทโคง (arch) แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก โคงราบ (plain arch) โคงกระโจม (tented arch)

ประเภทมัดหวาย (loop) ไดแก มัดหวายปดขวา (right slant loop) มัดหวายปดซาย (left slant loop)

ประเภทกนหอย (whorl) ไดแก กนหอยธรรมดา (plain whorl) กนหอยมัดหวายแฝด (twinned loop)

กนหอยกระเปากลาง (central pocket loop whorl) กนหอยกระเปาขาง (lateral pocket loop) กนหอยซับซอน (accidental whorl)

Page 23: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

11

ภาพที่ 7 แสดงภาพลายน้ิวมือ 9 ชนิด

โคงราบ (plain arch) คือ ลักษณะของลายเสนในลายน้ิวมือที่ตั้งตนจากขอบเล็บขางหนึ่ง

แลววิ่งหรือไหลออกไปอีกขางหน่ึงไมมีเสนเกือกมาไมเกิดมุมแหลมคมที่เห็นไดชัดตรงกลางหรือไมมีเสนพุงสูงขึ้นตรงกลาง ไมมีจุดสันดอน

ภาพที่ 8 แสดงลายน้ิวมือชนิดโคงราบ

Page 24: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

12

โคงกระโจม (tented arch) คือ ลักษณะลายเสนในลายน้ิวมือ มีลายเสนเสนหนึ่งหรือมากกวา ซึ่งอยูตอนกลางไมไดวิ่งหรือไหลออกไปยังอีกขางหนึ่ง หรือ ลายเสนที่อยูตรงกลางของลายน้ิวมือ เสนหนึ่งหรือมากกวา เกิดเปนเสนพุงขึ้นจากแนวนอน หรือ มีเสนสองเสนมาพบกันตรงกลางเปนมุมแหลมคมหรือมุมฉาก

มัดหวายปดขวา (right slant loop) ลายพิมพนิ้วมือมัดหวายรูปใดที่มีปลายเสนเกือกมาปดปลายไปทางมือขวา เรียกวามัดหวายปดขวา

ภาพที่ 9 แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดขวา

มัดหวายปดซาย (left slant loop) ลายพิมพนิ้วมือมัดหวายรูปใดที่มีปลายเสนเกือกมาปดปลายไปทางมือซาย เรียกวามัดหวายปดซาย

ภาพที่ 10 A, E และ F แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดซาย B, C และ D แสดงลายน้ิวมือชนิด มัดหวายปดขวา

Page 25: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

13

การเปนมัดหวาย คือ ตองมีสันดอนขางใดขางหนึ่งเพียงขางเดียว ตองมีเสนวกกลับที่เห็นไดชัดอยางนอย 1 รูป และ ตองมีจุดใจกลางและตองนับเสนจากจุดสันดอนไปถึงจุดใจกลางไดอยางนอย 1 เสน โดยเสนที่นับนี้ตองเปนเสนของเสนวกกลับที่สมบูรณอยางนอย 1 เสน

กนหอยธรรมดา (plain whorl) คือ ลายน้ิวมือที่มีเสนเวียนรอบเปนวงจร วงจรนี้อาจมีลักษณะเหมือนลานนาฬิกา เหมือนรูปไข เหมือนวงกลม ลักษณะสําคัญไดแก ตองสันดอน 2 แหง

และหนาจุดสันดอนเขาไปจะตองมีรูปวงจรหรือเสนเวียนอยูขางหนาจุดสันดอนท้ัง 2 จุด และถาลากเสนสมมุติจากจุดสันดอนขางหนึ่งไปยังสันดอนอีกขางหนึ่ง เสนสมมุติจะตองสัมผัสเสนวงจรหนาจุดสันดอนท้ัง 2 ขางอยางนอย 1 เสน

ภาพที่ 11 แสดงลายนิ้วมือชนิดกนหอยธรรมดา กนหอยกระเปากลาง (central pocket loop whorl) คือ ลายน้ิวมือแบบกนหอยธรรมดาน่ันเอง แตผิดกันตรงที่ลากเสนสมมุติจากสันดอนหนึ่งไปยังสันดอนหน่ึง เสนสมมุติจะไมสัมผัสกับเสนวงจรที่อยูตอนใน

ภาพที่ 12 แสดงลายนิ้วมือชนิดกนหอยกระเปากลาง

Page 26: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

14

กนหอยกระเปาขาง (lateral pocket loop) คือ ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายคู แตมีสันดอนอยูขางเดียวกัน

ภาพที่ 13 แสดงลายนิ้วมือชนิดมัดหวายคู

แบบซับซอน (accidental whorl) เปนลายน้ิวมือที่ประกอบดวยลายนิ้วมือแบบผสมกัน

และมีสันดอน 2 สันดอน หรือมากกวา ยกเวนลายน้ิวมือที่ผสมกับโคงราบจะไมใชกนหอยซับซอน

ภาพที่ 14 แสดงลายนิ้วมือแบบซับซอน

Page 27: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

15

กลาวโดยสรุปกนหอย (whorl) เปนแบบแผนลายน้ิวมือที่พบประมาณ 30% สวนมัดหวายพบประมาณ 65 % ที่เหลือจะเปนแบบโคง ผิวหนังตรงบริเวณลายน้ิวมือ ฝามือนิ้วเทา ฝาเทา ของมนุษยประกอบดวยลายเสน 2 ชนิด คือ เสนนูนและเสนรองซึ่งมีจุดลักษณะสําคัญพิเศษท่ีแตกตางกันไปในแตละบุคคล ดังนี ้

เสนหยุด (ridge ending)

สะพาน (bridge)

เสนแยก (bifurcation)

เสนแยกสองชั้น (double bifurcation)

จุด (dot)

สามงาม (trifurcation)

เสนสั้น (island (short ridge))

เสนแยกตรงขาม (opposed bifurcations)

เกาะ (lake (enclosure))

เสนไขว (ridge crossing)

ตะขอ (hook (spur)

รัศมีสามแฉก (opposed bifurcation/ridgeending)

ภาพที่ 15 แสดงจุดลักษณะสําคัญพิเศษ 24

Page 28: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

16

1.3 ลายน้ิวมือแฝง (Latent fingerprints)

ลายน้ิวมือแฝงเปนลายน้ิวมือที่มีทั้งสามารถมองเห็นไดและมองเห็นไมได ลายน้ิวมือในสถานที่เกิดเหตุเปนพยานหลักฐานท่ีมีคุณคามากท่ีสุดสาหรับการสืบสวนสอบสวนดังนั้นจึงจําเปนตองศึกษาวิธีการตรวจหาเพ่ือใหไดลายน้ิวมือแฝงที่ชัดเจนและงายตอการตรวจเปรียบเทียบ องคประกอบในลายน้ิวมือแฝงประกอบไปดวย สวนผสมของสารคัดหลั่งจากรางกายและสวนที่เจือปนที่มาจากสิ่งแวดลอมรอบขาง ในสวนผสมของสารคัดหล่ังจากรางกายจะมาจากการหล่ังของตอม 3 ประเภทคือ

eccrine glands เปนตอมท่ีพบไดทั่วรางกายซึ่งทําหนาท่ีผลิตเหงื่อโดยไมมีการสูญเสียเซลลไซโตพลาสซึม

apocrine glands เปนตอมท่ีพบในบริเวณขาหนีบ รักแร และรอบทวารหนัก โดยจะผลิตเหงื่อพรอมกับการสูญเสียเซลลไซโตพลาสซึมดวย

Sebaceous glands เปนตอมที่พบที่หนาอก แผนหลัง หนาผาก อวัยวะเพศ และหัวนม จะผลิตสารคัดหลั่งที่เปนไขมันออกมาหรือที่เรียกวา ซีบัม (sebum)

สารคัดหลั่งจากตอม eccrine glands และ sebaceous glands พบไดบอยในลายน้ิวมือ อยางไรก็ตาม แมวาสารคัดหลั่งจากตอม apocrine glands จะพบไดนอยในลายนิ้วมือ แตกลับพบไดในอาชญากรรมอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งในอาชญากรรมทางเพศ

2. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับลักษณะพื้นผิววัสดุ ในการตรวจหาลายน้ิวมือ สามารถจําแนกพื้นผิวที่ลายน้ิวมือประทับอยูออกเปน 3

ประเภทคือ พื้นผิวที่มีรูพรุน, กึ่งรูพรุน และไมมีรูพรุน ดังน้ี

2.1 พื้นผิวที่มีรูพรุน (Porous Surface) เปนลักษณะของพ้ืนผิวตาง ๆ ที่สามารถดูดซับเอาเหงื่อบนลายน้ิวมือไดอยางรวดเร็ว อาทิ กระดาษ ผา สาหรับสิ่งที่ละลายอยูในนํ้า (water-soluble

deposit-WSD) จะถูกดูดซับเขาไปในชั้นของพ้ืนผิวเพียงไมกี่วินาที หลังจากน้ันน้ําจะคอย ๆ ระเหยออก และเหลือสิ่งที่ปะปนอยูไว อันไดแก กรดอะมิโน ยูเรีย และคลอไรด (โซเดียมคลอไรด)องคประกอบเหลานี้เปนที่มาของรูปพรรณสัณฐานของลายนิ้วมือแฝง การคงอยูของลายน้ิวมือแฝงขึ้นอยูกับสภาวะแวดลอม ความช้ืนสัมพัทธ และความเปนรูพรุน เมื่อลายนิ้วมือถูกดูดซับไวบนพื้นผิว ในภาวะท่ีปกติรอยลายนิ้วแฝงซึ่งถือเปน WSD จะไมถูกลบหรือเลือนไดงาย ๆ แตสามารถถูกทําลายไดจากการชะลางดวยน้ํา ในสภาวะปกติที่ความช้ืนสัมพัทธต่ํากวา 80 % ลายนิ้วมือที่ถูกประทับไวระยะเวลาหน่ึง กรดอะมิโนจะยังคงฝงอยูในวัสดุรูพรุน รอยแฝงของลายน้ิวมือจะยังคงอยู

Page 29: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

17

เปนเวลานานได ซึ่งเคยคนพบลายน้ิวมือแฝงที่มีอายุกวา 30 ปแลวยังสามารถนํามาพัฒนาดวย

ninhydrin ได สวนประกอบอยางอ่ืน เชน ยูเรียและโซเดียมคลอไรด จะเปลี่ยนแปลงไดอยางตอเน่ือง ขึ้นกับสภาวะแวดลอมโดยเฉพาะอยางยิ่งความชื้นสัมพัทธ ที่สูง ๆ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงไดเร็วขึ้น ในสภาวะที่ปกติที่ความช้ืนสัมพัทธต่ํากวา 80 % ลายน้ิวมืออายุ ประมาณ 1 สัปดาหจะเปลี่ยนแปลงนอยมาก สวนลายนิ้วมือท่ีอายุมากกวานี้จะมีการเปลี่ยนแปลงของยูเรียและคลอไรดได ซึ่งจะสงผลทําใหภาพลายนิ้วมือไมคมชัด สวนประกอบที่ไมละลายในน้ํา (non-Water-soluble

deposit-NWSD) ไดแก สวนผสมกึ่งของแข็งจําพวกไขมัน ไข และแอลกอฮอล จะเหลือรองรอยไวบนพื้นผิววัสดุยาวนานกวา การเปล่ียนแปลงของ NWSD จะขึ้นกับอุณหภูมิแวดลอม ที่อุณหภูมิประมาณ 20 องศาเซลลเซียสรอยนิ้วจะเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ และ NWSD จะอยูไดหลายวันบนพื้นผิวนั้น แตอยางไรก็ตามมันจะเปลี่ยนไปอยางมากหาก NWSD นั้นอยูในอุณหภูมิที่สูงกวา 35

องศาเซลลเซียส ในสภาวะปกติ NWSD แมปริมาณเล็กนอยจะยังคงอยูบนพื้นผิววัสดุไดเปนเวลาหลายป แตดวยปริมาณที่นอยอาจจะปดฝุนไมพบ แตมันสามารถใชวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูงกวาได อาทิเชน การใชเทคนิคของ physical developer (Champod et al.2004)

2.2 พื้นผิวไมมีรูพรุน (Non-Porous Surface) เปนลักษณะของพ้ืนผิวตาง ๆ ที่ไมสามารถดูดซับเอาสวนประกอบใด ๆ ของรอยลายน้ิวมือแฝงได อาทิ เชน ถุงพลาสติกประเภท polyethylene

(polythene) กระจก และพ้ืนผิวโลหะเคลือบเงาทั้งหลาย สวนผสมที่เปนอิมัลชั่น (emulsion)ระหวางสวนที่ละลายนํ้ากับสวนที่ไมละลายนํ้าในลายน้ิวมือแฝงจะอยูสวนบนของพื้นผิวประเภทน้ีเปนเวลายาวนานไดหากไมถูกลบทิ้งออกจากผิวไปกอนหรืออาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปไดดวยกาลเวลาหรือผลกระทบจากสภาวะแวดลอม สิ่งที่หลงเหลือทั้งหมดบนพื้นผิวไมมีรูพรุนจะบอบบางและออนไหวมากตองปฏิบัติการดวยความระมัดระวังอยางยิ่ง อีกทั้งรอยนิ้วมืออาจถูกทําลายดวยสารละลายอินทรียบางประเภทได ในขณะเดียวกันน้ําอาจจะไปเปลี่ยนแปลงองคประกอบของสวนที่ละลายนํ้าไดสวนองคประกอบที่ไมละลายนํ้าก็อาจไมถูกกระทบจากน้ํา(Champod et al.2004 : 26)

2.3 พื้นผิวกึ่งรูพรุน (Semiporous Surface) เปนลักษณะของพ้ืนผิวที่มีคุณลักษณะก้ําก่ึงระหวางพื้นผิวที่มีรูพรุนและพ้ืนผิวไมมีรูพรุน อาทิเชน พื้นผิวที่ถูกทาสีบางประเภท ธนบัตรที่ทําจากโพลิเมอร และกระดาษหอของที่เคลือบไข เปนตน พื้นผิวประเภทน้ีจะดูดซับเอาสวนประกอบที่ละลายนํ้าได แตเปนไปอยางชา ๆ เมื่อเทียบกับพื้นผิวที่มีรูพรุน สวนองคประกอบที่ไมละลายนํ้าจะยังคงติดอยูสวนบนของพ้ืนผิวไดเปนเวลานานกวาพื้นผิวที่มีรูพรุนแตไมเทาพื้นผิวไมมีรูพรุน

(Champod et al. 2004)

Page 30: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

18

3. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับกระดาษเบื้องตน 3.1 องคประกอบของกระดาษ แบงออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแก 3.1.1 องคประกอบที่เปนเสนใย (fiberous materials) และองคประกอบที่ไมใชเสนใย (non fiberous materials) องคประกอบที่เปนเสนใยไดแก เสนใยธรรมชาติ (natural fiber) และเสนใยสังเคราะห (synthetic fiber) ซึ่งเสนใยธรรมชาติไดมาจาก เสนใยสัตว (animal fiber) เสนใยพืช (wood fiber) และเสนใยจากแร (mineral fiber) สวนเสนใยสังเคราะหเกิดจากความกาวหนาของเทคโนโลยีที่มนุษยนํามาผลิตเสนใยจากวัตถุดิบจําพวกสารอินทรียและสารอนินทรี เสนใยในกลุมนี้มีมากมายเชน Viscose-rayon, Nylon Acrylic, Elastomer และ Glasofiber แหลงเสนใยในการผลิตเยื่อกระดาษไดมาจาก ไม (wood) ถือวาเปนวัตถุดิบสําคัญในการทําเยื่อกระดาษ (wood pulp) ไมทุกชนิดสามารถนํามาทําเปนเยื่อกระดาษไดทั้งไมเนื้อออน (softwood) และไมเนื้อแข็ง (hardwood)

รวมท้ังไมลมลุก (non-wood)

3.1.2 องคประกอบที่ไมใชเสนใยเรียกวา สารเติมแตง (Additive) เปนสารเคมีที่เติมลงไปเพ่ือปรับปรุงคุณสมบัติกระดาษใหไดตามวัตถุประสงคการใชงานแบงออกเปน 2 ประเภท

คือ สารเติมแตงหลัก (Functional additive) และ สารเติมแตงเสริม (Chemical processing aids)

โดยสารเติมแตงหลัก จะทําหนาที่ปรับปรุงคุณสมบัติเฉพาะอยางของกระดาษ แบงยอยไดเปน 6

ชนิด คือ สารตานการซึมนํ้า (sizing agent) ทําใหกระดาษตานทานการซึมนํ้า ตัวเติม (filler) ผงสีขาวใชอุดรู รอง ชองวางระหวางเสนใย สารเพิ่มความเหนียว (dry strength agent) ไดแก แปงมันสําปะหลัง สารเพิ่มความเหนียวเมื่อเปยก (wet strength agent) ไดแก เรซินสังเคราะห สารสียอม

(dryes) ทําใหกระดาษมีสีตามตองการ และสารฟอกนวล (optical brightening agent) ชวยลดการสะทอนแสงของกระดาษ สวนสารเติมแตงเสริมจะทําหนาที่ชวยเสริมใหสารเติมแตงหลักทําหนาที่เฉพาะอยางไดดีขึ้น แบงยอยไดเปน 6 ชนิดเชนกัน คือ สารเพ่ิมการตกคาง (retention aid) สารตานการเกิดฟอง(deformers) สารควบคุมจุลชีพ (microbiological control agent) สารควบคุมการเกิดตาปลา (pitch control agent) สารชวยแยกน้ํา (drainage aids) และสารชวยกระจายตัว (formation aids)

3.2 กระดาษแบงออกเปน 4 กลุมหลัก ๆ ไดแก 3.2.1. กระดาษไมเคลือบผิว (uncoated paper) เปนกระดาษท่ีผิวไมเรียบ มีหลายแบบขึ้นกับกระบวนการสุดทายในการผลิต อาทิเชน กระดาษหนังสือพิมพ 45-50 แกรม กระดาษปอนด 60-120 แกรม กระดาษการด 190-360 แกรม กระดาษไบเบิล 25-59 แกรม กระดาษแอรเมล 28-32 แกรม กระดาษปอนด 35-105 แกรม ใชพิมพธนบัตร ใบหุน แบบฟอรม

3.2.2. กระดาษเคลือบผิว (coated paper) เปนกระดาษท่ีกระบวนการสุดทายจะผานสารเคลือบผิวและขัดผิวดวยลูกกลิ้งในขั้นสุดทาย อาทิเชน กระดาษอารตมัน gloss coating 85-

Page 31: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

19

160 แกรม กระดาษอารตดาน Matte coating 85-160 แกรม กระดาษอารตแกว cast coating 120 แกรม อารตการดหนาเดียว หรือ 2 หนา 190-360 แกรม

3.2.3. กระดาษแข็ง (board paper) เปนกระดาษท่ีมีความแข็งตึง มีความหนาตั้งแต 250 แกรมขึ้นไป นิยมใชทําบรรจุภัณฑ เชน กระดาษกลองแปง กระดาษลูกฟูก กระดาษกลองแปงหลังขาว

3.2.4. กระดาษพิเศษ เปนกระดาษท่ีสรางขึ้นมาเพ่ืองานเฉพาะ ตามคุณสมบัติพิเศษ

อาทิเชน กระดาษกันปลอมตาง ๆ เชน ธนบัตร เช็ค ตั๋วแลกเงิน แสตมป รวมท้ังกระดาษสําเนาในตัว

กระดาษคารบอน กระดาษท่ีสังเคราะหจากพลาสติก กระดาษ dupo

ขอเปรียบเทียบระหวางกระดาษเคลือบผิวและกระดาษไมเคลือบผิว

กระดาษเคลือบผิวจะมีราคาแพง ผิวหนาเรียบ ผิวหนาแข็งแรง ดูดซึมหมึกนอย ใหภาพท่ีมีคุณภาพ

มันวาวสูง กระดาษไมเคลือบผิว จะมีราคาถูกกวา ผิวหนาหยาบ ผิวหนาไมแข็งแรง ดูดซึมหมึกไดมากกวา ใหภาพท่ีมีคุณภาพตํ่ากวา มันวาวต่ํา

4. แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการตรวจเก็บลายน้ิวมือ การตรวจเก็บลายนิ้วมือในสถานท่ีเกิดเหตุแตกตางกันไปตามเง่ือนไขของการประทับลายน้ิวมือ ลายน้ิวมือในสถานที่เกิดเหตุเปนรอยประทับ ที่ไมตั้งใจและเกิดความเสียหายไดงาย จึงจําเปนตองสังเกตเงื่อนไขการประทับกอนทําการตรวจเก็บ และเลือกวิธีการที่เหมาะสมดวยความระมัดระวัง

4.1 ลายน้ิวมือแฝงในสถานที่เกิดเหตุ พบได 2 ลักษณะ คือ

4.1.1 ลายน้ิวมือที่มองเห็นดวยตาเปลา ลายน้ิวมือที่เปอนฝุน เลือด น้ํามัน หรือ ไข

ลายน้ิวมือลักษณะนี้มองเห็นท้ังสวนกวางและ ยาว เกิดจากน้ิวมือที่มีเลือด หรือสารอ่ืนๆติดอยูไปสัมผัสกับวัตถุ ลายน้ิวมือที่นิ่มและไมยืดหยุน (Plastic Print) ลายน้ิวมือลักษณะน้ีมองเห็นทั้งสวนกวาง ยาว และลึก เชน ลายน้ิวมือที่กดบนดินน้ํามัน บนเทียนไข หรือปูนกึ่งแหง ลายน้ิวมือที่ปรากฏบนวัตถุผิวนิ่ม คือเสนรองของลายนิ้วมือ

4.1.2 ลายน้ิวมือที่มองไมเห็น ลายน้ิวมือที่มองเห็นดวยตาเปลาไดยากหรือมองไมเห็นเลย ตองใชแสงชวย หรือการใชสารเคมีบางชนิดทําใหปรากฏชัดเจนขึ้นไดแก ลายน้ิวมือบนวัตถุผิวเรียบ เชน กระจก กระดาษ ผา ไม เปนตน

4.2 การเปล่ียนแปลงของรอยลายน้ิวมือ

การเปล่ียนแปลงโดยธรรมชาติ ขึ้นกับสภาพวัตถุ หรือพื้นผิววัตถุที่รอยลายน้ิวมือประทับอยู สภาพเงือ่นไขของผูประทับรอยลายนิ้วมือ เชน ปริมาณ หรือ คุณภาพของเหงื่อ เงื่อนไขการประทับ เชน

Page 32: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

20

แรงท่ีใชกด ระยะเวลาท่ีใชกด สภาพอากาศหรือเงื่อนไขแวดลอมอ่ืนๆเชน อุณหภูมิ ความช้ืน ลม

ฝน น้ํา ฝุน (ลายน้ิวมือที่เกิดจากฝุนจะหายไปไดถามีฝนและลม)

การเปล่ียนแปลงโดยมนุษย ลายน้ิวมือในสถานที่เกิดเหตุ ทําใหเสียไดงาย โดยการขัดถูหรือการสัมผัสอ่ืนๆ ภายนอก ซึ่งเกิดขึ้นบอยมากกับวัตถุที่มองไมเห็น บนวัตถุผิวไมดูดซับ

และเรียบ เชน แกว กระเบื้อง

4.3 การตรวจเก็บลายน้ิวมือ สามารถทําไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับพื้นผิวที่แตกตางกันไปอาทิ พื้นผิวรูพรุน พื้นผิวไมมีรูพรุน และพ้ืนผิวกึ่งรูพรุน ซึ่งการตรวจเก็บลายน้ิวมือสามารถทําไดหลายวิธีดังนี้ วิธีแหง อาทิ วิธีการปดผงฝุน เปนวิธีการพื้นฐานท่ีใชในการปดผงฝุนลงในลายน้ิวมือแฝง และใชเทปลอกขึ้นมาติดบนกระดาษหรือที่รองรับ หรือโดยการถายภาพ เชน ผงฝุนดํา ผงฝุนอลูมิเนียม ผงฝุนแมเหล็ก และผงฝุนเรืองแสงตาง ๆ ผงฝุนแตละชนิดมีคุณสมบัติที่แตกตางกัน คือ สี การยึดติด ขนาดของเม็ดฝุน ความสามารถในการเลือกติดผิววัตถุ ดังนั้นจึงจําเปนตองเลือกใชใหเหมาะสม

วิธีเปยก (วิธีทางเคมี) วิธีนี้ใชตรวจหาลายน้ิวมือที่มองไมเห็นบนพยานวัตถุ เชน

กระดาษ ไม โลหะ และตรวจเก็บลายน้ิวมือที่มองเห็น เชน ลายน้ิวมือเปอนเลือด ซึ่งหลักการคือ

องคประกอบในสารเคมีทําปฏิกิริยากับสารคัดหลั่งในลายน้ิวมือและรางกาย เชน Ninhydrin

Silvernitrate

วิธีกาซ หรือ Superglue วิธีลอกลายน้ิวมือ การใชเทปลอกลายน้ิวมือโดยตรง เชน

เทปเจลลาติน เทปใส ใชตรวจเก็บลายน้ิวมือเปอนฝุน ไขมัน ลายน้ิวมือเปอนเลือดกรณีที่รอยลายน้ิวมือเร่ิมแหง

วิธีการถายภาพ บันทึกภาพลายน้ิวมือโดยใชแสงปกติหรือแสงเฉียง

วิธีใชแสง อาทิ Polilight สองหาลายนิ้วมือแฝง

วิธีหลอรอย อาทิ หลอรอยดวยปูนปลาสเตอร, Silicone Rubber (อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, 2546)

4.4 การตรวจเก็บลายน้ิวมือดวยวิธีการตาง ๆ

นินไฮดริน (Ninhydrin) มีลักษณะเปนเม็ดละเอียดสีเหลืองออน เหมาะกับของกลางประเภทกระดาษและเอกสารตาง ๆ นินไฮดรินจะไปทําปฏิกิริยากับ กรดอะมิโนในเหงื่อ ทําใหลายน้ิวมือแฝง เปลี่ยนสีจากไมมีสีเปนสีมวง การเตรียมสารละลาย ninhydrin ละลายนินไฮดรินดวยตัวทําละลาย ไดแก acetone หรือ ethyl alcohol petroleum ether และ 7100-HFE ซิลเวอรไนเตรท

(Silver Nitrate) เหมาะกับตัวอยางประเภทกระดาษ ไม โดยจะทําปฏิกิริยากับเกลือโซเดียมคลอไรด

Page 33: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

21

ในเหงื่อ ใหซิลเวอรคลอไรด (Silver Chloride) มีสีขาว ไมเสถียรเมื่อไดรับแสงจะแตกตัวเปน ซิลเวอร (Silver) และคลอไรด (Chloride) ทําใหรอยลายน้ิวมือแฝง ปรากฏออกมาเปนสีแดงหรือ

นํ้าตาลดํา ไอโอดีน (Iodine) มีลักษณะเปนเกล็ดสีน้ําตาล วิธีการรมไอโอดีนเหมาะกับตัวอยางประเภท กระดาษ ผิวหนัง ฯลฯ เมื่อไดรับความรอนเพียงเล็กนอยจะระเหิดเปนไอ ไปสัมผัสกับของกลางที่คิดวามีลายน้ิวมือแฝงติดอยู ไอโอดีนจะไปเกาะกับไขมันหรือสารที่มีความมันจะดูดซับไอของไอโอดีน เมื่อรมควันวัตถุพยานดวยไอโอดีน ลายน้ิวมือแฝงที่มีน้ํามันหรือไขมันจะดูดซับไอของไอโอดีนทําใหลายน้ิวมือปรากฏเปนสีน้ําตาลแดง (บนพื้นดํา) ลายน้ิวมือที่ปรากฏนี้ไมถาวร

ลายเสนจะคอยจางหายไปเม่ือหยุดรมควัน ดังนั้นการตรวจเก็บจึงตองเตรียมกลองบันทึกภาพไวใหพรอมเพื่อการบันทึกภาพทันที การจะทําใหลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏดวยไอโอดีนคงอยูไมจางหายไปจะตองใชสารหยุดการจาง ไดแก สารละลาย 7,8-benzoflavone การรมไอโอดีนตองใชภาชนะปดมิดชิดเชน ตูรมควัน หรือ iodine gun ในหองที่มีตูดูดควันหรือบริเวณท่ีอากาศถายเท การสูดไอของไอโอดีนเล็กนอยไมมีอันตราย แตการสูดไอโอดีนเปนเวลานานจะทําใหเกิดการระคายเคืองของผิวหนังระบบทางเดินหายใจ (วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ : 48)

Gentian Violet or Crystal violet เปนสียอมท่ีใชยอมสีลายน้ิวมือแฝง โดยเหมาะกับรอยลายน้ิวมือแฝง ที่ติดอยูบนดานเหนียวของเทปใส เทปพันสายไฟ ที่เหนียวไมละลายน้ํา ซึ่งไมสามารถเก็บโดยวิธีการปดฝุนได Sticky-Side Powder ใชหาลายน้ิวมือบนดานเหนียวของเทปไดลายเสนลายน้ิวมือที่ชัดเจนกวาวิธีอื่น ๆ ใชผสมกับน้ําและ Photo-Flo ในปริมาณที่เทากัน ทาดวยแปรงลงบนดานเหนียวของเทปใส ทิ้งไวประมาณ 10-15 วินาที ลางออกดวยน้ํา Small Particle Reagent (SPR)

ประกอบดวยสารแขวนลอยของผง molybdenum disulfide ในสารละลายสบู ซึ่งจะจับกับสวนประกอบของไขมันในลายนิ้วมือใหสีเทา เมื่อจะใชใหผสม SPR กับนํ้าและ Kodak Photo-Flo

200 ใสขวดสเปรย เขยาใหเขากัน ฉีดพนไปบนบริเวณท่ีตองการหาลายน้ิวมือแลวฉีดนํ้าลาง รอใหแหงแลวบันทึกภาพถาย หรือเก็บรอยที่แหงดวยเทปใส ใชหาลายน้ิวมือบนกระดาษแข็ง โลหะที่เปนสนิม คอนกรีต พลาสติก ไวนิล ไม แกว กระปองโซดา กระดาษไข วัตถุผิวเปยก

Sudan Black เปนสียอมองคประกอบของไขมันของตอมไขมันใหมีสีน้ําเงินเขม

ใชหาลายน้ิวมือบนวัตถุผิวเรียบ ผิวหยาบ ผิวไมมีรูพรุนที่เปอนไข หรือสารที่มีความเหนียว ใชไดดีบนแกว โลหะ พลาสติก พื้นผิวมัน เชน กระดาษอาบไข

ซุปเปอรกลู หรือ กาว (Super glue or Cyanoacrylate ester) เหมาะกับของกลางประเภทเคร่ืองหนัง, กระดาษ, ถุงพลาสติก, แกว, ผา, ใบไม, โลหะตาง ๆ เปนตน หรือลายนิ้วมือที่

Page 34: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

22

เปนรอยเกาบนวัตถุพยานท่ีปดผงฝุนไมติด เมื่อไดรับความรอนจะระเหยเปนควันไอสีขาว ซึ่งมีความเขมขนสูงแลวทําปฏิกิริยากับกรดอะมิโนและน้ําในเหง่ือ ทําใหรอยลายนิ้วมือแฝง ปรากฏเปนลายเสนสีขาว การรมควัน super glue กระทําในภาชนะท่ีปดมิดชิด อาจเปนตูกระจกหรือตูพลาสติก

หรือตูอบ superglue หลังจากน้ันทําการบันทึกภาพถายลายน้ิวมือ กอนท่ีจะนําไปทําการปดผงฝุน หรือยอมสีเรืองแสงหรือวิธีการอ่ืน ๆ

Amido Black เปนสียอมโปรตีนท่ีอยูในเลือดหรือ body fluid อ่ืน ๆ ใหสีน้ําเงินเขม amino black ไมทําปฏิกิริยาใด ๆ กับสารในลายน้ิวมือ ชวยทําใหลายน้ิวมือที่เปอนเลือดแมจะมองไมเห็นใหปรากฏเห็นชัดเจนข้ึน ใชไดบนวัตถุผิวรูพรุนและผิวไมมีรูพรุน เชน ศพ ไม กระดาษ

(วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ : 62)

Rhodamine 6G เปนผงเรืองแสงที่ใหผลดีที่สุดตัวหนึ่งเม่ือใชกับแสงเลเซอร หรือ

Forensic Light Source อ่ืน ๆ งายตอการใชงาน โดยผสม 0.1 กรัมในตัวทําละลาย 2-3 ลิตร ใชยอมสีโลหะ แกว หนัง พลาสติก หรือ วัตถุอ่ืน ๆ ควรทดสอบอัตราสวนกอนวาอัตราสวนเทาใดเหมาะสมกับผิววัตถุชนิดหน่ึง ๆ สามารถใช Rhodamine 6G ปดบนผิววัตถุไดโดยตรง

Ardrox เปนของเหลวเรืองแสงซึ่งใชรวมกับ Forensic Light Source และ UV

Lamp ลายน้ิวมือแฝงท่ีรมดวย Super Glue ยอมสีดวย Ardrox จะเรืองแสงภายใตแสง 365 nm, 450-

480 nm

DFO (1,8-Diazafluoren-9-one) ทําปฏิกิริยากับกรดอะมิโนในลายน้ิวมือซึ่งมองไมเห็นในแสงปกติ แตจะเรืองแสงชัดเจนในแสงพิเศษ DFO จะทําใหลายน้ิวมือปรากฏบนกระดาษมากกวาใชนินไฮดรินเพียงอยางเดียว 2.5-3 เทา ถาใชรวมกับนินไฮดรินจะตองใชวิธี DFO กอน

DFO ถูกนํามาใชโดย Pounds และคณะในป 1989 (Pounds และคณะ., 1990) โดยจะทําปฏิกิริยากับกรดอะมิโนท่ีมีในรอยลายพิมพนิ้วมือแฝงแลวจะใหสีชมพูซีด ๆ ขึ้นตามรองสัน โดยจะขึ้นอยูกับความรอนที่ถูกมาใชดวย การเรืองแสงในอุณหภูมิหองที่สูง ๆ ก็จะเกิดขึ้นไดเชนกันโดยไมตองมีการยอมใด ๆ เพิ่มเติม DFO reagent ไดรับการยอมรับวาวองไวมากกวาเมื่อเทียบกับ ninhydrin แตอยางไรก็ตาม ninhydrin กลบัเปนตัวที่ถูกนํามาใชอยางกวางขวางมากกวาเนื่องจากปจจัย ดานราคา และส ี ที่เกิดขึ้นในขั้นแรกท่ีเขมกวา 1,2–indanedione เปนสารเคมีเรืองแสงท่ีใชตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนพื้นผิวรูพรุนได ถูกนาํมาใชเปนสารเคมียอมลายนิ้วมือเมื่อป 1997 โดย Ramotowski และคณะโดยตอยอดจากการวิจัยสารที่มีสวนคลายคลึงกับ ninhydrin (ninhydrin analogues) ของ Jouille

และผูรวมงานในหนวย งาน US Secret Service ซึ่งการคนควานี้ไดนํามาใชเปนแนวทางการศึกษา เพื่อหาประสิทธภิาพของ 1,2-indanedione ในการใชตรวจหาลายน้ิวมือ นอกจากน้ี Hague และคณะไดทดลองเพ่ือหาระดับของ 1,2-indanedione ในการยอมสีกรดอะมิโนในป 1998 ในการวิจัย

Page 35: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

23

เบื้องตนพบวาความเขมขนของ 1,2-indanedione ในระดับตาง ๆ กันที่นํามาทดลองนั้นทําใหการยอมเกิดการเรืองแสงไดมากกวา DFO

Page 36: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

24

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การทดลองคร้ังน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ความชัดเจนของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษชนิดตางๆ ดวยวิธีไอโอดีน ภายใตการเปลี่ยนแปลงปจจัยดังน้ี ชนิดของกระดาษ, น้ําหนักของแรงกดพิมพลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษ, บริเวณเหง่ือจากตําแหนงตางๆท่ีใชพิมพลายน้ิวมือแฝง, ระยะเวลาในการรมไอโอดีนเพ่ือทดสอบการหาลายนิ้วมือแฝง และระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือบนกระดาษ โดยอุณหภูมิในการอบไอโอดีนเทากัน รวมถึงสภาวะและอุณหภูมิในการเก็บกระดาษเดียวกัน มีวิธีดําเนินการวิจัยเปนลําดับขั้นตอนดังน้ี

1. ขั้นตอนการวิจัย

1.1 ศึกษาหาขอมูลการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษดวยวิธีรมไอโอดีน

1.2 ดําเนินการจัดหาและเตรียมสถานท่ี กระดาษชนิดตางๆ อุปกรณและสารเคมี

1.3 ดําเนินการพิมพลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษทดสอบเพ่ือนําไปตรวจเปรียบเทียบความชัดของลายพิมพนิ้วมือแฝงดวยวิธีไอโอดีน 1.4 เปรียบเทียบความชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษดวยวิธีรมไอโอดีน 1.5 วิเคราะหและสรุปผลการศึกษา

2. ประชากรและกลุมตัวอยาง กระดาษชนิดตางๆ จํานวน 15 ชนิด สวนใหญเปนกระดาษความรอน ( thermal paper ) ไดแกกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรี, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มไทยพาณิชย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทย, กระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยา, ใบเสร็จรับเงิน 7-Eleven Booth, ใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมิลี่มารท, ใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากร, ใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด, ใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus, กระดาษซองจดหมาย, ใบฝากเงินธนาคารทหารไทย, กระดาษสีขาว A4 และธนบัตรฉบับละ 20 บาท ดังแสดงในตารางท่ี1

Page 37: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

25

3. การเตรียมตัวอยาง ตารางที่ 1 กระดาษตัวอยางท่ีใชในการทดลองและแหลงที่มาของกระดาษ

ลําดับที ่ กระดาษตัวอยาง แหลงที่มา 1 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยา ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 2 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย

3 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มไทยพาณิชย ธนาคารไทยพาณิชย 4 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทย ธนาคารกสิกรไทย

5 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทย ธนาคารทหารไทย

6 กระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยา ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 7 ใบเสร็จรับเงิน 7- Eleven Booth 7- Eleven Booth สาขาศิลปากรทบัแกว

8 ใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมิล่ีมารท บริษทัสยามแฟมิล่ีมารท จํากัด

9 ใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากร ฝายการคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร

10 ใบแทนใบเสร็จรบัเงนิหอสมุด หอสมุดพระราชวังสนามจันทร ม.ศิลปากร

11 ใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus Tesco Lotus

12 กระดาษซองจดหมาย ที่ทําการไปรษณีย ม.ศิลปากร

13 ใบฝากเงนิธนาคารทหารไทย ธนาคารทหารไทย

14 กระดาษสีขาว A4 Double A

15 ธนบัตรฉบบัละ 20 บาท ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 38: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

26

ภาพที่ 16 กระดาษตัวอยางท่ีใชในการทดลอง

Page 39: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

27

4. อุปกรณและสารเคมี ตารางที่ 2 อุปกรณสารเคมีและแหลงที่มา

อุปกรณและสารเคมี แหลงท่ีมา 1. Tank Iodine

2. ปากคีบ -

3. ชอนตักสาร - 4. บีกเกอรขนาด 50 ml PYRAX

5. กลองถายภาพดิจิตอล (Sony) MPEGMOVIE VX DSC- H9

6. ตาชั่งไฟฟา SARGORIUS รุน AG

7. สารไอโอดีน FLUKA

5. สถานท่ีในการทําการวิจัย หองปฏิบัติการ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

6. ขัน้ตอนในการวิจัย 6.1 การศึกษาเปรียบเทียบนํ้าหนักของแรงกดพิมพลายน้ิวมือแฝงกับความระดับชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ การเตรียมตัวอยางลายน้ิวแฝงบนกระดาษโดยใชแรงกดของลายน้ิวมือที่น้ําหนักแตกตางกัน เตรียมตัวอยางลายน้ิวมือจากน้ิวหัวแมมือ โดยประทับนิ้วหัวแมมือบนกระดาษตัวอยางที่วางอยูบนตาช่ัง โดยใชแรงกดนิ้วมือที่มีน้ําหนักตางๆ ไดแก แรงกดประมาณ 100, 150, 200, 250

กรัม ซึ่งใชกระดาษตัวอยางในการทดลองจํานวน 2 ชนิด ชนิดละ 8 ตัวอยาง แลวนํามาตรวจหาลายน้ิวมือแฝงดวยวิธีรมไอโอดีนเปนเวลา 1 ชั่วโมง 6.2 การศึกษาเปรียบเทียบตําแหนงของเหง่ือที่ใชพิมพลายน้ิวมือแฝงในบนกระดาษกับระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ

ประทับนิ้วหัวแมมือจากเหงื่อบริเวณตางๆ ไดแก นิ้วมือ, จมูก และแกม บนกระดาษตัวอยางท่ีวางอยูบนตาชั่ง โดยใชแรงกดประมาณ 250 กรัม ในการพิมพลายน้ิวบนกระดาษตัวอยางในการทดลองจํานวน 6 ชนิด ชนิดละ 3 ตัวอยาง แลวนํามาตรวจหาลายน้ิวมือแฝงดวยวิธีรมไอโอดีนเปนเวลา 1 ชั่วโมง

6.3 การศึกษาเปรียบเทียบกระดาษชนิดตางๆกับความคมชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ แบงเปน 2 กลุม ดังนี้

Page 40: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

28

กลุมที่ 1 การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของลายน้ิวมือกอนพิมพลายน้ิวบนกระดาษ 15 ชนิด กับความคมชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ ประทับนิ้วหัวแมมือจากเหงื่อบริเวณตางๆ ไดแก นิ้วมือ, จมูก และแกม บนกระดาษตัวอยางท่ีวางอยูบนตาช่ัง โดยควบคุมน้ําหนักแรงกดนิ้วมืออยูที่ประมาณ 600 - 700 กรัม นาน 10 วินาทีตอตัวอยาง เวนระยะเวลาการประทับแตละตัวอยางหางกัน 20 วินาที โดยเตรียมบนกระดาษตัวอยางท้ังหมด 15 ชนิด ชนิดละ 7 ตัวอยาง แลวนํามาตรวจหาลายน้ิวมือแฝงดวยวิธีรมไอโอดีนเปนเวลา 1 ชั่วโมง

กลุมที ่2 การศึกษาเปรียบเทียบเวลาในการมไอโอดีนกับระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ ตามลําดับ โดยเตรียมบนกระดาษตัวอยางท้ังหมด 15 ชนิด ชนิดละ 4 ตัวอยาง

ตัวอยางลายน้ิวมือ เตรียมจากนิ้วหัวแมมือ ประทับนิ้วหัวแมมือบนกระดาษตัวอยางท่ีวางอยูบนตาชั่ง โดยควบคุมน้ําหนักแรงกดนิ้วมืออยูที่ประมาณ 600 - 700 กรัม นาน 10 วินาทีตอตัวอยาง เวนระยะเวลาการประทับแตละตัวอยางหางกัน 20 วินาที โดยเตรียมบนกระดาษตัวอยางท้ังหมด 15 ชนิด ชนิดละ 4 ตัวอยางแลวนําไปตรวจหาลายน้ิวมือแฝงดวยวิธีรมไอโอดีน ที่ระเวลาตางๆ ดังน้ี 15, 30, 45, และ 60 นาที แลวนําผลมาเปรียบเทียบความชัดเจนของลายน้ิวมือแฝง

6.4 เปรียบเทียบระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษกับระดับความชัดเจนของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษ

ประทับนิ้วหัวแมมือบนกระดาษตัวอยางท่ีวางอยูบนตาชั่ง โดยใช แรงกดประมาณ 250 กรัม ซึ่งใชกระดาษตัวอยางในการทดลองจํานวน 2 ชนิด ชนิดละ 4 ตัวอยาง ทิ้งไวเปนเวลานาน 1, 3, 5, 7 วัน ตามลําดับ แลวนํามาตรวจหาลายนิ้วมือแฝงดวยวิธีรมไอโอดีนเปนเวลา 1 ชั่วโมง

8. ความปลอดภัย (Safety) กกกกกกก ทกุครั้งที่ทําการทดสอบจะปฏิบัติตามหลักสากลวาดวยความปลอดภัยใน

หองปฏิบัติการ

Page 41: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

29

บทท่ี 4

ผลการวิจัย

ผลการศึกษาเปรียบเทียบระดับความชัดของลายนิ้วมือที่ปรากฏบนกระดาษดวยวิธีรมไอโอดีน โดยทดสอบพิมพลายน้ิวมือบนกระดาษ จํานวน 15 ชนิด ไดแก กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยา, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มไทยพาณิชย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทย, กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทย, กระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยา, ใบเสร็จรับเงิน 7-

Eleven Booth, ใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมิลี่มารท, ใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากร, ใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด, ใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus, กระดาษซองจดหมาย, ใบฝากเงินธนาคารทหารไทย, กระดาษสีขาว A4 และธนบัตรฉบับละ 20 บาท โดยทําการนําเสนอขอมูลที่ไดจากการทดสอบดังนี้ 1. ผลการศึกษาเปรียบเทียบน้ําหนักของแรงกดพิมพลายน้ิวมือแฝงกับความระดับชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ 2. ผลการศึกษาเปรียบเทียบตําแหนงของเหงื่อที่ใชพิมพลายน้ิวมือแฝงในบนกระดาษกับระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ 3. ผลการศึกษาเปรียบเทียบกระดาษชนิดตางๆกับความคมชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ แบงเปน 2 กลุม ดังนี้ กลุมที ่1 ผลการศึกษาเปรียบเทียบตําแหนงของเหง่ือที่ใชพิมพลายน้ิวมือบนกระดาษ 15 ชนิด กับความคมชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ

กลุมที่ 2 ผลการศึกษาเปรียบเทียบเวลาในการมไอโอดีนกับระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ ตามลําดับ โดยเตรียมบนกระดาษตัวอยางท้ังหมด 14 ชนิด 4. ผลการศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษกับระดับความชัดเจนของลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษ

Page 42: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

30

1. ผลการศึกษาเปรียบเทียบนํ้าหนักของแรงกดพิมพลายนิ้วมือแฝงกับความระดับชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ ตารางที่ 3 แสดงระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยใชแรงกดของลายน้ิวมือที่น้ําหนักแตกตางกัน

ชนิดของกระดาษ 100 กรัม 150 กรัม 200 กรัม 250 กรัม

คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2

สลิปธนาคารทหารไทย C C B B B B A A สลิปธนาคารกรุงศรีอยุธยา C C B C B B A A

หมายเหตุ ระดับ A หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูงมาก

ระดับ B หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูง

ระดับ C หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับปานกลาง

ระดับ D หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่า ระดับ E หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่ามาก

จากตารางท่ี 3 พบวา น้ําหนักแรงกดท่ี 250 กรมั ใหลายน้ิวมือแฝงปรากฏชัดเจนท่ีสุด และท่ีแรงกดเทากับ 100 กรัม ใหลายน้ิวมือแฝงปรากฏชัดเจนนอยที่สุดซึ่งจะเห็นไดวาระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษตัวอยางท่ีทําการทดลอง ขึ้นอยูกับน้ําหนักของแรงกดลายนิ้วมือลงบนกระดาษตัวอยาง ซึ่งเมื่อใชแรงกดมาก การปรากฏก็จะชัดเจนมากข้ึนดวย ดังรูปท่ี 17

รูปที่ 17 ลายพิมพนิ้วมือแฝงที่น้ําหนักแรงกด 250 g

Page 43: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

31

2. ผลการศึกษาเปรียบเทียบตําแหนงของเหง่ือท่ีใชพิมพลายนิ้วมือแฝงในบนกระดาษกับระดับความชัดของลายนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ

การตรวจหาลายนิ้วมือแฝงโดยใชเหงื่อจากบริเวณตางชนิดกัน ที่ใชแรงกดประมาณ 250

กรัม จะใชกระดาษตัวอยางจํานวน 5 ชนิด ชนิดละ 3 ตัวอยาง ไดผลดังตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 ระดับความชัดของลายนิ้วมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยใชเหงื่อจากบริเวณตางๆ

ชนิดตัวอยาง ระดับความชัดในการปรากฏ นิว้มือ จมูก แกม

สลิปธนาคารกสิกรไทย A B B

สลิปธนาคารไทยพาณิชย A A B

สลิปธนาคารกรุงศรีอยุธยา B B C

ใบเสร็จ 7-eleven A C C

ใบเสร็จแฟมิลี่มารท B B C

หมายเหตุ ระดับ A หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูงมาก

ระดับ B หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูง

ระดับ C หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับปานกลาง

ระดับ D หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่า ระดับ E หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่ามาก

จากตารางท่ี 4 พบวา จากการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษดวยวิธีรมไอโอดีน โดยใชเหงื่อจากบริเวณตางชนิดกันไดแก เหงื่อที่นิ้วมือ เหงื่อที่จมูก และเหงื่อที่แกม ซึ่งใชแรงกดประมาณ 250 กรัม พบวาเหงื่อที่นิ้วมือปรากฏลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษไดชัดเจนท่ีสุด

Page 44: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

32

3. ผลการศึกษาเปรียบเทียบกระดาษชนิดตางๆกับความคมชัดของลายนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ แบงเปน 2 กลุม ดังนี ้ กลุมที่ 1 ผลการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของลายน้ิวมือที่ใชพิมพลายน้ิวมือบนกระดาษ 15 ชนิด กับ ความคมชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ

ตารางที่ 5 แสดงระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยการประทับที่บริเวณตางๆ ลําดับที ่

กระดาษตัวอยาง ระดับความชัดในการปรากฏ น้ิวมือ เหง่ือท่ีจมูก เหง่ือท่ีแกม

1 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยา A C C

2 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย A D E

3 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มไทยพาณิชย B B C

4 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทย B B D

5 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทย A D D

6 กระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยา B B C

7 ใบเสร็จรับเงิน 7- Eleven Booth C D E

8 ใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมิลี่มารท C D E

9 ใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากร C D E

10 ใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด D E E

11 ใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus D E E

12 กระดาษซองจดหมาย E E E

13 ใบฝากเงินธนาคารทหารไทย D E E

14 กระดาษสีขาว A4 C E E

15 ธนบัตรฉบับละ 20 บาท A B E

หมายเหตุ ระดับ A หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูงมาก

ระดับ B หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูง

ระดับ C หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับปานกลาง

ระดับ D หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่า ระดับ E หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่ามาก

Page 45: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

33

จากตารางท่ี 5 พบวาระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน โดยใชเหง่ือท่ีนิ้วมือ จมูก และแกม ประทับลายน้ิวมือลงบนกระดาษ สรุปไดวา เหงื่อจากนิ้วมือ ใหความชัดเจนของลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษทุกชนิดมากท่ีสุด รองลงมาคือ บริเวณจมูก และแกม ตามลําดับ และกระดาษตัวอยางท่ีใหผลชัดเจนท่ีสุดคือ กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มธนาคารกรุงศรีอยุธยา ดังรูปที่ 18

รูปท่ี 18 ลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฎบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มธนาคารกรุงศรีอยุธยาจากเหงื่อน้ิวมือ

Page 46: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

34

กลุมที่ 2 ผลการศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาในการรมไอโอดีนกับความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏ

ตารางที่ 6 แสดงระดับความชัดของลายน้ิวมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีนที่เวลาตางๆ

ลําดับที่ กระดาษตัวอยาง

ระดับความชัดในการปรากฏ

ระยะเวลาในการรมไอโอดีน 15 min 30 min 45 min 60 min

1 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยา C B B A

2 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย B A A A

3 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มไทยพาณิชย D D B B

4 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทย E E D D

5 กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทย E C B A

6 กระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยา E D D D

7 ใบเสร็จรับเงิน 7- Eleven Booth E E B A

8 ใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมิลี่มารท E E D D

9 ใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากร E E D D

10 ใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด E E E E

11 ใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus E E C C

12 กระดาษซองจดหมาย E E E D

13 ใบฝากเงินธนาคารทหารไทย E C C B

14 กระดาษสีขาว A4 E E D C

15 ธนบัตรฉบับละ 20 บาท E E E E

หมายเหตุ ระดับ A หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูงมาก

ระดับ B หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูง

ระดับ C หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับปานกลาง

ระดับ D หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่า ระดับ E หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่ามาก

Page 47: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

35

จากตารางท่ี 6 แสดงระดับความชัดของลายนิ้วมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษโดยพิจารณาเวลาท่ีใชในการอบดวยไอโอดีน ที่เวลา 15, 30, 45, 60 นาที พบวาเมื่อเวลาในการอบดวยไอโอดีนเพิ่มขึ้นจะทําใหเห็นลายน้ิวมือชัดขึ้นโดยท่ีเวลา 60 นาที จะเห็นลายน้ิวมือปรากฏชัดมากที่สุด ดังรูปที่ 19

รูปที่ 19 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย ที่รมไอโอดีน 60 นาที

4. ผลการศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษกับระดับความชัดเจนของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษ ตารางที่ 7 ระดับความชัดของลายนิ้วมือแฝงจากการตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีน กับระยะความคงอยูของลายน้ิวมือแฝงที่ระยะเวลาตางๆ

ชนิดตัวอยาง ระดับความชัดในการปรากฏบนกระดาษตามระยะเวลา(วัน)

1 วัน 3 วัน 5 วัน 7 วัน

สลิปธนาคารกรุงศรีอยุธยา B C E E

สลิปธนาคารไทยกสิกรไทย C D E E

หมายเหตุ ระดับ A หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูงมาก

ระดับ B หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับสูง

ระดับ C หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับปานกลาง

ระดับ D หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่า ระดับ E หมายถึง ความชัดของลายน้ิวมืออยูในระดับตํ่ามาก

Page 48: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

36

จากตารางท่ี7 พบวา การปรากฏของลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษตัวอยางท่ีทําการทดลอง ขึ้นอยูกับระยะเวลาความคงอยูของลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษ ซึ่งพบวาเมื่อหลังจากพิมพลายน้ิวมือบนกระดาษไวและทิ้งไวตามเวลาท่ีกําหนดแลวนํามาตรวจหาดวยวิธีรมไอโอดีนนั้น ลายน้ิวน้ิวที่พิมพทิ้งไว 1 วันแลวนํามาตรวจใหความชัดเจนมากที่สุดและลายน้ิวมือที่พิมพทิ้งไวเปนระยะเวลา 7

วันใหลายนิ้วมือแฝงปรากฏชัดเจนนอยที่สุด ดังรูปที่ 20

รูปที่ 20 ลายพิมพนิ้วมือบนกระดาษสลิปธนาคารกรุงศรีอยุธยาท่ีทิ้งไว 1 วัน

Page 49: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

37

บทท่ี 5

สรุปและอภิปรายผล 1. ผลการศึกษาเปรียบเทียบนํ้าหนักของแรงกดพิมพลายนิ้วมือแฝงกับความระดับชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ ผลของการศึกษาพบวานํ้าหนักแรงกดเทากับ 250 กรัม นั้นใหลายน้ิวมือแฝงปรากฏชัดเจนมากท่ีสุด แตที่แรงกด เทากับ 100 กรัม ทําใหลายน้ิวมือแฝงปรากฏใหเห็นชัดเจนนอยที่สุด น้ําหนักแรงกดประทับลายน้ิวมือลงบนกระดาษมีผลตอความชัดของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษย่ิงแรงมากความชัดของลายน้ิวมือแฝงก็จะมากขึ้น 2. ผลการศึกษาเปรียบเทียบตําแหนงของเหง่ือท่ีใชพิมพลายนิ้วมือแฝงในบนกระดาษกับระดับความชัดของลายนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ

ผลของการศึกษาพบวาเมื่อใชเหงื่อที่นิ้วมือพิมพประทับลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษน้ันจะใหลายพิมพนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏชัดมากท่ีสุด แตเมื่อใชเหงื่อที่แกมพิมพประทับลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษน้ันจะใหลายพิมพนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏชัดนอยที่สุด

ตําแหนงของเหงื่อที่ใชในการพิมพประทับลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษมีผลตอความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ

3. ผลการศึกษาเปรียบเทียบกระดาษชนิดตางๆกับความคมชัดของลายนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ แบงเปน 2 กลุม ดังนี ้ กลุมที่ 1 ผลการศึกษาเปรียบเทียบตําแหนงของเหง่ือที่ใชพิมพลายน้ิวมือลงบนกระดาษ 15 ชนิด กับความคมชัดของลายนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ ผลของการศึกษาพบวาเม่ือใชเหงื่อที่นิ้วมือพิมพประทับลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษท้ัง 15 ชนิดน้ัน ใหลายพิมพนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏชัดมากท่ีสุด แตเหง่ือที่แกมพิมพที่ใชประทับลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษน้ันจะใหลายพิมพนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏชัดนอยที่สุด และกระดาษตัวอยางท่ีใหผลชัดเจนท่ีสุดคือ กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มธนาคารกรุงศรีอยุธยา

Page 50: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

38

ตําแหนงของเหง่ือที่ใชในการพิมพประทับลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษมีผลตอความชัดของลายนิ้วมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ ชนิดของกระดาษท่ีตรวจหาลายน้ิวมือแฝงมีผลตอความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษ กลุมท่ี 2 ผลการศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาในการรมไอโอดีนกับความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏ ผลของการศึกษาพบวา เวลาในการรมดวยไอโอดีนที่เวลา 60 นาที จะใหลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏชัดมากท่ีสุด สวนเวลาในการรมดวยไอโอดีนที่เวลา 15 นาที จะใหลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏชัดนอยที่สุด ระยะเวลาในการรมไอโอดีนเพื่อตรวจหาลายนิ้วมือแฝงมีผลตอความชัดของลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษเพิ่มข้ึนจะทําใหเห็นลายนิ้วมือชัดขึ้นโดยจะเห็นลายน้ิวมือแฝงปรากฏชัดมากท่ีสุด ตัวอยางกระดาษท่ีปรากฏลายน้ิวมือแฝงมากท่ีสุด คือ กระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มธนาคารกรุงไทย 4. ผลการศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษกับระดับความชัดเจนของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษ ผลการศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือแฝงบนกระดาษ หลังจากพิมพลายน้ิวมือบนกระดาษไวและท้ิงไวตามเวลาท้ิงไว 1 วัน แลวนํามาตรวจหาลายน้ิวมือแฝงจะเห็นลายน้ิวมือชัดมากท่ีสุดใหความชัดเจนมากที่สุดและลายน้ิวมือที่พิมพทิ้งไวเปนระยะเวลา 7 วันใหความชัดของลายนิ้วมือแฝงปรากฏชัดเจนนอยที่สุด ระยะเวลาความคงอยูของลายพิมพนิ้วมือแฝงมีผลตอความชัดของลายน้ิวมือแฝงท่ีปรากฏบนกระดาษ ลายน้ิวมือพิมพลายน้ิวมือที่พิมพทิ้งไวยิ่งนานความชัดของลายพิมพนิ้วมือก็จะยิ่งจาง

Page 51: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

39

บรรณานุกรม กริช สัตถาผล, เพ็ญทิพย สุตธรรมและภัทยารัตน ศรีสังวาลย. “การใชซิลเวอรฟสิคัลเดลเวลลอป เปอร ภายหลังจากการใชนินไฮดรินในการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงจากกระดาษและ ผลิตภัณฑจากกระดาษท่ีผานความช้ืน.” กลุมตรวจพิสูจนลายพิมพนิ้วมือและฝามือ อัตโนมัติ สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม, 2553. (อัดสําเนา) Srihari, Sargur N. et al. Individuality of Numerals. New York: Lee Entrance, 2003. Prakash Om Jasuja. “Gaga deep Singh ,Development of latent finger marks on thermal paper: Preliminary investigation into use of iodine fuming.” Forensic Science International,192 (2009) e11–e16. Champod, Christophe et al “Fingerprint and other ridge skin impressions.” Florida CRC Press LL, 2004:1-193.

Page 52: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

ภาคผนวก

Page 53: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

40

กลุมท่ี 1 ศึกษาหาลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษโดยใชเหงื่อจากบริเวณตางชนิดกัน พบวาลายนิ้วโดยใชเหงื่อที่นิ้วมือเห็นชัดที่สุดและชัดที่สุดบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทย ดังรูป

ภาพที่ 21 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทยโดยใชเหง่ือน้ิวมือ

กลุมท่ี 2 ผลการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏบนกระดาษโดยพิจารณาเวลาท่ีใชในการอบดวย ไอโอดีน(ที่เวลา 15, 30, 45 และ 60 นาที) แสดงดังรูปตอไปนี้

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 22 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทยท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 54: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

41

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 23 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษซองจดหมายท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 24 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษบัตรคิวกรุงศรีอยุธยาท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 55: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

42

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 25 ลายน้ิวมือแฝงบนใบฝากเงินธนาคารทหารไทยที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 26 ลายน้ิวมือแฝงบนใบเสร็จรับเงิน Tesco Lotus ที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 56: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

43

15 นาที 30 นาที

14 นาที 60 นาที

ภาพที่ 27 ลายน้ิวมือแฝงบนใบเสร็จรับเงิน 7- Eleven Booth ที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ

15 นาที 30 นาที

14 นาที 60 นาที

ภาพที่ 28 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มทหารไทยที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 57: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

44

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 29 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษสีขาว A4 ที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 30 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงไทยท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 58: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

45

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 31 ลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยาท่ีรมไอโอดีนในเวลา ตางๆ

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 32 ลายน้ิวมือแฝงบนธนบัตรฉบับละ 20 บาทท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 59: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

46

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 33 ลายน้ิวมือแฝงบนใบสําคัญรับเงิน มหาวิทยาลัยศิลปากรที่รมไอโอดีนในเวลาตางๆ

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 34 ลายน้ิวมือแฝงบนใบเสร็จรับเงิน สยามแฟมมิลี่มารทท่ีรมไอโอดีนในเวลาตางๆ

Page 60: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

47

15 นาที 30 นาที

45 นาที 60 นาที

ภาพที่ 35 ลายน้ิวมือแฝงบนใบแทนใบเสร็จรับเงินหอสมุด2 ที่รมไอโอดีนในเวลาตาง

Page 61: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

48

ผลการตรวจหาความคงอยูของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษโดย ท่ีใชแรงกดประมาณ 600-700 กรัมใชกระดาษตัวอยางจํานวน 2 ชนิด ชนิดละ 4 ตัวอยาง

1 วัน 3 วัน 5 วัน 7 วัน

ภาพที่ 36 ลายน้ิวมือแฝงบนใบใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกรุงศรีอยุธยาท่ีเวลาตางๆ

1 วัน 3 วัน 5 วัน 7 วัน

ภาพที่ 37 ลายน้ิวมือแฝงบนใบบันทึกรายการเอทีเอ็มกสิกรไทยที่เวลาตางๆ

Page 62: 2553 ิทยาลยศิัลปากร · exposing was 60 minutes and the best quality of the latent fingerprint was observed after one day. The results from this work thus

49

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล นายวิโชติ บุรพชนก ที่อยู 30/18 ซอยภูธร ถนนบางกอก ตําบลตลาดเหนือ อําเภอเมื่อง จังหวัด ภูเก็ต 83000 ที่ทํางาน ภาคบริการโลหิตแหงชาติ จังหวัดภูเก็ต 2 หมู 4 ต.ทาน้ําออย

อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค 60130 (056) 267423 ประวัติการศึกษา พ.ศ.2547 สําเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเวชศาสตรการ ธนาคารเลือด จากมหาวิทยาลัยมหิดล ประวัติการทํางาน พ.ศ.2541-2552 งานธนาคารเลือด โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต พ.ศ.2553- ปจจุบัน ภาคบริการโลหิตแหงชาติ จังหวัดภูเก็ต