44
E NVIRONMENTAL R ESOURC D EVELOPMENT รายงานการ รายงานการ ปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการ และมาตรการ ติดตาม ติดตาม ตรวจ ตรวจ สอบ สอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม คุณภาพสิ่งแวดลอม โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอ โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอ ลต เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ลต เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง คําขอตออายุประทานบัตรทีคําขอตออายุประทานบัตรที1/ 2553 2553 ( ประทานบัตรทีประทานบัตรที31805 31805/ 15377 15377 ) ) ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ คําขอตออายุประทานบัตรทีคําขอตออายุประทานบัตรที1/ 2552 2552 ( ประทานบัตรทีประทานบัตรที31804 31804/ 15388 15388 ) ) ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝ ของหางหุ นสวนจํากัด ศิลาภูฝ าย าย ตั้งอยูทีหมูทีตั้งอยูทีหมูที8 8 ตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ประจําเดือน ประจําเดือน เมษายน เมษายน 2558 2558 เสนอ เสนอ หางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร หางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร จัดเตรียมโดย จัดเตรียมโดยบริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด บริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด ENVIRONMENTAL & RESOURCE DEVELOPMENT CO.,LTD. 34 34/ 304 304- 5 5 หมู หมู 5 5 . วัดไผเขียว วัดไผเขียว . สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 10210 ทรศัพท ทรศัพท ( 662 662 ) ) 9833045 9833045- 6 6 ทรสาร ทรสาร ( 662 662 ) ) 9833 9833 020 020

ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

E NVIRONMENTAL

R ESOURC 

D EVELOPMENT

รายงานการรายงานการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

และมาตรการและมาตรการติดตามติดตามตรวจตรวจสอบสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมคุณภาพสิ่งแวดลอม

โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอโครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพ่ืออุตสาหกรรมกอสราง ลต เพ่ืออุตสาหกรรมกอสราง

คําขอตออายุประทานบัตรที่ คําขอตออายุประทานบัตรที่ 11//2553 2553 ((ประทานบัตรที่ ประทานบัตรที่ 3180531805//1537715377) )

ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ

คําขอตออายุประทานบัตรที่ คําขอตออายุประทานบัตรที่ 11//2552 2552 ((ประทานบัตรที่ ประทานบัตรที่ 3180431804//1538815388) )

ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝายาย

ต้ังอยูที่ หมูที่ ต้ังอยูที่ หมูที่ 8 8 ตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

ประจําเดือนประจําเดือนเมษายน เมษายน 25582558

   

         

เสนอเสนอ

หางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแรหางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร จัดเตรียมโดยจัดเตรียมโดย……

บริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัดบริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด EENNVVIIRROONNMMEENNTTAALL && RREESSOOUURRCCEE DDEEVVEELLOOPPMMEENNTT CCOO..,,LLTTDD.. 3434//304304--5 5 หมู หมู 5 5 ซซ..วัดไผเขียว ถวัดไผเขียว ถ..สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 1021010210 โทรศัพท โทรศัพท ((662662) ) 98330459833045--6 6 โทรสาร โทรสาร ((662662) ) 98339833020020

Page 2: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

 

 

 

บริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัดบริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด EENNVVIIRROONNMMEENNTTAALL && RREESSOOUURRCCEE DDEEVVEELLOOPPMMEENNTT CCOO..,,LLTTDD..

3344//330044--55 หมู หมู 55 ซซ..วัดไผเขียว ถวัดไผเขียว ถ..สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 1100221100

3344//330044--55 MMuuoo 55 SSooii WWaadd PPhhaaiikkeeaaww,, SSrroonnggpprraappaa RRdd..,, SSiikkaann DDoonnmmuuaanngg BBaannggkkookk 1100221100

TTeell.. ((666622)) 99883333004455--66 FFaaxx.. ((666622)) 99883333002200

ee--mmaaiill :: eerrddssiiaamm@@yyaahhoooo..ccoomm

Page 3: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 1.doc หนาท่ี 1-0

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

ประเภทโครงการเหมืองแร โรงโม และบดยอยหิน

โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพ่ืออุตสาหกรรมกอสราง คําขอตออายุประทานบัตรที่ 1/2553 (ประทานบัตรที่ 31805/15377)

ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ คําขอตออายุประทานบัตรที่ 1/2552 (ประทานบัตรที่ 31804/15388)

ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝาย ซึ่งต้ังอยูที่ หมูที่ 8 ตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

จัดเตรียมโดย

บริษัท พฒันาส่ิงแวดลอมและทรัพยากร จํากัด

ประจําเดือนเมษายน 2558

Page 4: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 1.doc หนาท่ี 1-1

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน สืบเนื่องจากผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ดานโครงการเหมืองแร ในการประชุมคร้ังท่ี 1/2543 วันท่ี 20 มกราคม2543 ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบกับการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ของ หางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2553 (ประทานบัตรท่ี 31805/15377) ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2552 (ประทานบัตรท่ี 31804/15388) ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝายต้ังอยูท่ีตําบลพรานอําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ (ภาคผนวกที่ 1) สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (เดิมคือสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม)แจงผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการดังกลาว และโครงการจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไขมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมตามหนังสือ วว.0804/1806 ลงวันท่ี 4 กุมภาพันธ 2543 ดังนั้นทางโครงการจึงไดมอบหมายให บริษัท พัฒนาส่ิงแวดลอมและทรัพยากร จํากัด จัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม 1.2 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป 1.2.1 รายละเอียดโครงการ

1.ช่ือโครงการ : โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพื่ออุตสาหกรรม กอสราง คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2553 (ประทานบัตรท่ี 31805/15377) 2. เจาของโครงการ : หางหุนสวนจํากดัศรีสะเกษเหมืองแร 3. สถานท่ีต้ังโครงการ : ตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวดัศรีสะเกษ 4. ขนาดท่ีต้ังโครงการ : ประทานบัตรท่ี 31805/15377 มีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ 260-2-05 ไร 5. โครงการไดรับอนุญาต : เม่ือวันท่ี 18 สิงหาคม 2543

1.2.2 ลักษณะภูมิประเทศ พื้นท่ีประทานบัตรเลขท่ี 31805 อยูในแผนท่ีภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ลําดับชุด L 7017 ระวาง 5938 III ท่ีพิกัด UTM ท่ี 0449000 ถึง 0451000 E และ 1610000 ถึง 1612000 N ของกรมแผนท่ีทหาร มีเนื้อท่ี 260 ไร 2 งาน 5 ตารางวา ต้ังบนท่ีราบเนินเขา บริเวณนี้มีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ประมาณ 240 เมตร (ดังรูปท่ี 1-1)

1.2.3 เสนทางคมนาคม การคมนาคมเขาสูพื้นท่ีประทานบัตรท่ี 31805/15377 สามารถเดินทางไดสะดวก โดยใชเสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 24 ถึงทางเขาบานภูฝายจากน้ันเล้ียวไปตามถนน เปนระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตรจะถึงโรงโมหิน แลวจึงเดินทางตอไปอีกประมาณ 10 กิโลเมตร จึงถึงพื้นท่ีประทานบัตร (ดังรูปท่ี 1-1)

Page 5: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 1.doc หนาท่ี 1-2

ทางเขาบริเวณทางหลวงหมายเลข 24 ถนนเขาโครงการ

รูปท่ี 1-1 ตําแหนงท่ีตัง้โครงการและการคมนาคม

N

0 0 1 21ก

ประทานบัตรท่ี 31805/15377

หางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร

Page 6: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 1.doc หนาท่ี 1-3

1.2.4 พื้นท่ีและลักษณะการใชประโยชนท่ีดินโดยรอบประทานบัตร ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินโดยรอบของพื้นท่ีประทานบัตรเลขที่ 31805/15377 ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รายละเอียดดังตอไปนี้ (ดังภาพท่ี1-1)

ทิศเหนือ ติด พื้นท่ีเกษตรกรรม ทําไร ทิศใต ติด พื้นท่ีเกษตรกรรม ทําไร

ทิศตะวันออก ติดพืน้ท่ีประทานบัตรท่ี 31807/15378ของ หจก. ศิริสินโยธาการ

ทิศตะวันตก ตดิพื้นท่ีเกษตรกรรม ทําไร

ภาพท่ี 1-1 การใชประโยชนท่ีดินโดยรอบประทานบัตร

Page 7: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 1.doc หนาท่ี 1-4

1.2.5 กิจกรรมของโครงการ การเปดหนาเหมืองจะทําเปนลักษณะข้ันบันได โดยใหแตละข้ันมีความสูงประมาณ 10 เมตร และ มีความกวางไมนอยกวาความสูงของแตละข้ันบันได หรือกวางประมาณ 10 เมตร ท้ังนี้ความลาดเอียงรวมโดยเฉล่ียไมเกิน 45 องศา ตลอดจนหลีกเล่ียงการเดินหนาเหมืองท่ีมีช้ันหินเอียงเขาหาหนางาน เพื่อปองกันมิให มีการพังถลม หรือการรวงหลนของหินบริเวณหนาเหมือง โดยมีพื้นท่ีทําเหมืองประมาณ 95 ไร ในข้ันตอนการผลิตแร จะใชเคร่ืองเจาะตีนตะขาบ ขนาดดอกเจาะ 3 นิ้ว แลวระเบิดดวยแอนโฟและไดนาไมต กรณีท่ีมีหินกอนโตจะทําการระเบิดยอยดวยรูแจคแฮมเมอร หรือทุบยอยดวยระบบรถทุบไฮดรอลิค(Hydraulic Breaker) เพื่อยอยหินใหมีขนาดเล็กลงตามตองการ จากนั้นจะใชรถตักเอาแรใสรถบรรทุกเททาย ขนสงแรไปยังโรงงานโม บด ยอยหิน เพื่อบดยอยใหไดขนาดตามท่ีตลาดตองการ ซ่ึงโรงงานโม บด ยอยหินนี้ต้ังอยูนอกเขตประทานบัตร ปจจุบันทางโครงการไดสรางโรงโมหินแหงใหมในบริเวณพ้ืนท่ีประทานบัตร ซ่ึงอยูระหวางการดําเนินการกอสรางเพื่อใชแทนโรงโมหินเดิมตอไป สําหรับเปลือกดินและเศษหินในระยะเร่ิมตน จะใชรถตัก ตักใสรถบรรทุกเททายนําไปใชประโยชนเพื่อการสนับสนุนการทําเหมือง และการปรับสรางคันทํานบดินปนหินอัดแนน เพื่อปองกันการชะลางตะกอนมูลดินทรายไมใหแพรกระจายออกสูพื้นท่ีภายนอก และบางสวนจะนําไปใชเพื่องานซอมแซมถนนตลอดอายุประทานบัตร และเศษดินเศษหินท่ีเหลือทางโครงการจะนําไปถมกลับขุมเหมืองท่ีผานการผลิตแรไปแลว

1.3 แผนการดําเนินงานของโครงการ 1.3.1 แผนการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอม ทางโครงการไดมอบหมายให บริษัท พัฒนาส่ิงแวดลอมและทรัพยากร จํากัด เปนผูตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมตามเง่ือนไขแนบทายประทานบัตรท่ีกําหนด พรอมท้ังรายงานผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและเสนอปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติตลอดจนเสนอแนะแนวทางแกไขและการดําเนินการเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมและกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร

1.3.2 แผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม การติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมจะเปนการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ระดับเสียงแรงส่ันสะเทือนและตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ํา สรุปผลการตรวจวัดเปรียบเทียบกับมาตรฐานท่ีกําหนด เพื่อเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร สําหรับการตรวจประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมตามขอกําหนดของการเห็นชอบในรายงานฯ ในคร้ังนี้ไดดําเนินการระหวาง วันท่ี 24-25 เมษายน 2558 1.3.3 แผนการดําเนินงานคร้ังตอไป แผนการดําเนินงานติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบจะดําเนินการในชวงเดือนกันยายน – พฤศจิกายน 2558

Page 8: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-1

บทท่ี 2

การปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอม

2.1 ผลการตรวจสอบการปฏิบัตติามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

จากการตรวจสอบผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพื่ออุตสาหกรรมหินกอสราง คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2553 (ประทานบัตรท่ี 31805/15377) ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2552 (ประทานบัตรท่ี 31804/15388) ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝาย ของ โดยวิธีเหมืองหาบ ระหวางวันท่ี 24-25 เมษายน 2558 สามารถสรุปผลการปฏิบัติได ดังนี้ (ตารางท่ี 2-1)

ตารางท่ี 2-1 ผลการตรวจสอบการปฏิบัตติามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพื่ออุตสาหกรรมหินกอสราง

คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2553 (ประทานบัตรเลขท่ี 31805/15377) ของหางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ท่ีไมสามารถปฏิบัติ

ตามมาตรการ และแนวทางแกไข

1.มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ

สิ่งแวดลอมท่ีเสนอไวในรายงานฯ 1.1 ทําเหมืองโดยวิธี เหมืองหาบแบบขั้นบันได ใหความกวางของบันไดแตละขั้นไมนอยกวา 10 เมตร และมีความสูงประมาณ 10 เมตร โดยใหหนาเหมืองสุดทายอยูที่ ระดับความสูง 220 เมตร (รทก.) หรืออยู ตํ่ากวาระดับพ้ืนราบ 20 เมตร และรักษาความชันของหนาเหมืองทั้งหมดไมเกิน 45 องศา

-ไดปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว

(ดังภาพท่ี 2-1)

- ไมมี

1.2 ใชปริมาณวัตถุระเบิดสูงสุดไมเกิน 83 กิโลกรัมตอจังหวะถวง และจุดระเบิดดวยแกปไฟฟาจังหวะถวงแบบมิลลิวินาที ทําการระเบิดวันละไมเกิน1 ครั้ง ในชวงเวลาประมาณ 16.00-17.00 น . และจัดใหมีสัญญาณเตือนกอนและหลังทําการระเบิด

- ไดปฏิบัติตามเง่ือนไขแลว - ทําปายสัญญาณการระเบิดหนาเหมือง - จัดสรางคลังเก็บวัตถุระเบิด (ดังภาพท่ี 2-3)

- ไมมี

Page 9: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-2

ตารางท่ี 2-1 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ท่ีไมสามารถปฏิบัติตาม

มาตรการ และแนวทางแกไข 1.3 จัดเตรียมพ้ืนที่เก็บกองเปลือกดินเน้ือที่ประมาณ 98 ไร บริเวณตอนกลางของพ้ืนที่ บริเวณหมุดหลักฐานที่ 3, 4, 5 และ 6 และบริเวณหมุดหลักฐานที่ 9, 10, 11 และ 12 ทําการเก็บกองเปนช้ันแบบขั้นได มีความสูงช้ันและไม เ กิน 3.5 เมตร จํานวน 2 เมตร ใหมุมลาดเอียงดานหนาไมเกิน 35 องศาและดานหลังไม เ กิน 12 องศา พรอมทั้ งปลูกพืชตระกูลถ่ัวบนกองเปลือกดิน

- ปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว (ดังภาพท่ี 2-2)

- ไมมี

1.4 กอสรางคันทํานบดิน และคูระบายนํ้ารอบพ้ืนที่เก็บกองเปลือกดิน โดยคันทํานบดินเปนรูปสี่เหล่ียมคางหมู ขนาดของฐานกวางไมนอยกวา 6 เมตร สูง 2 เมตร และสันทํานบกวาง 2 เมตร และคูระบายน้ําดานบนกวาง 1.0 เมตร ลึก 0.5 เมตร และทองรองกวาง 0.5 เมตร รองรับนํ้าจากที่เก็บกองเปลือกดินใหไหลลงสูบอดักตะกอน

- ปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว

- ไมมี

1.5 ทําการปลูกตนไมยืนตนโดยรอบพ้ืนที่โครงการ โดยพันธุไมที่จะนํามาปลูกไดแก ยูคาลิปตัสและกระถินณรงค ทําการปลูกแบบสลับฟนปลา จํานวน 2 แถว และใหมีระยะหางตนและแถวประมาณ 2x2 เมตร

- ปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว (ดังภาพท่ี 2-7)

- ไมมี

1.6 ทําการปรับปรุงโรงโมหินใหเปนไปตามประกาศของกรมทรัพยากรธรณี เรื่อง การประกอบกิจการโรงโมหิน ประกาศเม่ือวันที่ 11 มิถุนายน 2539 และใหทําการปลูกไมยืนตนโตเร็ว เชน ยูคาลิปตัส หรือกระถินเทพา โดยรอบโรงโมหิน อยางนอย 2 แถว ปลูกแบบสลับฟนปลา โดยมีระยะหางระหวางตนและแถวประมาณ 2x2 เมตร

- ไดปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว (ดังภาพท่ี 2-5) - ทางโครงการไดทําการปลูกตน ยูคาลิปตัสบริเวณพ้ืนที่โครงการ ต้ังแตแนวหมุดที่ 1- หมุดที่ 4 และต้ังแตแนวหมุดที่ 20-หมุดที่ 1 (ดังภาพท่ี 2-8)

- ไมมี

Page 10: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-3

ตารางท่ี 2-1 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ท่ีไมสามารถปฏิบัติตาม

มาตรการ และแนวทางแกไข

1 . 7 ใ น ก า ร ขนส ง แ ร กํ า หนด ใหรถบรรทุกใชความเร็วไมเกิน 25 กม./ชม. ในชวงที่ผานชุมชน พรอมทั้งใชผาใบปดคลุมกระบะรถบรรทุกแรขณะขนสง เพ่ือปองกันแรตกหลน

- ไดปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว

- ไมมี

1.8 ทําการฉีดพรมนํ้าบนเสนทางขนสงแรในชวงที่เปนถนนลูกรัง ทําการฉีดพรมนํ้าประมาณวันละ 2 ครั้ง

- ไดปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว (ดังภาพท่ี 2-4)

- ไมมี

1.9 จัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหคนงานสวมใส เชน รองเทาบูท เครื่องปองกันหูหนากากปองกันฝุน ถุงมือหนังและแวนตา

- ทางโครงการไดจัดอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหคนงานสวมใส (ดังภาพท่ี 2-9)

-ไมมี

1.10 ตรวจสุขภาพทั่วไปของพนักงานอยางนอยปละ 1 ครั้ง

- มีการตรวจสุขภาพของคนงาน -ทางโครงการมีการตรวจสุขภาพพนักงานประจําป

Page 11: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-4

ตารางท่ี 2-1 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ท่ีไมสามารถปฏิบัติตาม

มาตรการ และแนวทางแกไข 1 . 1 1 ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ คุณ ภ า พสิ่งแวดลอม

- ตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ชุมชนบานซําขี้เหล็ก บานหนองเกา บานโนนแฝกและบานซํามวง โดยทําการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองแขวนลอยในอากาศ (TSP) ทําการตรวจวัด ปละ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในชวงเดือนกุมภาพันธ-เมษายน และ ครั้งที่ 2 ในชวงเดือนกันยายน –พฤศจิกายน

- ต ร ว จ วั ด ร ะ ดั บ เ สี ย ง แ ล ะแรงสั่นสะเทือน ที่ชุมชนบานซําขี้เหล็กนอย โดยทําการตรวจวัดปละ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในชวงเดือนกุมภาพันธ-เมษายน และ ครั้งที่ 2 ในชวงเดือนกันยายน –พฤศจิกายน

- ตรวจวัดปริมาณและคุณภาพนํ้า

ใตดิน ที่ชุมชนบานซําขี้เหล็ก บานหนองเก า และบ านโนนแฝก โดยทํ าการตรวจ วัดค าความ เปนกรดเปนด าง , Suspended Solids Dissolved Solids. Total Hardness, Turbidity, Total Iron และ Sulfate ทําการตรวจวัดปละ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในชวงเดือนกุมภาพันธ-เมษายน และ ครั้ งที่ 2 ในชวงเ ดือนกันยายน –พฤศจิกายน

- จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยบ ริ ษั ท พั ฒ น า สิ่ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะทรัพยากร จํากัด พบวาคุณภาพอากาศในบริเวณที่ทําการตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด - ใหบริษัท พัฒนาสิ่ งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด ตรวจวัดระดับเสียงและแรงสั่ นสะ เทือนโดยนํา เสนอรายละเอียดไวในบทที่ 3 พบวา ผลการตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด พรอม เสนอผลการตรวจวัดใหหนวยงานที่เก่ียวของ - ใหบริษัท พัฒนาสิ่ งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด ตรวจวัดคุณภาพนํ้าโดยนําเสนอรายละเอียดไวในบทที่ 3 พบวา ผลการตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด พรอม เสนอผลการตรวจวัดใหหนวยงานที่เก่ียวของ

- ไมมี

2. มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีกําหนดโดยสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม 2.1 ใหใชขุมเหมืองเกาทางดานทิศเหนือของพื้นที่ โครงการสร าง เปนบอดักตะกอน เ พ่ือรองรับนํ้าจากที่ เ ก็บกองเปลือกดินและพ้ืนที่หนาเหมือง

- นํ้าจากบริเวณพ้ืนที่โรงโมหินจะไหลลงสูบอดักตะกอนของโครงการ - มีบอดักตะกอน (ดังภาพท่ี 2-6)

- ไมมี

Page 12: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-5

ตารางท่ี 2-1 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ท่ีไมสามารถปฏิบัติตาม

มาตรการ และแนวทางแกไข

2.2 ใหดําเนินการปลูกไมยืนตนโตเร็วภายหลังการไดรับประทานบัตรแลว (ระยะเตรียมการทําเหมือง) และกอนที่จะมีการดําเนินโครงการ โดยวิธีปลูกตนไมใหมีระยะ 2x2 เมตร (ประมาณ 400 ตนตอไร) ในพ้ืนที่เวนการทําเหมืองรวมทั้งใหมีการบํารุงรักษาตนไมเหลาน้ันใหมีความเจริญเติบโตเต็มที่ ทั้งน้ี ใหเสนอแผนการปลูกตนไม พรอมระบุพันธุไมและพ้ืนที่ปลูก ใหลํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมและกรมปาไมพิจารณาความเหมาะสมกอนการดําเนินการ

- ทางโครงการไดทําการปลูกตนยูคาลิปตัส ต้ังแตแนวหมุดที่ 1- หมุดที่4 และต้ังแตแนวหมุดที่ 20-หมุดที่ 1

(ดังภาพท่ี 2-7)

- ไมมี

2.3 หากไดรับการรองเรียนจากราษฎรที่อาศัยอยูในบริเวณใกลเคียงวาไดรับความเดือดรอนรําคาญจากการดําเนินโครงการ หรือสาธารณสมบัติไดรับความเสียหายจากกิจกรรมเหมืองแร และสํานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดลอมไดตรวจพบวาไมปฏิบัติตามมาตรการท่ีกําหนดไว ผูถือประทานบัตรจะตองยินยอมยุติการทําเหมืองตามคําสั่งของทางราชการฯ แลวแกไขเหตุแหงความเดือดรอนใหเสร็จสิ้นกอนที่จะดําเนินการตอไป

- ทางโครงการไมเคยไดรับเรื่องรองเรียนจากราษฎรที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียงวาไดรับความเดือดรอนรําคาญจากการดําเนินโครงการแตอยางใด

- ไมมี

Page 13: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-6

ตารางท่ี 2-1 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ท่ีไมสามารถปฏิบัติตาม

มาตรการ และแนวทางแกไข

2.4 หากผูถือประทานบัตรมีความประสงคที่จะเปล่ียนแปลงวิธีการทําเหมือง หรือเปล่ียนแปลงเพ่ิมเติมชนิดแร หรือการดําเนินงานที่แตกตางจากที่ เสนอไวในรายงานฯ จะตองเสนอรายละเอียดเก่ียวกับวิธีการทําเหมืองและการดําเนินงานในการเป ล่ี ยนแปลง ดั งกล า ว ประกอบ กันมาตรการปองกันผลกระทบที่สอดคลองกับการเปล่ียนแปลงใหม ใหสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมพิจารณาใหความเห็นชอบดานสิ่งแวดลอมกอน

- หากท า ง โค ร งก า รประสงค ที่ จ ะเป ล่ียนแปลง วิธี การทํ า เหมืองหรื อเปล่ียนแปลงเพ่ิมเติมชนิดแรหรือการดําเนินงานท่ีแตกตางไปจากที่เสนอไวในรายงานฯทางโครงการจักไดปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว

- ไมมี

2.5 ใหทําการปรับปรุงฟนฟูพ้ืนโครงการฯ ที่ผานการทําเหมืองแรแลว พรอมรายงานผลการดําเนินงานใหสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมและกรมทรัพยากรธร ณีทร าบทุ ก 2 ป นั บจ าก วันที่ ไ ดรับประทานบัตร โดยตองนําเสนอโดยมีรายละเอี ยดของการดํ า เ นินการ และตําแหนงที่ได ดํา เ นินการไปแลวอย างเพียงพอ

- ไดปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว - ยังไม ถึง เวลาปฏิบั ติตามมาตรการดังกลาว

- ไมมี

2.6 ในระหวางการทําเหมืองหากพบวัตถุโบราณ หรือรองรอยของโบราณคดี ไมวาจ ะ เ ป น ภ า พ เ ขี ย น สี ห รื อ อื่ น ๆ ที่ มีความสําคัญทางประวัติศาสตรจะตองรายงานและขอความรวมมือ กับกรมศิลปากรหรือสํานักงานศิลปากรในทองที่ที่เขาไปดําเนินการตรวจสอบพ้ืนที่ ทั้งน้ี ในระหวางการสํารวจจะตองหยุดการทําเหมืองช่ัวคราว และหากพิสูจนแลววาเปนแหลงโบราณคดี ผูถือประทานบัตรตองปฏิบั ติต าม เ ง่ื อนไขของหน วยงานที่เก่ียวของ โดยไมมีขอเรียกรองใดๆ

- การดําเนินการทําเหมืองที่ผานมา ยั ง ไม เ ค ยพบแหล ง โบร าณค ดีและโบราณวัตถุในบริเวณ พ้ืนที่โครงการ - หากพบกรณีดังกลาวทางโครงการ จักไดปฏิบัติตามเง่ือนไขขางตน

- ไมมี

Page 14: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-7

2.2 ภาพประกอบมาตรการปองกัน แกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอม ภาพประกอบมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการเหมืองแรหินบะซอลต

เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ประทานบัตรเลขท่ี 31805/15377 ของหางหุนสวนจํากัดศรีสะเกษเหมืองแร นําเสนอไวดังภาพท่ี 2-1 ถึงภาพท่ี 2-9 ดังตอไปนี้

ภาพท่ี 2 -1 สภาพหนาเหมืองปจจุบัน

ภาพท่ี 2 -2 การนําเปลือกดินและเศษหินมาปรับถมพื้นท่ีท่ีส้ินสุดการทําเหมือง

ภาพท่ี 2-3 ปายการระเบิดหนาเหมืองและคลังเก็บวัตถุระเบิด

Page 15: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-8

ภาพท่ี 2-4 เสนทางขนสง พรอมท้ังการฉีดพรมน้ําตลอดเสนทางขนสง

ภาพท่ี 2-5 การใชสแลนทปดคลุมโรงโมหินเพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุน และการสเปรยน้ําบริเวณปลายสายพาน

Page 16: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-9

ภาพท่ี 2-6 บอดักตะกอนบริเวณโรงโมหิน

ภาพท่ี 2-7 แนวการปลูกตนไมบริเวณพื้นท่ีประทานบัตร

Page 17: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 2.doc หนาท่ี 2-10

ภาพท่ี 2-8 แนวการปลูกตนไมบริเวณโรงโมหิน

ภาพท่ี 2-9 การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

Page 18: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-1

บทท่ี 3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท พัฒนาส่ิงแวดลอมและทรัพยากร จํากัด ไดทําการตรวจวัดคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพื่ออุตสาหกรรมหินกอสราง คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2553 (ประทานบัตรท่ี 31805/15377) ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2552 (ประทานบัตรท่ี 31804/15388) ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝาย ต้ังอยูท่ี ตําบลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ในดัชนีตาง ๆ ในวันท่ี 24-25 เมษายน 2558 เพื่อนําคาท่ีตรวจวัดไดมาเปรียบเทียบกับคามาตรฐาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ขอบเขตการตรวจวัดคุณภาพส่ิงแวดลอม วิธีการเก็บ และการวิเคราะหตัวอยาง ทําการตรวจวัดคุณภาพอากาศในดัชนีปริมาณฝุนละอองรวมเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (TSP 24 hrs.) ระดับความส่ันสะเทือนตรวจวัดในดัชนี ความถ่ี ความเร็วอนุภาค การขจัด และการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ํา สําหรับวิธีการเก็บตัวอยางและวิธีวิเคราะห มีรายละเอียดดังตารางท่ี 3-1 ดังนี้

ตารางท่ี 3-1 การเก็บตัวอยางและวิธีวิเคราะหคุณภาพส่ิงแวดลอม

รายการ วิธีการเก็บตัวอยาง/วิธีวิเคราะห 1. คุณภาพอากาศ จํานวน 4 สถานี - ฝุนละออง (TSP 24 hrs.)

- High-Volume Air Sampler & Gravimetric

2. ความส่ันสะเทือนขณะระเบิด จํานวน 1 สถานี - ความถี่, ความเร็วอนภุาค, การขจัด

- Ground Vibration Recording

3. ระดับเสียง จํานวน 1 สถานี - Leq 24 hrs.

- Integrating Sound Level Meter

4. การตรวจวัดคุณภาพน้ําบาดาล จํานวน 3 สถานี - ความเปนกรด-ดาง (pH) - ตะกอนแขวนลอย (Suspended Solids) - ตะกอนละลายน้ํา (Total Dissolved Solids) - คาความขุน (Turbidity) - คาความกระดาง (Total Hardness) -ปริมาณเหล็กรวม (Total Iron) -ปริมาณซัลเฟต (Sulfate)

- จวงตัก/ pH Meter - จวงตัก/ Dried at 103-105๐ C - จวงตัก/ Dried at 103-105๐ C - จวงตัก/ Turbidity Meter - จวงตัก/ EDTA & Titration - จวงตัก/ Phenanthroline - จวงตัก/ Turbidimetric

Page 19: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-2

3.2 คุณภาพอากาศในบรรยากาศ 3.2.1 ผลการตรวจวัด จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบริเวณตาง ๆ ดังรูปท่ี 3-1 และภาพท่ี 3-1 ซ่ึงปรากฏผลใน ตารางท่ี 3-2 และรายงานผลการตรวจวัดในภาคผนวกที่ 2 สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ บริเวณบานซําขี้เหล็ก ตรวจวดัพบปริมาณฝุนละออง (TSP) เทากับ 0.026 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร บริเวณบานหนองเกา ตรวจวัดพบปริมาณฝุนละออง (TSP) เทากับ 0.018 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

บริเวณบานโนนแฝก ตรวจวดัพบปริมาณฝุนละออง (TSP) เทากับ 0.070 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร บริเวณบานซํามวง ตรวจวัดพบปริมาณฝุนละออง (TSP) เทากับ 0.087 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

3.2.2 สรุปผลการตรวจวัด จากผลการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองรวม (TSP) ในท้ัง 4 สถานี สรุปไดวา คุณภาพอากาศในบริเวณน้ี

มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 24, 2547 กําหนดใหมีคาไดไมเกิน 0.330 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ตารางท่ี 3-2 ผลการตรวจวดัคุณภาพอากาศ

คามาตรฐาน = มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24, 2547

ช่ือผูตรวจวัด/ช่ือผูบันทึก : นายเอกลักษณ พรมมิ เลขทะเบียน ว-066-จ-4835 ช่ือผูวิเคราะห : นางสาวมณีรัตน ปรีศิริ เลขทะเบียน ว-066-จ-4833 ช่ือผูตรวจสอบ/ควบคุม : นางสาวงามทรัพย ภูมิเดช เลขทะเบียน ว-066-ค-4831 ช่ือบริษัทผูตรวจวัดและวิเคราะหตัวอยาง: บริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรพัยากร จํากัด เบอรโทรศัพท 02- 9833045-6 เบอรโทรศัพท : 02-9833045-6 เบอรโทรสาร : 02-9833020

ดัชนีคุณภาพ สถานีตรวจวัด วันท่ีทําการตรวจวัด ผลการตรวจวัด

(เฉล่ีย 24 ชั่วโมง)

ฝุนละอองรวม (มก./ลบ.ม.)

1.บริเวณบานซําขี้เหล็ก พิกัด 48 P 0447959 E, 1609245 N

24-25 เมษายน 2558 0.026

2. บริเวณบานหนองเกา พิกัด 48 P 0445791 E, 1612069 N

24-25 เมษายน 2558 0.018

3. บริเวณบานโนนแฝก พิกัด 48 P 0446530 E, 1614561 N

24-25 เมษายน 2558 0.070

1.บริเวณบานซํามวง พิกัด 48 P 0454708 E, 1610749 N

24-25 เมษายน 2558 0.087

คามาตรฐาน 0.330

Page 20: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-3

รูปท่ี 3-1 จุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ

A3

A2

A4 A1

ประทานบัตรที่ 31805/15377 หางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร

Page 21: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-4

A1 : บานซําขีเ้หล็ก A2 : บานหนองเกา

A3 : บานโนนแฝก A4 : บานซํามวง

ภาพท่ี 3-1 การตรวจวัดคุณภาพอากาศ

Page 22: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-5

3.3 การตรวจวัดระดับเสียง 3.3.1 วิธีการตรวจวัด ติดต้ังเคร่ืองวัดระดับเสียง (Sound Level Meter) ใหสูงจากพื้นไมนอยกวา 1.20 เมตร และหางจากกําแพงหรือส่ิงกีดขวางในรัศมี 3.5 เมตร เพื่อปองกันการสะทอนกลับของเสียง กําหนดใหหัวไมโครโฟนหันไปทางแหลงกําเนิดเสียงท่ีตรวจวัดต้ังฉากกับพื้น โดยกําหนดใหอยูในวงจรถวงน้ําหนัก เอ (Weighting A) การตอบสนองแบบฟาสต (Fast), Mode Leq กําหนดชวงเวลาเฉล่ีย 1 ช่ัวโมง โดยมีการปรับเทียบคาความถูกตองท้ังภายในเคร่ือง (Internal) และจากอะคูสติคคาลิเบรเตอร (ACO Type 2126) จากนั้นเปดเคร่ืองกําหนดชวงของระดับเสียงใหเหมาะสมและต้ังเคร่ืองท้ิงไว เม่ือเคร่ืองทํางานตามคาบเวลาท่ีต้ังไว จะบันทึกคาระดับเสียงเฉล่ียรายช่ัวโมง และบันทึกคาเฉล่ียรายช่ัวโมงใหครบจํานวน 24 ช่ัวโมง เพื่อนํามาคํานวณโดยใชสูตรทางคณิตศาสตรแลวจะไดคาเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hrs.) ซ่ึงการคํานวณคาระดับเสียงเปนวิธีการขององคการระหวางประเทศวาดวยมาตรฐาน (International Organization of Standardization, ISO) เปนไปตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความส่ันสะเทือนจากการทําเหมืองหิน พ.ศ. 2548 ท่ีกําหนดใหมีคาไดไมเกิน 70 และ 115 dBA ตามลําดับ 3.3.2 ผลการตรวจวัดระดับเสียง จากผลการตรวจวัดระดับเสียง ในบริเวณตางๆ ดังรูปท่ี 3-2 และภาพท่ี 3-2 ซ่ึงปรากฏผลการตรวจวัด ดังตารางท่ี 3-3 และรายงานผลการตรวจวัดในภาคผนวกที่ 2 สามารถสรุปรายละเอียด ไดดังนี้ บริเวณบานซําขี้เหล็กนอย : ตรวจพบ ระดับเสียงในรูปคาเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (Leq. 24 hrs.) มีคาเทากับ 61.0 dBA และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) มีคาเทากับ 109.6 dBA 3.3.3 สรุปผลการตรวจวัดระดับเสียง จากการตรวจวัดระดับเสียงในท้ัง 1 สถานี พบวา ระดับเสียงในรูปคาเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (Leq. 24 hrs.) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) ในบริเวณบานซําข้ีเหล็กนอย มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความส่ันสะเทือนจากการ ทําเหมืองหิน พ.ศ. 2548 ท่ีกําหนดใหระดับเสียงในรูปคาเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (Leq. 24 hrs.) มีคาไดไมเกิน 70.0 และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) มีคาไดไมเกิน 115.0 dBA ตามลําดับ

Page 23: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-6

ตารางท่ี 3-3 ผลการตรวจวดัระดับเสียง Location: บริเวณบานซําขี้เหล็กนอย Monitor Period: 24-25 เมษายน 2558 SLM Model : ACO Model 6226 Serial No : 130156 Site Operator : นายเอกลักษณ พรมมิ ตําแหนงพิกัดสถานีตรวจวัด UTM 48 P 0448328 E , 1609567 N Calibration Ref dB(A): 114.0 Certified Date: December 4, 2014 SLM Reading dB(A): 114.0 SLM Adjust dB(A): 114.0

เวลา ผลการตรวจวัด (เดซิเบลเอ)

Leq. 1 hr. Lmax 15.00-16.00 น. 58.4 89.5 16.00-17.00 น. 55.3 85.4 17.00-18.00 น. 54.0 79.4 18.00-19.00 น. 56.7 85.2 19.00-20.00 น. 69.2 109.6 20.00-21.00 น. 65.3 96.9 21.00-22.00 น. 63.1 90.6 22.00-23.00 น. 66.5 96.1 23.00-00.00 น. 56.2 95.1 00.00-01.00 น. 63.8 92.8 01.00-02.00 น. 60.2 91.5 02.00-03.00 น. 57.8 92.2 03.00-04.00 น. 51.8 68.6 04.00-05.00 น. 51.2 72.4 05.00-06.00 น. 54.3 82.9 06.00-07.00 น. 53.5 87.1 07.00-08.00 น. 53.5 83.0 08.00-09.00 น. 57.1 83.5 09.00-10.00 น. 61.8 90.8 10.00-11.00 น. 60.1 87.3 11.00-12.00 น. 59.4 90.7 12.00-13.00 น. 58.1 85.9 13.00-14.00 น. 50.9 72.4 14.00-15.00 น. 51.8 75.5

ระดับเสียงเฉล่ีย 24 ชม. 61.0 - ระดับเสียงสูงสุด - 109.6

คามาตรฐาน เสียงเฉล่ีย 24 ชม.* 70.0 - คามาตรฐาน เสียงสูงสุด* - 115.0

คามาตรฐาน = * ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กาํหนดใหเหมืองหินเปนแหลงกาํเนิด มลพิษที่จะตอง ถูกควบคุมระดับเสียงและความส่ันสะเทือน ป พ.ศ. 2548

ช่ือผูตรวจวัด/ช่ือผูบันทึก : นายเอกลกัษณ พรมมิ เลขทะเบียน ว-066-จ-4835 ช่ือผูวิเคราะห : นางสาวมณีรัตน ปรีศิริ เลขทะเบียน ว-066-จ-4833 ช่ือผูตรวจสอบ/ควบคุม : นางสาวงามทรัพย ภูมิเดช เลขทะเบียน ว-066-ค-4831 ช่ือบริษัทผูตรวจวัดและวิเคราะหตัวอยาง : บริษัท พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร จํากัด เบอรโทรศัพท : 02-9833045-6 เบอรโทรสาร : 02-9833020

Page 24: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-7

รูปท่ี 3-2 สถานีตรวจวัดระดับเสียง

S1. บานซําขี้เหล็กนอย

จุดตรวจวัดระดับเสียง S1 : บริเวณบานซําขี้เหล็กนอย

S1

ประทานบัตรที่ 31805/15377 หางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร

Page 25: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-8

3.4 ความส่ันสะเทือน 3.4.1 ผลการตรวจวดัความสั่นสะเทือน สืบเนื่องจากโครงการไดหมดอายุประทานบัตรลง จึงไมมีกิจกรรมการระเบิดหนาเหมืองแตอยางใด และในปจจุบันอยูระหวางดําเนินการขอตออายุประทานบัตร หากดําเนินการแลวเสร็จ ทางโครงการจะดําเนินการตรวจวัด และรายงานผลการตรวจวัดความส่ันสะเทือนใหทราบตอไป 3.5 คุณภาพน้ําใตดิน 3.5.1 ผลการตรวจวเิคราะหคุณภาพน้ําใตดิน

จากผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดิน บริเวณตางๆ ดังรูปท่ี 3-3 และภาพท่ี 3-3 ซ่ึงปรากฏผลในตารางท่ี 3-4 และรายงานผลการตรวจวัดในภาคผนวกที่ 2 สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ น้ําบาดาลบานซําขี้เหล็ก ตรวจพบ ความเปนกรด-ดาง (pH) มีคาเทากับ 5.89 ปริมาณสารแขวนลอย มีคา นอยกวา 2 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณสารละลายท้ังหมด มีคาเทากับ 212 มิลลิกรัมตอลิตร คาความขุน มีคา นอยกวา 0.01 เอ็นทียู ปริมาณความกระดางรวม มีคาเทากับ 33.3 มิลลิกรัม/ลิตร as CaCO3 ปริมาณเหล็กท้ังหมด มีคาเทากับ 0.01 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณซัลเฟต (Sulfate) มีคานอยกวา 0.01 มิลลิกรัมตอลิตร น้ําบาดาลบานหนองเกา ตรวจพบ ความเปนกรด-ดาง (pH) มีคาเทากับ 7.36 ปริมาณสารแขวนลอย มีคา นอยกวา 2 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณสารละลายท้ังหมด มีคาเทากับ 212 มิลลิกรัมตอลิตร คาความขุน มีคา นอยกวา 0.01 เอ็นทียู ปริมาณความกระดางรวม มีคาเทากับ 26.7 มิลลิกรัม/ลิตร as CaCO3 ปริมาณเหล็กท้ังหมด มีคาเทากับ 0.01 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณซัลเฟต (Sulfate) มีคานอยกวา 0.01 มิลลิกรัมตอลิตร น้ําบาดาลบานโนนแฝก ตรวจพบ ความเปนกรด-ดาง (pH) มีคาเทากับ 7.24 ปริมาณสารแขวนลอย มีคา นอยกวา 2 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณสารละลายท้ังหมด มีคาเทากับ 364 มิลลิกรัมตอลิตร คาความขุน มีคา นอยกวา 0.01 เอ็นทียู ปริมาณความกระดางรวม มีคาเทากับ 169 มิลลิกรัม/ลิตร as CaCO3 ปริมาณเหล็กท้ังหมด มีคาเทากับ 0.03 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณซัลเฟต (Sulfate) มีคาเทากับ 0.8 มิลลิกรัมตอลิตร 3.5.2 สรุปผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดนิ

จากผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดิน จํานวน 3 สถานี (ดังตารางท่ี 3-2) เม่ือนํามาเปรียบเทียบกับคามาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ืองกําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับ ปองกันดานสาธารณสุขและปองกันส่ิงแวดลอมเปนพิษ ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2551 พบวา คุณภาพน้ําดังกลาวสวนใหญมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด ยกเวน คาความเปนกรด-ดาง (pH) ของนํ้าบาดาลบานซําข้ีเหล็ก ท่ีมีคาตํ่ากวาเกณฑมาตรฐาน แตอยางไรก็ตามน้ําจากบอดังกลาวไมไดนํามาใชประโยชนเพื่อการบริโภค แตนํามาใชเพื่อการอุปโภคเทานั้น ซ่ึงคาความเปนกรด-ดาง (pH) ท่ีตรวจพบจะไมสงผลกระทบตอการใชน้ําในลักษณะดังกลาว

Page 26: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-9

ตารางท่ี 3-4 ผลการตรวจวเิคราะหคุณภาพน้ําใตดิน

ตําแหนงพิกัดของสถานี ST.1 : น้ําบาดาลบานซําข้ีเหล็ก : พิกัด 48 P 0447959 E, 1609245 N ST.2 : น้ําบาดาลบานหนองเกา : พิกัด 48 P 0445791 E, 1612069 N

ST.3 : น้ําบาดาลบานโนนแฝก : พิกัด 48 P 0446530 E, 1614561 N

PARAMETERS UNIT METHOD OF

ANALYSIS ST. 1 ST. 2 ST. 3

คามาตรฐาน

เกณฑกําหนดท่ีเหมาะสม

เกณฑอนุโลมสูงสุด

pH - pH Meter 5.89 7.36 7.24 7.0-8.5 6.5-9.2 Suspended Solids mg/l Dried at 103-105๐C <2 <2 <2 - -

Total Dissolved Solids mg/l Dried at 103-105๐C 212 212 364 ไมเกิน 600 1,200 Turbidity NTU Turbidity Meter <0.01 <0.01 <0.01 5 20 Total Hardness mg/l as CaCO3 EDTA & Titrimetric 33.3 26.7 169 ไมเกิน 300 500 Total Iron mg/l Phenanthroline 0.01 0.01 0.03 ไมเกิน 0.5 1 Sulfate mg/l Turbidimetric <0.01 <0.01 0.8 200 250 คามาตรฐาน : ประกาศกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทาง

วิชาการสําหรับปองกันดานสาธารณสุขและปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ ลงวันที่ 24 มีนาคม 2551 ช่ือผูตรวจวัด/ช่ือผูบันทึก : นายเอกลักษณ พรมมิ เลขทะเบียน ว-066-จ-4835 ช่ือผูวิเคราะห : นางสาวมณีรัตน ปรีศิริ เลขทะเบียน ว-066-จ-4833 ช่ือผูตรวจสอบ/ควบคุม : นางสาวงามทรัพย ภมูิเดช เลขทะเบียน ว-066-ค-4831 ช่ือบริษัทผูตรวจวัดและวิเคราะหตัวอยาง : บริษัท พัฒนาส่ิงแวดลอมและทรัพยากร จํากัด เบอรโทรศัพท : 02-9833045-6 เบอรโทรสาร : 02-9833020

Page 27: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-10

รูปท่ี 3-3 จุดเก็บตัวอยางน้ํา

W1

W2

W3

ประทานบัตรที่ 31805/15377 หางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร

Page 28: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 3.doc หนาท่ี 3-11

W1 : ประปาบานซําขี้เหล็ก W2 : ประปาบานหนองเกา

W3 : ประปาบานโนนแฝก

ภาพท่ี 3-3 การเก็บตัวอยางน้ํา

Page 29: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-1

บทท่ี 4

สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน (เมษายน 2554 – เมษายน 2558)

4.1 สรุปผลการปฏิบัตติามมาตรการปองกันและลดผลกระทบส่ิงแวดลอม จากการตรวจสอบผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการเหมืองแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินบะซอลต เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2553 (ประทานบัตรท่ี 31805/15377) ของหางหุนสวนจํากัด ศรีสะเกษเหมืองแร รวมแผนผังโครงการทําเหมืองเดียวกันกับ คําขอตออายุประทานบัตรท่ี 1/2552 (ประทานบัตรท่ี 31804/15388) ของหางหุนสวนจํากัด ศิลาภูฝาย ในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน (เดือนเมษายน 2554 – เมษายน 2558 พบวา ทางโครงการไดถือปฏิบัติตามมาตรการท่ีเปนเง่ือนไขในการเห็นชอบโครงการมาโดยตลอดท้ังในสวนของมาตรการปองกัน แกไขและลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม และในการดําเนินการในชวงตอไปทางโครงการถือเปนนโยบายท่ีจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีทางราชการที่เกี่ยวของกําหนดไวอยางเครงครัด โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของมาตรการปองกันและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมทางโครงการจะนําไปถือปฏิบัติและควบคุมกําชับใหพนักงานทุกคนไดปฏิบัติตามมาตรการดังกลาวอยางเครงครัดตอไป

4.2 สรุปผลการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม จากการตรวจวัดคุณภาพส่ิงแวดลอมในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน (เดือนเมษายน 2554 – เมษายน 2558

โดยทําการตรวจวัดคุณภาพอากาศในดัชนีปริมาณฝุนละอองรวมเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (TSP 24 hrs.) ระดับเสียงเปนคาเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง ระดับความส่ันสะเทือนตรวจวัดในดัชนี ความถ่ี, ความเร็วอนุภาค, การขจัด และการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ํา สามารถสรุปผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมไดดังตอไปนี้ 4.2.1 คุณภาพอากาศ จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน (เดือนเมษายน 2554 – เมษายน 2558 ดังรายละเอียดในตารางท่ี 4-1 และรูปท่ี 4-1 พบวา ปริมาณฝุนละอองรวมในท้ัง 4 สถานี มีคาใกลเคียงกับผลการตรวจวัดในคร้ังท่ีผานมา และผลการตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 24, 2547 ท่ีกําหนดใหมีคาไดไมเกิน 0.330 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

4.2.2 ระดับเสียง จากการตรวจวัดระดับเสียงในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน (เดือนเมษายน 2554 – เมษายน 2558

ดังรายละเอียดในตารางท่ี 4-2 และรูปท่ี 4-2 พบวา ระดับเสียงในท้ัง 1 สถานี มีคาใกลเคียงกับผลการตรวจวัดในคร้ังท่ีผานมา และท้ังหมดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดใหเหมืองหินเปนแหลงกําเนิดมลพิษท่ีจะตองถูกควบคุมระดับเสียงและความส่ันสะเทือน ป พ.ศ. 2548 ท่ีกําหนดใหมีคาไดไมเกิน 70 dBA

Page 30: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-2

4.2.3 แรงส่ันสะเทือน ขณะทําการตรวจวัดไมมีการตรวจวัดความส่ันสะเทือนเนื่องจากปจจุบันโครงการโครงการไมมีกิจกรรมจึงไมมีการระเบิดหนาเหมือง 4.2.4 คุณภาพน้ําใตดิน

จากการตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน (เดือนเมษายน 2554 – เมษายน 2558 ดังรายละเอียดในตารางท่ี 4-3 และรูปท่ี 4-3 พบวา ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินท้ัง 4 สถานี พบวา คุณภาพน้ําสวนใหญมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ืองกําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการ สําหรับปองกันดานสาธารณสุขและปองกันส่ิงแวดลอมเปนพิษ ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2551 ยกเวน ปริมาณเหล็กท้ังหมด บริเวณบานซําข้ีเหล็ก และบานหนองเกา ในเดือนเมษายน 2554 และคาความเปนกรด-ดาง (pH) ของน้ําบาดาลบานซําข้ีเหล็ก ในเดือนเมษายน 2558 พบวา มีคาตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานกําหนด แตอยางไรก็ตาม ปจจุบันน้ําบาดาลดังกลาวประชาชนในชุมชนไมไดนํามาใชเพื่อการบริโภค แตนํามาใชสําหรับการอุปโภคเทานั้น

Page 31: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-3

ตารางท่ี 4-1 สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไปในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน

ดัชนีคุณภาพ สถานี

ตรวจวัด

ผลการตรวจวัด (เฉล่ีย 24 ช่ัวโมง)

เม.ย.-54 ส.ค.-54 ธ.ค.-54 เม.ย.-55 ส.ค.-55 พ.ย.-55 ส.ค.-56 พ.ย.-56 เม.ย.-57 ส.ค.-57 เม.ย.-58

ฝุนละอองรวม

(มก./ลบ.ม.)

ST.1 0.036 0.011 0.013 0.015 0.017 0.023 0.023 0.034 0.107 0.016 0.026

ST.2 0.046 0.010 0.016 0.021 0.021 0.015 0.014 0.087 0.037 0.026 0.018

ST.3 0.085 0.013 0.136 0.014 0.010 0.033 0.012 0.058 0.076 0.043 0.070

ST.4 0.043 0.017 0.023 0.020 0.020 0.010 0.014 0.082 0.048 0.019 0.087

คามาตรฐาน 0.330

คามาตรฐาน : มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่24, 2547

ตําแหนงพิกัดของสถานี ST.1 : บริเวณบานซําขี้เหล็ก : พิกัด 48 P 0447959 E, 1609245 N ST.2 : บริเวณบานหนองเกา : พิกัด 48 P 0445791 E, 1612069 N

ST.3 : บริเวณบานโนนแฝก : พิกัด 48 P 0446530 E, 1614561 N ST.4 : บริเวณบานซํามวง : พิกัด 48 P 0454708 E, 1610749 N

0.036 0.0

46

0.085

0.043

0.011

0.010

0.013

0.017

0.013

0.016

0.136

0.023

0.015 0.021

0.014 0.02

0.017

0.021

0.010 0.0

20

0.023

0.015 0.0

33

0.010.0

23

0.014

0.012

0.0140.0

34

0.087

0.058 0.0

820.107

0.037

0.076

0.048

0.016 0.0

26 0.043

0.019

0.026

0.018

0.07 0.0

87

0.33

0.00

0.05

0.10

0.15

0.20

0.25

0.30

0.35

บริเวณบานซําข้ีเหล็ก บริเวณบานหนองเกา บริเวณบานโนนแฝก บริเวณบานซํามวง

mg/m

3

จุดตรวจวัด

สรุปผลการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองรวม (TSP) ในบรรยากาศ

เม.ย.-54ส.ค.-54ธ.ค.-54เม.ย.-55ส.ค.-55พ.ย.-55ส.ค.-56พ.ย.-56เม.ย.-57ส.ค.-57เม.ย.-58มาตรฐาน

รูปท่ี 4-1 กราฟเปรียบเทียบผลการตรวจวดัคุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไปในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน

Page 32: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-4

ตารางท่ี 4-2 สรุปผลการตรวจวัดระดับเสียงในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน

ตําแหนงตรวจวัด ระดับเสียงเฉล่ีย 24 ช่ัวโมง (dBA)

เม.ย.-54 ส.ค.-54 ธ.ค.-54 เม.ย.-55 ส.ค.-55 พ.ย.-55 ส.ค.-56 พ.ย.-56 เม.ย.-57 ส.ค.-57 เม.ย.-58

1. บานซําข้ีเหล็กนอย 51.3 62.8 55.7 53.9 59.8 54.6 58.0 58.8 59.8 61.0 61.0

คามาตรฐาน 70.0

คามาตรฐาน = ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหเหมืองหินเปนแหลงกําเนิดมลพิษ ที่จะตองถูกควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือน ป พ.ศ. 2548

51.3

62.8

55.7

53.9 59

.854

.6 58.0 58.8 59.8 61.0

61.0

70

0

10

20

30

40

50

60

70

80

บานซําขี้เหล็กนอย

dB (A

)

จุดตรวจวัด

สรุปผลการตรวจวัดระดับเสียงในรูปคาเฉล่ีย 24 ชั่วโมง (Leq. 24 hrs.)

เม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

มาตรฐาน

รูปท่ี 4-2 กราฟเปรียบเทียบผลการตรวจวดัระดับเสียงในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน

Page 33: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทที่ 4.doc หนาที่ 4-5

ตารางที่ 4 -3 สรุปผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดนิในชวงที่ผานมาจนถึงปจจุบัน

สถานีที่ตรวจวัด เดือน/ป ที่เก็บตัวอยาง PARAMETERS

pH Suspended Solids

(mg/l) Total Dissolved Solids

(mg/l) Turbidity

(NTU) Total Hardness (mg/l as CaCO3)

Total Iron (mg/l)

Sulfate (mg/l)

ประปาบานซําขี้เหล็ก

เมษายน 2554 7.32 2.0 24 0.84 8.54 1.43 2.0 สิงหาคม 2554 7.32 <0.2 71 0.89 61.37 0.13 0.5 ธันวาคม 2554 7.46 2.0 27 0.79 5.66 0.04 0.5 เมษายน 25545 7.14 1.2 112 <0.01 <0.01 0.10 <0.1 สิงหาคม 2555 7.47 0.8 32 1.01 6.44 0.04 <0.01

พฤศจิกายน 2555 6.67 <2 40 <0.01 <0.1 0.09 0.2 สิงหาคม 2556 7.14 2.4 36 0.20 10.34 0.60 <0.01

พฤศจิกายน 2556 6.18 3.6 68 <0.01 6.47 0.05 <0.01 เมษายน 2557 7.91 <2 288 <0.01 22.06 0.04 <0.01 สิงหาคม 2557 7.78 <2 100 0.15 15.6 0.04 <0.01 เมษายน 2558 5.89 <2 212 <0.01 33.3 0.01 <0.01

ประปาบานหนองเกา

เมษายน 2554 7.22 0.4 162 <0.01 100.00 1.36 0.5 สิงหาคม 2554 7.24 13.2 176 7.29 111.37 0.18 1.5 ธันวาคม 2554 7.31 2.4 349 0.07 99.05 0.09 0.5 เมษายน 2555 7.07 0.8 356 <0.01 103.01 0.05 2.0 สิงหาคม 2555 7.44 22.8 296 0.08 113.34 0.03 3

พฤศจิกายน 2555 7.14 <2 316 <0.01 82.61 0.06 2.5 สิงหาคม 2556 7.18 <2 280 <0.01 103 0.27 <0.01

พฤศจิกายน 2556 7.09 <2 284 <0.01 103.45 0.08 2.5 เมษายน 2557 7.95 2 292 <0.01 107.84 0.14 1 สิงหาคม 2557 7.69 8 332 0.68 104 0.10 1 เมษายน 2558 7.36 <2 212 <0.01 26.7 0.01 <0.01

เกณฑที่เหมาะสม 7.0-8.5 - 600 5 300 0.5 200 เกณฑอนุโลมสูงสุด 6.5-9.2 - 1,200 20 500 1.0 250

คามาตรฐาน : ประกาศกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับปองกันดานสาธารณสุขและปองกันสิ่งแวดลอม เปนพิษ ลงวันที่ 24 มีนาคม 2551

Page 34: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทที่ 4.doc หนาที่ 4-6

ตารางที่ 4 -3 สรุปผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดนิในชวงที่ผานมาจนถึงปจจุบัน (ตอ)

สถานีที่ตรวจวัด เดือน/ป ที่เก็บตัวอยาง

PARAMETERS

pH Suspended Solids

(mg/l)

Total Dissolved Solids

(mg/l)

Turbidity

(NTU)

Total Hardness

(mg/l as CaCO3)

Total Iron

(mg/l)

Sulfate

(mg/l)

ประปาบานโนนแฝก

เมษายน 2554 7.35 1.6 245 <0.01 207.32 0.76 2.0

สิงหาคม 2554 7.07 <0.2 248 1.20 215.92 0.10 1.0

ธันวาคม 2554 7.30 0.8 504 0.70 233.48 0.04 1.0

เมษายน 2555 6.87 0.8 440 <0.01 225.33 0.09 1.5

สิงหาคม 2555 7.31 0.8 356 0.05 216.75 0.01 1

พฤศจิกายน 2555 6.97 <2 364 0.08 206.53 0.04 1.8

สิงหาคม 2556 7.46 <2 344 <0.01 211 0.03 <0.01

พฤศจิกายน 2556 6.80 <2 340 <0.01 181.04 0.06 1

เมษายน 2557 8.13 2.8 336 <0.01 215.69 0.03 1

สิงหาคม 2557 7.98 2.4 388 0.16 200 0.03 0.8

เมษายน 2558 7.24 <2 364 <0.01 169 0.03 0.8

ประปาบานซํามวง

เมษายน 2554 7.30 2.0 92 <0.01 73.17 0.30 0.5

สิงหาคม 2554 7.18 2.0 310 0.73 243.19 0.06 1.0

ธันวาคม 2554 7.71 0.4 181 0.38 56.60 0.03 0.5

เมษายน 2555 6.74 0.8 252 <0.01 64.38 0.05 <0.01

เกณฑที่เหมาะสม 7.0-8.5 - 600 5 300 0.5 200

เกณฑอนุโลมสูงสุด 6.5-9.2 - 1,200 20 500 1.0 250

คามาตรฐาน : ประกาศกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับปองกันดานสาธารณสุขและปองกันสิ่งแวดลอม

เปนพิษ ลงวันที่ 24 มีนาคม 2551

Page 35: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-7

7.32

7.22

7.35

7.30

7.32

7.24

7.07

7.18 7.4

6

7.31

7.30 7.7

1

7.14

7.07

6.87

6.757.4

7

7.44

7.31

6.67 7.1

4

6.977.1

4

7.18 7.4

67.91

7.95 8.13

7.78

7.69 7.9

8

5.89

7.36

7.24

9.2

6.5

0

2

4

6

8

10

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง จุดตรวจวัด

pH

เม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

เกณฑอนุโลมสงูสุด

เกณฑที่เหมาะสม

2.0

0.4

1.6

0.2<0.2

13.20

<0.2 2.0

0

2.0 2.4

0.8 0.41.2 0.8 0.8 0.80.8

22.8

0.8<2 <2 <2

2.4

<2 <2

3.6

<2 <2<2

2 2.8

<2

8

2.4

<2 <2 <20

5

10

15

20

25

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง

mg/l

จุดตรวจวัด

Total Suspended Solids เม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

24

162 24

5

92

71

176 24

8 310

27

349

504

181

112

356 44

0

252

32

296 35

6

40

316 36

4

36

280 34

4

68

284 34

0

288 292 33

6

288

292 33

6

212

212

364

600

1200

0

200

400

600

800

1,000

1,200

1,400

1,600

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง

mg/l

จุดตรวจวัด

Total Dissolved Solidsเม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

เกณฑที่เหมาะสม

เกณฑอนุโลมสงูสุด

รูปท่ี 4-3 กราฟเปรียบเทียบผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน

Page 36: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-8

0.84

<0.01

<0.01

<0.010.8

9

7.29

1.20

0.73

0.79

0.07 0.7

0

0.38

<0.01

<0.01

<0.01

<0.011.0

1

0.08

0.05

<0.01

<0.01

0.08

0.2 <0.01

<0.01

<0.01

<0.01

<0.01

<0.01

<0.01

<0.010.15 0.6

8

0.16

<0.01

<0.01

<0.01

5

20

0

5

10

15

20

25

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง

NTU

จุดตรวจวัด

Turbidity

เม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

เกณฑที่เหมาะสม

เกณฑอนุโลมสงูสุด

8.54

100.0

0

207.3

2

73.17

61.37

111.3

7

215.9

2

243.1

9

5.66

99.05

233.4

8

56.60

<0.01

103.0

1

225.3

3

64.38

6.44

113.3

4

216.7

5

<0.1

82.61

206.5

3

10.34

103.0

0

211.0

0

6.47

103.4

5

181.0

4

22.06

107.8

4

215.6

9

15.6

104.0

0

200.0

0

33.3

26.70

169

300

500

0

100

200

300

400

500

600

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง

mg/l a

s CaC

O 3

จุดตรวจวัด

Total Hardness เม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

เกณฑที่เหมาะสม

เกณฑอนุโลมสงูสุด

1.43

1.36

0.76

0.30

0.13 0.1

8

0.10

0.06

0.04 0.0

9

0.04

0.030.1

0.05 0.0

9

0.05

0.04

0.03

0.010.0

9

0.06

0.04

0.6

0.27

0.030.05 0.0

8

0.06

0.04 0.1

4

0.03

0.04 0.1

0

0.03

0.01

0.01 0.03

0.5

1.0

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

1.4

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง

mg/l

จุดตรวจวัด

Total Iron

เม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

เกณฑที่เหมาะสม

เกณฑอนุโลมสงูสุด

รูปท่ี 4-3 กราฟเปรียบเทียบผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน (ตอ)

Page 37: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

D:\โครงการเหมืองแร\2558\ศรีสะเกษเหมืองแร\April\บทท่ี 4.doc หนาท่ี 4-9

2.00

0.50

2.00

0.50

0.50

1.50

1.00

1.00

0.50

0.50

1.00

0.50

<0.01

2.0 1.5 <0.01

<0.01 3.0 1.00.2 2.5 1.8<0.01

<0.01

0.0<0.01 2.5 1.0<0.01

1.0 1.0<0.01

1.0 0.8<0.01

<0.01

<0.01

200

250

0

50

100

150

200

250

300

ประปาบานซําข้ีเหล็ก ประปาบานหนองเกา ประปาบานโนนแฝก ประปาบานซํามวง

mg/l

จุดตรวจวัด

Sulfateเม.ย.-54

ส.ค.-54

ธ.ค.-54

เม.ย.-55

ส.ค.-55

พ.ย.-55

ส.ค.-56

พ.ย.-56

เม.ย.-57

ส.ค.-57

เม.ย.-58

เกณฑที่เหมาะสม

เกณฑอนุโลมสงูสุด

รูปท่ี 4-3 กราฟเปรียบเทียบผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน (ตอ)

Page 38: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

ภาคผนวกท่ี 1 จดหมายมติเห็นชอบ

และมาตรการแนบทายประทานบัตร

Page 39: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

ภาคผนวกท่ี 2 ผลการวิเคราะหคุณภาพส่ิงแวดลอม

Page 40: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

ภาคผนวกท่ี 3 หนังสืออนุญาตข้ึนทะเบียน

หองปฏิบติัการวิเคราะหเอกชน

Page 41: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

หนา I

สารบัญ

หนา สารบัญ I สารบัญรูป II สารบัญภาพ III สารบัญตาราง IV

บทท่ี 1 บทนํา 1-1 1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน 1-1 1.2 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป 1-1 1.3 แผนการดําเนนิงานของโครงการ 1-4

บทท่ี 2 การปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอม 2-1 2.1 ผลการตรวจสอบตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอม 2-1 2.2 รูปประกอบมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอม 2-7

บทท่ี 3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม 3-1 3.1 ขอบเขตการตรวจวดัคุณภาพส่ิงแวดลอม วิธีการเก็บ และการวเิคราะหตัวอยาง 3-1 3.2 การตรวจวัดคุณภาพอากาศ 3-2 3.3 การตรวจวัดระดับเสียง 3-5 3.4 ความส่ันสะเทือน 3-8 3.5 คุณภาพน้ํา 3-8 บทท่ี 4 สรุปผลการปฏบัิตติามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม 4-1 และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมในชวงท่ีผานมาถึงปจจุบัน 4.1 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอม 4-1 4.2 สรุปผลการการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม 4-1

ภาคผนวก ภาคผนวกท่ี 1 จดหมายมติเหน็ชอบและมาตรการแนบทายประทานบัตร ภาคผนวกท่ี 2 ผลการวิเคราะหคุณภาพส่ิงแวดลอม ภาคผนวกท่ี 3 หนังสืออนุญาตข้ึนทะเบียนหองปฏิบัติการวิเคราะหเอกชน

Page 42: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

หนา II

สารบัญรูป รูปท่ี หนา 1-1 ตําแหนงท่ีต้ังโครงการและการคมนาคม 1-2 3-1 จุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ 3-3 3-2 จุดตรวจวัดระดับเสียง 3-7 3-3 จุดเก็บตัวอยางน้ํา 3-10 4-1 กราฟเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน 4-3 4-2 กราฟเปรียบเทียบผลการตรวจวัดระดับเสียงในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน 4-4 4-3 กราฟเปรียบเทียบผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดนิในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน 4-7

Page 43: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

หนา III

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา 1-1 การใชประโยชนท่ีดินโดยรอบประทานบัตร 1-3 2-1 สภาพหนาเหมืองปจจุบัน 2-7 2-2 การนําเปลือกดินและเศษหนิมาปรับถมพื้นท่ีท่ีส้ินสุดการทําเหมือง 2-7 2-3 ปายสัญญาณเตือนการระเบิดหนาเหมืองและคลังเก็บวัตถุระเบิด 2-7 2-4 การบดอัดถนนตามเสนทางขนสง พรอมท้ังการฉีดพรมน้ําตลอดเสนทางขนสง 2-8 2-5 การใชสแลนทปดคลุมโรงโมหินเพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุน 2-8

และการสเปรยน้ําบริเวณปลายสายพาน 2-6 บอดักตะกอนบริเวณโรงโมหิน 2-9 2-7 แนวการปลูกตนไมบริเวณพื้นท่ีประทานบัตร 2-9 2-8 แนวการปลูกตนไมบริเวณโรงโมหิน 2-10 2-9 การสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคล 2-10 3-1 การตรวจวัดคุณภาพอากาศ 3-4 3-2 การตรวจวัดระดับเสียง 3-7 3-3 การเก็บตัวอยางน้ํา 3-11

Page 44: ห างหุุ นส วนจํํากััดศรีีสะเกษเหม ืืองแรeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/1mine/M58_1806.pdfD:\โครงการเหมืองแร

หนา IV

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา 2-1 ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอม 2-1 3-1 การเก็บตัวอยางและวิธีวิเคราะหคุณภาพส่ิงแวดลอม 3-1 3-2 ผลการตรวจวดัคุณภาพอากาศ 3-2 3-3 ผลการตรวจวดัระดับเสียง 3-6 3-4 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดนิ 3-9 4-1 สรุปผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไป 4-3 ในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจบัุน 4-2 สรุปผลการติดตามตรวจสอบระดับเสียงในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน 4-4 4-3 สรุปผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน 4-5