60
1 หน่วยทีหน่วยที2 2 พลังงานศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าและ ศักย์ไฟฟ้าและ ความจุ ความจุ ไฟฟ้า ไฟฟ้า ตอนที2.1 พลังงานศักย์ไฟฟ้าและ ศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าของระบบประจุ แบบต่างๆ การคำานวณค่าสนามไฟฟ้า จากศักย์ไฟฟ้า ตอนที2.2 ความจุไฟฟ้า ความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟ้าของระบบตัวเก็บ

พลังงานไฟฟ้า

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: พลังงานไฟฟ้า

1

หน่วยที ่หน่วยที่ 2 2 พลงังานศักย ์ไฟฟ้า พลงังานศักย ์ไฟฟ้าศ ักย ์ไฟฟา้และศ ักย ์ไฟฟา้และ ความจุ ความจุไฟฟ้าไฟฟ้า

ตอนที่ 2.1 พลังงานศักย ์ไฟฟ้าและศ ักย ์ไฟฟ้า

พลังงานศักย ์ไฟฟ้า ศักย ์ไฟฟ้า ศักย ์ไฟฟ้าของระบบประจ ุแบบตา่งๆ การคำานวณค่าสนามไฟฟ้าจากศักย ์ไฟฟ้า

ตอนที่ 2.2 ความจุไฟฟ้า ความจุไฟฟ้าของตัวเก ็บประจ ุ ความจุไฟฟ้าของระบบตัวเก ็บประจ ุ ตัวเก ็บประจ ุก ับสารไดอิเล ็กทร ิก

Page 2: พลังงานไฟฟ้า

2

พลังงานศักย ์พล ังงานศักย ์ไฟฟ้าไฟฟ้า

แนวความคิดของพลังงานศักย ์ไฟฟ้า(electric potential energy) มีประโยชน์มากในการศ ึกษาว ิชาไฟฟ้าสถ ิต เน ือ่งจากแรงไฟฟ้าเปน็แรงอนรุ ักษพ์ล ังงานศักย ์ไฟฟ้าท ี่เก ิดจากแรงสามารถอธิบาย

ปรากฏการณต์ ่างๆ ทางไฟฟ้าสถ ิตได้อย ่างง ่ายดาย

แนวความคดิน ีท้ ำาใหเ้ราสามารถบญัญตัปิร ิมาณสเกลารซ์ ึ่ง “ เรยีกชื่อวา่ ศกัยไ์ฟฟ้า (electric potential)” เพ ื่ออธบิาย

ปรากฏการณท์างไฟฟ้าได ้งา่ยกวา่การใช้สนามไฟฟา้

การหาค่าพล ังงานศักย ์ไฟฟา้สามารถกระทำาได ้โดยหางานในการเคล ื่อนประจ ุทดสอบในบร ิเวณที่ม ีสนามไฟฟ้า

Page 3: พลังงานไฟฟ้า

3

สมการของพลังงานสมการของพลังงานศักยไ์ฟฟา้ศ ักยไ์ฟฟา้ การเคล ือ่นประจ ุทดสอบ ในบริเวณทีม่ ี

สนามไฟฟ้า เป ็นระยะ จะเก ิดงานที่กระท ำาโดยสนามไฟฟ้าม ีค ่าเป ็น

B

B A o AΔU = U -U = -q d×∫ E s

od q d× = ×F s E s

oq E ds

oU q d∆ = − ×E s

เน ือ่งจากงานดังกล ่าวกระทำาโดยสนาม ดังน ัน้พล ังงานศักย ์ไฟฟ้าของระบบจะเปล ี่ยนไปเท ่ากบั

E

ถา้ประจ ุทดสอบเคล ือ่นท ีจ่าก A สู่ B จะได้

เป ็นแรงอนรุ ักษ ์ ค ่าปรพิ ันธ ์เช ิงเส ้น (line integral) ของสมการนีจ้ะไม ่ข ึ้นกบัเส ้นทางการเคล ื่อนที่

oqQ E

Page 4: พลังงานไฟฟ้า

4

ศักย ์ศ ักย ์ไฟฟ้าไฟฟ้า

ศกัย ์ไฟฟ้า (electric potential) คือพลังงานศกัย ์ตอ่หนว่ยประจ ุทดสอบหรือ

o

UV =

qจะเห ็นได ้ว ่าศ ักย ์ไฟฟ้าเป ็นปร ิมาณสเกลาร ์ซ ึ่งไม ่ข ึ้นก ับประจ ุ

ทดสอบและม ีค ่า ณ ทุกๆ จ ุดในสนามไฟฟ้า

ถา้ประจเุคล ื่อนที่ในสนามไฟฟ้า ประจ ุจะพบกบัศกัยไ์ฟฟ้าท ี่เปล ี่ยนคา่ตามสมการB

Ao

ΔUΔV = = - ds

q×∫ E

ค่าความต่างศ ักย ์ (potential difference) นี้เป ็นปร ิมาณเปร ียบเท ียบ ของศักย ์ไฟฟ้าระหว ่างจ ุด 2 จุด ในสนามไฟฟา้

Page 5: พลังงานไฟฟ้า

5

ความสัมพันธ ์ระหว ่างงานและศ ักย ์ความสัมพันธ ์ระหว ่างงานและศ ักย ์ไฟฟ้าไฟฟ้าการเคล ื่อนประจ ุในสนามไฟฟ้าโดย

พลงังานจลน์ของประจ ุไม ่เปล ี่ยนแปลงจะได้งานที่ท ำาต ่อประจ ุม ีค ่าเป ็น

W U q V= ∆ = ∆

หน่วยของศ ักย ์ไฟฟ้า ค ือ โวลต ์ (V) ซึ่งหมายถึงงาน 1 จูล (J) ที่ใช ้ ในการเคล ื่อนประจ ุ 1 C ผา่นศักย ์ไฟฟ้า 1 V

เน ื่องจาก 1 N/C=1 V/m เราอาจให้ค ำาจ ำากดัความของสนามไฟฟ้าว ่าค ือค ่าอ ัตราการเปล ีย่นศ ักย ์ไฟฟ้าต ่อหนึ่งหน ่วยระยะทาง

Page 6: พลังงานไฟฟ้า

6

ความต่างศ ักยใ์นสนามไฟฟ้าสม ำ่าเสมอความต่างศ ักยใ์นสนามไฟฟ้าสม ำ่าเสมอในบริเวณที่สนามไฟฟ้าม ีค ่าสม ำ่าเสมอความตา่งศ ักย ์ระหว ่างจ ุด A และ B จะมรี ูป

แบบง ่ายๆ ดังน ี้ B

B A AV - V =ΔV = - d×∫ E s

P

PV = - d∞

×∫ E s

ถ้าจ ุด A อยู่ไกลมากเปน็อนันต ์โดยมีศ ักย ์ไฟฟ้าเปน็ศ ูนย ์ ศ ักย ์ไฟฟ้า ของจุด P ใดๆ จะมีคา่เปน็

ความต่างศ ักย ์ระหว ่างแผ่นขนานของตัวเกบ็ประจ ุท ีห่ ่าง กนัเป ็นระยะ d จะมีค ่าเป ็น

B

AΔV = - d×∫ E s

d

0= Eds∫

d

0= -Ε ds∫ = -Ed

Page 7: พลังงานไฟฟ้า

7

ผิวสมผิวสมศักย ์ศ ักย ์

ผิวสมศกัย ์ (equipotential surface) คือผ ิวท ีม่ ีศ ักย ์

ไฟฟ้าเท ่ากนัในทุกๆ จ ุดของผวิ

ดังแสดงในรปู จดุ B จะมศีกัยไ์ฟฟา้ต ำ่ากว ่าจ ุด A แต่ จ ุด C จะมศีกัยไ์ฟฟา้เท ่ากบัจดุ B

ผิวหร ือระนาบที่บรรจ ุจ ุด B และจ ุด C จะเป ็นผ ิวสมศักย ์

ผิวสมศักยจ์ะต ั้งฉากกับเส ้นสนามไฟฟ้าท ีผ่ ่านผวิเสมอ

Page 8: พลังงานไฟฟ้า

8

ตัวอย ่างผวิสมศักย ์จากประจ ุชน ิดต ่างๆต ัวอย ่างผวิสมศักย ์จากประจ ุชน ิดต ่างๆ

แผ่นประจ ุขนาดอนันต ์

ประจ ุจ ุด

ขั้วค ู่ไฟฟา้

Page 9: พลังงานไฟฟ้า

9

ตัวอย ่างท ี ่ตัวอย ่างท ี่11

a. การเปล ีย่นค ่าของศ ักย ์ไฟฟ้าระหว ่าง

จุด A และ B

อนุภาคโปรตอนเคล ื่อนทีจ่ากหยุดน ิ่งใน บริเวณทีม่ ีสนามไฟฟ้าสม ำ่าเสมอ ขนาด

0.8x104 V ดังร ูป ถ ้าโปรตอนเคล ือ่นทีด่ ้วย การกระจ ัด 0.5 m ในทศิของสนามไฟฟ้า

จงหา

c. อตัราเร ็วปลายของโปรตอนในการเคล ือ่นที่

b. การเปล ี่ยนค่าของพลงังานศักย ์ไฟฟ้าของระบบในการเคล ื่อนที่ของอนุภาค

Page 10: พลังงานไฟฟ้า

10

a. จาก

( ) ( )4 48.0 10 / 0.5 40 10 V Ed x V m m x V∆ = − = − = −

ว ิธ ีว ิธ ีท ำาท ำา

b. จาก

เป ็นลบแสดงว ่าจ ุด B มีศ ักย ์ ไฟฟ้าต ำ่ากว ่าจ ุด A

V∆

( ) ( )19 40 1.6 10 4.0 10U q V x C x V−∆ = ∆ = −

0K U∆ + ∆ =

เป ็นลบแสดงว ่าพลงังานศักย ์ของระบบลดลงขณะทีพ่ล ังงานจลน์ของระบบเพิ่มข ึ้น

U∆

c. เน ือ่งจากระบบเป ็นเอกเทศ พลงังานกลของระบบย่อมม ีค ่าคงต ัว หร ือ

156.4 10 x J−= −

210 0

2mv e V

⇒ − + ∆ = ÷

( ) ( )19 4

27

2 1.6 10 4.0 102

1.67 10

x C x Ve Vv

m x kg

− −− ∆= = 62.8 10 /x m s=

Page 11: พลังงานไฟฟ้า

11

ศักย ์ไฟฟ้าจากศักย ์ไฟฟ้าจากประจ ุจ ุดประจ ุจ ุด เราสามารถหาค่าศ ักย ์ไฟฟ้าจากประจ ุจ ุดได ้โดยการพิจารณาร ูปทางขวาสนามไฟฟ้าจะม ีท ิศออกจากประจ ุในแนวร ัศม ี

และม ีความต ่างศกัย ์ระหว ่างจ ุด A และ B เปน็

B A eB A

1 1V -V = k q -

r r

e

qV = k

r⇒

เน ือ่งจากศักย ์ไฟฟ้าไม ่ข ึ้นกบัเสน้ทาง เราจงึสามารถกำาหนด ให้ศ ักย ์ท ี่จ ุดอ ้างอ ิงม ีค ่าเป ็นศ ูนย ์ หร ือ ท ี่

V = 0 Ar = ∞

ศักย ์ไฟฟ้าเปน็ฟังก ์ช ันของ 1/r

Page 12: พลังงานไฟฟ้า

12

ศักย ์ไฟฟ้าจากระบบประจ ุจ ุดศ ักย ์ไฟฟ้าจากระบบประจ ุจ ุดศกัย ์ไฟฟ้าจากระบบประจ ุจะเป ็นผลรวม

ของศกัย ์ท ี่เก ิดจากแตล่ะประจ ุ หร ือ

ie

i i

qV = k

r∑

ในกรณขีองขั้วค ู่ไฟฟ้า ศ ักย ์ไฟฟ้าจะม ีล ักษณะดังร ูป

ความชันของศ ักย ์ไฟฟ้าท ีม่ ีค ่าส ูงระหว ่างประจ ุท ัง้สอง แสดงให้เห ็นว ่าสนามไฟฟ้าในบร ิเวณนี้ม ีคา่สงู

V = 0 ณ r = ∞

( คิดจาก )

Page 13: พลังงานไฟฟ้า

13

ศักยไ์ฟฟา้จากคู่ศ ักยไ์ฟฟา้จากคู่ข ัว้ไฟฟ้าข ัว้ไฟฟ้า ศกัย ์ไฟฟ้าเน ื่องจากขั้วค ู่ไฟฟ้า ณ จุด P ตามร ูปจะหาค่าได ้จาก

P

-q+q

r 1 -r 2

θθ

r1

r2

r

d

ie

i i

qV = k

r∑

2 1p e e

1 2 1 2

r - rq qV = k = k q

r r r r

− ÷ ÷

เน ือ่งจาก เราจะได้ และr >> d2 1 cosr r d− ≈ θ 2

1 2r r r≈

2 2 2

ˆcos cos p e e e

d p p rV k q k k

r r r

θ θ ×⇒ ≈ = =v

Page 14: พลังงานไฟฟ้า

14

พลังงานศักยไ์ฟฟ้าจากพลังงานศักยไ์ฟฟ้าจากระบบประจ ุจ ุดระบบประจ ุจ ุด ถ้าระบบประกอบด้วยประจ ุ

2 ประจ ุด ังร ูป พล ังงานศักย ์ไฟฟ้าของระบบจะมีค ่าเป ็น

1 2e

12

q qU = k

r

ถา้ประจทุ ัง้สองเป ็นประจ ุชนิดเดยีวก ัน พลงังานศกัย ์ไฟฟ้าจะมีค ่าเป ็นบวก และระบบจะตอ้งท ำางานเพื่อรกัษาให้ประจ ุท ัง้สองอยู่ดว้ยก ัน

ถา้ประจ ุท ัง้สองเปน็ประจ ุต ่างชนิด พล ังงานศักย ์ไฟฟ้าจะม ีเป ็นลบและระบบตอ้งท ำางานเพ ือ่แยกประจ ุท ัง้สองออกจากกัน

Page 15: พลังงานไฟฟ้า

15

1 3 2 31 2e

12 13 23

q q q qq qU = k + +

r r r

÷

พลงังานศกัยไ์ฟฟ้าของระบบประจ ุ3 ประจ ุ จะเป ็นผลบวกของพลงังาน

ศกัยไ์ฟฟ้าของแต่ละค ู่ หรอื

พลังงานศักยไ์ฟฟา้จากระบบพลังงานศักยไ์ฟฟา้จากระบบ ประจ ุจ ุด ประจ ุจ ุด 3 3 ประจ ุประจ ุ

Page 16: พลังงานไฟฟ้า

16

ตัวอย ่างท ี ่ตัวอย ่างท ี่ 22 μC ถ้าประจ ุ q1=2.0 อยู่ท ี่จ ุด กำาเน ิดของระนาบ XY และ q2=-

6.0 อยู่ท ี่ต ำาแหนง่ (0,3.0)m จงหา

μC

μC

a. ศกัย ์ไฟฟ้าเน ือ่งจากประจ ุท ัง้ 2 จุด ท ีจ่ ุด P ซึ่งม ีพ ิก ัด (4.0,0)m

b. พลังงานศักย ์ไฟฟ้าท ี่เปล ีย่นไป ของระบบเม ื่อน ำาประจ ุ q3=3.0

จากระยะอนันต ์มาย ังจดุ P

c. พลังงานศักย ์ไฟฟ้าของประจ ุท ัง้สาม

Page 17: พลังงานไฟฟ้า

17

ว ิธ ีท ำา

1 2

1 2

ie e

i

q q qV k k

r r r

= = + ÷

( )6 6

9 2 2 2.0 10 6.0 10 8.99 10 /

4.0 5.0 p

x C x CV x N m C

m m

− − ∴ = × − ÷

36.29 10 x V= −

ก) จาก

f iU U U∆ = −ข) จาก

( )0 i iU r= = ∞Q ในที่น ี้และ

3f pU q V=

( ) ( )6 33 0 3.0 10 6.29 10 0pU q V x C x V−∆ = − = − −ดัง

น ั้น 21.89 10 x J−= −

Page 18: พลังงานไฟฟ้า

18

1 3 2 31 2

12 13 23e

q q q qq qU k

r r r

= + + ÷

ค) จาก

25.48 10 x J−= −

( ) ( ) ( )

( ) ( ) ( ) ( )

6 6

9 2 2

6 6 6 6

2.0 10 6.0 108.99 10 /

3.0

2.0 10 3.0 10 3.0 10 6.0 10

4.0 5.0

x C x Cx N m C

m

x C x C x C x C

m m

− −

− − − −

= ×

−+ +

Page 19: พลังงานไฟฟ้า

19

การหาค่าสนามไฟฟ้าจากศักย ์ไฟฟ้าการหาค่าสนามไฟฟ้าจากศักย ์ไฟฟ้า ถ้าศกัย ์ไฟฟ้าเป ็นฟังก ์ช ันของ x,y,z จะหาค่าของสนามไฟฟ้าได ้จากสมการ

E = - V∇v v

x y z

V V VE = - E = - E = -

x y z

∂ ∂ ∂∂ ∂ ∂, ,

องคป์ระกอบของสนามไฟฟา้ในแนวแกน x,y,z จะหาคา่ไดจ้ากอนพุนัธ ์ยอ่ย (partial

derivatives) ของสนามไฟฟา้ หรอื

V V V= - i j k

x y zˆˆ ˆ ∂ ∂ ∂+ + ∂ ∂ ∂

Page 20: พลังงานไฟฟ้า

20

ศักย ์ไฟฟ้าจากประจ ุท ีก่ระจายอยา่งต ่อศ ักย ์ไฟฟ้าจากประจ ุท ีก่ระจายอยา่งต ่อเน ื่องเน ื่องถ้า dq คือประจ ุขนาดเล ็กๆในว ัตถ ุท ี่ม ีการกระจายของ

ประจ ุอย ่างตอ่เน ื่องด ังร ูปศ ักย ์ไฟฟ้าของประจ ุน ี้จะม ีค ่าเป ็น e

dqdV = k

rศกัยไ์ฟฟา้รวมเน ือ่งจากประจทุ ั้งหมดจะหาไดโ้ดยการ

หาปร ิพนัธต์ลอดทั้งปร ิมาตรของวตัถ ุ หร ือ

e

dqV = k

r∫สมการนีค้ ิดจาก V=0 ณ ระยะอนันต ์

Page 21: พลังงานไฟฟ้า

21

ศักย ์ไฟฟ้าจากประจ ุท ีก่ระจายในศักย ์ไฟฟ้าจากประจ ุท ีก่ระจายในวงแหวนวงแหวนถ้าประจ ุ Q กระจายอย่างตอ่เน ื่องใน

วงแหวนที่ม ีร ัศม ี a ศักย ์ไฟฟ้า ณ จดุ P ซึ่ง อยู่ห ่างจากวงแหวนเป ็นระยะ x ในแนว

แกนที่ต ั้งฉากกับจ ุดศ ูนย ์กลางของวงแหวนจะมีค ่าเป ็น

( )eV = k

2 2 2 2

2e

πa k Qλx a x a

=+ +

e

dqV = k

r 2 2e

dlkλ

x a=

+∫∫

Page 22: พลังงานไฟฟ้า

22

ตัวอยา่ง ตัวอยา่ง33

2 2e e

dq dxdV k k

r x a

λ= =+

เส ้นประจ ุความยาว l มี ประจ ุ Q และความหนา

แน่นของประจ ุเช ิงเส ้น จงหาศ ักย ์ไฟฟ้าท ีจ่ ุด P

ซึ่งอย ู่บนแกน Y ห่างจาก จุดก ำาเน ิดเป ็นระยะ a ดัง

ร ูปว ิธ ีท ำา

ในความยาวของเส ้นประจ ุ dx จะมีประจ ุเป ็น

dq dxλ=

เน ือ่งจากจ ุด P อยู่ห ่างจากประจ ุ dq เป ็นระยะ ดังน ั้นค ่า

ศกัย ์ไฟฟ้าท ี่จ ุด P เน ื่องจากประจ ุ dq จะมีค ่าเป ็น

2 2r x a= +

Page 23: พลังงานไฟฟ้า

23

( )2 2

2 2ln

dxx x a

x a= + +

+∫Q

( ) ( )2 2 2ln ln 0 0e

QV k l l a a

l ⇒ = + + − + +

2 2

lne

Q l l aV k

l a

+ += ÷ ÷

2 2 2 20 0

l l

e e

dx Q dxV dV k k

lx a x aλ∴ = = =

+ +∫ ∫ ∫

ศักย ์ไฟฟ้าท ั้งหมดจะม ีคา่เปน็

Page 24: พลังงานไฟฟ้า

24

ตวัอย ่าตวัอย ่า ง ง 44

Qr qR

1 2

1 2e e

q qV k k

r r= =

ว ิธ ีท ำา

เน ือ่งจากทรงกลมทั้งสองเช ื่อมตอ่ก ันด ้วยลวดตัวน ำาศ ักย ์ไฟฟ้าท ี่ผวิของทรงกลมทัง้สองจะเท ่าก ันหร ือ

ทรงกลมตัวน ำา 2 อัน ซึ่งม ีประจ ุ และ มีร ัศม ีเป ็น

และ ตามลำาด ับต ่อเช ื่อมถ ึงก ัน ด้วยลวดตวัน ำาด ังร ูป ถ ้าทรงกลมทั้ง สองอยู่ห ่างก ันมากๆ และประจ ุ

กระจายในทรงกลมอย่างสมำ่าเสมอจงหาอตัราส ่วนของขนาดของสนามไฟฟ้าท ี่ผวิของทรงกลม

Q q

R r

( ) 1Q R

q r⇒ =

Page 25: พลังงานไฟฟ้า

25

เน ือ่งจากทรงกลมอยู่ห ่างก ันมากและประจ ุ กระจายอย่างสมำ่าเสมอบนผิวทรงกลม

ขนาดของสนามไฟฟ้าท ี่ผวิของทรงกลมจะมีค ่าเป ็น1 2e

QE k

R= ( )2 2

2e

qE k

r= ⇒แล

ะ เม ื่อแทนค่า (1) ใน

(2) จะได2้

12 2 2 2 2

2

/ / /

/ / /

E kQ R Q q R r r

E kq r R r R r R= = = =

แสดงว ่าประจทุ ี่ม ีขนาดเล ็กกว ่าจะม ีสนามไฟฟ้าส ูงกว ่าหร ือม ีประจ ุมากกว ่าซ ึ่งเป ็นหลกัการที่ใช ้ในสายลอ่ฟ้า

2 1

RE E

r⇒ =

Page 26: พลังงานไฟฟ้า

26

ศักย ์ไฟฟ้าเน ื่องจากศักย ์ไฟฟ้าเน ื่องจากตัวน ำาประจ ุต ัวน ำาประจ ุ จากกฎของเกาสเ์ราไดท้ราบแลว้วา่ถ ้ามปีระจ ุในตวัน ำา ประจ ุจะกระจายอยูท่ ี่ผ ิวโดยไมม่ปีระจ ุอย ูภ่ายในตวัน ำาเลย

สนามไฟฟา้ ณ ทกุๆ จดุของผวิตวัน ำาจะมทีศิต ัง้ฉากกบัผวิเสมอ

ดังน ั้นถ ้าเคล ื่อนประจ ุบนผิวจากจุดหนึ่ง ( เช ่นจ ุด A ) สู่อ ีกจ ุดหนึ่ง ( เช ่นจ ุด B) จะได้

( )0 d d× = ⊥QE s E sแสดงว ่าค ่าความต่างศ ักย ์บนผิวของตัวน ำาเปน็ศ ูนย ์หร ือผ ิวของตัวน ำาเป ็นผ ิวสมศักย ์

เน ื่องจากสนามไฟฟ้าภายในตัวนำาเป ็นศ ูนย ์ เราจ ึงสรปุว ่าศ ักยไ์ฟฟ้าจะม ีค ่า คงตัวในทกุๆ จ ุดภายในตัวนำาและเท ่าก ับค ่าท ี่ผวิของตัวน ำา

Page 27: พลังงานไฟฟ้า

27

กราฟของ E และ V บนตัวน ำาประจ ุทรงกลม

e

qV = k

r ÷ Q

2e

qE k

r = ÷ Q

ศักย ์ไฟฟ้าจะม ีคา่คงต ัวภายในตัวน ำาและเปน็ฟ ังก ์ช ันของส ่วนกลับของระยะทางภายนอกตัวน ำา

สนามไฟฟ้าจะม ีค ่าเป ็นศ ูนย ์ภายในตัวน ำาและเป ็นฟังก ์ช ันของส่วนกล ับของระยะทางยกกำาล ังสองภายนอกตัวน ำา

Page 28: พลังงานไฟฟ้า

28

0B

B A AV V d− = − × =∫ E s

สนามไฟฟา้ในโพรงของสนามไฟฟา้ในโพรงของตัวน ำาประจ ุต ัวน ำาประจ ุ

ถ้าไม ่ม ีประจ ุภายในโพรงของต ัวน ำาจะไม ่ม ีสนามไฟฟ้าภายในโพรง

ความตา่งศ ักย ์ระหว ่างจ ุด A และ B ในทกุเส ้นทางจะม ีค ่าเป ็นศ ูนย ์

ถ้าเก ิดฟ้าผ ่ารถยนต์ผ ูโ้ดยสารจะปลอดภัยเพราะอยู่ในโพรงที่ไม ่ม ี ความตา่งศ ักย ์

Page 29: พลังงานไฟฟ้า

29

การทดลองหยดนำ้ามนัการทดลองหยดนำ้ามนัของม ิลล ิแกนของมิลล ิแกนRobert Millikan ได ้ทดลองหาประจขุองอ ิเล ็กตรอนโดยอาศัยหยดนำ้าม ันโดยใช้อ ุปกรณ์การทดลองด ังร ูป

หยดนำ้าม ันจะถ ูกปล ่อยผ่านร ูเล ็กๆ บนแผ่นโลหะให้เคล ื่อนที่ลงในแนวดิ่ง

Page 30: พลังงานไฟฟ้า

30

ในกรณีท ี่ไม ่ม ีสนามไฟฟ้าหยดนำ้าม ันจะเคล ื่อนที่ ลงด้วยความเร ่ง g ในตอนต้นและเข ้าส ู่ความเร ็ว

ปลาย เม ื่อแรงต ้านของอากาศ (FD) เทา่ก ับแรงโน้มถ ่วง (mg)

ถ้าท ำาให ้เก ิดสนามไฟฟ้าระหว ่างแผ่นโลหะ จะทำาให ้หยดนำ้าม ันสามารถเคล ื่อนที่ข ึ้นในแนวดิ่ง เน ื่องจากแรงไฟฟ้า (qE) จนเข้าส ู่ความเร ็วปลาย

การฉายด้วยแสงจะชว่ยใหส้งัเกตเหน็หยดนำ้ามนั ด้วยกลอ้งโทรทศัน ์ ซ ึ่งจะท ำาให ้สามารถวดั

ความเร ็วของหยดนำ้ามนัได ้

Page 31: พลังงานไฟฟ้า

31

การปิด-เปดิสนามไฟฟา้ในอปุกรณจ์ะท ำาใหห้ยดนำ้ามนัเคล ื่อนทีข่ ึน้ลงและ สามารถว ัดความเรว็ของหยดนำ้ามนัในเวลานานๆ ได ้หลายคร ั้ง

เน ื่องจากอากาศในบรเิวณการเคลื่อนที่ของหยดนำ้าม ันถกูไอโอไนซ์ด ้วยร ังสเีอกซ์จะท ำาให้ม ี

อิเล ็กตรอนอิสระเข ้าไปเกาะหยดนำ้าม ัน จ ึงท ำาให้หยดนำ้าม ันม ีประจ ุลบด้วยจ ำานวนประจุท ี่แตกต่างกนั

จากการทดลองพบว่าหยดนำ้าม ันม ีประจ ุเป ็นจ ำานวนเท ่าของประจ ุอ ิเล ็กตรอน

, 1, 2,3,...q ne n= =

Page 32: พลังงานไฟฟ้า

32

อุปกรณ์ท ี่ประยกุต ์ใช ้หล ักอ ุปกรณ์ท ี่ประยกุต ์ใช ้หล ักการทางไฟฟา้สถิตการทางไฟฟา้สถิต

เคร ือ่งเรง่อนภุาค

เคร ื่องฟอกไอเส ีย เคร ือ่งถา่ยเอกสาร

Page 33: พลังงานไฟฟ้า

33

ความจุความจ ุไฟฟ้าไฟฟ้า

ในอปุกรณ์ไฟฟ้าม ักจะม ีวงจรซึ่งม ีตวัเก ็บ ประจ ุเป ็นส ่วนประกอบ เช่น เคร ื่องร ับว ิทย ุ

และเคร ื่องกรองแหล่งก ำาเนดิพลงังานไฟฟ้าเป ็นต ้น

ตัวเก ็บประจ ุจะท ำาหน้าท ี่สะสมประจ ุไฟฟ้าโดยตัวเก ็บประจ ุท ี่ม ีคา่ความ จุไฟฟ้า (capacitance) สูงจะสามารถสะสมประจ ุไฟฟ้าได ้ด ี

ความจุไฟฟ้าของตัวเก ็บประจ ุ คอือ ัตราส ่วนระหว่างจ ำานวนประจุต ่อ ความต่างศ ักยร์ะหว ่างต ัวเก ็บประจ ุ หร ือ

“ มีหนว่ยเป ็น ฟาร ัด (farad, F) ”Q

C =ΔV

Page 34: พลังงานไฟฟ้า

34

สว่นประกอบของตัวสว่นประกอบของตัวเก ็บประจ ุเก ็บประจ ุตัวเก ็บประจปุระกอบด้วย

ตัวน ำา 2 ตัว ซึ่งม ีประจขุนาดเทา่ก ันแตเ่ป ็นชนิดตรงก ัน

ข้าม ดังร ูป เน ือ่งจากประจ ุในตวัน ำาเป ็นชนดิตรงกนัข ้ามจะทำาให้เกดิความตา่งศ ักย ์ระหว ่างต ัวน ำาท ั้งสอง

ค่าความจ ุไฟฟ้าของต ัวเก ็บประจ ุจะเป ็นค ่าคงต ัวและมีค ่าบวกเสมอ

Page 35: พลังงานไฟฟ้า

35

ตัวเก ็บประจ ุแบบตัวเก ็บประจ ุแบบแผ่นขนานแผ่นขนาน

ตวัเก ็บประจ ุแบบแผ่นขนาน ประกอบด้วยแผ่นขนาน 2

แผ่นตอ่เข ้าก ับข ั้วของแบตเตอร ี่ด ังร ูป

ตอนแรกตวัเกบ็ประจ ุย ังไมม่ ีประจ ุแต ่เม ือ่ต ่อ เขา้ข ัว้ของแบตเตอร ี่ แบตเตอร ี่จะสร ้างสนาม

ไฟฟ้าข ึน้ในเสน้ลวดที่น ำามาต ่อ

สนามไฟฟ้าด ังกล ่าวจะทำาให ้เก ิดแรงข ับอ ิเล ็กตรอนจากเส ้นลวดให้เคล ื่อนที่ไปย ังข ั้วลบของแผ่นขนาน

Page 36: พลังงานไฟฟ้า

36

การไหลของอ ิเลก็ตรอนจะด ำาเน ินต ่อไปจนกระทัง่เกดิภาวะสมดุลของศกัย ์ ไฟฟ้าข ึน้ระหว ่างแผน่ขนาน เสน้ลวดและข ัว้ของแบตเตอร ี่ ซ ึง่ในขณะนั้นแผน่

ขนานทางขวาจะมปีระจ ุลบ

กระบวนการคล้ายก ันจะเก ิดข ึ้นก ับแผน่ขนานทางซ้ายโดยอิเลก็ตรอนจะเคล ือ่นที่ออกจากแผน่จ ึงกลายเป ็นแผ่นที่ม ีประจ ุบวก

ในภาวะสมดุลของประจ ุ ความต ่างศ ักย ์ระหว ่างแผน่ขนานจะม ีค ่าเท ่ากบัความต ่างศ ักย ์ระหว ่างข ั้วของแบตเตอร ี่

คา่ความจุไฟฟ้าของต ัวเก ็บคา่ความจุไฟฟ้าของต ัวเก ็บประจ ุแบบแผ่นขนานประจ ุแบบแผ่นขนาน

QC =

ΔV

Q=Ed ( )o

Q=Q/ε A d

ค่าความจไุฟฟ้าของต ัวเกบ็ประจ ุแผน่ขนานจะแปรผันก ับพื้นท ี่ของแผ่นและแปรผกผนักบัระยะห่างระหวา่งแผน่

oε A=d

Page 37: พลังงานไฟฟ้า

37

คา่ความจุไฟฟ้าในตัวเก ็บประจ ุคา่ความจุไฟฟ้าในตัวเก ็บประจ ุทรงกระบอกซ้อนกันทรงกระบอกซ้อนกันสำาหร ับตวัเก ็บประจ ุทรงกระบอกซ้อนกันทีม่ ีร ัศม ีของ

ทรงกระบอกตนัภายในเป ็น a และทรงกระบอกกลวง

ภายนอกเป ็น b ดังร ูป จะม ี

QC =

ΔV

ดงัน ัน้จะมคีา่ความจุไฟฟา้ เปน็

2 ln ( / )eV k b aλ∆ =

2 / eE k rλ=

( )lne

l=2k b/a

Page 38: พลังงานไฟฟ้า

38

ตัวเก ็บประจ ุแบบทรงกลมซ้อนกันต ัวเก ็บประจ ุแบบทรงกลมซ้อนกันตวัเกบ็ประจ ุแบบทรงกลมซ้อนกันจะม ีทรงกลมในเป ็น

ทรงกลมตันร ัศม ี a และทรงกลมนอกเป ็นทรงกลมกลวง

ร ัศม ี b ดังร ูปe

1 1ΔV = k Q -

b a ÷

( )e

Q abC = =

ΔV k b - a

เน ื่องจากความต่างศ ักยข์องทรงกลมทั้งสองค ือ

ดงัน ัน้คา่ความจไุฟฟา้ของตวัเก ็บประจ ุจะมคีา่เปน็

ถ้า b เปน็อนนัต ์ จะได้คา่ความจุไฟฟ้าของทรงกลมที่อย ู่โดดเด ี่ยวเปน็ ฟังก ์ชนัของขนาดทรงกลม หร ือ

e

abC =

k= 04πε a

b

Page 39: พลังงานไฟฟ้า

39

การต่อต ัวเก ็บประจ ุการต ่อต ัวเก ็บประจ ุแบบขนานแบบขนาน

ในวงจรไฟฟ้าอาจมีต ัวเก ็บ ประจ ุอย ู่หลายตัว ซึ่งอาจต ่อ

ก ันอยู่แบบอนุกรมหร ือแบบขนาน

ในกรณีของการต่อแบบขนานจะมีล ักษณะดังรปู

อิเล ็กตรอนจากแผ่นทางซ้ายของตวัเก ็บ ประจ ุจะ เคล ือ่นที่ผ ่านแบตเตอร ี่ไปย ังแผ ่น

ทางขวาซึง่ท ำาใหแ้ผ ่นทางซ้ายม ีประจ ุบวกสว่นแผ่นทางขวาม ีประจ ุลบ

การไหลของประจ ุจะหยุดเม ื่อความต่างศ ักย ์ของแผ่นประจ ุเท ่าก ับความต่าง ศักย ์ของแบตเตอร ี่ ในขณะนั้นต ัวเก ็บประจ ุม ีจ ำานวนประจ ุส ูงส ุด

Page 40: พลังงานไฟฟ้า

40

การต ่อต ัวเก ็บประจ ุแบบการต ่อต ัวเก ็บประจ ุแบบ ขนาน ขนาน ((ตอ่ตอ่))

จ ำานวนประจรุวมจะเทา่กบัผลรวมของประจ ุในแตล่ะแผ่นหรอื

Qtotal= Q1+Q2

วงจรทางขวาจะสมมลูก ับวงจรทางซ้าย

1 2= ...eqC C C+ +

ความตา่งศกัยร์ะหวา่งแผ่นของตวัเก ็บประจ ุแตล่ะตวัจะมคีา่เท ่าก ันซ ึง่ตา่งก ็เทา่ก ับคา่ความตา่งศกัยข์องแบตเตอร ี่

ความจุไฟฟา้รวมค ือ

Page 41: พลังงานไฟฟ้า

41

การต่อต ัวเก ็บประจ ุการต ่อต ัวเก ็บประจ ุแบบอนุกรมแบบอนุกรม

การตอ่ตวัเก ็บประจ ุแบบอนุกรมจะม ีลกัษณะดังร ูป

ประจ ุลบจ ำานวนเทา่กนัจะเคล ื่อนท ี่ออกจากแผ่นทาง ซ้ายของ C2 ทำาให ้แผ ่นทางซ้ายของ C2 มปีระจ ุเปน็บวก

และแผ่นทางขวาของ C1 เปน็ลบ

อิเล ็กตรอนจากแผ่นทางซ้ายของ C1 จะเคลื่อนที่ไปยังแผ่นทางขวาของ C2 โดยผ่าน แบตเตอร ี่ ท ำาใหแ้ผ ่นทางขวาของ C2มีประจ ุเปน็ลบ

ทกุแผ่นทางขวาของแตล่ะตวัเก ็บประจ ุจะม ี ประจเุปน็ -Q และทกุแผ่นทางซา้ยจะมปีระจ ุ

เปน็ +Q

Page 42: พลังงานไฟฟ้า

42

การต่อต ัวเก ็บประจ ุแบบการต่อต ัวเก ็บประจ ุแบบ อนุกรม อนุกรม ((ต่อต ่อ))

1 2Q Q Q= =

1 2

eq 1 2

Q QQ= +

C C C

1 2 ...V V V∆ = + +

ดังน ัน้จะได ้

ประจ ุรวมจะเท ่ากบัประจ ุในแต่ละต ัวและความต่างศ ักย ์รวมจะเท ่ากบัผลรวมของความต่างศ ักย ์แต ่ละต ัว

วงจรของการตอ่ต ัวเกบ็ประจ ุสามารถแทนด้วยวงจรที่สมม ูลกนัด ังร ูป

1 2

1 1 1= + …

C C C⇒

Page 43: พลังงานไฟฟ้า

43

พลังงานที่สะสมในพลังงานที่สะสมในตัวเก ็บประจ ุต ัวเก ็บประจ ุ

ในการอ ัดประจใุห ้ก ับตวัเก ็บประจ ุน ั้นเราต ้องท ำางานในการเคล ือ่นประจ ุจากแผ่นหนึ่งส ู่อกีแผ ่นหนึ่งม ีค ่าเป ็นqdW =ΔVdq = dq

C2Q

0

q QW = dq =

C 2C∫งานทั้งหมดที่ต ้องใช้ค ือ

งานดังกล ่าวจะสะสมในร ูปของพลังงานศักย ์ของต ัวเก ็บประจ ุ

22Q 1 1

U = = QΔV = C(ΔV)2C 2 2

จะเหน็ไดว้า่พล ังงานศกัยน์ ี้จะมคีา่เพ ิม่ข ึน้เม ือ่จ ำานวนประจ ุเพ ิม่ข ึน้หรอืเม ือ่คา่ความต่างศกัยเ์พ ิม่ข ึน้

Page 44: พลังงานไฟฟ้า

44

ในกรณีของตวัเก ็บประจ ุแบบแผน่ขนานเราอาจมองว ่าพล ังงานดังกล ่าวสะสมอยู่

ในร ูปของสนามไฟฟ้าซึ่งม ีค ่าเป ็น21

( )2 oU Ad Eε=

21

2E ou Eε=

ถา้เขยีนในร ูปความหนาแนน่พล ังงานจะได ้

พลังงานที่สะสมในตัวพล ังงานที่สะสมในตัว เก ็บประจ ุเก ็บประจ ุ ((ต่อต ่อ ))

Page 45: พลังงานไฟฟ้า

45

ตัวเก ็บประจ ุก ับสารต ัวเก ็บประจ ุก ับสารไดอ ิเล ็กทร ิกไดอ ิเล ็กทร ิกสารไดอเิลก็ทร ิกเช ่นยางและพลาสตกิเป ็นว ัสด ุท ี่ไม ่น ำาไฟฟ้าซึ่งเม ื่อบรรจ ุไว ้ระหว ่างแผน่ของต ัวเก ็บประจจุะท ำาให ้ค ่าความจ ุไฟฟ้าของต ัวเก ็บประจ ุเพ ิ่มข ึ้น

( )/o oC kC k A dε= =

สารไดอิเล ็กทร ิกจะชว่ยทำาใหค้า่ความต่างศ ักย ์ของตัวเก ็บประจสุ ูงข ึ้น

ในกรณีของตัวเก ็บประจ ุแบบแผ่นขนาน ความจุไฟฟ้าจะมีคา่เปน็

จะเหน็ไดว้า่เม ือ่บรรจ ุสารไดอเิลก็ทรกิไวใ้นตวัเก ็บประจจุะท ำาใหค้า่ความจุ ไฟฟา้เพ ิม่ข ึน้ดว้ยแฟคเตอรข์องคา่คงต ัวไดอเิลก็ทรกิ k

Page 46: พลังงานไฟฟ้า

46

ตารางคา่ตารางคา่คงต ัวคงต ัวไดอ ิเล ็กไดอ ิเล ็กทร ิกทร ิกของสารของสาร

Page 47: พลังงานไฟฟ้า

47

โพลาไรเซซันในสารโพลาไรเซซันในสารไดอิเล ็กทร ิกไดอ ิเล ็กทร ิก

โมเลก ุลของสารไดอิเล ็กทร ิกน ั้นจะม ีล ักษณะเป ็นไดโพล (dipole) ดังร ูป

ไดโพลเหล ่าน ีจ้ะไมว่างต ัวเป ็นระเบ ียบเม ือ่ไมอ่ย ู่ ในบร ิเวณทีม่สีนามไฟฟา้

เม ื่อให ้สนามไฟฟ้าก ับโมเลก ุลของสารไดอเิล ็กทร ิกจะทำาให ้โมเลก ุลวางต ัวไปตามทิศของสนามไฟฟ้าได ้

บางส ่วนซึ่งเร ียกว ่าเก ิดโพลาไรเซชัน (polarization)

Page 48: พลังงานไฟฟ้า

48

ระด ับของโพลาไรเซชันของโมเลก ุลตามทศิสนามไฟฟ้าจะขึ้นอย ู่ก ับอ ุณหภูม ิและขนาดของสนามไฟฟ้า

โมเลก ุลจะม ีโพลาไรเซชันส ูงเม ื่ออ ุณหภูม ิลด ลง และเม ื่อขนาดของสนามไฟฟ้าเพ ิ่มข ึ้น

ถงึแมโ้มเลกลุของสารไดอเิลก็ทรกิเปน็แบบไม ่มขี ัว้(nonpolar molecule) เม ือ่ใหส้นามไฟฟ้ากบัสารจะเหนี่ยวน ำาใหเ้กดิการแยกตวัระหวา่งประจตุ ่างชนดิกนั

การเหนีย่วน ำาด ังกล ่าวจะทำาให ้เกดิโมเมนต์ข ัว้ค ู่ไฟฟ้าข ึ้นมาซึ่งจะท ำาให ้โมเลกลุเกดิโพลาไรเซชันเช ่นเด ียวกนั

โพลาไรเซซันโพลาไรเซซันในสารไดในสารไดอิเล ็กทร ิกอ ิเล ็กทร ิก ((ต่อต ่อ ))

Page 49: พลังงานไฟฟ้า

49

สนามไฟฟ้าเหนี่ยวน ำาในตัวเก ็บสนามไฟฟ้าเหนี่ยวน ำาในตัวเก ็บประจ ุแผ ่นขนานประจ ุแผ ่นขนานทีม่ ีสารไดอ ิเล ็กทร ิกท ีม่ ีสารไดอ ิเล ็กทร ิก เม ื่อบรรจ ุสารไดอเิล ็กทร ิกในตัวเก ็บประจ ุแบบแผ่นขนานจะเก ิดสนาม

ไฟฟ้า ในระหว ่างแผ่นซึ่งม ีทศิไปทางขวาดังร ูป

0E

สนามไฟฟา้น ีจ้ะโพลาไรซ์สารไดอ ิเล ็กทรกิซ ึ่งเหนีย่วน ำาให้เกดิความ

หนาแน่นประจบุวก ขึ้นทางขอบขวามอืของสารไดอ ิเล ็กทร ิกและเกดิ

ความหนาแนน่ประจ ุ ข ึ้นทางขอบซา้ยดังร ูป

indσ

indσ−

Page 50: พลังงานไฟฟ้า

50

ประจทุ ี่ถ ูกเหนี่ยวน ำาข ึ้นน ี้จะท ำาให ้เก ิด สนามไฟฟ้าเหนี่ยวน ำา ข ึ้นในตวัเกบ็

ประจซุ ึ่งม ีทศิทางตรงข้ามกบั

indE

0E

สนามไฟฟ้ารวมของตวัเกบ็ประจ ุจะลดลงและทำาให้ต ัวเก ็บประจ ุม ีค ่าความจุไฟฟ้าเพ ิ่มข ึ้น

สนามไฟฟา้เหนี่ยวน ำาในตัวเก ็บสนามไฟฟา้เหนี่ยวน ำาในตัวเก ็บประจ ุแผ ่นขนานที่ม ีสารไดอ ิเล ็กประจ ุแผ ่นขนานที่ม ีสารไดอ ิเล ็ก

ทริก ทริก ((ต่อต ่อ ))

Page 51: พลังงานไฟฟ้า

51

ตัวอย ่ต ัวอย ่ าง าง 55

a. สนามไฟฟ้าระหว ่างแผ่นขนาน

b. ความหนาแน่นของประจ ุ

c. ค่าความจ ุไฟฟ้าd. จำานวนประจ ุในแตล่ะแผ่น

e. พลงังานทีส่ะสมในตวัเก ็บประจ ุ

ตวัเก ็บประจ ุแบบแผน่ขนานมีพ ื้นท ี่ ของแผน่ขนานแผ่นละ 7.60 cm2 อยู่

ห่างก ัน 1.8 mm ต่ออย ู่ก ับความตา่ง ศักย ์ 20 V จงหา

ว ิธ ีท ำา

โจทย์ก ำาหนด A=7.60 cm2 , d=1.8 mm, V=20 V ก)

จากV Ed= ⇒

3

20

1.8 10

V VE

d x m−= = 311.1 10 /x V m= 11.1 /kV m=

Page 52: พลังงานไฟฟ้า

52

ข) จาก 0

Eσε

= ⇒ ( ) ( )12 2 2 30 8.85 10 / 11.1 10 /E x C N m x V mσ ε −= = ×

9 298.3 10 /x C m−= 298.3 /nC m=

0

AC

dε= ( ) ( )4 2

12 2 23

7.6 10 8.85 10 /

1.8 10

x mx C N m

x m

−−

−= ×ค) จาก 123.74 10x F= 3.74 pF=

ง) จาก

QC

V= ⇒ ( ) ( )123.74 10 20 Q CV x F V= =

74.7 pC=

จ) จาก

21

2U CV= ( ) ( ) 2121

74.7 10 20 2

x C V−=

914.9 10x J−= 14.9 nJ=

Page 53: พลังงานไฟฟ้า

53

ตัวอยา่ต ัวอยา่ ง ง 66

จากร ูปถ ้าตวัเก ็บประจ ุแตล่ะต ัวม ีค ่า ความจุไฟฟ้า 10

จงหาความจุไฟฟ้ารวมระหว ่างจ ุด A และ B

ว ิธ ีท ำา

จะเหน็ได ้ว ่าตวัเกบ็ประจ ุท ัง้ 3 ตอ่ก ันอย่างขนาน

จาก

1 2 3C C C C= + +

10 10 10F F Fµ µ µ= + +

30 Fµ=

Page 54: พลังงานไฟฟ้า

54

ตัวอย ่ต ัวอย ่ าง าง 77

ถ้าตวัเก ็บประจ ุ 3 ตัวต ่อก ันด ังร ูปซ้ายม ือแล ้วตอ่เข ้าก ับความต่างศ ักย ์

ไฟฟ้า 18V จงหาจ ำานวนประจ ุไฟฟ้า ในตวัเกบ็ประจ ุ C1

ว ิธ ีท ำา

เราสามารถเข ียนวงจรที่สมม ูลก ับวงจรในโจทย์ได ้ด ังร ูปขวามือ• จะเห ็นได้ว ่า C2 และ C3 ต่อก ันอย่างขนานและ

มีค ่าความจไุฟฟ้ารวม ระหว ่างจ ุด c และ b เป ็น

2 3 10 20 30cbC C C F F Fµ µ µ= + = + =

• ดังน ั้นวงจรการตอ่ตวัเก ็บประจ ุระหว ่างจ ุด a และ b จะมีลกัษณะดังร ูป

Page 55: พลังงานไฟฟ้า

55

1

1 1

1 1 1 cb

ab cb cb

C C

C C C C C

+∴ = + =

( ) ( )( )

1

1

15 30

30 15cb

abcb

F FC CC

C C F F

µ µµ µ

∴ = =+ +

( ) ( )15 3010

45F Fµ µ= =

QC Q CV

V= ⇒ = ( ) ( )10 18 180 F V Cµ µ= =

• ในการตอ่แบบอนุกรมตามวงจรส ุดท ้ายตวัเก ็บประจ ุแตล่ะ ตวัจะม ีประจ ุเท ่าก ันและถ ้าให ้เท ่าก ับ

จะหาค่า ได ้จาก

Q Q

• เราจะหาค่าความจ ุไฟฟ้าระหว ่าง จุด a และ b ได้จาก

Page 56: พลังงานไฟฟ้า

56

โจทยแ์บบโจทยแ์บบฝกึหัดฝกึห ัด

1. ขั้วค ู่ไฟฟ้าประกอบด้วยประจ ุขนาดเท ่า กัน แต ่ชน ิดตรงข้าม 2 ประจ ุวางอยู่ใน

แนวแกน ห่างก ันเป ็นระยะ 2a จงหาP x

q

X

a. ศักย ์ไฟฟ้าท ีจ่ ุด ซ ึ่งหา่งจากจดุก ำาเนดิเป ็นระยะ

b. ศักย ์ไฟฟ้า และสนามไฟฟ้า ณ จุด ซึ่งอย ู่ห ่างจากขั้วค ู่ไฟฟ้ามากๆ

c. ศักย ์ไฟฟ้า และสนามไฟฟ้า ณ จุด ใดๆ ทีอ่ย ู่ระหว ่างข ั้วค ู้ไฟฟ้า

V xE

[ ]x a>>

V xE

Page 57: พลังงานไฟฟ้า

57

2. ถ้าทรงกลมประจ ุร ัศม ี ม ีประจ ุเป ็น กระจายอย่างสมำ่าเสมอจงหา ก) ศกัย ์ไฟฟ้า

ทีจ่ ุดภายนอกทรงกลม โดยกำาหนดให้ เม ื่อ ข) ศักย ์ไฟฟ้าท ี่จดุภายในทรงกลม

R Q

0V = r = ∞เม ื่อ

( )− = − <2 23

,2e

D C

k QV V R r for r R

R

= >,e

QV k for r R

r

คำาตอบและกราฟ

Page 58: พลังงานไฟฟ้า

58

( )

= −

+ 1

2 2 22 1e

xEπk σ

x a

3. ถ้าจานประจ ุร ูปวงกลมร ัศม ี a มีความหนาแนน่ของประจ ุ จงหาศ ักย ์ไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าบนจุดใดๆ ซึ่งอย ู่ในแนวแกนที่ ตัง้ฉากกับจ ุดศ ูนย ์กลางของจานวงกลม

σ

คำาตอบ

( ) 12 2 22 eVπk σ x a x = + −

Page 59: พลังงานไฟฟ้า

59

4. เส ้นตรงลากจากจุดศ ูนย ์กลางของขั้วค ู่ ไฟฟ้าผา่นจ ุด x และ y ซึ่งอย ู่

ห่างจากจ ุดศ ูนย ์กลางขั้วค ู่ไฟฟ้าเป ็นระยะ0.2 เมตร และ 0.4

เมตรตามลำาด ับ ถ ้าประจ ุท ั้งสองของขั้วค ู่ไฟฟ้าอย ู่หา่งก ันน ้อยกว ่า

0.2 เมตรมากๆ และศ ักย ์ไฟฟ้าท ีจ่ ุด x มีค ่า เป ็น 80 V จงหา

ศักย ์ไฟฟ้าท ี่จ ุด y

5. ถ้าในบร ิเวณหนึ่งท ีต่ ำาแหน่ง (x,y,z) ใดๆมีศกัย ์ไฟฟ้าตาม

สมการ V=-3x2y จงหาสนามไฟฟ้า ณ จุด(1,0,2)6. ถ้าพล ังงานที่สะสมในตวัเก ็บประจ ุท ีม่ ีค ่า

ความจุไฟฟ้า 10 ไมโคร- ฟารัด เป ็น 2 kJ จงหาความตา่งศ ักย ์ท ี่ตกคร ่อมตวัเกบ็ประจ ุ

น ี้

Page 60: พลังงานไฟฟ้า

60

7. จงหาความจุไฟฟ้าของต ัวเก ็บประจ ุทรง กลมซ้อนกันซึ่งม ีเส ้นผา่นศ ูนย ์กลาง 10 cm

และ 20 cm ตามลำาด ับ8. ตัวเก ็บประจชุน ิดแผน่ขนานจะมีความจ ุ ไฟฟ้า 50 ไมโครฟาร ัด เม ื่อม ีต ัวกลางเป ็น

สุญญากาศ ถ้าใส ่สารไดอเิล ็กทร ิกท ีม่ ีค ่า สภาพ ยอมสัมพัทธ ์เทา่ก ับ 2.5 ลงไป

ระหว ่างแผ่นขนาน จะทำาใหส้ามารถเก ็บประจ ุเพ ิ่มข ึ้นหร ือลดลงอย่างไร9. จากร ูปถ ้าความตา่งศ ักย ์ระหว ่างจ ุด a และb มีค ่า 10 V จงหาค่าประจ ุ Q1

10.ถ้าความจ ุไฟฟ้ารวมของวงจรในร ูปม ีค ่า เป ็น 1.5 ไมโครฟาร ัด จงหาค่าความจ ุไฟฟ้า

ของ C