36
สาขาชีววิทยา (Mwit’14) - 27 - หัวขอโครงงาน ผลของน้ําแชและน้ําตมใบหูกวางตอการกอหวอดของปลากัด (The Effectiveness of Terminalia catappa Leaves on Bubble Nest Production of Siamese Fighting Fish) ผูทําโครงงาน นางสาว กิติยา ปงปติกุล นางสาว ฐานุตรา จัง และนางสาว ธรรมาภรณ บุญวิสุทธิอาจารยที่ปรึกษา นางสาวสถาพร วรรณธนวิจารณ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549 บทคัดยอ การศึกษาผลของน้ําแชและน้ําตมใบหูกวางที่ใชเลี้ยงปลากัดตอการกอหวอด พบวาน้ําแชใบหู กวางมีผลทําใหปลากัดกอหวอดไดพื้นที่รวมมากที่สุด คือ 61.22 ตารางเซนติเมตร และเมื่อเปรียบเทียบ กับน้ําตมใบหูกวางและน้ําสะอาด ซึ่งมีผลทําใหปลากัดกอหวอด 31.51 และ 12.45 ตารางเซนติเมตร ตามลําดับ โดยปลากัดที่เลี้ยงในน้ําแชและน้ําตมใบหูกวางมีระยะเวลาในการสรางหวอดที่นานกวาน้ํา สะอาด นอกจากนี้ยังพบอีกวา หวอดปลากัดที่แชอยูในน้ําแชใบหูกวางและน้ําตมใบหูกวางนั้นมี เปอรเซ็นตการสลายต่ํากวาน้ําสะอาด และขนาดเสนผานศูนยกลางหวอดของปลากัดที่เลี้ยงในน้ําแช น้ํา ตม และน้ําสะอาดไมแตกตางกัน

- 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 27 -

หัวขอโครงงาน ผลของน้ําแชและน้ําตมใบหูกวางตอการกอหวอดของปลากัด (The Effectiveness of Terminalia catappa Leaves on Bubble Nest Production

of Siamese Fighting Fish) ผูทําโครงงาน นางสาว กติิยา ปงปติกุล นางสาว ฐานุตรา จัง และนางสาว ธรรมาภรณ บุญวิสุทธิ์ อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสถาพร วรรณธนวิจารณ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ การศึกษาผลของน้ําแชและน้ําตมใบหูกวางที่ใชเล้ียงปลากัดตอการกอหวอด พบวาน้ําแชใบหูกวางมีผลทําใหปลากัดกอหวอดไดพื้นที่รวมมากที่สุด คือ 61.22 ตารางเซนติเมตร และเมื่อเปรียบเทียบกับน้ําตมใบหูกวางและน้ําสะอาด ซ่ึงมีผลทําใหปลากัดกอหวอด 31.51 และ 12.45 ตารางเซนติเมตรตามลําดับ โดยปลากัดที่เล้ียงในน้ําแชและน้ําตมใบหูกวางมีระยะเวลาในการสรางหวอดที่นานกวาน้ําสะอาด นอกจากนี้ยังพบอีกวา หวอดปลากัดที่แชอยูในน้ําแชใบหูกวางและน้ําตมใบหูกวางนั้นมีเปอรเซ็นตการสลายต่ํากวาน้ําสะอาด และขนาดเสนผานศูนยกลางหวอดของปลากัดที่เล้ียงในน้ําแช น้ําตม และน้ําสะอาดไมแตกตางกัน

Page 2: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 28 -

หัวขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มีผลตอการเพิ่มจํานวนของพลานาเรีย Dugesia sp. (A Study of Foods Effect on Planarian Populations Dugesia sp.)

ผูทําโครงงาน นางสาวพัชรรวี ตั้งประเสริฐ นางสาวสิริกร ภมรสุพรวิชิต และ นางสาววชุิรัตน สกุลภาพทอง อาจารยท่ีปรึกษา นางสาววรณิสร กล่ินทอง นายบัญชา สบายตัว นางสาวเมษสวุัลย พงษประมูล

นายศักดิ์ชัย กรรมรางกูร และ นางสาวตลุาพร บูรณสมภพ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการศึกษาชนิดของอาหารที่มีผลตอการเพิ่มจํานวนของพลานาเรีย Dugesia sp. ไดทําการแบงพลานาเรียออกเปน 4 กลุม คือ กลุมที่ใหอาหารดวยหนอนแดง ไรแดง ตับไกบด และไขแดงตมสุก โดยใหอาหารสัปดาหละ 2 ครั้งเปนเวลา 4 สัปดาห แลวทําการนับจํานวน โดยทําการทดลองซ้ํา 15 ชุดการทดลอง พบวา พลานาเรียที่เล้ียงดวยไรแดงสามารถเพิ่มจํานวนไดมากที่สุด รองลงมาคือ หนอนแดง ตับไกบด และไขแดงตมสุกตามลําดับ แตเมื่อวัดขนาดของพลานาเรียที่ไดรับอาหารแตละชนิดพบวา ขนาดของพลานาเรียที่เล้ียงดวยตับไกบดมีขนาดใหญที่สุด รองลงมาคือ หนอนแดง ไขแดงตมสุก และไรแดงตามลําดับ และเมื่อวัดคา pH ของน้ําที่ใชเล้ียงพลานาเรียดวยอาหารชนิดตางๆพบวา คา pH ของน้ําสามารถบงชี้ปริมาณการเพิ่มจํานวนของพลานาเรียไดและมีความสัมพันธกับความขุนของน้ํา โดย คา pH เฉลี่ยของน้ําที่เล้ียงพลานาเรียแลวพลานาเรียมีการเพิ่มจํานวนไดดีอยูในชวง 8.3-8.6 น้ําที่เล้ียงพลานาเรียดวยไรแดงจะมีความขุนนอยที่สุด มีคา pH เฉล่ียอยูที่ 8.6 ซ่ึงทําใหพลานาเรียเพิ่มจํานวนมากที่สุด สวนน้ําที่เล้ียงพลานาเรียดวยไขแดงตมสุกจะมีความขุนมากที่สุด โดยมีคา pH เฉลี่ยอยูที่ 7.9 ซ่ึงพลานาเรียที่ไดรับอาหารในกลุมนี้จะมีจํานวนนอยท่ีสุด จึงสรุปไดวา ชนิดของอาหารที่ทําใหน้ําที่ใชเล้ียงพลานาเรียมีคา pH เหมาะสมตอพลานาเรียมากที่สุด และไมทําใหน้ําขุนนั้นจะทําใหพลานาเรียเพิ่มจํานวนไดมากที่สุด

Page 3: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 29 -

หัวขอโครงงาน ความสัมพันธระหวางความถนัดทางสมองกับแววความสามารถพิเศษ 9 แววของ นักเรียนโรงเรียนมหดิลวิทยานุสรณช้ันม.4 และม.5 ปการศึกษา 2549 (The Relationship between the Hemispheric Dominance and 9 Human abilities of M.4 and M.5 Mahidol Wittayanusorn School Academic Year 2006 Students) ผูทําโครงงาน นายภัคเวทย เตชะเทวัญ และนายมารุต เลาหวิโรจน อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวมนทกานต ทรัพยแกว นางสาวธัญญรัตน ดาํเกาะ

นางสาวธวชนิี โรจนาวี และ ผศ.ดร. อุษณีย อนุรุทธวงศ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ผลการสํารวจความถนัดทางสมองโดยใชแบบทดสอบความถนัดทางสมองที่ผูทําโครงงานสรางขึ้นเปรียบเทียบผลกับแบบทดสอบของผศ.ดร.อุษณีย อนุรุทธวงศพบวามีจํานวนผูที่มีความถนัดทางสมองเหมือนกันรอยละ 54.33 ถาเปรียบเทียบคะแนนโดยใหมีความคลาดเคลื่อนได 2 คะแนนพบวามีผูที่อยูในเกณฑดังกลาวรอยละ 64.72 เมื่อนําผลที่ไดจากแบบทดสอบวัดความถนัดทางสมองของผูทําโครงงานมาหาความสัมพันธกับแววความสามารถพิเศษพบวาผูถนัดทางสมองซีกซายมีรอยละของผูมีความสามารถทางคณิตศาสตรสูงกวาผูถนัดทางสมองซีกขวา สําหรับผูที่ถนัดสมองซีกขวาและจะมีรอยละของผูมีความสามารถดานนักคิด กีฬา ดนตรี ศิลปะ และภาษาสูงกวาซีกซาย เมื่อวิเคราะหโดยใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสันพบวาแววความสามารถพิเศษแตละดานมีความสัมพันธกันเกือบทั้งหมดโดยเฉพาะในผูถนัดทางสมองแบบผสมผสาน จากการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบรวมทั้งหมด แบงตามเพศ และแบงตามรุนพบวาเพศมีผลตอความถนัดทางสมองโดยทําใหคาอํานาจการพยากรณเพิ่มขึ้นโดยในเพศชายเพิ่มขึ้นรอยละ 2.3 และเพศหญิงเพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 และการแบงตามรุนมีผลใหคาอํานาจพยากรณเพิ่มขึ้นโดยชั้นม.5 เพิ่มขึ้นรอยละ 0.8 ช้ันม.4 เพิ่มขึ้นรอยละ 1.5 และจากการแบงในประเภทตาง ๆ พบวาแววความสามารถพิเศษดานคณิตศาสตรสงผลใหนักเรียนมีความถนัดทางสมองซีกซาย และแววความสามารถพิเศษดานดนตรี และชางเทคนิคและอิเล็กทรอนิกสสงผลใหนักเรียนมีความถนัดทางสมองซีกขวา สวนแววความสามารถพิเศษดานอื่นจะมีผลตอความถนัดทางสมองแตกตางกันไปตามวิธีการแบง ดังนั้นความถนัดทางสมองกับความสามารถพิเศษของมนุษยจะมีความสัมพันธกันขึ้นอยูกับปจจัยอ่ืนดวย และแววความสามารถพิเศษดานหนึ่ง ๆ มีความสัมพันธในการเกิดความสามารถพิเศษดานอื่น

Page 4: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 30 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาผลของอุณหภูมแิละรังสีอัลตราไวโอเลตตออัตราการฟกของไขยุงลาย บาน Aedes aegypti (Effect of Temperatures and Ultraviolet Radiation on Hatchability Rate of Yellow Fever Mosquito’s eggs (Aedes aegypti)) ผูทําโครงงาน นางสาวดุจฤด ีชัยอิทธิพร นายปรินทร จิระภัทรศิลป และ นายภากร เอี้ยวสกุล อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ นางสาวสถาพร วรรธนวิจารณ และ

นายวิญู พนัธุเมืองมา สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

สภาพแวดลอมเปนปจจัยหนึ่งที่มีผลเกี่ยวของกับอัตราการอยูรอดของสิ่งมีชีวิต รวมถึงการฟกออกจากไขของยุง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมของไขยุงจึงนาจะมีผลตออัตราการฟก จากการศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการฟกของไขยุงลายบาน Aedes aegypti โดยใหความรอนกับไขยุงเปนเวลา 15 และ 30 นาที และแปรผันอุณหภูมิเปน 35 40 45 50 และ 55 องศาเซลเซียสพบวา ไขยุงที่ไดรับความรอนที่อุณหภูมิตาง ๆ เปนเวลา 15 และ 30 นาที มีอัตราการฟกไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และทําการทดลองเปรียบเทียบผลของอุณหภูมิตาง ๆ ตออัตราการฟกของไขยุงโดยใชระยะเวลา 30 นาที พบวาไขยุงที่ไดรับความรอนที่อุณหภูมิ 35 40 45 และ 50 องศาเซลเซียสมีอัตราการฟกมากกวา 0% แตไมสามารถหาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับอัตราการฟกไดอยางชัดเจน ไขยุงที่ไดรับความรอนที่อุณหภูมิที่ 55 องศาเซลเซียส มีอัตราการฟก 0% และจากการศึกษาผลของรังสีอัลตราไวโอเลตตออัตราการฟกของไขยุงพบวา รังสีอัลตราไวโอเลตเอมีผลตออัตราการฟกของไขยุงลายมากกวารังสีอัลตราไวโอเลตซีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ไขยุงลายที่ไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตเปนระยะเวลา 15 30 และ 60 นาทีมีแนวโนมของอัตราการฟกที่ต่ําลงแตไมเปน 0%

Page 5: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 31 -

หัวขอโครงงาน สาร astaxanthin จากสาหรายมีผลตออัตราการรอดของปลาทับทิม (The Astaxanthin Extract Effect the Survival Rate of Tub Tim Fish)

ผูทําโครงงาน นางสาวศุภกานต จิระนภากลุ นายชัยภัสร ตรีรัตนสกุลชัย และ นายพงษพัฒน เมธาพิพัฒนกลุ อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวสถาพร วรรณธนวจิารณ และ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ปจจุบันเทคโนโลยีในการเลี้ยงปลาทับทิม ยังไมดีพอ จึงสงผลใหปลาทับทิมมีอัตราการตายอยูมาก ในการศึกษาพบวาสาร astaxanthin ที่ไดจากสาหราย Haematococcus pluvialis มีผลตออัตราการรอดของปลา ในการทดลองเลี้ยงสาหราย Haematococcus pluvialis และสกัดสาร astaxanthin โดยใชตัวทําละลาย acetone ซ่ึงเปนสารไมมีขั้วจึงสามารถละลายสาร astaxanthin ซ่ึงไมมีขั้วดวยกันได จากนั้นนําสารที่สกัดไดไปผสมกับอาหารปลา และนําไปเลี้ยงปลาทับทิมซ่ึงมีอายุ 1-3 เดือน โดยแบงเลี้ยงปลาทับทิมเปน 2 ชวง คือ ปลาในชวงอายุ 1-2 เดือน และ2-3 เดือนโดยแบงปลาทับทิมออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งใหอาหารปลาที่ไมผสมสาร astaxanthin และอีกกลุมหนึ่งใหอาหารที่ผสมสาร astaxanthin พบวาสาร astaxanthin มีผลตออัตราการรอดของปลาทับทิมในชวง 1-2 เดือนมากกวา 2-3 เดือนมาก เนื่องจากปลาทับทิมในชวง 1-2 เดือน มีภูมิตานทานต่ํา ทําใหสาร astaxanthin ไปชวยเพิ่มภูมิคุมกันโดยทําหนาที่เปนสารตานอนุมูลอิสระ ตรงขามกับปลาทับทิมในชวง 2-3 เดือน ซ่ึงมีรางกายแข็งแรงมากขึ้นแลว

Page 6: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 32 -

หัวขอโครงงาน การเปรียบเทียบประสทิธิภาพในการบําบัดน้ําเสียของวัชพืช (A Comparison of Efficiency of Wastewater Treatment by Weeds)

ผูทําโครงงาน นางสาววราพร อนุภาพอุกฤษฎ นางสาวธญัชนก รัตนวจิิตตเวช และ นางสาวปาลีรัฐ วัฒนาอุดม อาจารยท่ีปรึกษา นายบัญชา สบายตัว นางสาวธัญญารัตน ดําเกาะ

และนางสาวสมฤทัย หอมชืน่ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ ในการศึกษาเปรียบประสิทธิภาพของวัชพืชในการบําบัดน้ําเสีย ไดมีการศึกษาวัชพืช 3 ชนิดคือ ผักตบ หญาสตาร และตอยติ่ง โดยการขังน้ําเสียไวในแปลงที่ปลูกพืชดังกลาวไวเปนเวลา 4 วัน สังเกตลักษณะการเจริญเติบโตของพืช จากนั้นนําน้ําที่ไดหลังการบําบัดไปวัดคุณภาพ ซ่ึงไดแก สี กล่ิน pH อุณหภูมิ คา pH DO และ BOD เปรียบเทียบกับคุณภาพน้ํากอนเขาแปลงทดลอง พบวา วัชพืชท่ีมีการเจริญเติบโต และมีความสามารถในการบําบัดน้ําเสียไดดีที่สุด คือ ผักตบ ซึ่งสามารถลดคา pH ไดมากที่สุดเปน 7.50 จาก 7.71 สามารถเพิ่มคา DO ไดมากที่สุด คือเพิ่มได 1.21 mg/l และสามารถลดคา BOD ไดมากที่สุดคือคา BOD ลดลง 51.5 mg/l

Page 7: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 33 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาผลของสารสกัดอยางหยาบจากฟาทะลายโจร (Andrographis Paniculata) ตอการเจริญของเชื้อ Erwinia carotovora subspecies carotovora (The Study on Effect of Crude Extract from Andrographis paniculata to the Growth of Erwinia carotovora subspecies carotovora)

ผูทําโครงงาน นายวิชชานนท ดนตรีเสนาะ นายสิทธิพงษ ธงสุวรรณ และ นายวุฒพล สาแดง อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบญุ นางสาวธัญรัตน ดําเกาะ และนางสาวสมฤทัย หอมชื่น สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ ฟาทะลายโจรเปนพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการยับยั้งการเจริญของจุลชีพกอโรคในมนุษยหลายชนิด ซ่ึงปจจุบันไดมีผูทดลองนําสารสกัดอยางหยาบจากฟาทะลายโจรมาใชในการยับยั้งจุลชีพที่กอใหเกิดโรคในสิ่งมีชีวิตอื่นดวย ในการนําสารสกัดอยางหยาบจากฟาทะลายโจร มาใชทดสอบหาความสามารถในการยับยั้งเชื้อ E. carotovora ซ่ึงเปนสาเหตุสําคัญในการกอโรคเนาในพืช โดยการใชฟาทะลายโจร 2 ลักษณะ คือ สวนเหนือดินแบบสด และ สวนเหนือดินแบบแหง มาทําการสกัดดวยตัว

ทําละลาย 3 ชนิด คือ distilled water ethanol 95% และ acetone แลวนําสารสกัดที่ไดทั้ง 6 ชนิด มาทํา

แผนสารสกัดหยาบ (Paper disk) เพื่อหาขนาดของวงใส โดยใชวิธีของ Bauer – Kirby Method ผลการทดลองพบวา สารสกัดอยางหยาบจากฟาทะลายโจร ที่ความเขมขนตั้งแต 0.265 2.5 5 20 25 50 และ75 % w/v ในตัวทําละลายทั้งสามชนิด ไมมีชนิดใดที่มีความสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ E. carotovora ได แมวาจะเคยมีผูศึกษาวาสารสกัดอยางหยาบจากฟาทะลายโจร สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ Escherichia coli ซ่ึงอยูในสกุลเดียวกันได ทั้งนี้ อาจเปนเพราะเชื้อแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิด มีความสามารถในการจับกับสารสําคัญที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งจุลชีพแตกตางกัน รวมทั้งอาจมีความเปนไปไดที่สารสกัดอยางหยาบจากฟาทะลายโจร โดยวิธีการที่สัดในครั้งนี้ มีความเสถียรนอย จงึอาจจะสลายตัวกอนที่จะมีการนํามาใชทดสอบ จึงควรมีการทดสอบปรับปรุงตอๆ ไป

Page 8: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 34 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาพฤตกิรรมการมวนตัว และความสัมพันธระหวางความยาว น้ําหนกั และจํานวนขอปลองของกิ้งกือ Thyropygus allevatus

(The Study of Circinate Movement and Relation Between Length, Weight and Number of Segments of Thyropygus allevatus)

ผูทําโครงงาน นายสรวิศ ชางภิญโญ นายชมุแสง ชุมแสงศรี และนางสาวนัฐพร เศรษฐเสถียร อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ

นางสถาพร วรรณธรวิจารณ และนางสาวอมัพร บุญญาสถิตสถาพร สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ จากการศึกษาพฤติกรรมการมวนตัวและความสัมพันธระหวางความยาว น้ําหนัก และจํานวนขอปลองของกิ้งกือ Thyropygus allevatus พบวา ลักษณะพฤติกรรมการมวนตัวของกิ้งกือ ตําแหนงที่ถูกกระตุนแลวเกิดการตอบสนองดีที่ สุด คือ ปลองหัว โดยตําแหนงขอปลองที่ ถูกกระตุนไมมีความสัมพันธกับเวลาที่กิ้งกือใชในการมวนตัว พฤติกรรมการมวนตัวของกิ้งกือที่ถูกกระตุนโดยการสัมผัสดวยลูกตุม เปนพฤติกรรมการเรียนรู (learning behavior) แบบพฤติกรรมความเคยชิน (habituation) โดยในชวงแรก กิ้งกือจะตอบสนองตอการกระตุนนานขึ้น จนถึงจุดหนึ่งจึงลดการตอบสนองลงโดยไมมีพฤติกรรมการการมวนตัวเมื่อถูกกระตุน จากการศึกษาพบวากิ้งกือที่นํามาทดลองมีความยาวประมาณ 126.7608 มิลลิเมตร มีน้ําหนักประมาณ 13.8447 กรัม และมีจํานวนขอปลองประมาณ 51.8333 ซ่ึงอยูในชวงปลายของตัวเต็มวัยโดยสังเกตไดจากขนาดที่ใหญและจํานวนขอปลองที่มีมาก จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาว น้ําหนัก และจํานวนขอปลองของกิ้งกือ พบวา ความยาวและจํานวนขอปลองมีการแจกแจงแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไดสมการทํานายคาระหวางความยาว น้ําหนัก และจํานวนขอปลอง เมื่อใหน้ําหนักเปนตัวแปรตาม คือ W = 12.084 – 0.391N + 0.173L มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ 0.8060 (W แทน น้ําหนักของกิ้งกือ N แทนจํานวนขอปลองของกิ้งกือ และ L แทนความยาวของกิ้งกือ)

Page 9: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 35 -

หัวขอโครงงาน ความสามารถของสารสกัดจากขมิ้นชันในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ Erwinia carotovara supsp. carotovora สาเหตุของโรคเนาเละ (Soft rot) ในพืช (Ability of Turmeric Extract for Inhibiting Growth of Erwinia carotovara supsp. carotovora, the Causal Agent of Soft Rot)

ผูทําโครงงาน นางสาวพิไลพรรณ อุนชู อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาว สถาพร วรรณธนวิจารณ และ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากขมิ้นชันในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Erwinia carotovora supsp. carotovora แบคทีเรียสาเหตุโรคเนาเละในพืช ทําไดโดยการเพาะเลี้ยงเชื้อ Erwinia carotovora supsp. carotovora บนอาหาร double layer nutrient agar ทดสอบกับสารสกัดอยางหยาบจากขมิ้นชันตัวทําละลายเอทิลแอลกอฮอล 95% ที่ความเขมขน 750 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร แลวเจือจางใหไดสารละลายความเขมขน 500 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร 250 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร 100 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร และ 50 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร ตามลําดับ เพื่อนําไปทดสอบการยับยั้งเชื้อ Erwinia carotovora supsp. carotovora โดยใชวิธีการ paper disc diffusion จากการศึกษาพบวาสารสกัดอยางหยาบจากขมิ้นชันที่สกัดดวยเอทิลแอลกอฮอล 95% ทุกคาความเขมขน ไมกอใหเกิดบริเวณยับยั้งที่สังเกตไดในเชื้อ Erwinia carotovora supsp. carotovora ที่มีการเพาะเลี้ยงบนอาหาร double layer nutrient agar

Page 10: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 36 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาและเปรียบเทยีบลักษณะทางกายวภิาคของสะตอและเหรียง (Comparative Study in an Anatomy of Parkia speciosa and Parkia timoriana ) ผูทําโครงงาน นางสาวอนิทุอร อนุพันธนันท และ นางสาวกนกวรรณ ล่ิมมังกูร อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชืน่ นางสาวเมษสุวัลย พงษประมูล

และนายวิญู พันธุเมืองมา สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาและเปรียบเทียบลักษณะทางกายวิภาคของสะตอ (Parkia speciosa) และเหรียง (Parkia timoriana) ในสวนของราก ลําตน และใบ โดยศึกษาจากสไลดถาวรตามวิธี paraffin technique พบลักษณะทางกายวิภาคดังนี้ รากขั้นปฐมภูมิของสะตอมีการเรียงตัวของเนื้อเยื่อลําเลียงน้ํา (xylem) จํานวน 7 แฉก แตเหรียงมี 5 แฉก รากขั้นทุติยภูมิของสะตอ บริเวณคอรเทกซ (cortex) พบเนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมา ในขณะที่เหรียงไมมี สวนลําตนขั้นปฐมภูมิของสะตอมีเนื้อเยื่อเอพิเดอรมิส (epidermis) เพียง 1 ช้ัน ในขณะที่เหรียงมี 2 ช้ัน ในลําตนขั้นทุติยภูมิของเหรียงมีพิท (pith) ที่แคบกวาสะตอทั้งยังมีโฟลเอ็มสเกลอเรงคิมา (phloem sclerenchyma ) ติดกับเพอริเดิรม (periderm) แผนใบของพืชท้ังสองชนิดเปนแบบ bifacial ประกอบดวย พาลิเสดพาเรนไคมา (palisade parenchyma) และสปอนจีพาเรนไคมา (spongy parenchyma) สําหรับปลายรากและปลายยอดของพืชทั้งสองพบวาไมมีความแตกตางกัน

Page 11: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 37 -

หัวขอโครงงาน กายวิภาคเปรยีบเทียบชะพลูกับดีปลี (ComparativeAnatomy of Root, Stem, Leaf and Petiole of Variegatum (Piper sarmentosum Roxb.) and Long Pepper (Piper chaba Hunt.) )

ผูทําโครงงาน นายกิตติ วุฒสาธิต นายจิระ จินดาเลิศอุดมดี และ นายปานชนก ศรีนวลนัด

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชื่น นางสถาพร วรรณธนวจิารณ และ นายศราวุธ แสงอุไร

สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

จากการศึกษากายวิภาคเปรียบเทียบของชะพลู (Piper sarmentosum Roxb.) และดีปลี (Piper chaba Hunt.) โดยทําสไลดถาวรบริเวณราก ลําตน ใบ และกานใบตามวิธี paraffin technique พบวาลักษณะกายวิภาคที่แตกตางกัน คือ ทุกโครงสรางของเนื้อเยื่อชะพลูจะพบเอพิเดอรมิสที่มีการเปลี่ยนแปลงไปเปนไทรโคมแตเอพิเดอรมิสของดีปลีไมมีการเปลี่ยนแปลง จํานวนชั้นใตเอพิเดอรมิสของใบชะพลูมีสองชั้น คือ ดานลาง 1 ช้ัน และดานบน 1 ช้ัน แตจํานวนชั้นใตเอพิเดอรมิสของใบดีปลีมี 1 ช้ัน คือ ดานลางของใบ บริเวณที่พบคลอเรงคิมาในชั้นคอรเท็กซของลําตนชะพลูจะพบถัดจาก ช้ันเอพิเดอรมิส แตลําตนของดีปลีจะพบคลอเรงคิมาถัดจากชั้นเอพิเดอรมิสประมาณ 5 ช้ันเซลล และบริเวณที่พบเสกลอเรงคิมาในโครงสรางขั้นที่สองของลําตนของชะพลูจะพบชิดติดกับทอลําเลียงอาหาร แตดีปลีจะพบชิดติดกับทอลําเลียงน้ํา ขณะเดียวกันพืชทั้งสองชนิดมีลักษณะกายวิภาคที่คลายคลึงกัน คือ การจัดเรียงตัวของกลุมทอลําเลียงในทุกโครงสรางของพืช เชน รากจะเปนแบบ polyarch โครงสรางขั้นแรกลําตนจะเปนแบบ collateral bundle 2 วง โครงสรางขั้นที่สองของลําตนจะเปนแบบ collateral bundle 1วง และ bicollatteral bundle 1 วง กานใบและใบจะเปนแบบ open bundle 1 วง และรูปแบบการจัดเรียงตัวของชั้น mesophyll ในใบจะแยกชั้นระหวาง spongy mesophyll และ palisade mesophyll อยางชัดเจน โดยจะมีช้ัน palisade mesophyll เพียง 1 ช้ัน

Page 12: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 38 -

หัวขอโครงงาน การตรวจหายีนที่สังเคราะห γ -Tocopherol methyltransferase ในไมผล

เมืองไทย 5 ชนิด (A Search for the γ -Tocopherol Methyltransferase Production Gene in Five Thai Fruit Plants) ผูทําโครงงาน นายมนัสวิน จันทรสกุลพร อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ นางสาวสมฤทัย หอมชืน่

นางสาววรญา ไขวพันธุ นายศักดิ์ชัย กรรมารางกูร และ ดร.สุพัชรี เนตรพันธุ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

α-Tocopherol เปนโครงสรางหนึ่งของวิตามินอีซึ่งถือเปนสาร Antioxidant ที่มีความสําคัญตอรางกายของ

มนุษย ชวยควบคุมการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายใหเปนไปอยางปกติ โดยการสังเคราะห α -tocopherol ใน

พืชจําเปนตองอาศัยเอนไซมหลายชนิด โดย γ -Tocopherol methyltransferase (γ -TMT) เปนเอนไซมหน่ึงในขั้นตอนสุดทายของการสังเคราะห เนื่องจากภาวะการขาดแคลนวิตามินอีในผูสูงอายุของเมืองไทยมีปริมาณคอนขางสูง โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สูงถึงรอยละ 89 จึงทําการสํารวจหาความสามารถในการสังเคราะหวิตามินอีของไมผลเมืองไทยที่ไดรับความนิยมในการปลูกมากในประเทศไทย โดยอาศัยวิธีทางพันธุวิศวกรรมผานการตรวจหายีน γ -TMT ซึ่งไมผลเมืองไทยที่ทําการสํารวจ ไดแก มะขาม มะมวง มะกอกน้ํา เงาะ และฝรั่ง จากการทดลองพบวา ฝรั่งเปนไมผลชนิดเดียวที่ไมปรากฏวามียีนนี้อยู และจากลําดับ Nucleotide ของไมผลอื่น ๆ ที่ทําการสํารวจ พบวามีสวนของ Intron แทรกอยูในระหวางยีนนี้ และเมื่อเปรียบเทียบถึงรอยละความคลายคลึงกับ cDNA ของถั่วเหลือง ที่เปนพืชหนึ่งในหกชนิดที่ใชในการออกแบบ Primer พบวา มีความคลายคลึงเฉลี่ยถึงรอยละ 78.1 ยกเวนในมะมวงซึ่งมีความแตกตางจากไมผลชนิดอื่น ๆ มากที่สุด เพราะมีความคลายคลึงเพียงรอยละ 37.4 เมื่อทําการเปรียบเทียบระหวางพืชไมผลที่ทดลองดวยกัน มะมวงมีความคลายคลึงกับไมผลอื่น ๆ นอยมากเชนกัน แตลําดับ Nucleotide ของเงาะหนึ่งในสองยีนที่ปรากฏนั้นมีคลายคลึงกับของมะขามถึงรอยละ 99.9 และดวยผลจากการทํา Phylogenetic tree มีความเปนไปไดวาการพัฒนาทางพันธุกรรมของมะขามและเงาะหนึ่งในสองยีนนั้นมีการพัฒนาไปพรอม ๆ กัน อยางไรก็ตามการศึกษาครั้งนี้จะสมบูรณไดตองอาศัยขอมูลปริมาณการสะสมของวิตามินอีในไมผล ซึ่งการศึกษาทางดานนี้ยังมีนอย และไมมีรายงานปรากฏที่แนชัด จึงสรุปไดเพียงวา มะมวง มะขาม มะกอกน้ําและเงาะ มีความสามารถในการ

สังเคราะห α -Tocopherol อันเปนสารที่มีประโยชนตอมนุษยเปนอยางยิ่ง

Page 13: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 39 -

หัวขอโครงงาน การควบคุมทางชีวะวิธีของหนอนกระทูผัก (Spodoptera litura) ดวยเชื้อรา Beauveria bassiana

(Bio-control of Cutworms (Spodoptera litura) Using Entomopathogenic Fungi Beauveria bassiana) ผูทําโครงงาน นายชิน ศุภภิญญาโรจน, นายปรเมษฐ คงพิทักษ

และ นายศรกฤษ อัจฉรานุวฒัน อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ

นางสาววรณิสร กล่ินทอง และ รศ. ดร. ทิพยวดี อรรถธรรม สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

หนอนกระทูผัก (Spodoptera litura) เปนศัตรูพืชตัวหนึ่งที่ยากตอการควบคุม การกําจัดโดยใชยาปราบศัตรูพืช จะเปนการเพิ่มมลพิษตอสภาวะแวดลอม และอาจสงผลกระทบตอผูบริโภค จากการศึกษาพบวา เชื้อรา Beauveria bassiana เปนราปรสิตที่มีความจําเพาะตอแมลง และไมเปนอันตรายตอคน ฉะนั้นเชื้อราชนิดนี้จึงเหมาะแกการใชกําจัดแมลงศัตรูพืช ซ่ึงจะสงผลใหผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้น ในการทดลอง จะฉีดพนหนอนกระทูผักดวยสปอรของเชื้อราที่ความเขมขนตางๆ กัน คือ 1x106 1x107 และ 1x108 สปอรตอมิลลิลิตร หลังจากนั้นนับจํานวนที่หนอนตายในแตละวัน เปนเวลาทั้งหมด 7 วัน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อรา Beauveria bassiana ตอหนอนกระทูผัก พบวาประสิทธิภาพของสารฉีดพนที่มีสารแขวนลอยเชื้อราความเขมขน 1x106 1x107 และ 1x108 สปอรตอมิลลิลิตร สามารถกําจัดหนอนกระทูหอมได 47.76% 71.1% และ 70% ตามลําดับ เมื่อนําผลการทดลองมาวิเคราะหทางสถิติ พบวา สารฉีดพนที่มีสารแขวนลอยเชื้อรา มีประสิทธิภาพในการกําจัดหนอนกระทูหอมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับหนอนที่ไมไดฉีดพน (P = 0.003 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %) และสารฉีดพนสารแขวนลอยเชื้อรามีประสิทธิภาพในการกําจัดหนอนกระทูผักมากกวา 50% ในชุดการทดลอง 1x107 และ 1x108 สปอรตอมิลลิลิตร (P = 0.019 และ P = 0.035 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %) จึงสรุปวาความเขมขนของสารฉีดพนสารแขวนลอยเชื้อรา Beauveria bassiana ที่นอยที่สุด ในการกําจัดหนอนกระทูผักไดคือ สารฉีดพนสารแขวนลอยเชื้อราความเขมขน 1x107 สปอรตอมิลลิลิตร

Page 14: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 40 -

หัวขอโครงงาน ปุยน้ําหมกัชีวภาพอัดเมด็จากหอยเชอรี่ (Biofertilizer Tablet from Golden Apple Snail)

ผูทําโครงงาน นางสาวนพวรรณ ตันศิริมาส นางสาวประภัสรา ปราการกมานันท และ นางสาวพิชิตา ประสงคเวช อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสถาพร วรรณธนวิจารณ นายบัญชา สบายตัว และ

นางสาววรณิสร กล่ินทองสาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

หอยเชอรี่เปนศัตรูพืชที่สําคัญในการทําเกษตรของประเทศไทย มีการแพรระบาดไปทั่วประเทศ จึงไดทําการทดลองกําจัดหอยเชอรี่โดยการแปรรูปเปนปุยน้ําหมักชีวภาพในรูปแบบเม็ด เพื่อใหสามารถใชและเก็บรักษาไดสะดวกยิ่งขึ้น โดยนําหอยเชอรี่สดจํานวน 3 กิโลกรัมมาทุบใหละเอียด แลวเติมกากน้ําตาลในอัตราสวน 1:1 หมักทิ้งไวเปนเวลา 120 วัน จากนั้นนําน้ําหมักที่ไดผสมกับวัสดุยึดเกาะ 3 ชนิด ไดแก แปง ดิน และรํา ในอัตราสวน 1:1 1:2 และ 2:1 แลวนํามาปนขึ้นร ูปเปนเม็ด พบวาอัตราสวนที่ 1:1 เหมาะสมที่สุด แลวเมื่อนําปุยชีวภาพอัดเม็ดแตละวัสดุยึดเกาะไปละลายน้ําและทุบ พบวาปุยชีวภาพที่มีแปงและดินเปนวัสดุยึดเกาะละลายน้ําและแตกเปนผงไดดีตามลําดับ สวนประสิทธิภาพปุยเมื่อนําไปใสใหกับตนคะนา พบวามีประสิทธิภาพใกลเคียงกัน

Page 15: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 41 -

หัวขอโครงงาน อาหารเลี้ยงเชือ้ราจากแหว (A Medium AGar from Water Chestnut )

ผูทําโครงงาน นายปฐมชาติ ศิริรักษ นายณัฐฑพัฒน โรจนศุภมิตรและ นายผดุงพงศ ชมทอง

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาววรณิสร กล่ินทอง นางสาวสถาพร วรรณธนวจิารณ และ นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในปจจุบันแหว (Eleocharis dulcis Trin.) มีผลผลิตลนตลาดทําใหมูลคาซื้อขายตกต่ําลง ผูจัดทําจึงเกิดความคิดจะนําแหวมาเพิ่มมูลคาโดยการวิจัย จากการคนควาขอมูลพบวาในแหวมีสวนประกอบของคารโบไฮเดรตในปริมาณสูง ทําใหเกิดความคิดที่จะนําไปทําอาหารเพาะเลี้ยงเชื้อรา ในรูปแบบเดียวกับอาหารเพาะเลี้ยงเชื้อราที่ทําจากมันฝร่ัง (PDA) ในการศึกษาหาชนิดของเชื้อเห็ดที่เจริญเติบโตดีที่สุดบน PDA พบวาเห็ดหูกวาง (Lentinus strigosus) มีการเจริญเติบโตเร็วที่สุด จึงนํามาศึกษาการเจริญเติบโตบนอาหารเลี้ยงเชื้อราจากแหวที่ความเขมขนตาง ๆ พบวาเห็ดหูกวางสามารถเจริญไดดีที่สุดในอาหารเลี้ยงเชื้อราจากแหวความเขมขน0.25kg/dm3 จึงทําการทดลองเปรียบเทียบระหวาง PDA กับแหว 0.25 kg/dm3 ในการเลี้ยงเห็ดชนิดตางๆ พบวา เห็ดหูกวาง เห็ดหลินจือ (Genoderma lucidum), เหด็นางฟา (Pleurotus sajor-caju) และเห็ดฮังการี(Pleurotus hungarian) มีการเจริญเติบโตใน PDA และ อาหารเพาะเลี้ยงเชื้อราจากแหวความเขมขน 0.25 kg/dm3 ไดใกลเคียงกัน

Page 16: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 42 -

หัวขอโครงงาน การสํารวจคุณภาพน้ําบรโิภคในโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (A Survey Study of Drinking Water Quality in Mahidol Wittayanusorn School) ผูทําโครงงาน นายชาญวทิย อภิบาลบรรัิกษ นายธนชาติ นิละนนท และ นายปริตต กาญจนาวิโรจนกุล อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ นายสรชัย แซล่ิม และนายวัลลภ คงนะ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การสํารวจคุณภาพน้ําดื่มภายในโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณไดทําการตรวจ ณ บริเวณโรงอาหาร อาคารเรียน 1 ช้ัน 7 หอหญิง 1 ช้ัน 5 หอหญิง 2 ช้ัน 3 หอพักชายชั้น 6 ฝง B หอพักชายชั้น 5 ฝง G และหองพยาบาล รวมทั้งสิ้น 7 จุด ทําการตรวจทั้งหมด 4 คร้ัง ในเดือนกรกฎาคม สิงหาคม พฤศจิกายน และ ธันวาคม 2549 โดยทําการทดลอง หาคาอุณหภูมิ ความเปนกรด-เบส ความกระดาง จํานวนจุลินทรียทั้งหมดในน้ําตัวอยาง (standard plate count) และ คา MPN ของน้ําดื่มในโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ พบวาอุณหภูมิมีคาอยูระหวาง 0 – 15 องศาเซลเซียส ความเปนกรด-เบสมีคาต่ําสุดที่ 6.92 และคาสูงสุดที่ 7.88 สําหรับการตรวจหาความกระดาง พบวามีคาเฉลี่ยในบางสถานที่มีคาที่สูงกวาคามาตรฐานที่กําหนด โดยเฉพาะในบริเวณหอหญิง 2 ช้ัน 3 และอาคาร 1 ช้ัน 7 ที่มีคาความกระดางโดยเฉลี่ยสูงกวาคามาตรฐานน้ําบรรจุขวด และ บริเวณโรงอาหารมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ในการนับจํานวนจุลินทรียทั้งหมดพบวาไมมีบริเวณใดที่มีจํานวนแบคทีเรียเกินมาตรฐาน และการหาคา MPN ของน้ําดื่มพบวามีบางบริเวณมีคาเกินมาตรฐานในเดือนสิงหาคม และธันวาคม โดยเฉพาะหอพักชายช้ัน 5 ฝง G มีคาสูงกวามาตรฐานมากในเดือนสิงหาคม

Page 17: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 43 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาประเภทเพลงที่มีผลตอการเจริญเติบโตของผักบุงสายพันธุ Ipomoea aquatica Forsk var. reptans

(The Study of Music Types Effect on Growth in Ipomoea aquatica Forsk var. reptans)

ผูทําโครงงาน นางสาวกาญจนา สุโขกาญจนชูศักดิ์ นายอัจฉพงษ หัสเมตโต และ นางสาวสมกมล ดลบันดาลโชค

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชื่น นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ และ นายบัญชา สบายตัว สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาประเภทเพลงที่มีผลตอการเจริญเติบโตของผักบุงสายพันธุ Ipomoea aquatica Forsk var. reptans โครงงานนี้ไดทําการศึกษากบัเพลง 3 ประเภทคือ เพลงคลาสสิก เพลงร็อก และคาถาชินบัญชร พบวา ผักบุงที่ไดรับเพลงคลาสสิกมีการเจริญเตบิโตดีที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยความสูงเทากับ 18.05 เซนติเมตร รองลงมาคือคาถาชินบัญชร มีคาเฉลี่ยความสูงเทากับ 17.40 เซนติเมตร และเพลงร็อก มีคาเฉลี่ยความสูงเทากับ 17.12 เซนติเมตร และทําการศกึษารูปแบบทีไ่ดรับคลื่นเสียงของเพลงขางตนใน 3 รูปแบบคือ ไดรับคลื่นเสียงโดยตรง ไดรับน้ําผานคลื่นเสียง และไดรับทั้งคลื่นเสียงโดยตรงและน้ําผานคลื่นเสียง พบวา ผักบุงที่ไดรับน้ําผานคลื่นเสียง มีการเจริญเตบิโตดีที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยความสูงเทากับ 18.05 เซนติเมตร รองลงมาคือรูปแบบที่ไดรับทั้งคลื่นเสียงโดยตรงและน้าํผานคลื่นเสียง มีคาเฉลี่ยความสูงเทากับ 17.61 เซนติเมตร และรูปแบบที่ไดรับคล่ืนเสียงโดยตรง มีคาเฉลี่ยความสูงเทากับ 16.90 เซนติเมตร เมื่อนําคาเฉลี่ยความสูงไปทําการทดสอบดวย One-way ANOVA ทางสถิติที่ระดับความเชือ่มั่น 99 เปอรเซ็นตพบวา คาเฉลี่ยความสูงทั้งหมดไมมีความแตกตางกนัอยางมีนยัสําคัญ

Page 18: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 44 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาแหลงน้ําเสียบริเวณใกลเคยีงโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณและอัตราสวนใน การหมักมนัสําปะหลังกบัน้ําเสียเพื่อใหไดกาซมีเทน (The Study of Wastewater Sources around Mahidol Wittayanusorn School and

Ratio of Raw Materials in Cassava and Wastewater Fermentation Aiming For Methane Gas)

ผูทําโครงงาน น.ส.กนกนิษก สันติมหกุลเลิศ น.ส.ธาวัลย พัชรประกิตแิละน.ส บงกช หันวรวงศ อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ นางสถาพร วรรณธนวจิารณและนางสาวอารีย สักยิม้ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

พลังงานชีวภาพจากการหมักมันสําปะหลัง เปนหนึ่งในวิธีสรางพลังงานทดแทน องคประกอบหลักของการสรางกาซชีวภาพ นอกจากหัวมันสําปะหลังคือ จุลชีพที่มีความสามารถเฉพาะในการสรางกาซมีเทน ซึ่งสวนใหญอาศัยในแหลงที่อยูที่มีออกซิเจนนอย เชนแหลงน้ําเสียตาง ๆ จึงนําน้ําเสียจาก 3 แหลง คือแหลงที่ 1 คลองระบายน้ําหนาสํานักงานเทศบาลตําบลศาลายา ซึ่งมีลักษณะขุน และพบสารแขวนลอย แหลงที่ 2 ในมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา บริเวณขางโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ซึ่งมีกลิ่นเหม็น สารแขวนลอยมาก พบซากพืชซากสัตวและสิ่งปฏิกูลจํานวนมากทั้งโดยรอบและภายในแหลงน้ํา และแหลงที่ 3 บริเวณหนาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ซึ่งมีปริมาณน้ําคอนขางนอยและใสกวาสองแหลงขางตน มาทดลองหมักมันสําปะหลังเพื่อสรางกาซมีเทนโดยใชน้ําประปาเปนชุดควบคุม จากการทดลองหมักมันสําปะหลัง 800 มิลลิลิตร กับน้ําเสีย 600 มิลลิลิตร เปนเวลา 7 วัน ในระบบปดที่อุณหภูมิหอง พบวาสามารถวัดปริมาณกาซมีเทนจากเครื่องกาซโครมาโตกราฟไดสูงสุดที่รอยละ 0.993 จากการหมักมันสําปะหลังดวยนํ้าเสียจากแหลงที่ 2 รองลงไปคือแหลงที่ 3 และแหลงที่ 1 ซึ่งวัดปริมาณกาซมีเทนไดรอยละ 0.264 และ รอยละ 0.252 ตามลําดับ จากนั้นนําน้ําเสียจากแหลงที่ 2 มาหมักกับมันสําปะหลังในอัตราสวนแตกตางกัน พบวาที่อัตราสวนมันสําปะหลัง(มิลลิลิตร): น้ําเสีย(มิลลิลิตร): น้ําประปา(มิลลิลิตร) ที่ 800:450:150 จะใหปริมาณกาซมีเทนสูงสุดที่รอยละ 8.621 อยางไรก็ตาม ความพยายามที่จะยืดชวงเวลาในการผลิตกาซมีเทนโดยการปรับ pH ใหเปนกลางดวยสารละลาย NaHCO3 ในวันที่ 1 3 5 และ 7 ของการหมัก ไมสามารถวัดผลไดอยางชัดเจนแมน้ําเสียจากแหลงตาง ๆ จะมีคุณสมบัติใกลเคียงกัน แตจากการทดลอง แสดงถึงแนวโนมที่จะนําน้ําเสียจากแหลงน้ําที่มีการทับถมของซากพืชซากสัตว มาใชในการหมักมันสําปะหลัง เพื่อสรางกาซมีเทนไดดีกวาน้ําเสียในสภาพอื่น ๆ

Page 19: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 45 -

หัวขอโครงงาน การสรางและศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องอบพรรณไมแบบพกพา (A Study of the Portable Homemade Leaf Dryer’s Effectiveness)

ผูทําโครงงาน นายกษมา รักเพชรมณ ีและนายปองฤทธิ์ โสตถิกุลนันท อาจารยท่ีปรึกษา นายวิญู พันธเมืองมา นางสาวเมษสุวัลย พงษประมูล

และนางสาวสมฤทัย หอมชืน่ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การเก็บและอบตัวอยางสวนประกอบของพืช (herbarium specimen) เปนกระบวนการสําคัญทางการศึกษาของนักพฤกศาสตร วิธีที่ใชกันในปจจุบัน ตองใชเวลานาน ใชตูอบซึ่งมีราคาสูงอีกทั้งตัวอยางพืชมีโอกาสไดรับความเสียหายมาก ทั้งจากอุณหภูมิของสภาพแวดลอม ความชื้น และสาเหตุอื่นๆ งานวิจัยนี้ประกอบดวยสองจุดประสงคคือ สรางเครื่องอบพรรณไมแบบพกพา และศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องอบพรรณแบบพกพาไมที่สรางขึ้น เครื่องอบพรรณแบบพกพาไมมีสวนประกอบหลักคือ แผนไมอัด แผนอะลูมิเนียม ตัวทําความรอน และเทอรโมสตัท ประสิทธิภาพของเครื่องอบพรรณไมแบบพกพาวัดไดจากการเปรียบเทียบคาความชื้นสัมพัทธของใบเฟนราชินีเงิน (Pteris ensifomis cv. Victoriae) หลังการอบเปนเวลา 12 ช่ัวโมงดวยเครื่องอบพรรณไมแบบพกพา กับการอบดวยตูอบ เครื่องอบพรรณไมแบบพกพาที่สรางขึ้นมีน้ําหนัก 2.8 กิโลกรัม พกพาสะดวก สามารถใชแบตเตอรีรถยนตเปนแหลงพลังงาน มีคาใชจายในการสรางประมาณ 2,000 บาท และใหความรอนที่คอนขางคงที่ที่อุณหภูมิ 60oC โดยมีการแปรผันของอุณหภูมิไมเกิน 2oC เมื่อเปดเครื่องทิ้งไว 3 ช่ัวโมง ผลการทดลองพบวาความชื้นหลังการอบ ตัวอยางใบดวยเครื่องอบพรรณไมแบบพกพามีคาความชื้นสัมพัทธหลังการอบ 48% ในขณะที่ตัวอยางใบที่อบโดยใชตูอบมีคาความชื้นสัมพัทธหลังการอบ 54% แสดงใหเห็นวาเครื่องอบพรรณไมแบบพกพามีประสิทธิภาพในการอบพรรณไมใหแหง ดังนั้นเครื่องอบพรรณไมแบบพกพาสามารถเปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับนักพฤกศาสตรนอกเหนือจากการใชตูอบ

Page 20: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 46 -

หัวขอโครงงาน ผลของความเขมขนของไคโตซานตอการเจริญเติบโตของสลัดคอสที่ปลูกโดย วิธีไฮโดรพอนิกส

(Effect of Chitosan on the Growth of Cos by Hydroponic) ผูทําโครงงาน นางสาวภัทริณี ธรรมศรีสวัสดิ ์ นางสาววรรณวรา ทับทิมแดง และ นางสาวสุนิสา แซโก อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชื่น นางสาวอรวรรณ ปยะบญุ และ

นายศราวุทธ แสงอุไร สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การหาความเขมขนของสารละลายไคโตซานที่เหมาะสมที่ชวยในการเจริญเติบโตของสลัดคอส (Lactuca sativa L. var. longifolia) ที่ปลูกโดยวิธีไฮโดรพอนิกส โดยใชสารละลายผสมระหวางธาตุอาหาร A และ B และแบงทดลองออกเปน 4 ชุด ที่ระดับความเขมขนของสารละลายไคโตซานที่แตกตาง 0 0.01 0.1 และ 1 สวนในลานสวน ตามลําดับ วัดการเจริญเติบโต เปนเวลา 5 สัปดาห พบวาสลัดคอสที่มีการเจริญเติบโตดีที่สุดใชความเขมขนของสารละลายไคโตซาน 0.01 สวนในลานสวน รองลงมาคือ สลัดคอสที่ใชความเขมขน 0.1 1 และ 0 สวนในลานสวน ตามลําดับ

Page 21: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 47 -

หัวขอโครงงาน เปรียบเทยีบประสิทธิภาพการยับยั้งเชือ้ Ralstonia solanacearum ดวยสวนหัว ของพืชสกุล Alium (The Comparision of Ability to Prohibit Ralstonia solanacearum from Different Types of Allium Extraction)

ผูทําโครงงาน นางสาวกิจศรา เนียมหอม และนางสาวศโิรมณ ปยะศริินนท อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยธัญญรัตน ดําเกาะ อาจารยอรวรรณ ปยะบญุ

และอาจารย วรณิสร กล่ินทอง สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

Ralstonia solanacearum เปนแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคเหี่ยวในพืชเศรษฐกิจหลายชนิด จึงมีความจําเปนตองควบคุมการแพรของเชื้อ ในปจจุบันมีการใชสารเคมีเขามาควบคุม ซ่ึงถาสามารถหาสารสกัดจากธรรมชาติเขามาทดแทน จะกอใหเกิดผลดียิ่งขึ้น และไมทําลายสิ่งแวดลอม จากการศึกษาในเบื้องตนพบวา พืชในสกุล Alium มีความสามารถในการยับยั้งแบคทีเรีย จึงมีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อ R. solanacearum ดวยสวนหัวของพืชสกุล Alium สามชนิด คือ หอมแดง หอมหัวใหญ และตนหอมขึ้น จากการทดลองดวยวิธี paper disc diffusion นั้น พบวาสารสกัดหยาบจากสวนหัวของพืชทั้งสามชนิดไมสามารถกอใหเกิดบริเวณยับยั้งไดเลย แตเมื่อทดลองดวยวิธี serial dilution method นั้น พบวาสารสกัดหยาบจากพืชทั้งสามชนิด สามารถยับยั้งเชื้อได โดยสารสกัดหยาบจากหอมแดง หอมใหญ และตนหอม สามารถยับยั้งเชื้อท่ีความเขมขน 12.5 , 12.5 และ 6.25 % โดยมวลเปนความเขมขนนอยที่สุดตามลําดับ

Page 22: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 48 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาความเขมขนของน้ําผ้ึงในการยับยั้งการเจริญเติบโตและทําลายยีสต Candida albicans ที่พบในชองปากและลําคอของมนุษย (The Study of the Last Cncentration of Honey Solution that Can Inhibit the

Growth and Kill Yeast Candida albicans which Founded in Human’s Mouth and Throat)

ผูทําโครงงาน นางสาวประไพพรรณ พุทธาภิบาล และ นายภาณุพงศ ชัยจิตรสกุล อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวสถาพร วรรณธนวจิารณ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ และ ผศ. ดร. พิทักษ สันตนิรันดร สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

น้ําผ้ึงมีสมบัติในการยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียได เนื่องจากน้ําผ้ึงมี ความดันออสโมติกที่สูง ความเปนกรด และสารเคมีอ่ืนๆที่เปนปจจัยรวม ดังนั้นน้ําผ้ึงจึงสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียในชองปาก โดยเฉพาะยีสต Candida albicans ซ่ึงเปนเชื้อจุลินทรียที่อาศัยอยูอยางปกติในชองปาก แตเมื่อภูมิคุมกันลดลง จะทําใหเกิดแคนดิไดเอซีสขึ้นไดซ่ึงอาการที่พบไดบอยคือ ฝาขาวในปาก (Oral thrush) และปากนกกระจอก (Angular cheilitis, perleche) จากการศึกษาเรื่องความเขมขนที่นอยที่สุดในการยับยั้งและทําลายเชื้อยีสต Candida albicans ของน้ําผ้ึงจากดอกลําไยที่เก็บในป พ.ศ. 2548 และ ป พ.ศ. 2549 และน้ําผ้ึงจากดอกสาบเสืออินทรียที่เก็บในป พ.ศ. 2548 โดยเจือจางน้ําผ้ึงดวย Sabouraud’s dextrose broth (SDB) ในอัตราสวนน้ําผ้ึงตอสารละลายน้ําผ้ึง 0% ถึง 100% จากนั้นสังเกตความขุนของสารละลายน้ําผ้ึงในแตละหลอดโดยเปรียบเทียบกับน้ําผ้ึง 100% เพื่อหาคา HIT (Honey Inhibitory traitor) จากสารละลายน้ําผ้ึงที่มีความเขมขนนอยที่สุดที่เชื้อ Candida albicans ไมสามารถเจริญเติบโตไดและนํา สารละลายน้ําผ้ึงที่ไมขุนขีดลงบน Sabouraud’s dextrose agar (SDA) เพื่อหาคา HFT (Honey Fungicidal tritor) พบวาคา HIT ของน้ําผ้ึงจากดอกลําไยที่เก็บในป พ.ศ. 2548 น้ําผ้ึงจากดอกลําไยที่เก็บในป พ.ศ. 2549 และน้ําผ้ึงจากดอกสาบเสืออินทรียที่เก็บในป พ.ศ. 2548 อยูระหวาง สารละลายน้ําผ้ึง 40% ถึง 60% และคา HFT ของน้ําผ้ึงดังกลาว อยูระหวาง 60% ถึง 100% ซ่ึงถือวาความเขมขนที่นอยที่สุดในการยับยั้งและทําลาย Candida albicans ของน้ําผ้ึงทั้ง 3 ชนิดไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

Page 23: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 49 -

หัวขอโครงงาน การปองกันการวางไขของผีเสื้อหนอนมะนาวโดยใชสารสกัดจากสะเดา (To Inhibit the Laying Eggs of Papilio demoleus by the Extract of Neem) ผูทําโครงงาน นายชัยวัฒน ศุภศิลป และนายปรัชญา ปยะศิริศิลป อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวธัญรัตน ดําเกาะ และ นางสาวสถาพร วรรณธนวจิารณ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากสะเดาในการปองกันการวางไขของผีเสื้อหนอนมะนาว ไดทําการทดลองโดยแบงกรงทดลองที่มีตนสมจี๊ดอยูออกเปน 2 กรง โดยกรงหนึ่งไดรับสารสกัดสะเดา อีกกรงหนึ่งไมไดรับ แลวนําผีเส้ือ 2 คู(คูหนึ่งประกอบดวยตัวผูกับตัวเมีย) มาปลอยในกรงทดลองทั้งสอง เพื่อใหมันผสมพันธุและวางไข จากการทดลอง 3 คร้ัง ในผีเสื้อ 3 รุน พบวา จํานวนไขและตัวหนอน(ที่ฟกจากไข)ที่พบบนตนสมที่ฉีดสารสกัดสะเดามีปริมาณนอยกวาบนตนสมที่ไมไดรับการฉีดสารสกัดสะเดา แสดงวา สารสกัดจากสะเดามีประสิทธิภาพในการปองกันการวางไขของผีเส้ือหนอนมะนาว

Page 24: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 50 -

หัวขอโครงงาน ผลของอาหารที่มีตออายุและประสิทธิภาพในการผลิตลูกของ Trichogramma confusum (Influence of Food Supply on Longevity and Fecundity of Trichogramma confusum)

ผูทําโครงงาน นางสาวสาริน วิเศษ อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสถาพร วรรณธนวิจารณ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ

นายวิญู พนัธุเมืองมา สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาผลของอาหารที่มีตออายุของแตนเบียน (Trichogramma confusum) เพศเมียและเพศผู และประสิทธิภาพในการผลิตลูกของแตนเบียนเพศเมีย ซ่ึงสังเกตจากการวางไขในไขของผีเสื้อขาวสาร (Corcyra cephalonica Stainton) โดยใหอาหาร 4 ชนิด ไดแก น้ํากลั่น น้ําตาลซูโครส น้ําตาลตนตาล และน้ําตาลตนมะพราว ที่มีความเขมขน 8 เปอรเซ็นต (w/w) พบวาแตนเบียนเพศเมียมีอายุยืนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อเล้ียงดวยน้ําตาลซูโครสและน้ําตาลตนตาล โดยเปรียบเทียบกับน้ํากล่ันและน้ําตาลมะพราว นอกจากนั้นยังพบวาเมื่อเล้ียงดวยน้ําตาลซูโครสจะทําใหมีประสิทธิภาพในการผลิตลูกสูงกวาน้ําเปลา น้ําตาลตนตาลและน้ําตาลตนมะพราวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตในการทดลองของแตนเบียนเพศผู พบวาอาหารแตละชนิดไมมีผลตออายุ

Page 25: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 51 -

หัวขอโครงงาน เกลือเยาวกะษาในพืชวงศหญา (Salt of Tartar in Gramineae)

ผูทําโครงงาน นางสาวปณิตา มธุรวงษาดิษฐ นางสาวณัชชา จินตกานนท และ นางสาวดารินทร ลัญจกรสิริพันธุ

อาจารยท่ีปรึกษา น.ส.ธัญญรัตน ดําเกาะ น.ส.สมฤทัย หอมชื่น และน.ส.ศศินี อังกานนท สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาหาปริมาณของเกลือเยาวกะษา ซ่ึงเปนสารประกอบไมบริสุทธิ์ของโพแทสเซียมคารบอเนต (K2CO3) และปจจั ยในดินที่ มีผลตอปริมาณเกลือที่สกัดได ในพืชตระกูลหญ า(Gramineaeหรือ Poaceae) โดยการศึกษาพืชตระกูล Gramineae(Poaceae) ทั้งสี่ชนิด ไดแก หญาคา (Imperata cylindrica Beauv), หญาขน (Brachiaria mutica (Forsk.) Stapf), หญาแพรก (Cynodon dactylon Pers) และขาวโพด (Zea mays (L.)) เปนตัวอยางควบคุม ขึ้นตอนการสกัดเกลือทําไดโดยการนําพืชตัวอยางไปเผาใน furnace แลวนําขี้เถามาละลายน้ําและระเหยแหง แลวตรวจปริมาณโพแทสเซียมโดยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer เตรียมตัวอยางดวยวิธี wet digestion การตรวจคุณภาพของเกลือทําไดโดยหาอัตราสวนของคารบอเนตตอปริมาณเกลือ ตามปฏิกิริยาที่เกิดจากขี้เถาละลายในกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ทําปฏิกิริยากับแบเรียมคารบอเนต (BaCO2) ปจจัยที่มีผลตอการสะสมโพแทสเซียมสามารถตรวจสอบโดยการวัดความเปนกรดดางของดิน (pH) คาความเค็มของดินหรือปริมาณไอออนในดิน (ECe) และปริมาณโพแทสเซียมในดินของแตละตัวอยางพืช ผลการทดลองพบวาเกลือที่สกัดไดจากพืชแตละชนิดมีลักษณะคลายกันคือเปนผลึกใสมีขี้เถาสีดําปน หญาขนใหปริมาณเกลือมากที่สุด รองลงมาคือหญาคา หญาแพรก และขาวโพดตามลําดับ เนื่องจากโพแทสเซียมมีแนวโนมที่จะสรางพันธะกับคารบอเนตมากที่สุด จึงสามารถสรุปไดวาหญาขนจะใหเกลือเยาวะกะษามากที่สุด โดยความเค็มของดินมีผลตอปริมาณเกลือที่สกัดได

Page 26: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 52 -

หัวขอโครงงาน อาหารเลี้ยงเชือ้ราจากผลสํารอง (Medium Agar from Scaphium scaphigerum) ผูทําการทดลอง นางสาวนิติมา เพชรชนะ และ นางสาวศภุสุดา อัศวจารุวรรณ อาจารยท่ีปรึกษา น.ส.สถาพร วรรณธนวิจารณ น.ส. อรวรรณ ปยะบุญ และ น.ส.วรณิสร กล่ินทองสาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

สํารอง ( Scaphium scaphigerum) ผลเมื่อนํามาแชน้ําสามารถพองตัวและมีลักษณะคลายวุนซึ่งเนื้อวุนดังกลาว สามารถนํามาใชทดแทนผงวุนในการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อราไดโดยการนําเนื้อของผลสํารองแชน้ํามาอบแหง บดเปนผง และเนื้อของผลสํารองแชน้ําบดละเอียด มาใชแทนผงวุนในอาหารเล้ียงเชื้อราสูตร PDA โดยดัดแปลงเปน 4 สูตร จากนั้นนําไปทดสอบคุณภาพ เปรียบเทียบกับอาหารเล้ียงเชื้อราสูตร PDA โดยสังเกตการเจริญเติบโตจากเสนผานศูนยกลางและความฟูของเชื้อราเห็ด 3 ชนิด ไดแก เห็ดนางฟา เห็ดหูกวาง เห็ดฮังการี เปนเวลา 11 วัน พบวาเชื้อราทั้ง 3 ชนิดสามารถเจริญเติบโตไดดีในอาหารเลี้ยงเชื้อสูตรที่ 4 ซ่ึงประกอบดวย เนื้อของผลสํารองแชน้ําบดละเอียด 800 ลูกบาศกเซนติเมตร ( 145 กรัม ) มันฝรั่ง 200 กรัม และกลูโคส 20 กรัม ในปริมาตร 1 ลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับสูตรตางๆ

Page 27: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 53 -

หัวขอโครงงาน ศึกษาพัฒนาการการกําเนิดอวัยวะของตน Aptenia cordifolia ในสภาพเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

(Organogenesis of Aptenia Cordifolia in vitro) ผูทําโครงงาน นางสาวอัจฉราวรรณ ประภากรสกุล และนางสาวศศิชล พฤกษววิัฒน อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชื่น นางสาวอารีย สักยิ้ม นางสาววรณิสร กล่ินทอง รศ.ดร. ประศาสตร เกื้อมณี และ รศ.ดร. มาลี ณ นคร สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ศึกษาพัฒนาการการกําเนิดอวัยวะจากใบของตนพืช Baby Sun rose (Aptenia cordifolia) ในสภาพเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อบนอาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog) (1962) โดยติดตามการกําเนิดอวัยวะของชิ้นเนื้อเยื่อของตน Baby Sun rose เปนระยะเวลา 30 วัน เก็บชิ้นตัวอยางเนื้อเยื่อทุกๆ 3 วันมาคงสภาพ (Fixation) ดวยสารละลาย FAA (Formaldehyde Acetic Acid) ความเขมขน 50% เพื่อทําสไลดถาวรโดยใชเทคนิค Paraffin Method จากนั้นนําสไลดมาสองใตกลองจุลทรรศน พบการกําเนิดอวัยวะคือราก ซ่ึงมีจุดกําเนิดคือวาสคิวลารแคมเบียม (vascular cambium) และ โฟลเอ็ม (phloem) ของกานใบ ในขณะที่เซลลแบงตัวมากขึ้นจะดันใหกลุมเนื้อเยื่อเจริญออกหางจากกลุมทอลําเลียง และทําใหทอลําเลียงกระจายออกจากกัน จากนั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพที่บริเวณใกลกับกลุมเนื้อเยื่อเจริญไปเปนทอลําเลียง ซ่ึงทอลําเลียงจะเจริญมาเชื่อมกับทอลําเลียงที่มีอยูเดิมกลายเปนรากที่สมบูรณ

Page 28: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 54 -

หัวขอโครงงาน ผลของปุยยูเรียที่มีตอประสทิธิภาพของ Trichoderma harzianum ในการกําจัดเชื้อรา Pythium aphanidermatum ในตนคะนา

(The Effect of Urea Fertilizer Concentrations on the Efficiency of Trichoderma harzianum in Eliminating Pythium aphanidermatum in Chinese Kales)

ผูทําโครงงาน นางสาวพิมพอร วัชรประภาพงศ นายวรดล สังขนาค และนายนําโชค ศศิกรวงศ อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ

และนางสาวสมฤทัย หอมชื่น สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการศึกษาผลกระทบของความเขมขนของปุยยูเรียที่มีตอประสิทธิภาพในการกําจัด เชื้อรา Pythium aphanidermatum ของเชื้อรา Trichoderma harzianum และการเจริญเติบโตของตนคะนา โดยการใสปุยใหกับตนคะนาในความเขมขนที่เพิ่มและลดจากความเขมขนปกติที่เกษตรกรใช คือ 0.75 กรัม / น้ํา 1 ลิตร พรอมกับใสเชื้อรา T. harzianum และ P. aphanidermatum หลังจากนั้น 30 วัน ทําการเก็บตัวอยางดินในแตละชุดมาตรวจนับจํานวนเชื้อรา T. harzianum และชั่งมวลแหงของคะนา พบวาการเพิ่มหรือลดของปุยยูเรียนอยกวา 0.30 กรัมตอน้ํา 1 ลิตรไมทําใหเกิดความแตกตางของปริมาณเชื้อรา T. harzianum และการเพิ่มหรือความเขมขนของปุยยูเรียนอยกวา 0.15 กรัมตอน้ํา 1 ลิตร ไมทําใหเกิดความแตกตางของมวลแหงเฉลี่ยของคะนา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 ซ่ึงจากผลการทดลองแสดงใหเห็นวา การเพิ่มความเขมขนของปุยยูเรียแมจะทําใหชีวมวลของคะนาเพิ่มขึ้น แตอัตราการตายเนื่องจากการติดเชื้อก็มากขึ้นดวย สวนการลดความเขมขนของปุยยูเรียทําใหอัตราการตายของตนคะนาจากการติดเชื้อลดลง แตตนคะนาที่รอดก็จะแสดงอาการอันเนื่องมาจากการขาดธาตุอาหารและมีโอกาสตายในที่สุด

Page 29: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 55 -

หัวขอโครงงาน ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากเปลอืกมังคุดในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. Glycines สาเหตุโรคใบจุดนูนในถัว่เหลือง (The Efficiency of Mangosteen Rinds to Inhibit the Growth of Bacteria Xanthomonas campestris pv. Glycines)

ผูทําโครงงาน นางสาวรัชภรณ มีเงิน นางสาวภคพร ดํารงกุลชาติ และนายภาณุมาศ ไกรสร อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ

และนางสาววรณิสร กล่ินทอง สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดอยางหยาบจากเปลือกมังคุดในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. Glycines สาเหตุโรคใบจุดนูนในถั่วเหลือง โดยเล้ียงเชื้อในอาหารวุน Nutrient Agar (NA) แลวทดสอบกับสารสกัดจากเปลือกมังคุดอบแหงที่ความเขมขน 100,000 ppm 200,000 ppm 300,000 ppm 400,000 ppm และ 500,000 ppm ที่ละลายดวยตัวทําละลายเอทิลแอลกอฮอล 40% 60% และ 80% จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพโดยวิธี Paper Diffusion Method จากการทดลองพบวา สารสกัดอยางหยาบจากเปลือกมังคุดที่ความเขมขน 100,000 ppm 200,000 ppm 300,000 ppm 400,000 ppm และ 500,000 ppm สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได ดังนั้นสารสกัดอยางหยาบจากเปลือกมังคุดสามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. Glycines

Page 30: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 56 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาผลของไคโตซานกับการเกิดออกซิเดชั่นของไขมันในเนื้อหม ู (Effect of Chitosan on Fat Oxidation in Pork)

ผูทําโครงงาน นางสาวณฐัภรณ สุธีรพงศพันธ นางสาวณิชมน ยงวัฒนา และ นายรัตนชยั รมัยธิติมา อาจารยท่ีปรึกษา นางสาว สถาพร วรรณธนวจิารณ นางสาว วรณิสร กล่ินทอง

นาย ศราวุทธ แสงอุไร และดร. ปราณี เลิศสุทธิวงค สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรยีน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาผลของการใชไคโตซานเพื่อลดการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของไขมันในเนื้อหมู ทําโดยฉีดพนสารละลายไคโตซานที่ความเขมขนตางๆ (0.25%, 0.5% และ 1%) และเก็บไวในตูเย็นที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เปนเวลา 14 วัน และทําการเก็บตัวอยางในวันที่ 0 3 5 7 และ 14 เพื่อวิเคราะหดัชนีการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและสังเกตลักษณะทางกายภาพ พบวา เนื้อหมูที่ฉีดพนดวยสารละลายไคโตซานชวยลดกล่ินเนาเหม็น โดยเฉพาะที่ความเขมขน 1% สามารถชวยลดการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันใหผลดีที่สุด ซ่ึงสามารถลดการเกิดออกซิเดชันไดถึง 50% เมื่อเก็บไวเปนเวลา 14 วัน

Page 31: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 57 -

หัวขอโครงงาน ประสิทธิภาพการลอแมลงวนัทองของน้ํามันหอมระเหยจากสมุนไพรไทย (The Efficiency Assessment of Thai Herbal Volatile oils to Attract Oriental Fruit Fly (Dacus dorsalis Hendel) ผูทําโครงงาน นางสาวกุลยา ตรรกวาทการ และนางสาวณัชชา วภิาสกตัญู อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยบัญชา สบายตัว อาจารยวิญู พันธเมืองมา และ อาจารยนิธิกานต คิมอ๋ิง สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

แมลงวันทอง หรือแมลงวันผลไม (Dacus dorsalis Hendel) เปนแมลงศัตรูพืชที่สงผลตอเศรษฐกิจของไทยอยางมาก เนื่องจากทําใหผลไมที่เปนสินคาสงออกสําคัญของไทยเสียหาย ประเทศไทยพบแมลงวันทองระบาดทั่วทุกภาคและพบตลอดทั้งป จึงมีวิธีการใชสารเคมีเมธิลยูจีนอล (methyl eugenol) ลอแมลงวันทองมาเพื่อกําจัด สําหรับสารเมธิลยูจีนอลนี้พบไดในพืชสมุนไพรหลายชนิด ซ่ึงหางาย ราคาถูกและมีประโยชนหลายประการ ดังนั้นทางคณะผูจัดทําโครงงานจึงทําการทดลองเกี่ยวกับการลอแมลงวันทองเปน 3 ขั้นตอนคือ 1.ศึกษารูปแบบการแขวนกับดักจากขวดพลาสติกในแนวตั้งและแนวนอน 2.ศึกษาชวงเวลาในการลอแมลงวันทอง และ 3.ศึกษาประสิทธิภาพการลอแมลงวันทองของสารสกัดน้ํามันหอมระเหยจากสมุนไพรไทย 3 ชนิด คือ กะเพราขาว กะเพราแดง และพลู เปรียบเทียบกับเมธิลยูจีนอล จากการทดลองพบวา รูปแบบการแขวนกับดักแมลงวันทองที่ประสิทธิภาพดีที่สุดคือ การแขวนขวดพลาสติกตัดครึ่งในแนวตั้ง เพราะการแผกระจายกลิ่นสารลอแมลงวันทองในการแขวนกับดักแนวตั้งดีกวาการแขวนกับดักแนวนอน ชวงเวลาในการลอแมลงวันทองไดดีที่สุดคือ ชวง 10.00 - 12.00 น. เนื่องจากอุณหภูมิในชวงเวลานี้สงผลใหการรับรูกล่ินของแมลงวันทองมีประสิทธิภาพดีกวาชวงเวลาอื่น และประสิทธิภาพในการลอแมลงวันทองของสารเมธิลยูจีนอลดีกวาน้ํามันหอมระเหยจากสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด เพราะเมธิลยูจีนอลเปนสารฟโรโมนเพศสังเคราะหโดยตรง แตน้ํามันหอมระเหยจากสมุนไพรมีสารเมธิลยูจีนอลเปนองคประกอบเพียงเล็กนอยเทานั้น สมุนไพรที่สามารถลอแมลงวันทองไดดีที่สุดคือ กะเพราขาว รองลงมาคือ กะเพราแดงและพลู ตามลําดับ เนื่องจากน้ํามันหอมระเหยของกะเพราขาวมีปริมาณเมธิลยูจีนอลสูงกวาน้ํามันหอมระเหยจากกะเพราแดงและพลู

Page 32: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 58 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาพฤตกิรรมการจดจาํและการเรียนรูของกระตายพันธุเปอรเซีย (Oryctolagus cuniculus) (The Study of Learning and Memorizing Behavior of the Persian Rabbit (Oryctllagus cuniculas).)

ผูทําโครงงาน นายจิตวัต พูลพุทธพงษ นางสาวทศพร สัตถาสาธุชนะ และนายวิทวัส ฝูงทองเจริญ

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยธัญรัตน ดําเกาะ อาจารยวิญู พนัธุเมืองมา และอาจารยอารีย สักยิ้ม

สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การทดลองวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตวเปนพื้นฐานของการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย ตั้งแตการศึกษาสังเกตจากพฤติกรรมทั่วไป จนถึงพฤติกรรมที่มีความซับซอน กระตายเปนสัตวเล้ียงที่มีความใกลเคียงกับมนุษยในระดับสัตวเล้ียงลูกดวยนม ซ่ึงเปนกลุมที่มีความสามารถในการเรียนรูระดับหนึ่ง การทดลองเพื่อศึกษาพฤติกรรมการจดจําและการเรียนรูสัญลักษณของกระตายพันธุ เปอรเซีย (Oryctolagus cuniculus) โดยใหกระตายเลือกหาทางที่ถูกในชุดการทดลองแบบ 6 แขนซึ่งทําสัญลักษณไว โดยเริ่มจากเปด 2 ทาง จากนั้นเพิ่มเปน 3 ทาง และ 4 ทางตามลําดับ จากกราฟแสดงแนวโนมของการกระจายขอมูลระหวางจํานวนครั้งที่กระตายทั้ง 4 ตัวทําผิดกับวันที่ทดลองโดยเปด 2 ทาง และ 3 ทาง พบวาความชันมีคาเปนลบ แสดงใหเห็นวากระตายทําผิดนอยลง จึงสามารถสรุปไดวากระตายมีพฤติกรรมการจดจําและเรียนรูสัญลักษณส่ีเหล่ียม อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณากราฟแสดงแนวโนมของการกระจายขอมูลระหวางจํานวนครั้งที่กระตายทั้ง 4 ตัวทําผิดกับวันที่ทดลองโดยเปด 4 ทาง พบวาความชันมีคาเปนบวก แสดงใหเห็นวากระตายทําผิดมากขึ้น จึงสามารถสรุปไดวากระตายไมสามารถจดจําและเรียนรูสัญลักษณส่ีเหล่ียมได

Page 33: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 59 -

หัวขอโครงงาน ความสัมพันธระหวางแรงสัมผัสกับการตอบสนองของใบไมยราบ (Involvement between Contact Force and Responses of Sensitive Plant (Mimosa

pudica)) ผูทําโครงงาน นางสาวรุจาภคั สุทธิวิเศษศกัดิ ์อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชื่น นายสุวัฒน ศรีโยธี นางสาวนิธิกานต คิมอ๋ิง

นายสมพร บัวประทุม และ นายปณตพร อนิลบล สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธระหวางแรงสัมผัสกับการตอบสนองของใบไมยราบ (Mimosa pudica) โดยใชหยดน้ําที่มีมวลเทากัน หยดลงมาจากระดับความสูงที่แตกตางกัน และวัดการตอบสนองของใบไมยราบ จากการทดลองที่ 3 ระดับความสูงไดแก 1 3 และ 5 เซนติเมตร โดยทําการทดลองความสูงละ 30 ครั้ง พบดังนี้

1. ที่ระดับความสูง 1 เซนติเมตร ใชเวลาเฉลี่ย 3.64 วินาทีในการหุบ 8.48 นาทีในการบาน และจํานวนคูใบเฉลี่ยที่หุบคือ 1 คู

2. ที่ระดับความสูง 3 เซนติเมตร ใชเวลาเฉลี่ย 4.39 วินาทีในการหุบ 9.70 นาทีในการบาน และจํานวนคูใบเฉลี่ยที่หุบคือ 5.167 คู

3. ที่ระดับความสูง 5 เซนติเมตร ใชเวลาเฉลี่ย 5.11 วินาทีในการหุบ 10.46 นาทีในการบาน และจํานวนคูใบเฉลี่ยที่หุบคือทุกคู

4. จากการทดลองเบื้องตนพบวา บริเวณที่ใบมีการตอบสนองไดชัดเจนที่สุด คือบริเวณปลายใบ และระยะความสูงที่นอยที่สุดที่สามารถกระตุนใหใบไมยราบสามารถหุบได มีคาเฉลี่ยอยูที่ 0.8 เซนติเมตร

ผลการวิเคราะหโดยโปรแกรมทางสถิติ พบวาที่ระดับความสูง 1และ 3 เซนติเมตร และที่ระดับความสูง 1และ 5 เซนติเมตร การตอบสนองของใบไมยราบแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตที่ระดับความสูง 3 และ 5 เซนติเมตร การตอบสนองของใบไมยราบแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ทั้งนี้ผลการทดลองของโครงงานอาจมีความคลาดเคลื่อนจากระดับความสูงที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหการวัดระยะคาดเคลื่อน และอาจมีแรงตานอากาศมาเกี่ยวของ ทําใหเกิดการสูญเสียพลังงานขณะหยดหยดน้ําได

Page 34: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 60 -

หัวขอโครงงาน การสะสมของฮอรโมน Fluoxymesterone ในหวงโซอาหารตอการแปลงเพศของปลาหางนกยูง (Poedilia reticulata)

(Biomagnifications of Hormone Fluoxymesterone in Food Chain to Sex Reversal of Guppy (Poedilia reticulata))

ผูทําโครงงาน นายพุฒกิันย ปงเจริญ อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสถาพร วรรณธนวจิารณ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ

และนายบัญชา สบายตัว สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาการสะสมของฮอรโมน Fluoxymesterone ในหวงโซอาหารตอการแปลงเพศของปลาหางนกยูง (Poedilia reticulata) โดยนําสาหรายคลอเรลลาและโรติเฟอรเล้ียงรวมกัน ในสารละลายฮอรโมน Fluoxymesterone ที่ความเขมขน 10 มิลลิกรัมตอน้ํา 50 มิลลิลิตรเปนเวลา 2 ช่ัวโมง จากนั้นนําโรติเฟอรที่ไดนั้นไปเปนอาหารใหกับไรแดง แลวนําไรแดงที่ไดรับฮอรโมนทางหวงโซอาหารขางตนไปเปนอาหารใหกับปลาหางนกยูงที่มีอายุ 3 วัน โดยใหวันละ 1 ครั้ง ทุกวันเปนเวลา 25 วัน และสังเกตเพศของปลาที่จะปรากฏขึ้น เปรียบเทียบกับการใหไรแดงที่ไดรับฮอรโมนโดยตรง พบวา ปลาหางนกยูงที่กินไรแดงที่ไดรับฮอรโมนโดยตรงเปนอาหาร จะปรากฏลักษณะของเพศผู คือมีลําตัวปลาเขมขึ้น และระบุเพศ ไดเร็วกวาปลาหางนกยูงที่กินไรแดงที่เล้ียงดวยโรติเฟอรที่ไดรับฮอรโมน

Page 35: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 61 -

หัวขอโครงงาน ความสัมพันธของละอองเรณู และยอดเกสรตัวเมียของพันธุไม 7 ชนิด ในสวนสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหดิล

(Characteristics and Relationships between Pollen and Stigma Structures of 7 Plants in Sirirukhachart Garden, Mahidol University)

ผูทําโครงงาน นายนฤนาท วรศักตยานนัต นายธเนศ อัศวกวินทพิย และ นายธีรเศรษฐ บัณฑุชัย

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชื่น นางสถาพร วรรณธนวจิารณ และ นายวิญู พันธุเมืองมา

สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ศึกษาความสัมพันธระหวางละอองเรณูกับยอดเกสรตัวเมียของพันธุไม 7 ชนิด ไดแก กาหลง(Bauhinia acuminata L.) เข็ม(Ixora finlaysoniana Wall. ex. G. Don.) ชบา(Hibicus rosa-sinensis Linn.) ผักบุงขัน(Ipomoea asarifolia Roem. et Schult.) พลับพลึง(Crinum asiaticun Linn.) ยานางแดง(Tiliacora triandra Diels) และหนุมานนั่งแทน (Jatropha podagrica Hook.) ในสวนสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยการวิเคราะหลักษณะของโครงสรางของละอองเรณูและยอดเกสรตัวเมีย จากการทําสไลดถาวรของละอองเรณูดวยวิธีการ acetolysis พบวา ละอองเรณูมี 3 ชนิดคือ diporate ไดแก พลับพลึง tricolporate ไดแก กาหลง tricolpate ไดแก เข็ม ยานางแดง pantoporate ไดแก ชบา ผักบุงขัน หนุมานนั่งแทน พื้นผิวของละอองเรณูมี 4 แบบ คือ scabrate ไดแก กาหลง หนุมานนั่งแทน psilate ไดแก เข็ม ยานางแดง echinate ไดแก ชบา ผักบุงขัน rugulate ไดแก พลับพลึง ยอดเกสรตัวเมียมีรูปราง 5 แบบ คือ lobed ไดแก กาหลง ผักบุงขัน ยานางแดง decurrent ไดแก เข็ม discoid ไดแก ชบา crested ไดแก พลับพลึง และ fan-shaped ไดแก หนุมานนั่งแทน พื้นผิวของยอดเกสรตัวเมียมี 2 แบบ คือ แบบ dryไดแก ชบา ผักบุงขัน พลับพลึง แบบ wet ไดแก เข็ม ยานางแดง กาหลง หนุมานนั่งแทน จากการวิเคราะหลักษณะทางสัณฐานวิทยาของละอองเรณูและยอดเกสรตัวเมียของพันธุชนิดเดียวกัน พบวามีความสัมพันธ 2 รูปแบบ คือ ยอดเกสรตัวเมียเปนแบบ wet มีเมือกเคลือบ ชวยในการยึดจับละอองเรณูที่มีผิวเรียบไดแก กาหลง เข็ม ยานางแดง และหนุมานนั่งแทน ยอดเกสรตัวเมียเปนแบบ dry มีขนจํานวนมาก เพื่อชวยในการยึดจับกับละอองเรณูที่ผิวเปนหนามหรือผิวขรุขระ ไดแก ชบา ผักบุงขันและพลับพลึง

Page 36: - 27 - (Mwit’14)mwitpro/form/abstract_thai_mwit14/... · 2007-02-06 · สาขาชีิววทยา (Mwit’14) - 28 - หั วขอโครงงาน ชนิดของอาหารที่มี

สาขาชีววิทยา (Mwit’14)

- 62 -

หัวขอโครงงาน สวนสกัดหยาบจากขาลิงยับยั้งการเจรญิเติบโตของแบคทีเรีย Staphylococcus saprophyticus

(The Crude Extract from Alpinia conchigera Inhibits Staphylococcus saprophyticus) ผูทําโครงงาน นางสาวนิรมล เทศที่อยู นางสาววรนนัท เนตรเกื้อกลู และ นางสาวสริสา ณ ปอมเพ็ชร อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสมฤทัย หอมชืน่ นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ และ นางสาวธัญญรัตน ดําเกาะ สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

Staphylococcus saprophyticus เปนเชื้อแบคทีเรียที่พบมากในการติดเชื้อระบบทางเดินปสสาวะที่มีอาการ (symptomatic urinary tract infection) ซ่ึงในโครงงานนี้มีจุดประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากขาลิง (Alpinia conchigera) ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus saprophyticus โดยการนําเหงาขาลิงมาสกัดดวยเอทิลแอลกอฮอล ความเขมขน 95% และเตรียมแผนทดสอบใหมีความเขมขน 0.1 0.2 0.3 0.4 และ 0.5 กรัมตอตัวทําละลาย 1 มิลลิลิตรตามลําดับ นําไปทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus saprophyticus โดยวิธี Agar diffusion เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งกับเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus พบวาสารสกัดหยาบจากขาลิง ที่ระดับความเขมขน 0.5 กรัมตอตัวทําละลาย 1 มิลลิลิตรสามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus saprophyticus และ Staphylococcus aureus ไดที่สุด รองลงมาคือ ความเขมขน 0.4 0.3 0.2 และ 0.1 กรัมตอตัวทําละลาย 1 มิลลิลิตร ตามลําดับ