15
สายไฟเบอร์ออพติก นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมาช1.นส.ณฐมน ไพบลย เลขท 19 2.นส.พชญาน นท โตบ ว เลขท 24 3.นส.อไรร ตน ทบทมศร เลขท 28

สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

  • Upload
    piyawan

  • View
    498

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

สายไฟเบอร์ออพติก

น ำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร

สมาชิก

1.นส.ณัฐมน ไพบูลย์ เลขที่ 19

2.นส.พิชญานันท์ โตบัว เลขที่ 24

3.นส.อุไรรัตน์ ทับทิมศรี เลขท่ี 28

Page 2: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

สาย เส้นใยแก้วน าแสง

เส้นใยแก้วน ำแสง คือ สำยน ำสัญญำณท่ีใช้แสงเป็นตัวกลำงในกำร สื่อสำรข้อมูลจำกจุดหน่ีงไปยังอีกจุดหน่ึง โดยใช้กับสัญญำณข้อมูลท่ีอยู่ในรูปของคลื่นแสงเท่ำน้ัน โดยสัญญำณข้อมูลจะถูกเปลี่ยนเป็นคลื่นแสงแล้วจึงส่งให้เดินทำงสะท้อนภำยในสำยใยแก้วเรื่อยไปจนถึงผู้รับที่ปลำยทำงสำยใยแก้ว ซึ่งเส้นใยแก้วน ำแสงท ำจำกแก้วท่ีมีควำมบริสุทธิ์มำก เส้นใยแก้วน ำแสงท่ีดี ต้องสำมำรถน ำสัญญำณแสงจำกจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งโดยมีกำรสูญเสียของสัญญำณแสงน้อยที่สุด

แต่มีข้อจ ำกัด คือ เม่ือสำยใยแก้วขำด หักงอหรือแตกหัก จ ำเป็นต้องอำศัยอุปกรณ์พิเศษในกำรซ่อมแซม ซึ่งยุ่งยำกและมีค่ำใช้จ่ำยสูงกว่ำแบบอื่น

Page 3: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

โครงสร้างของสาย Fiber Optic

1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่น ำสัญญำณแสง จะมีเส้นผ่ำศูนย์กลำง 62.5/125 um,

50/125

um, 9/125 um

2. ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสำรที่ใช้ในกำรเคลือบแก้ว (Core) เพื่อให้น ำ

สัญญำณได้ กล่ำวคือแสงท่ีถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตำมสำยไฟเบอร์

ด้วยขบวนกำรสะท้อน

กลับของแสง นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่ำศูนย์กลำง 125 um

3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่ต่อจำก Cladding

เพื่อให้

ปลอดภัยข้ึน และใช้ป้องกันแสงจำกภำยนอกไม่ให้เข้ำมำภำยในเส้นไฟเบอร์ มี

เส้นผ่ำศูนย์กลำง

250 um

Page 4: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

โครงสร้างของสาย Fiber Optic

4. ปลอกสำย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสำยหรือเสื้อชั้นในที่หุ้ม

ป้องกันสำย และยังช่วยให้

กำรโค้งงอของสำยไฟเบอร์มีควำมยืดหยุ่นมำกขึ้น มี

เส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณ 900 um

(Buffer Tube)

5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสำยไฟเบอร์ที่ให้

เกิดควำมเรียบร้อย และท ำ

หน้ำที่ป้องกันสำยไฟเบอร์เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมี

หลำยชนิด ขึ้นอยู่กับกำรใช้งำน

ว่ำเป็นสำยที่เดินภำยในอำคำร (Indoor) หรือเดินภำยนอกอำคำร

(Outdoor)

Page 5: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

ประเภทของสาย Fiber Optic

สำย Fiber Optic แบ่งออกเปน็ 2 แบบ 1. Single Mode (SM) มีเส้นผ่ำศนูย์กลำงของ Core และ

Cladding 9/125 um ตำมล ำดับ ซึ่ง

ส่วนของแกนแก้วจะมีขนำดเล็กมำกและจะใหแ้สงออกมำ

เพียง Mode เดียว แสงที่ใช้จะต้องเป็น

เส้นตรง ข้อดีท ำให้ส่งสัญญำณได้ไกล

Page 6: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

ประเภทของสาย Fiber Optic • 2. Multi Mode (MM) จะมีขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำงของ Core และ

Cladding 62/125 um และ

50/125 um ตำมล ำดับ เนื่องจำกขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำงของ

แกนมีขนำดใหญ่ ท ำให้แนวแสงเกิด

ขึ้นหลำยโหมด โดยแต่ละ Mode จะมีระยะเวลำในกำร

เดินทำงที่แตกต่ำงกัน อันเป็นสำเหตุที่ท ำให้

เกิดกำรกระจำยของแสง (Mode Dispersion)

Page 7: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

แบ่งตำมลักษณะกำรใช้งำน

1. Tight Buffer เป็นสำยไฟเบอร์แบบเดินภำยในอำคำร

(Indoor) โดยมีกำรหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้ม ี

ควำมหนำ 900 um เพื่อสะดวกในกำรใช้งำนและป้องกัน

สำยไฟเบอร์ในกำรติดตั้ง ปริมำณของ

เส้นใยแก้วบรรจอุยู่ไม่มำกนัก เช่น 4,6,8 Core ส่วนสำยที่ใช้

เชื่อมต่อระหวำ่งอุปกรณ์จะมีขนำด 1

Core ซึ่งเรียกว่ำ Simplex ขนำด 2 Core เรียกว่ำ Zip

Core

Page 8: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

แบ่งตำมลักษณะกำรใช้งำน 2. Loose Tube เป็นสำยไฟเบอรท์ี่ออกแบบมำใช้เดินภำยนอก

อำคำร (Outdoor) โดยกำรน ำสำยไฟ

เบอร์มำไว้ในแท่งพลำสติก และใส่เยลกันน้ ำเข้ำไป เพื่อ

ป้องกันไม่ให้สัมผัสกบัแรงต่ำงๆ อีกทั้งยัง

กันน้ ำซึมเข้ำภำยในสำย สำยแบบ Outdoor ยังแบ่งตำม

ลักษณะกำรใชง้ำนได้อีกดังนี้

Page 9: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

2.Loose Tube

2.1 Duct Cable เป็นสำย Fiber Optic แบบร้อยท่อ

โครงสร้ำงของสำยไม่มีส่วนใดเป็นตัวน ำ

ไฟฟ้ำ ซึง่จะไม่มีปัญหำเรื่องฟ้ำผ่ำ แต่จะมีควำมแข้ง

แรงทนทำนน้อย ในกำรติดตั้งจึงควร

ร้อยไปในท่อ Conduit หรือ HDPE (High-

Density-Polyethylene)

Page 10: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

2.Loose Tube

• 2.2 Direct Burial เป็นสำย Fiber Optic ที่ออกแบบมำให้สำมำรถ

ใช้ฝังดินได้โดยไม่ต้องร้อยท่อ โดยโครงสร้ำงของสำยจะมีส่วนของ

Steel Armored เกรำะ ช่วยป้องกัน และเพิม่ควำมแขง็แรงให้สำย

Page 11: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

2.Loose Tube • 2.3 Figure - 8 เป็นสำยไฟเบอร์ที่ใชแ้ขวนโยงระหว่ำงเสำ โดยมีส่วน

ที่เป็นลวดสลิงท ำหน้ำที่รับ แรงดึงและประคองสำย จึงท ำให้สำยมี

รูปร่ำงหน้ำตัดแบบเลข 8 จึ

• 2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็นสำยไฟเบอร์ ที่

สำมำรถโยงระหว่ำงเสำได้ โดย

ไม่ต้องมีลวดสลิงเพ่ือประคองสำย เนื่องจำก

โครงสร้ำงของสำยประเภทนี ้ได้ถูกออกแบบให้

เป็น Double Jacket จึงท ำให้มีควำมแข็งแรงสูงง

เรียกว่ำ Figure – 8

Page 12: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

แบ่งตำมลักษณะกำรใช้งำน

• 3. สำยแบบ Indoor/Outdoor

เป็นสำยเคเบิลใยแก้วที่สำมำรถเดินได้ทั้งภำยนอกและภำยในอำคำร

เป็นสำยที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เรียกว่ำ Low Smoke Zero Halogen

(LSZH) ซึ่งเมือ่เกิดอัคคีภัย จะเกิดควันน้อยและควันไม่เป็นพิษ เมื่อเทียบ

กับ Jacket ของสำยชนิดอื่น ที่จะลำมไฟง่ำยและเกิดควันพิษ

เนื่องจำกกำรเดินสำยในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเดินภำยนอก

อำคำร ด้วยสำย Outdoor แล้วเข้ำ

อำคำร ซึ่งผิดมำตรฐำนสำกล ดังนั้นจึงควรใช้สำยประเภทนี้เมื่อมี

กำรเดินจำกภำยนอกเข้ำสู่ภำยใน

Page 13: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

ค ำถำม

1.สำยไฟเบอร์ออพตัคคืออะไร?

2.สำยไฟเบอรอ์อพติคมีประโยชน์อย่ำงไร ละมีข้อดีที่เด่นๆอย่ำงไร?

3.สำยไฟเบอรอ์อพติคมีกี่ประเภท อะไรบ้ำง?

4.ถ้ำแบ่งตรำมลักษณะกำรใช้งำน แบ่งได้กี่แบบ?

Page 14: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

เฉลย

• 1. สำยน ำสัญญำณที่ใช้แสงเป็นตัวกลำงในกำร

สื่อสำรข้อมูลจำกจุดหนี่งไปยังอีกจดุหนึ่ง โดยใช้กับสัญญำณข้อมูลที่อยู่

ในรูปของคลื่นแสง

• 2. สำมำรถน ำสัญญำณแสงจำกจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งโดยมีกำรสูญเสยี

ของสัญญำณแสงน้อยที่สุด

• 3. แบ่งออกเป็น 2 แบบ 1. Single Mode (SM) 2. Multi Mode

(MM)

• 4.แบ่งได้3แบบ ได้แก่ 1. Tight Buffer 2.Loose Tube 3. สำยแบบ

Indoor/Outdoor

Page 15: สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403

อ้ำงอิง

http://www.it-guides.com/training-a-tutorial/network-system/804-what-is-fiber-optic/

http://klsharing.blogspot.com/2011/09/fiber-optic.html

http://www.cctvbangkok.com/cctvbangkok-ipcamera-dome-dvr-ccd-infared-camera-dvr-

card-quad-page111.html

http://mimdod.blogspot.com/

http://www.ofpt.co.th/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=69&Item

id=383

http://www.ncsnetwork.com/tips_details.php?xid=12

http://ee.swu.ac.th/E-learning%20Fiber%20Optic/device%20installation%20.html

http://www.blueitpro.com/board/index.php?topic=52.0