69
การเฝาระวังทราฟฟกบนระบบเครือขายดวยเว็บสําหรับ บริษัท เบทาโกร จํากัด จังหวัดลพบุรี A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) สมเกียรติ หอมตระกูล Somkeat Homtrakul สารนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครือขาย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปการศึกษา 2554

A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

การเฝาระวังทราฟฟกบนระบบเครือขายดวยเว็บสําหรับ

บริษัท เบทาโกร จํากัด จังหวัดลพบุรี

A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri)

สมเกียรต ิ หอมตระกูล

Somkeat Homtrakul

สารนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา

ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาวิศวกรรมเครือขาย บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ปการศึกษา 2554

Page 2: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

I

หัวขอโครงงาน การเฝาระวังทราฟฟกบนระบบเครือขายดวยเว็บ

นักศกึษา นายสมเกียรติ หอมตระกูล

รหสันักศกึษา 5017660030

ปริญญา วทิยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชา วิศวกรรมเครือขาย

พ.ศ. 2554

อาจารยผูควบคมุโครงงาน ดร. ประวทิย ชุมชู

บทคัดยอ

โครงงานน้ีจัดทําเพี่อ คอยตรวจสอบปริมาณขอมูลท่ีวิ่งเขาออกผาน อุปกรณ Network

หรือ Router เพื่อใหทราบวามีการใชงานเครือขายมากท่ีสุดและนอยท่ีสุดในชวงเวลา ไหน

โดยเฉพาะปริมาณทราฟฟกสน้ันมีสูงเกินกวาความเร็วของ leased line ท่ีเชาอยูหรือไม มีการ

โอนยายไฟลขอมูล ขนาดใหญหรือไม มีการโจมตีจากภายนอกดวยการ Ping Flood หรือไม ซ่ึง

เปนสาเหตุใหเกิดปญหาคอขวดบนระบบเครือขาย

การตรวจสอบ ระบบเครือขาย Network สามารถเขาตรวจสอบไดทุกท่ีผาน Web และ

สามารถท่ีจะเกบ็รวบรวมขอมูล Traffic ไว ซ่ึงชวยให ในการจัดการระบบ Network ใหทํางาน

อยางมีประสิทธิภาพ ชวยในการออกแบบและวิเคราะหปญหา ท้ังยังปองกัน และแกปญหาได

การ Monitoring Network เปนการวิเคราะหดูขอมูลท่ีเกี่ยวกับ Network Traffic ซ่ึงมีการ

ไหลเวียนของขอมูล จากคอมพิวเตอรโดยครอบคลุม และการวิเคราะหขอมูล เพื่อสามารถท่ีจะ

ปองกัน ตรวจสอบ และแกปญหาตางๆ ท่ีเกิดข้ึนบนระบบ Network

Page 3: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

II

Project Title A Web-based Network Traffic Monitor Student Somkeat Homtrakul Student ID. 5017660030 Degree Master of Science Program Network Engineering Year 2011 Thesis Advisor Dr. Prawit Choomchoo

ABSTRACT This project is arranged for surveying the capacity that

pass through machine which called Network Equipment or Router to know whether the network range amount that been used went higher or less. Especially for traffic that has a higher capacity than a rental leased line speed or there is no big file transferred or not been attack from the outside by Ping Flood, which could cause a problem on the Network System.

Checking the Network System and able to view in any web page and able to keep all the Traffic data which help the Network System to work. It helps to analyze the problem with protection and solving problem as well by Monitoring Network to analyze the data that connect with Network Traffic which has flow transaction of data from the computer to cover and analyze. Therefore, it can be protected and solve any error that occurred in Network System.

Page 4: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

III

กิตติกรรมประกาศ

ในการดําเนินโครงงานในคร้ังน้ีประสบความสําเร็จได ขาพเจาไดรับความชวยเหลือและ

คาํแนะนําจากหลายๆ ทาน ขาพเจาขอขอบคณุ คุณปริญญา อวยพร ท่ีเปดโอกาสใหขาพเจามี

โอกาสไดใชทรัพยากรของระบบเครือขายสื่อสาร ของบริษัท เบทาโกร ตั้งแตเร่ิมทําโครงงานน้ี

เปนตนมา และอาจารยทีป่รึกษา ดร.ประวิทย ชุมชู ซ่ึงสนับสนุนอุปกรณอื่นๆท่ีจําเปน และให

คําแนะนํา คําปรึกษา ขอคิด แนวคิด และความรูตางๆ ท่ีมีประโยชนมากมาย

ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม และครอบครัวของขาพเจาท่ีชวยสงเสริมและ

สนับสนุนในดานการเรียนและการทํางานของขาพเจามาโดยตลอด

Page 5: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

IV

สารบัญ

หนา

บทคดัยอภาษาไทย……….…………………………………..……………………….………….. I

บทคัดยอภาษาอังกฤษ…..….……………………………………………….………….………... II

กติตกิรรมประกาศ.…...…………...………...………………………………………..…………...III

สารบัญ………...…….………………...………………………….…………….………………....IV

สารบัญตาราง……….………………………………………………………….………………....VII

สารบัญรูป……………………………………….……………….……...…………………....….VllI

บทท่ี 1 บทนํา………………………………………………….…………………………………...1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา………………..……………..……...….....1

1.2 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา…………..………….…………........1

1.3 สมมตฐิานของการศกึษา…………………..….…………….………..………...…….1

1.4 ขอบเขต……….………………………………………………...…..…….………….1

1.5 ผลท่ีคาดหวัง………………………………………………………………………….2

1.6 ข้ันตอนการศกึษา…………………………………………………………………….2

บทท่ี 2 ทฤษฎีพื้นฐานท่ีใชในการวิจัย……………………………………………………………3

2.1 เครือขายคอมพวิเตอร………………………………………………………………..3

2.2 ประเภทของระบบเครือขายคอมพวิเตอร……………………………………………5

2.2.1 เครือขายทองถิ่น (Local Area Network หรือ LAN)…………………………….5

2.2.2 เครือขายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN)…………..…..5

2.2.3 เครือขายระดบัประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN)………..………….5

2.3 รูปแบบ Network Topology………………..………………………………………6

2.3.1 การเช่ือมตอแบบบัส............................................................................6

2.3.2 การเชื่อมตอแบบวงแหวน…………………………………………………7

2.3.3 การเช่ือมตอแบบดวงดาว…………………………………………………7

2.3.4 โทโปโลยีแบบผสม………………………………………………………..8

2.4 อุปกรณเช่ือมตอเครือขาย……………………………………………………………8

2.4.1 รีพีตเตอร (Repeater) ……………………………………………………8

2.4.2 บริดจ (Bridge)…………..……………………………………………….9

2.4.3 สวิตซ (Switch)…………….…………………………………………….9

2.4.4 เราทเตอร (Router)……………………………..………………………..9

2.4.5 เกทเวย (Gateway)…………………………..…………………………..9

Page 6: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

V

สารบัญ(ตอ)

หนา

2.5 สถาปตยกรรมเครือขาย OSI………………………………...………………….....10

2.5.1 เลเยอร 1(Physical Layer)…………………..………………......…….10

2.5.2 เลเยอร 2(Data Link Layer)………………………………..………….10

2.5.3 เลเยอร 3 (Network Layer)………………..…………………………..11

2.5.4 เลเยอร 4 (Transport Layer)………………..…………………………11

2.5.5 เลเยอร 5 (Session Layer)……………………………………………..11

2.5.6 เลเยอร 6 (Presentation Layer)……………………...………………..11

2.5.7 เลเยอร 7 (Application Layer)……………………….……………….12

2.6 สถาปตยกรรมเครือขาย TCP/IP…………………………..………………………12

2.6.1 ระดับช้ันโฮสต-ทู-เน็ตเวิรก (Host-to-network)……………….………13

2.6.2 ระดับช้ันอินเทอรเน็ต…………………………………………………….13

2.6.3 ระดบัช้ันทรานสปอรต……………………………………………………13

2.6.4 ระดับช้ันแอปพลิเคชัน…………………………………………………...13

2.7 World Wide Web (HTTP)………………………………………………………14

2.7.1 กลไกการทํางานของ HTTP………………….……..…………………15

2.8 SNMP (The Simple Network Management Protocol)………………………16

2.8.1 การทํางาน SNMP………..…………………………………………….16

2.8.2 Management Information Base (MIB)…………………………….16

2.9 PRTG (Paessler Router Traffic Grapher)……………………………………..17

2.9.1 การทาํงานของ PRTG………..……………………………………..18 2.9.2 การจัดเก็บสถิติของ PRTG……………………………………………..19

บทท่ี 3 การออกแบบและพัฒนา………………………………………………………………….20

3.1 โครงสรางการทํางานของระบบ…………………………………..…………………20

3.2 Netflow Analyzer…….…..…………………………… …….…………………..22

3.3 ข้ันตอนการดาํเนินการ............ ………..………………………..…………………23

3.3.1การตั้งคา Config Router Cisco 2800..…… …….…………………..24

3.4 การ Config Software PRTG……………………..………...……………………30

3.4.1 การเพิ่ม Sensor สาํหรับการ Monitor..…… …….…………………..31

Page 7: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

VI

สารบัญ(ตอ)

หนา

บทท่ี 4 การทดสอบประสทิธภิาพและการทํางาน……………………………………………….50

4.1 การ Monitor Traffic ดวย Software PRTG...................................................50

4.2 การวเิคราะหปริมาณ Traffic Net Flow Analyzer………………………………51

บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ………………………………………………………...55 เอกสารอางองิ……………………………………………………………………………………..58

Page 8: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

VII

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1.1 ข้ันตอนการศกึษา............................................................................................................2

2.1 ตัวแปรในการเก็บขอมูลตาง ๆ……………………………………………………………….17

Page 9: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

VIII

สารบัญรูป

รูปที ่ หนา

2.1 การเช่ือมตอ แบบ Client – Server……………………… ………………………………...4

2.2 เครือขายทองถิ่น.............................................................................................................5

2.3 เครือขายระดับเมือง……………………………………………………………………………5

2.3 เครือขายระดบัประเทศ………………………………………………………………………...6

2.4 แสดงการเช่ือมตอระบบเครือขายแบบบัส…………………………………………………….7

2.5 การเช่ือมตอระบบเครือขายแบบวงแหวน…………………………………………………….7

2.6 การเช่ือมตอระบบเครือขายแบบดวงดาว (Star)……………………………………………..8

2.7 การเช่ือมตอระบบเครือขายแบบผสม…………………………………………………………8

2.8 แสดงโมเดล OSI……………………… …………………………………………………...10

2.9 แสดงการเปรียบเทียบ TCP/IP กบั OSI……………………………………… ………….12

2.10 การทํางานของโปรโตคอล HTTP…………………… …………………………………..15

2.11 กระบวนการทํางานของ SNMP ………………………….…… ………………………..16

2.13 การทํางานของ PRTG……………………….…………… ……………………………..18

3.1 แสดง Network Diagram บริษทั เบทาโกร โซนโรงงานลพบุรี.....………… ……………21

3.2 แสดง Network Diagram อุปกรณ Core หลัก.....…………………… …………………..21

3.3 แสดงการเช่ือมตอของโรงงาน BFI..……………………………… ………………………23

3.4 ทําการ Telnet หรือ Console ตัว Router….………………………………………………24

3.5 ปอน Username & Password..…………………………………….………………………24

3.6 แสดงหนาจอ Prompt Mode..………………………………………………………………25

3.7 แสดงหนา Mode Configuration Global Configuration. ………………………………25

3.8 แสดงการ Config Router เพื่อใหสงขอมูลเขา Software Netflow Analyzer......………26

3.9 แสดงการ เปด Function SNMP V1 ,V2 ,V3 ของ Switch 3Com 5500 EI…………..26

3.10 แสดงคา Community String .....……..…………………………………………………..26

3.11 แสดงหนาLog In เขาใชงาน Netflow Analyzer ...……………………………………..27

3.12 แสดงคา Config ของ Software ท่ีกาํหนดในการใชงาน Server Setting ……………..27

3.13 การกาํหนดคา Monitor Interface ท่ีเราจะ Analysis …………………………………..28

3.14 แสดง Interface List……………………………………………….………………………..28

3.15 ขอกําหนด IP Group เม่ือตองการ Add Node ท่ีใช Service SNMP ..………………..29

3.16 แสดงการกาํหนดคาเพือ่ Add Node .…… ……………………………………………..29

3.17 แสดงการกาํหนดคาเพือ่ Add Node .……… …………………………………………..30

3.18 แสดงหนาแรกของ PRTG …………..………… ………………………………………..30

Page 10: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

IX

สารบัญรูป(ตอ)

รูปที ่ หนา

3.19 แสดงการเปด PRTG Traffic Click here to Create Your first sensor ..… ………..31

3.20 แสดงหนาตาง Add Sensor Wizard ..…………………………………………………..31

3.21 แสดงหนาตาง Add Sensor SNMP ..……………………… …………………………..32

3.22 แสดงหนาตาง SNMP Sensor Selection ……………………… ……………………..32

3.23 แสดงหนาตาง Device Selection .…..…………………………… …………………..33

3.24 แสดง Interface ท่ีตองการ Monitor ………………………… ………………………..33

3.25 แสดงSensor ท่ี Add ………………..………………………… ………………………..34

3.26 แสดงการตรวจดูเหตุการณ……………..……………………… …………………………34

3.27 แสดงการตรวจสอบ Sensor ...………..……………………… ………………………….35

3.28 แสดงการสราง Custom Sensor …..……………………… …………………………..35

3.29 แสดงหนาตาง PRTG ………………..……………………… …………………………..36

3.30 แสดงSensor ท่ีสรางข้ึนมา…………..………………………… ………………………...36

3.31 แสดงการกาํหนดคาเวลาของ Graph ..…………………………………………………..37

3.32 แสดง Graph ท่ีแสดงการทํางานในแตละชวงเวลา……………………………………….37

3.33 แสดงการเปด Sensor จากปุม Browser ภายในโปรแกรม……………………………..38

3.34 แสดงสถานะ Graph ………………..…………………………………………………….38

3.35 แสดงการกาํหนดคาตางของ Web …..…………………………………………………..39

3.36 แสดงการเขาหนาตาง PRTG ………..…………………………………………………..39

3.37 แสดง Menu Report ในการใชงาน PRTG ……………………………………….……..40

3.38 แสดงการกาํหนดคาในการออก Report ………………………………………..………..40

3.39 แสดงการระบุช่ือท่ีใชเก็บ Report …..……………………………………………….…..41

3.40 แสดงการเลือก Sensors ท่ีตองการทํา Report ……………………………………..…..41

3.41 แสดงการตั้งคา File Report ท่ีตองการบันทึก…………………………………………..42

3.42 แสดงการกาํหนดคา Option ในสวน Web Server …………………………………….42

3.43 แสดงกําหนดคา Option ในสวน Web Server …………………………………………43

3.44 แสดงการกาํหนด Interface IP ท่ีตองการ………………………………………..……..43

3.45 แสดงการปรับตั้งคา Port ท่ีใช Connect ………………………………………………..44

3.46 แสดงการเลือก Option Limited …..………………………………..…………………..44

3.47 แสดงการสราง User ท่ีจะใช Log In…………………………………………………….45

3.48 แสดงUser ท่ีมีอยู…………………..……………………………………………………..45

3.49 แสดงการสราง User ใหม…………..………………………………………….………..46

Page 11: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

X

สารบัญรูป(ตอ)

รูปที ่ หนา

3.50 แสดงรายช่ือ User ท่ีสรางข้ึนมา……..…………………… ……………………………..46

3.51 แสดงการให User ท่ีสรางข้ึนมาเปน Admin ……………… …………………………..47

3.52 แสดงการ Backup Database & maintenance …………… ……………………….47

3.53 แสดงการเลือก Path ท่ีเกบ็ในการ Backup………………… …………………………..48

3.54 แสดงการเลือก Folder ท่ีตองการเก็บ File Backup………………. …………………..48

3.55 แสดง Path ท่ี Backup Database…..…………………………………….…….………..49

4.1 แสดงหนาจอ Traffic รวมท่ีใชงาน....................................................………………..…51

4.2 แสดง Interface จาก Router ท่ีเขา Flow-Export……………….. ……..………………51

4.3 แสดง Interface และTraffic ท่ีใชงาน............…………… ……………..……………….52

4.4 Traffic ของคา Interface AP Wireless Link..……………………………..…………..52

4.5 แสดง Data Point ชวงเวลาของ Traffic ..............................……………..……………..52

4.6 แสดง Application ท่ีใชงานอยูบน Interface Input..……………………..…… …..……53

4.7 แสดง Application ท่ีใชงานอยูบน Interface Output.…………… …………………….53

4.8 แสดง Application ท่ีใชงาน HTTP, TCP โดยสามาถดู Source, Des ได..... ………... 54

5.1 แสดง แนวคดิการดาํเนินการใช Router ในการชวยลองรับปริมาณ Session ใน Link AP

Wireless……………………………………………… …………………………....…………...56

Page 12: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

1

บทที่ 1

บทนํา

1. 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

คอมพวิเตอรภายในองคกรมีการตดิตอสือ่สารกบัโลกภายนอกเชน อนิเตอรเน็ต ทาง

องคกรตองการทําการเชาวงจรสือ่สาร หรือ Leased line โดยมีความเร็วตั้งแต 64 Kbps, 128

Kbps, 512 Kbps, 1 Mbps etc. LAN Administrator จะตองคอยตรวจสอบปริมาณขอมูลท่ี

วิ่งเขาออกผานอุปกรณ Gateway หรือ Router เพราะจะทําใหทราบวามีการใชงานเครือขาย

มากท่ีสุดและนอยท่ีสุดในชวงเวลาใดโดยเฉพาะทราฟกสน้ันมีปริมาณสูงเกินกวาความเร็วของ

Leased line ท่ีเชาอยูหรือไม มีการโอนยายไฟลขอมูล ขนาดใหญหรือไม มีการโจมตีจาก

ภายนอกดวยการ Ping Flood หรือไม ซ่ึงเปนสาเหตุใหเกิดปญหาคอขวดบนระบบเครือขาย

LAN Administrator ตองทําการมอนิเตอรระบบ เครือขายดวยโปรแกรมตรวจสอบ

และจัดเก็บสถิติระบบเครือขาย เพื่อมาวิเคราะหสถานการณ ท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน

1.2 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศกึษา

จัดทําเพื่อใช ตรวจสอบ ระบบเครือขาย Network และสามารถเขาดูไดทุกท่ีผาน Web

และสามารถท่ีจะเกบ็รวบรวมขอมูล Traffic ไว เพื่อชวยใหมีการจัดการระบบ Network ทํางาน

ไดอยางมีประสิทธิภาพ ชวยในการออกแบบและวิเคราะหปญหา ท้ังยังปองกัน และแกปญหาได

อีกดวย การ Monitoring Network เปนการวิเคราะหดูขอมูลท่ีเกี่ยวกับ Network Traffic ซ่ึง

มีการไหลเวยีนของขอมูล จากคอมพวิเตอร โดยครอบคลมุ และการวเิคราะหขอมูล เราสามารถ

ท่ีจะปองกัน ขัดขวาง และแกปญหาตางๆ ท่ีเกิดข้ึนบนระบบ Network

1.3 สมมติฐานของการศกึษา

การดูแลระบบองคกรใหญท่ีมีอุปกรณ Switch, Layer 3 Switch, Router และ

Firewall มากมาย จะทําอยางไรท่ีจะสามารถวางแผน และออกแบบเครือขายใหเสถยีรภาพและ

เพียงพอตอการใชงานภายในเครือขาย และสาขาอื่นท่ีมีการเช่ือมตอเขาดวยกัน ใหมี

ประสิทธิภาพ และตรวจสอบการไหลเวียนของขอมูลแตละวันมีมากแคไหน

1.4 ขอบเขต

1.4.1 ดูปริมาณขอมูล (packet) ท่ีวิ่งบนอุปกรณ Network device ตางๆ เพื่อนํามา

วิเคราะหในการออกแบบและแกไขปญหา

1.4.2 ใชโปรแกรม PRTG เพื่ออานคาบนอุปกรณ Network โดย Protocol SNMP

1.4.3 เพิม่ความสะดวกในการเขามาตรวจสอบ ผาน web ได

1.4.4 เก็บขอมูล Event Log Monitoring ลง Database เพื่อดูขอมูลยอนหลัง

Page 13: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

2

1.4.5 ตรวจสอบสถานะอปุกรณ

1.5 ผลที่คาดหวัง

1.5.1 เพื่อนําไปบํารุงแกไขปญหาระบบเครือขายจากเดิมใหดีข้ึน

1.5.2 รูปริมาณขอมูลท่ีวิ่งผานอุปกรณ network เชน Switch, Router

1.5.3 วิเคราะหปญหาท่ีเกิดข้ึนในระบบเครือขายได

1.5.4 เก็บรวบรวมขอมูลยอนหลัง

1.5.5 LAN Administrator สามารถเขามาตรวจสอบไดผาน Web Server

1.5.6 สามารถ monitoring ไดทุกท่ี ผาน web โดยไมตอง Install software

1.6 ขัน้ตอนการศกึษา

ตารางท่ี 1.1 ข้ันตอนการศกึษา

Page 14: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

3

บทที่ 2

ทฤษฎีพ้ืนฐานที่ใชในการวิจัย

2.1 เครือขายคอมพิวเตอร

เม่ือมนุษยมาอยูรวมกันเปนกลุม มีการติดตอสื่อสารระหวางกัน รวมกันสรางสังคม

เพื่อให ความเปนอยูโดยรวมดีข้ึน จากการดาํเนินชีวติรวมกนัท้ังในดานครอบครัว การทํางาน

ตลอดจนสังคมและการเมือง ทําใหตองมีการพบปะแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เม่ือมนุษยมี

การติดตอสื่อสารระหวางกัน การพัฒนาทางดานคอมพิวเตอรเพื่อใหใชงานไดตามความ

ตองการ แรกเร่ิมมีการพฒันาคอมพวิเตอรแบบ รวมศนูย เชน มินิคอมพิวเตอร หรือ

เมนเฟรม โดยใหผูใชงานใชพรอมกันไดหลายคน แตละคนเปรียบเสมือน เปนสถานีปลายทาง ท่ี

เรียกใชทรัพยากร การคาํนวณจากศนูยคอมพวิเตอรและใหคอมพวิเตอรตอบสนองตอ การ

ทํางานน้ัน ตอมามีการพฒันาไมโครคอมพวิเตอรทาํใหสะดวก ในการใชงานสวน

บุคคล จึงมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร วา พีซี (Personal Computer : PC) การใชงาน

คอมพิวเตอรจึงแพรหลายอยางรวดเร็ว เพราะการใชงานงายราคาลดลงมาก สามารถจัดหามา

ใชไดไมยาก เม่ือมีปริมาณการใชงานกนัมาก บริษัทผูผลิตคอมพิวเตอรตางๆ ไดมีการ

ปรับปรุง และพัฒนาเทคโนโลยีใหตอบสนองความตองการท่ีจะทํางานรวมกันเปนกลุมในรูปแบบ

เครือขายคอมพวิเตอร ทําใหไดรับความนิยมสูงมาก เพราะทําใหตอบสนองตรงความตองการ

ท่ีจะติดตอสื่อสาร ขอมูลระหวางกัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอรไดรับการพัฒนาเร่ือยมาจากเคร่ือง

คอมพิวเตอรขนาดใหญไดแก เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร มาเปนไมโครคอมพิวเตอร ท่ีมีขนาด

เล็กลงแตมีประสิทธิภาพสูงข้ึนไมโครคอมพิวเตอรก็ไดรับ การพฒันาใหมคีวามสามารถและ

ทํางานไดมากข้ึน จนกระท่ังคอมพิวเตอรสามารถทํางานรวมกันเปนกลุมได ดังน้ันจึงมีการ

พฒันาใหคอมพวิเตอรทาํงานในรูปแบบ เครือขายคอมพวิเตอร คือการใชงาน เคร่ือง

คอมพิวเตอร ขนาดใหญมาเปนสถานีบริการ หรือท่ีเรียกวา เคร่ืองผูใหบริการ (Server) และให

ไมโครคอมพิวเตอรตาม หนวยงานตางๆ เปนเคร่ืองใชบริการ (Client) โดยมีเครือขาย

(Network) เปนเสนทางเช่ือมโยงคอมพิวเตอรจาก จุดตางๆ

Page 15: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

4

รูปท่ี 2.1 การเช่ือมตอ แบบ Client – Server

จนในท่ีสุดระบบเครือขายก็จะเขามาแทน ระบบคอมพิวเตอรเดิมท่ีเปนแบบรวมศูนย

เครือขายคอมพิวเตอร ไดมีความสาํคญัและความนิยมมากข้ึน เพราะสามารถสรางระบบ

คอมพิวเตอรใหเหมาะ สมกับงาน ในธุรกิจขนาดเล็กท่ีกําลังทุน ในการจักหา ซ้ือเคร่ือง

คอมพิวเตอรท่ีมีราคาสูงเชน มินิคอมพิวเตอร กส็ามารถนําไมโครคอมพิวเตอรหลายเคร่ืองมาตอ

เช่ือมโยงรวมกนัเปนเครือขาย โดยใหไมโครคอมพิวเตอรเคร่ืองหน่ึง เปนสถานีผูใหบริการท่ีทํา

ใหใชงานขอมูลรวมกันได เม่ือกิจการ ขยายตวัมาก ข้ึนกส็ามารถขยายเครือขายการใช

คอมพิวเตอรโดยเพิ่มจํานวนเคร่ืองหรือขยายความจุขอมูลใหเหมาะ สมกับองคกร ในปจจุบัน

องคการขนาดใหญกส็ามารถลด ปริมาณการลงทุนลงได โดยใชเครือขายคอมพิวเตอรเช่ือมโยง

จากกลุมเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุมรวมกันเปนเครือขายขององคการ โดยสภาพการใชขอมูลสามารถ

ทําไดดีเหมือน เชนในอดีตท่ีตองลงทุนจํานวนมากเครือขายคอมพิวเตอรมีบทบาทท่ีสําคัญตอ

หนวยงานตางๆ ดังน้ี

2.1.1 ทําใหทํางานรวมกันเปนกลุม และทํางานไดพรอมกัน

2.1.2 ใหสามารถรวมกันใชขอมูลตางๆ ทําใหองคการไดรับประโยชนมากข้ึน

2.1.3 ทําใหเกิดความคุมคาในการใชทรัพยากรรวมกัน เชน รวมกันใชเคร่ืองประมวลผล

, แบงกันหรือแลกเปลี่ยนการใชแฟมขอมูล, เคร่ืองพิมพ และอุปกรณท่ีมีราคาแพงรวมกัน

2.1.4 ทําใหควบคุมการลงทุนสามารถลงทุนใหเหมาะสมกบังบประมาณของหนวยงาน

ได

Page 16: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

5

2.2 ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอร

ไดมีการแบงออกเปน 3 ประเภท คอื

2.2.1 เครือขายทองถ่ิน (Local Area Network หรือ LAN)

เปนเครือขายขนาดเลก็ ใชงานกันอยูในบริเวณไมกวางนัก อาจอยูในองคกร

เดียวกัน หรืออาคารท่ีใกลกนั เชน ภายในหนวยงาน ภายในสถานศกึษา ระบบเครือขาย

ทองถิ่นจะชวยใหติดตอกันไดสะดวก ชวยลดตนทุน และเพิม่ประสทิธภิาพในการใชงานอปุกรณ

ตางๆ

รูปท่ี 2.2 เครือขายทองถิ่น

2.2.2 เครือขายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN)

เปนเครือขายขนาดกลาง ใชภายในหนวยงานขนาดใหญข้ึน เชน ระบบเคเบิล

ทีวีท่ีใหบริการสมาชิกตามบานท่ัวไปมีการตดิตัง้ระบบภายนอกอาคาร ก็จัดเปนระบบเครือขาย

แบบ MAN

รูปท่ี 2.3 เครือขายระดับเมือง

2.2.3 เครือขายระดบัประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN)

Page 17: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

6

เปนระบบเครือขายขนาดใหญ มาก มีสถานีหรือจุดเช่ือมตอมากมาย มีปริมาณ

เคร่ือง Server และ Client มากกวาระดับ Lan และ Man ใชสื่อกลางหลายชนิด เชน ระบบ

คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม

รูปท่ี 2.3 เครือขายระดบัประเทศ

2.3 รูปแบบ Network Topology

การวางรูปแบบการเช่ือมตอทางกายภาพ และการไหล เวยีน ของขอมูล (Network

Topology) ถือเปนสวนสําคัญ สาํหรับ การติดตั้งระบบเครือขายจริง ท้ังน้ีเน่ืองจากในแตละ

องคกรมีแนวความคดิในการใชงานทรัพยากรเครือขายท่ีแตกตางกัน รูปแบบในการเช่ือมตอของ

เครือขายคอมพิวเตอรมี 4 รูปแบบหลัก คือ การเช่ือมตอแบบบัส (Bus Topology) การเช่ือมตอ

แบบวงแหวน (Ring Topology) การเช่ือมตอแบบดวงดาว (Star Topology) และ

โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)

2.3.1 การเช่ือมตอแบบบัส (Bus Topology)

เปนระบบของ เคร่ืองขายคอมพิวเตอร ท่ีใชสายนําสัญญาณหลักเพียงเสนเดียว

(Back Bone) และท่ีปลายสายท้ัง 2 ดานจะมี Terminators ท่ีมีความตานทาง 50 โอหมติดอยู

โดยเคร่ืองคอมพิวเตอรแตละเคร่ืองซ่ึงจะถูกเรียกวาโหนด (Node) ไดทําการเช่ือมตอกับสายนํา

สัญญาณหลักน้ี ตามความยาวของสาย รูปแบบการเช่ือมตอชนิดน้ีนิยมใชกับสายนําสัญญาณ

แบบโคแอกเชียล เทคนิคการเช่ือมตอแบบบัสยังสามารถแบงแยกยอยไดตามขนาด

ความหนาของสายนําสญัญาณหากใชสายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Coaxial) จะมีอปุกรณ

ตอแยกการเช่ือมตอจากสายนําสัญญาณหลักออกเปนสายยอยความยาวสั้นๆเขาสูเคร่ือง

คอมพิวเตอรหน่ึงชุดตอหน่ึงเคร่ือง สาํหรับสายโคแอกเขียลแบบบาง (Thin Coaxial) ผูใชงาน

จะสามารถนําสายดังกลาวเช่ือมตอเขาและออกจากเคร่ืองคอมพิวเตอรไดโดยตรง

Page 18: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

7

รูปท่ี 2.4 แสดงการเช่ือมตอระบบเครือขายแบบบัส

2.3.2 การเชื่อมตอแบบวงแหวน (Ring Topology)

เปนการนําปลายเปดท้ังสองดานของการเช่ือมตอแบบบัสมาเช่ือมตอเขา

ดวยกันเกิดเปน รูปวงแหวน โดยขอมูลจะวิ่งวนในวงแหวนในทิศทางไดทิศทางหน่ึงตลอด

ลักษณะการเช่ือมตอแบบน้ีไมไดรับความนิยมใชงานมากนัก เพราะหากเกิดปญหาขึ้นกับสายนํา

สัญญาณในจุดใดจุดหน่ึงก็จะทําใหท้ังเครือขายไมสามารถทํางานไดทันทีปจจุบันมีความ

พยายามในการออกแบบทางเทคนิคเพือ่ทําใหขอมูลภายในเครือขายแบบวงแหวน สามารถ

เคลื่อนท่ีไปไดท้ัง 2 ทิศทางไมวาจะเปนทิศทางตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกาซ่ึงเปนเร่ือง

ของโปรโตคอล

รูปท่ี 2.5 การเช่ือมตอระบบเครือขายแบบวงแหวน

2.3.3 การเช่ือมตอแบบดวงดาว (Star Topology)

ไดมีการ พฒันาข้ึน ภายหลังจากมีการ ใชงานการ เช่ือมตอแบบบัส ซ่ึงลักษณะ

การเช่ือมตอแบบน้ีปจจุบันไดกลายมาเปนการเช่ือมตอท่ีไดรับความนิยมใชงานท่ัวโลก มีแนวคิด

ดังในรูปท่ี 2.6 คอมพิวเตอรแตละเคร่ืองมีการเช่ือมตอเขากับระบบเครือขายโดยใชสายนํา

สัญญาณตอเขาสูอุปกรณท่ีมีช่ือวาฮับ (Hub) ซ่ึงเปนอุปกรณท่ีมีการติดตั้งไวในจุด ๆ หน่ึงทํา

หนาท่ีเช่ือมตอวงจรหรือการเช่ือมตอภายในระบบเครือขายเขาดวยกันเคร่ืองคอมพิวเตอรไมวา

Page 19: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

8

จะเปนเซิรฟเวอรหรือไคลเอนดตางตองเช่ือมตอกับฮับ (Hub) ขอดีของการเช่ือมตอแบบ

ดวงดาวก็คือหากสายนําสัญญาณเสนใดเสนหน่ึงขาดหรือเสียหาย ก็จะสงผลกระทบเฉพาะกับ

คอมพิวเตอรเพียงเคร่ืองเดียวมิไดสงผลตอระบบเครือขายโดยรวม

รูปท่ี 2.6 การเช่ือมตอระบบเครือขายแบบดวงดาว (Star)

2.3.4 โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)

เปนเครือขายการสื่อสารขอมูลแบบผสมระหวางเครือขายแบบใดแบบหน่ึง หรือ

มากกวา เพื่อความถูกตองความเสถยีรของระบบ ท้ังน้ีข้ึนอยูกับความตองการและภาพรวมของ

แตละองคกร

รูปท่ี 2.7 การเช่ือมตอระบบเครือขายแบบผสม

2.4 อุปกรณเชื่อมตอเครือขาย

2.4.1 รีพีตเตอร (Repeater)

รีพีตเตอร เปนอุปกรณท่ีทํางานอยูในระดับฟสิคัลเลเยอร (Physical Layer) ใน

OSI Model มีหนาท่ีเช่ือมตอสําหรับขยายสัญญาณใหกับเครือขาย เพื่อเพิ่มระยะทางในการ

รับสงขอมูลใหกับเครือขายใหไกลออกไปไดกวาปกติ ขอจํากัด คือทําหนาท่ีในการสงตอ

สัญญาณท่ีไดมาเทาน้ัน จะไมมีการเช่ือมตอกับระบบเครือขายซ่ึงอาศัยวิธีการ Access ท่ี

Page 20: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

9

แตกตางกัน เชน Ethernet กบั Token Ring และไมรูจักลักษณะของขอมูลท่ีแฝงมากับ

สัญญาณเลย

2.4.2 บริดจ (Bridge)

บริดจ จะถกูใชในการเช่ือมตอวงแลน (LAN Segment) 2 วงเขาดวยกัน ทําให

สามารถขยายขอบเขตของเครือขายออกไป โดยท่ีประสิทธิภาพรวมของระบบไมลดลงมากนัก

โดยบริดจอาจเปนไดท้ังฮารดแวรเฉพาะ หรือ ซอฟแวรบนเคร่ืองคอมพิวเตอร บริดจจะมีการ

ทํางานท่ีดาตาลิ้งคเลเยอร (Data Link Layer) ทําการกรองสัญญาณและสงผานแพ็กเก็ตขอมูล

ไปยังสวนตางๆ ของระบบเครือขาย ซ่ึงอาจจะเปนสวนของระบบเครือขายท่ีมีโครงสราง

สถาปตยกรรมท่ีแตกตางกันได เชน บริดจสามารถเช่ือมโยงสวนของ Ethernet เขากับสวนของ

Token Ring ได และถึงแมวาระบบเครือขายท้ังคูจะใชโปรโตคอลท่ีแตกตางกัน บริดจก็ยังคง

สามารถโยกยายแพ็กเก็ตขอมูลระหวางระบบเครือขายท้ังสองไดอยูดี

2.4.3 สวิตซ (Switch)

สวิตซ หรือท่ีนิยมเรียกวา อีเธอรเนตสวิตซ (Ethernet Switch) จะเปน บริดจ

แบบหลายชองทาง (Multiport Bridge) ท่ีนิยมใชในระบบเครือขาย LAN แบบ Ethernet เพื่อ

ใชเช่ือมตอเครือขายหลายๆ เครือขาย (Segment) เขาดวยกัน สวิตซจะชวยลดการจราจร

ระหวางเครือขายท่ีไมจําเปน และเน่ืองจากการเช่ือมตอแตละชองทางกระทําอยูภายในตัวสวิตซ

เอง ทําใหสามารถทําการแลกเปลีย่นขอมูลในแตละเครือขาย (Switching) ไดอยางรวดเร็วกวา

การใชบริดจจํานวนหลายๆ ตัวเช่ือมตอกัน

2.4.4 เราทเตอร (Router)

เราทเตอร เปนอุปกรณท่ีทํางานอยูในระดับท่ีสูงกวาบริดจ ทําใหสามารถใชใน

การเช่ือมตอระหวางเครือขายท่ีใชโปรโตคอลตางกันได และสามารถทําการกรอง (Filter) เลือก

เฉพาะชนิดของขอมูลท่ีระบุไววาใหผานไปไดทําใหชวยลดปญหาการจราจรท่ีคับคั่งของขอมูล

และเพิ่มระดับความปลอดภัยของเครือขาย นอกจากน้ี เราทเตอรยังสามารถ คนหาเสนทางการ

สงขอมูลท่ีเหมาะสมใหโดยอัตโนมัติดวย อยางไรก็ดีเราทเตอร จะเปนอุปกรณท่ี ทํางานข้ึนอยูกับ

โปรโตคอล น่ันคือ ในการใชงานจะตองเลือกซ้ือเราทเตอรท่ีสนับสนุนโปรโตคอลเครือขายท่ี

ตองการจะเช่ือมตอเขาดวยกัน

2.4.5 เกทเวย (Gateway)

เกทเวย เปนอุปกรณท่ีมีหนาท่ีในการเช่ือมตอและแปลงขอมูลระหวาง เครือขาย

ท่ีแตกตางกันท้ังในสวนของโปรโตคอล และสถาปตยกรรมเครือขาย เชน เช่ือมตอและแปลง

ขอมูลระหวางระบบเครือขาย LAN และระบบ Mainframe หรือเช่ือมระหวางเครือขาย SNA

ของ IBM กบั decent ของ DEC เปนตน โดยปกติ เกทเวยมักเปน Software Package ท่ีใช

งานบนเคร่ืองคอมพิวเตอรเคร่ืองใดเคร่ืองหน่ึง (ซ่ึงทําใหเคร่ืองน้ันมีสถานะเกทเวย) และมักใช

สําหรับเช่ือม Workstation เขาสูเคร่ืองท่ีเปนเคร่ืองหลัก (Host) ทําใหเคร่ืองเปน Workstation

สามารถทํางาน ติดตอกับเคร่ืองหลักได โดยไมตองกังวลเกี่ยวกับขอแตกตางของระบบเลย

Page 21: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

10

2.5 สถาปตยกรรมเครือขาย OSI

รูปท่ี 2.8 แสดงโมเดล OSI

2.5.1 เลเยอร 1(Physical Layer)

หลกัการทํางาน ของ เลเยอรนี้ จะเกี่ยวกับการสงสัญญาณบิตขอมูลผาน

ชองสัญญาณใหไดถูกตองและมีประสิทธิภาพ กลาวคือเม่ือผูสงสงบิตท่ีมีคาเปน 1ผูรับตองไดรับ

บิตมีคาเปน 1เชนเดียวกันและเพื่อใหการสงบิตขอมูลเปนไปอยางถูกตองระดับช้ันน้ีจึงมีการ

กําหนดคาตางๆ

เชน

- กําหนดคาแรงดันไฟฟาของบิต 1 , 0 และอัตราของการสงขอมูล (สัญญาณเวลาท่ีใช

ในการรับสงขอมูล)

- กาํหนดมาตรฐานการสงสญัญาณ แบบแอนาล็อก และแบบดิจิตอล มาตรฐานของตัว

แปลงสัญญาณ มาตรฐานของการอินเตอรเฟซ และการสงขอมูลโตตอบ ระหวาง อุปกรณผูใช

(DTE) กับอุปกรณสื่อสาร (DCE)

- กําหนดลักษณะชองสัญญาณของสายสื่อสาร ในลักษณะของ ซิมเพล็กซ ฮาลฟดู

เพล็กซหรือฟูลดูเพล็กซ ตลอดจนการมัลติดเพล็กซสัญญาณขอมูล

2.5.2 เลเยอร 2(Data Link Layer)

เลเยอรน้ีมีหลักการทํางานในการควบคุมการสงขอมูลใหเสมือนกับวาไมมีความ

ผิดพลาดเกิดข้ึน เพื่อใหเลเยอรสูงข้ึนไปสามารถนําขอมูลไปใชไดอยางถูกตอง วิธีการคือฝายผู

สงจะทําการแตกขอมูลออกเปนเฟรมขอมูล (data-frame) โดยจะตองมีการกําหนดขอบเขตของ

เฟรม (frame boundary) โดยการเติมบิตเขาไปยังจุดเร่ิมตนและจุดสิ้นสุดของเฟรม จากน้ันทํา

การสงเฟรมขอมูลออกไปทีละชุดและรอรับการตอบรับ (Acknowledge frame) จากผูรับ ถา

Page 22: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

11

หากมีการสญูหายของเฟรมขอมูล ซ่ึงอาจเน่ืองมาจากสญัญาณรบกวนจากภายนอกหรือ

ขอผิดพลาดอื่นๆ ในกรณีน้ีฝายผูสงจะตองสงเฟรมขอมูลเดิมออกมาใหม

2.5.3 เลเยอร 3 (Network Layer)

ทําหนาท่ีหลักเกี่ยวของกับการหาเสนทาง (routing) ในการสงแพคเก็ตจากตน

ทางไปยังปลายทาง ซ่ึงจะมีการสลับชองทางในการสงขอมูลหรือท่ีเรียกวา แพ็กเกตสวิตช่ิง

(packet switching) มีการสรางวงจรเสมือน (virtual circuit) ซ่ึงคลายกับวามีเสนทางเช่ือมโยง

กันระหวางคอมพิวเตอร 2 เคร่ืองใหติดตอสื่อสารถึงกันไดโดยตรง การกําหนดเสนทางการสง

ขอมูลน้ัน คอมพิวเตอรฝายผูสงอาจทําหนาท่ีพิจารณาหาเสนทางท่ีเหมาะสมในการสงขอมูล

ตั้งแตตน หรืออาจใชวิธีแบบไดนามิกส (dynamic) คือแตละแพคเก็ตสามารเปลี่ยนแปลง

เสนทางไดตลอดเวลา นอกจากน้ีเคร่ืองคอมพิวเตอรฝายผูสงยังมีหนาท่ีในการจัดการเร่ืองท่ีอยู

ของเครือขายปลายทางโดยจะมีการแปลงท่ีอยูแบบตรรกะ (logical address) ใหเปนท่ีอยูแบบ

กายภาพ (physical address) ซ่ึงถูกกําหนดโดยการดเช่ือมตอระบบเครือขาย

2.5.4 เลเยอร 4 (Transport Layer)

ทําหนาท่ีเสมือนบริษัทขนสงท่ีรับผิดชอบการจัดสงขอมูลโดยปราศจากความ

ผิดพลาด ซ่ึงมีหนาท่ีหลักคือ การตรวจสอบและแกไขความผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนในขอมูล คอย

แยกแยะและจัดระเบียบของแพ็กเก็ต ขอมูลใหจัดเรียงลําดับอยางถูกตอง และมีขนาดท่ี

เหมาะสม นอกจากน้ียังทําการผนวกขอมูลท้ังหลายใหอยูในรูปของ วงจรเดียวหรือเรียกวาการ

มัลติเพล็กซ (multiplex) และมีกลไกสําหรับควบคุมการไหลของขอมูลใหมีความสมํ่าเสมอ

2.5.5 เลเยอร 5 (Session Layer)

จากเลเยอรทีผ่านมา เปนการทํางาน เกี่ยวพันอยูเฉพาะกับบิตและขอมูลเทาน้ัน

โดยไมไดสนใจเกี่ยวกับสถานะภาพการใชงานจริงของผูใชแตอยางใด ซ่ึงหนาท่ีดังกลาวน้ีจะ

เกิดข้ึนท่ี Session Layer ในเลเยอรน้ีจะมีการใหบริการสําหรับการใชงานเคร่ืองท่ีอยูหางไกล

ออกไป (remote login) การถายโอนไฟลระหวางเคร่ือง โดยจะมีการจัดตั้งการสื่อสารระหวาง 2

ฝาย เรียกวา Application Entities หรือ AE ซ่ึงเทียบไดกับบุคคล 2 คนท่ีตองการสนทนากนั

ทางโทรศัพท โดย Session Layer จะมีหนาท่ีจดัการใหการสนทนาเปนไปอยางราบร่ืน โดยการ

เฝา ตรวจสอบการไหลของขอมูลอยางเปนจังหวะ ดูแลเร่ืองความปลอดภัยเชน ตรวจสอบอายุ

การใชงานของรหัสผาน จํากัดชวงระเวลาในการติดตอ ควบคุมการถายเทขอมูลรวมถึงการกู

ขอมูลท่ีเสียหายอันเกิดมาจากเครือขายทํางานผิดปกติ นอกจากน้ียังสามารถตรวจดูการใชงาน

ของระบบและจัดทําบัญชีรายงานชวงเวลาการใชงานของผูใชได

2.5.6 เลเยอร 6 (Presentation Layer)

หนาท่ีหลักคือการแปลงรหัสขอมูลท่ีสงระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอร 2 เคร่ืองให

เปนอักขระแบบเดียวกัน เคร่ืองคอมพิวเตอรสวนใหญจะใชรหัส ASCII (American Standard

Code for Information Interchange) แตในบางกรณีเคร่ืองท่ีใชรหัส ASCII อาจจะตองสื่อสาร

กับเคร่ืองเมนเฟรมของ IBM ท่ีใชรหัส EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal

Page 23: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

12

Interchange Code) ดังน้ัน Presentation Layer จะทําหนาท่ีแปลงรหัสเหลาน้ีใหเคร่ือง

คอมพิวเตอรเขาใจไดตรงกัน นอกจากน้ียงัสามารถทําการลดขนาดของขอมูล (data

compression) เพือ่เปนการประหยัดเวลาในการรับสง และสามารถเขารหสัเพือ่เปนการปองกนั

การโจรกรรมขอมูลไดอีกดวย

2.5.7 เลเยอร 7 (Application Layer)

เปนเลเยอรบนสุดท่ีทํางานโดยตรงกับผูใช การทํางานของเลเยอรน้ีจะเกี่ยวของ

กับโปรโตคอลตางๆ มากมาย ซ่ึงจะมีการใชงานท่ีเฉพาะตัวแตกตางกันออกไป มีบริการ

ทางดานโปรแกรมประยุกตตางๆ ไดแก Email, file transfer, remote job entry, directory

services นอกจากน้ียังมีการจัดเตรียมฟงกช่ันในการเขาถึงไฟลและเคร่ืองพิมพ ซ่ึงเปนการ

แบงปนการใชทรัพยากรบนระบบเครือขาย

2.6 สถาปตยกรรมเครือขาย TCP/IP

TCP/IP เร่ิมมาจากการศกึษาวจัิยท่ีไดรบัทุนสนับสนุนจากกระทรวงกลาโหม

สหรัฐเมริกา(DoD,U.S.DepartmentofDefense)โดยมีเปาหมายในการเช่ือมโยงขอมูลระหวาง

มหาวิทยาลัยตางๆตลอดจนหนวยงานของรัฐ โดยการใชสายเชาโทรศัพทในการเช่ือมโยงของ

เครือขายและใหบริการสงขอมูลซ่ึงเปนการใหบริการแบบ Connection-oriented และเรียก

เครือขายน้ีวาอารพาเน็ต (ARPANET) ตอมาเม่ือมีการขยายเครือขายใชงานกนัแพรหลายมาก

ข้ึน ทําใหมคีวามจําเปนในการกาํหนดเปนสถาปตยกรรมเครือขาย เพือ่ใหสามารถบริการสง

ขอมูลผาน เครือขายไดท้ังแบบConnection-oriented และ Connectionless ซ่ึงสถาปตยกรรม

น้ีเรียกกันท่ัวไป วา ตัวแบบTCP/IP (TCP/IP Reference Model) ตามโปรโตคอล TCP

(Transmission Control Protocol) ในระดบัช้ันทรานสปอรต และโปรโตคอล IP (Internet

Protocol) ในระดับช้ันเน็ตเวิรกซ่ึงเปนโปรโตคอลสําคัญของสถาปตยกรรมเครือขายน้ีตัวแบบ

TCP/IP เม่ือเปรียบเทียบกับตัว OSI ไดแสดงดังรูปในท่ีน้ีจะอธิบายโดยสังเขปถึงเน้ือหาสาระ

ของระดับช้ันตาง ๆ ของตัวแบบนี ้

รูปท่ี 2.9 แสดงการเปรียบเทียบ TCP/IP กับ OSI

Page 24: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

13

2.6.1 ระดับช้ันโฮสต-ทู-เน็ตเวิรก (Host-to-network)

ในระดับช้ันน้ีสาระสําคัญเพียงแตระบุวาโฮสตจะตองติดตอเขากับเครือขายโดย

อาศยั โปรโตคอลอยางใดอยางหน่ึงเพื่อท่ีจะสงแพ็กเกตผานเครือขายไปไดในการท่ีตัวแบบ

TCP/IP ไมกําหนดโปรโตคอลท่ีใชในการติดตอระหวางโฮสตกับเครือขายน้ัน ทําใหตัวแบบ

TCP/IP สามารถใชงานไดดีท้ังกับแลนและแวน แตอยางไรก็ตามมีผูออกแบบ โปรโตคอลเพื่อใช

ในการสงขอมูลจากคอมพิวเตอรของผูใชเขาสูอินเทอรเน็ต เชน โปรโตคอล SLIP (Serial Line

IP) และโปรโตคอล PPP (Point-to-Point Protocol) เปนตน

2.6.2 ระดับช้ันอินเทอรเน็ต

หลกัการทํางาน ของระดับช้ันอินเตอรเน็ตน้ีเปนการหาเสนทางสงขอมูล

(routing) ในการสง ขอมูลจากโฮสตตนทางใหถึงโฮสตปลายทางไดอยางถูกตองและมี

ประสิทธิภาพซ่ึงคลายกับสาระสําคัญของระดับช้ันเน็ตเวิรกของ OSI ในระดับช้ันน้ีจะมี

โปรโตคอลท่ีถูกออกแบบมาใหบริการสงขอมูลแบบ Connectionless โดยโฮสตตนทางสามารถ

สงแพ็กเกตขอมูลเขาไปในเครือขายใดๆไดแลวโปรโตคอลน้ีจะสงแพ็กเกตผานเครือขายตางๆไป

ถึงปลายทางโดยท่ีแตละแพ็กเกตจะถูกสงอยางอิสระจากกันและกันกลาวคืออาจจะผานเสนทาง

แตกตางกันและเม่ือไปถึงปลายทางอาจจะมีลําดับท่ีแตกตางจากตอนสงก็ได ซ่ึงก็ตองเปนหนาท่ี

ของระดับช้ันทราสปอรต(ซ่ึงสวนใหญอยูในเคร่ืองโฮลต)ในการควบคมุความผดิพลาดของการสง

ขอมูล

2.6.3 ระดบัช้ันทรานสปอรต

การทํางานในระดับช้ันทรานสปอรตของตัวแบบ TCP/IP ถูกออกแบบมาใหทํา

หนาท่ีควบคุมการสง ขอมูลระหวางโฮสตปลายทางท้ังสอง ซ่ึงคลายกับหนาท่ีของระดับช้ันทราน

สปอรตของตัวแบบ OSI ในระดบัช้ันทรานสปอรตของ TCP/IP มีโปรโตคอลท่ีถูกใช 2 ตัว

โปรโตคอลแรกคือ TCP ซ่ึงใหบริการสงขอมูลเปนแบบ Connection oriented กลาวคือ

ควบคุมใหฝงสงและฝงสงและฝงรับสามารถสงขอมูลแบบ Byte stream ผานเครือขาย

อินเทอรเน็ตไดอยางถูกตอง โดยท่ี TCP จะแบง ขอมูลท่ีไดรับมาจาหระดับช้ันบนออกเปน

บล็อกท่ีเหมาะสมกับการสงผานเครือขาย และสงขอมูลไปยังระดับช้ันอินเทอรเน็ตสวน TCP

ปลายทางจะรวบรวมบล็อกขอมูลท่ีไดรับมาและสงไบต ขอมูลท่ีถูกตองใหแกระดับช้ันขางบน

หรับโปรโตคอลแบบท่ีสองคือ UDP (User Datagram Protocol) ซ่ึงใหบริการสงขอมูลแบบ

Connectionlessโดนไมเนนความถูกตองของลําดับของขอมูลโปรโตคอลน้ีจะเหมาะสําหรับงาน

ประยุกตท่ีตองการความเร็วของการสงขอมูลมากกวาความถูกตองของขอมูล เชนการสงขอมูล

เสียงหรือขอมูลภาพเคลื่อนไหวนอกจากน้ันยังใชสําหรับงานประยุกตแบบถามตอบขอมูล

(request-reply) และงานประยุกตท่ีตองการแพรกระจายขอมูลไปยัง ผูใชหลายคนพรอมกัน

Page 25: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

14

2.6.4 ระดับช้ันแอปพลิเคชัน

ในระดับแอปพลิเคชันมีโปรโตคอลท่ีผูใชหรือโปรแกรมประยุกตสามารถใช

บริการไดหลายชนิด เชน

-Telnet ซ่ึงเปนโปรโตคอลสําหรับเทอรมินัลเสมือนโดยทําใหผูใชสามารถใช

คอมพิวเตอรท่ีอยูไกลออกไปและแสดงผลลัพธของตนเองในการท่ีจะเขาไปใชงาน(login)เคร่ือง

คอมพิวเตอรท่ีอยูไกลออกไปและแสดงผลลัพธบนหนาจอเคร่ืองตนเอง

- FTP (File Transfer Protocol) ซ่ึงบริการสงแฟมขมูลจากเคร่ืองหน่ึงไปยังอีกเคร่ือง

หน่ึงอยางมีประสิทธิภาพ

- SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ซ่ึงใชสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกสผาน

อนิเทอรเน็ต

- DNS (Domain Name System) ซ่ึงชวยเปลี่ยนช่ือของเคร่ืองโฮสต (เชน

cs.yale.edu) ใหเปนไอพีแอดเดรส (IP address) ท่ีใชในการสงขอมูลในอินเทอรเน็ต

- HTTP (Hypertext Transfer Protocol) ซ่ึงใชในการดึงขอมูลจากเว็บไซตบน

เวิลดไวดเว็บ เปนตน 2.7 World Wide Web (HTTP)

เวิลดไวดเว็บ (World Wide Web) หรือเรียกสั้นๆ วา เว็บ (Web) หรือ WWW เปน

แอพพลิเคช่ันหน่ึงท่ีทําใหอินเตอรเน็ตเปนท่ีนิยมมากในปจจุบัน WWW ใชโปรโตคอล HTTP

(Hyper Text Transfer Protocol) ซ่ึงเปนโปรโตคอลท่ีใชรับสงไฟล HTML (Hyper Text

Markup Language) โดย HTML น้ันเปนภาษาท่ีใชอธิบายการแสดงเว็บเพจน่ันเอง WWW

เปนแอพพลิเคช่ันท่ีทํางานแบบไคลเอนทเซิรฟเวอร กลาวคือ WWW น้ันจะมีโฮสตเคร่ืองหน่ึงท่ี

ทําหนาท่ีเปนเซิรฟเวอร เรียกวา “เว็บเซิรฟเวอร (Web Server)” ซ่ึงจะทําหนาท่ีใหบริการ

เอกสาร HTML สวนเคร่ืองไคลเอนท น้ันใชโปรแกรมเวบ็บราวเซอร (Web Brower) เชน

อินเตอรเน็ต เอ็กพลอเรอร (IE) ซ่ึงจะรองขอไฟล HTML จากเว็บเซิรฟเวอรและแสดงผลให

ผูใชดู

Page 26: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

15

รูปท่ี 2.10 การทํางานของโปรโตคอล HTTP

2.7.1 กลไกการทาํงานของ HTTP

โปรโตคอล HTTP เปนโปรโตคอลท่ีอยูในช้ันแอพพลิเคชันของชุดโปรโตคอล

TCP/IP ซ่ึงจะเปนตัวกําหนดรูปแบบการรองขอไฟลของไคลเอนท (เวบ็บราวเซอร) จากเว็บ

เซิรฟเวอร และรูปแบบการถายโอนไฟลจากเว็บเซิรเวอรไปยังไคลเอนท โดยผูใชคลิกท่ีลิงคใน

เว็บเพจ หรือพิมพ URL (Uniform Resource Location) ในชองท่ีอยู (Address) ของเว็บ

บราวเซอร หลงัจากน้ันเวบ็บราวนเซอรจะทําการสงการรองขอ (HTTP Request) ผาน

เครือขายไปยังเว็บเซิรฟเวอร เม่ือเว็บเซิรฟเวอรไดรับการรองขอก็จะทําการคนหาไฟลท่ี

กาํหนดใน URL ซ่ึงถาพบก็จะตอบกลับ (HTTP Response) พรอมกับไฟล กลับไปยังฝงไคล

เอนท เว็บบราวซอรเม่ือไดรับการตอบก็จะแสดงไฟลน้ันใหผูใชดู โปรโตคอล HTTP น้ันไมได

กําหนดรูปแบบการแสดงผลใหผูใชดู ซ่ึงหนาท่ีน้ีเปนของเว็บบราวเซอร ดังน้ันเว็บบราวเซอรท่ี

ตางกันอาจแสดงเว็บเพจไมเหมือนกันกอได

2.8 SNMP (The Simple Network Management Protocol)

The Simple Network Management Protocol (SNMP) เปนโปรโตคอลท่ีทําให

ผูดูแล เน็ตเวิรก (Network Manager) สามารถตรวจสอบการทํางานของเน็ตเวริกไดอยาง

ตอเน่ืองและสามารถใชงานกับเคร่ืองมือบริหารจัดการเครือขายของหลายคายดังแสดงในตาราง

ตอไปและยังสามารถใชกับอุปกรณเครือขาย หลายชนิด ไมวาจะเปน File Server, Network

Interface Card (NIC), Renters, Repeaters, Bridger และ Hub เปนตน การทํางานของ

SNMP น้ันจะทํางานเปนอสิระจากเน็ตเวริก หมายความวาการทํางานจะไมขึน้อยูกบั Protocol

ท่ีใชในการเช่ือมตอระหวาง เน็ตเวิรก ทําให SNMP สามารถวเิคราะหการทํางานของเน็ตเวริก

เชน แพกเก็ตที่ไมสมบูรณ หรือ การ Broadcast โดยไมจําเปนตองรูขอมูลของแตละ Node ท่ี

ตดิตอสือ่สารกนั นอกจากน้ี การทํางานของ SNMP ยังใชหนวยความจํา (Memory) ไมมากนัก

Page 27: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

16

2.8.1 การทํางาน SNMP

SNMP มีฟงกชันการทํางานท่ีสําคัญ 2 ฟงกชันคือ Network Management

Station (NMS) และ Network Agents NMS จะคอยตรวจสอบ อุปกรณเน็ตเวิรก ท่ีสื่อสารอยู

บน SNMP ซ่ึงอุปกรณเหลาน้ัน agent software ทํางานอยูเพื่อคอยติดตอกับ NMS ซ่ึง

อุปกรณเน็ตเวิรกท่ีเปน Network Agent ไดแก routers, repeaters, hubs, bridge, PC ท่ีมี

NIC ประกอบอยู print server, communications servers และ UPS ผูดูและเน็ตเวิรก สามาร

รถตรวจสอบและควบคมุอปุกรณเน็ตเวริกผานทาง NMS สามารถท่ีจะตรวจจับไดวามี agent

ใด agent หน่ึงเกิด down โดย agent น้ันอาจจะมีการแสดงเปนสีแดงหรือมีสัญญาณเตือน ซ่ึง

NMS ซอฟตแวรสวนใหญจะมีลักษณะเปน GUI ซ่ึงงายตอการใชงานแตละ agent จะมีการ

ปรับปรุงฐานขอมูลของตัวเอง เชน จํานวนแพกเกจท่ีสงออกไปจํานวนแพกเกจท่ีรับเขามา แพก

เกจท่ีผิดพลาด และจํานวนการเช่ือมตอ ลงบนฐานขอมูลของ agent ท่ีเรียกวา Management Information Base (MIB)

รูปท่ี 2.11 กระบวนการทํางานของ SNMP

2.8.2 Management Information Base (MIB)

MIB จะเก็บขอมูลของแตละ Network Object เชน Bridge, routers, hubs

และ Repeater. มาตรฐานของ MIB น้ัน เร่ิมแรกจะเปนมาตรฐาน MIB - I (Management

Information Base - I) ซ่ึงถูกกําหนดโดย Internet Engineering Task Force (IETF) โดย

มาตรฐาน MIB - I จะมีกลุมของตัวแปรในการเก็บขอมูลตาง ๆ ดังแสดงในตาราง

Page 28: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

17

ตารางท่ี 2.1 ตัวแปรในการเก็บขอมูลตาง ๆ

มาตรฐานท่ี 2 MIB - II ถกูปรับปรุงมาจาก MIB - I ซ่ึงไดมีการปรับปรุงเร่ือง

ของความปลอดภัย (Security) การใหสามารถใชงานกบัเน็ตเวริกแบบ Token ring ไดและ

สามารถใชงานกบั High - speed Interface และ Telecommunication Interface

2.9 PRTG (Paessler Router Traffic Grapher)

PRTG ยอมาจาก Paessler Router Traffic Grapher เปนเคร่ืองมือท่ีใชสําหรับการ

มอนิเตอรดู Traffic Load บน Network Links ซ่ึงการทํางานของ PRTG จะมีการสราง

HTML Pages ท่ีประกอบดวยภาพ (กราฟ) ชนิด PNG โดยภาพดังกลาวน้ีจะแสดงถึงปริมาณ

ของทราฟฟกบนเครือขาย ซ่ึงการนําไปใชงานสวนใหญกจ็ะนําไปมอนิเตอรดทูราฟฟกตาม

พอรตตาง ๆ ของเราเตอร วามีทราฟฟกหนาแนนขนาดไหน

โปรแกรม PRTG จะทํางานรวมกับโปรโตคอล SNMP โดย Agent ในการเฝาดคูวาม

เปลีย่นแปลงบนระบบเครือขายอกีดวย สามารถแบงการทํางานออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ

SNMP Server และ PRTG Server

SNMP Server หมายถึงอุปกรณเน็ตเวิรก (Switch, Layer 3 switch, Router หรือ

firewall) หรือเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีติดตั้ง SNMP Service ไว และมีความสามารถตรวจสอบ

สถานะการทํางานของระบบเน็ตเวริกรวมท้ังอปุกรณเน็ตเวริกดวย ทําการตรวจสอบปริมาณการ

Page 29: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

18

วิ่งของขอมูล โดยใชโปรโตคอล SNMP(Simple Network Management Protocol) ทําหนาท่ี

เปน Network Management Server

PRTG Server หมายถึง เคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีติดตั้งโปรแกรม PRTG เอาไว สามารถ

จะติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ Linux, FreeBSD, Windows เคร่ืองท่ีติดตั้งโปรแกรม PRTG

จะตองเปนเคร่ืองท่ีเปดใชงานตลอด 24 ชม. สามารถจะใชเคร่ือง ท่ีเปด service ของ Web

Server เอาไว

2.9.1 การทํางานของ PRTG

SNMP Server เร่ิมทํางานจะสง Agent ออกไปเฝาดูความเปลี่ยนแปลงของ

ระบบเครือขาย และเก็บรวมรวบขอมูลตางๆเอาไว (เรียกวาเปนการ Monitor Network) เม่ือ

ตองการทราบวามีปริมาณขอมูลวิ่งเขาออกมากนอยเพียงใด ทาง PRTG Server จะสงการรอง

ขอ (SNMP Request) ผานโปรโตคอล SNMP ไปยังเคร่ือง SNMP Server

SNMP Server จะตอบกลับดวย SNMP Response ตามระยะเวลาท่ีกาํหนด

ไวโปรแกรม PRTG จะอานขอมูลผานตัว SNMP Agent ตามชวงเวลาการสุมขอมูลท่ีกําหนด

ไว (Default คือ 5 นาที) แลวเก็บขอมูลน้ันเอาไวในไดเรกเทอร่ีท่ีกําหนด โปรแกรม PRTG

จะนําขอมูลท่ีไดมาสรางไฟล HTML และพลอตกราฟเปนไฟลรูปภาพ แลวแสดงผลบน Web Server

รูปท่ี 2.12 การทํางานของ PRTG

Page 30: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

19

2.9.2 การจัดเก็บสถิติของ PRTG

ในการเก็บขอมูลสถิติของโปรแกรม PRTG สามารถจัดเก็บ ได 5 รูปแบบ

ดวยกันคือ

- ขอมูล ณ. เวลาจริง (Real Time) จะรายงานผลทุกๆ 5 นาที

- ขอมูลสถิติรายวัน (Daily) จะแสดงขอมูลใหมเสมอ คือจะสรางกราฟใหมทุกคร้ังท่ี

ไดรับขอมูลจริง

- ขอมูลสถิติรายสัปดาห (Weekly) จะนําขอมูลทุกๆ 30 นาทีมาแสดงผล

- ขอมูลสถิติรายเดือน (Monthly) จะนําขอมูลในทุกๆ 2 ช่ัวโมงมาแสดงผล

- ขอมูลสิถิติรายป (Yearly) จะนําในทุกๆ 24 ช่ัวโมงมาแสดงผล

Page 31: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

20

บทที่ 3

การออกแบบและพัฒนา

ในข้ันตอนการออกแบบ การทํางานของระบบการตรวจสอบปริมาณการ เขา-ออก ของ

ขอมูลและตรวจสอบสถานของอปุกรณ ในระบบเครือขายน้ัน ดังน้ี

3.1 โครงสรางการทาํงานของระบบทีท่ดสอบ

การทํางานของระบบท่ีใชตรวจสอบปริมาณการ เขา-ออกของปริมาณขอมูล และ สถานะ

อุปกรณ Switch 3Com , Router Cisco 2800 และ AP Wireless Out Doors ภายใตการ

ทํางานของโปรโตคอล SNMP ในตวั ของอุปกรณ(Device) จะมีการสงคาขอมูลมายังโปรแกรม

PRTG และ Net flow Analyzer ท่ี Run อยูภายใต Server ท่ีติดตั้ง Windows Server 2003 ท่ี

สําคัญคือสิ่งท่ีเราตองการทดสอบ น้ันคือปริมาณขอมูลท่ี ผานเขาออก Switch 3Com ,Router

Cisco 2800 และ AP Wireless Out Doors ท่ีมีการใชงานผานเขา -ออก ภายในระบบเครือขาย

(UP Link) ซ่ึงโปรโตคอล SNMP จะสงขอมูลไปให Server (NMS) อานขอมูลมาแสดงผล ซ่ึง

การทดลองจะใช Software PRTG ในการอานคา จากอุปกรณ ผาน โปรโตคอล SNMP เพื่อเก็บ

คาตางๆ ลง Log Files ซ่ึงเราใช ขอมูลใน Log Files เปนขอมูล เพือ่รองรับการทํางาน PRTG

และในการตดิตอระบบกบั Admin จะผานทาง Web Browser และแสดงผลรายงานปริมาณของ

ขอมูลท่ีผาน เขา-ออก เพื่อท่ีจะใหผูดูแลระบบ สะดวกในการดรูะบบภายในเครือขาย และ ยัง

สามารถใช Software Net flow Analyzer คอยวเิคราะห ขอมูลภายใน Network ท่ีเรา Monitor

อยูโดยสามารถดูขอมูลเปนชวงเวลา ปริมาณ Traffic Input /Output ไดแสดงถึง Protocol และ

ปริมาณท่ีใชงานได

Page 32: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

21

รูปท่ี 3.1 แสดงNetwork Diagram บริษทั Betagro โซนโรงงานลพบุรีท้ังหมด

รูปท่ี 3.2 แสดง Network Diagram อุปกรณการเช่ือมตอ Core หลัก

Page 33: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

22

โดยในการดาํเนินการ Monitor ระบบ Network PRTG และ Software Net Flow

Analyzer ไดกาํหนดการ Monitor Traffic ของ บริษัท บีฟูดส โปรดักส อิเตอรเนชันเนล หรือ

เรียกอีกช่ือหน่ึงวา BFI เปนหลัก

โดยจาก Network Diagram ระบบ Network ของบริษทั Betagro โซนลพบุรีน้ัน จะมี

Link การเช่ือมตอ Wan โดยใชเทคโนโลยี MPLS ของบริษทั TT&T ท้ังหมด โดยทุกโรงงาน

หลัก (Complex) จะมี Link ท่ีจะอธิบายไดดังน้ี

- Link Backup MPLS 1 Mbps

- Link ใชงานภายใน AP Wireless Out Doors ระหวาง โรงงาน BFI <-> BTG-LR

และ โรงงาน BP <-> BTG-LR

- Link Layer 2 (TT&T) BTG-LR <-> FC2

- Link Wan หลัก MPLS <-> อาคาร Betagro-Tower NothPark กรุงเทพฯ FC2

และปริมาณ Traffic โรงงาน BFI ท่ีทางผูจัดทําไดสรางข้ึนมาเพื่อตรวจจับ Traffic

Monitor PRTG

3.2 Netflow Analyzer

- Application ปรกต ิ(Link Main ลพบุรี) ประกอบดวย Mail,Internet,Intranet ,

Application ภายในท่ีพฒันาข้ึนมาเองใชงานผาน Wireless Out Doors , Other

- ERP Application AS400 , BPCS ใหออกไปท่ี Link Backup ขนาด 2 Mbps

- Application FXA(ระบบ ตรวจสอบยอนกลับ)ใหวิ่ง ออก MPLS ขนาด 1 Mbps

เขาท่ี FC2 ท่ีมี Data Center อยู

- Link การเช่ือมตอ โซนจังหวัดลพบุรี Link ปรกตจิะออก Link หลัก 20 Mbps ท่ี

Food Complex 2 เขา ตึก Betagro Tower North Park กรุงเทพฯ

โดยในโครงงานน้ี ได Monitor ตรวจสอบปริมาณ Traffic และ ใช Software Analysis

ท่ีบริษัท BFI น้ันจะ Monitor ดวยกัน 3 Link คือ

- Link BFI <-> ออก AP Wireless Out Doors

Page 34: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

23

- Link Application FXA ไปยัง FC2

- Link Backup FC1 ไปยัง BTH-NP

โดยแสดงดัง Diagram ไดดังน้ี

รูปท่ี 3.3 แสดงการเช่ือมตอของโรงงาน BFI

3.3 ขัน้ตอนการดาํเนินการ

- ติดตั้งเคร่ืองและลง Windows Server 2003 STD

- ติดตั้ง Software PRTG Traffic Grapier

- ติดตั้ง Software Net flow Analyzer 7.0

- Config sflow Switch Core 3Coom 5500

Page 35: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

24

สาํหรับข้ันตอนการ Config ไดดาํเนินการ Config ท่ีตัวอุปกรณมีดังน้ี

3.3.1 การตั้งคา Config Router Cisco 2800 IP 10.255.200.201.x

รูปท่ี 3.4 ทําการ Telnet หรือ Console ตัว Router

รูปท่ี 3.5 ปอน Username & Password

Page 36: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

25

รูปท่ี 3.6 แสดงหนาจอ Prompt Mode

รูปท่ี 3.7 แสดงหนา Mode Configuration Global Configuration

การ Config Mode Sflow เพื่อท่ีจะให Router สงคา Parameter สงคามาให

Server ท่ีทําหนาท่ี Analysis ในท่ีน้ีคือ Server ท่ีติดตั้ง Software Netflow โดย Command

แสดงไดดังน้ี

IP flow-export source FastEthernet0/0 (เลือกท่ี ขา Interface ท่ีเช่ือมตอกับ Switch)

IP flow-export version 5 (เวอรช่ันท่ีเรียกใชงาน IP flow-export)

IP flow-export destination 167.92.4.75 (เปนการระบุ IP และ หมายเลข Port ท่ีจะเช่ือม

Page 37: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

26

ตอกับ Server ท่ีติดตั้ง Software Netflow)

รูปท่ี 3.8 แสดงการ Config Router เพื่อใหสงขอมูลเขา Software Netflow Anlyzer

สาํหรับ Switch 3Com 5500 EI เปน Switch ท่ีไมมี Function IP flow-export

ซ่ึงจะใชงานในสวนของ SNMP โดย Switch ท่ีใชงานจะเปด Function SNMP V1 ,V2 ,V3

รูปท่ี 3.9 แสดงการ เปด Function SNMP V1 ,V2 ,V3 ของ Switch 3Com 5500 EI

สาํหรับคา Community String ท่ีใชเปนคาปรกติ Read Public , Write private

รูปท่ี 3.10 แสดงคา Community String

เม่ือเราดาํเนินการติดตั้งคา Software PRTG ท่ีใชสําหรับ Monitor Traffic เปน

ท่ีเรียบรอยแลว ข้ันตอนตอไปจะทําการ ติดตั้งคา Software Analysis Network ท่ีช่ือ Netflow

Analyzer ซ่ึงการ Add และ Analysis น้ันสาํหรับ Router เราสามารถ Traffic ไดเลยทันที

เน่ืองจากได กําหนดคา sflow มีการกาํหนด Config IP flow-export ซ่ึงแสดงการดําเนินการได

ดังน้ี

Page 38: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

27

รูปท่ี 3.11 แสดงหนาLog In เขาใชงาน Netflow Analyzer

คา Config ของ Software ท่ีกาํหนดในการใชงาน Server Setting

Netflow / Sflow Listener Port 9996 Web Server Port 8080 Record Count 100

รูปท่ี 3.12 แสดงคา Config ของ Software ท่ีกาํหนดในการใชงาน Server Setting

Page 39: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

28

เม่ือมีการสงคา Sflow มาจาก Router หรือ Switch ท่ีมี Function Netflow /

Sflow

รูปท่ี 3.13 การกาํหนดคา Monitor Interface ท่ีเราจะ Analysis

รูปท่ี 3.14 แสดง Interface List

Page 40: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

29

รูปท่ี 3.15 ขอกําหนด IP Group เม่ือตองการ Add Node ท่ีใช Service SNMP

การกาํหนดคาเพือ่ Add Node

IP Group Name ตั้งช่ือ Node ท่ีจะ Monitor

IP Group Description กาํหนดคาํอธบิาย Node ท่ีจะ Monitor

IP Group Based on: เปนการกาํหนดวาจะเลอืก Node ดวยวิธีใด

Specify IP / IP Range Network เม่ือเลือก แบบ IP Address สามารถเลอืกแบบ

IP Address, IP Range, IP Network IP Group Speed เปนการกาํหนดความเร็วของ Interface ท่ี

Monitor

รูปท่ี 3.16 แสดงการกาํหนดคาเพือ่ Add Node

Page 41: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

30

รูปท่ี 3.17 แสดงการกาํหนดคาเพือ่ Add Node

3.4 การ Config Software PRTG

โดย Version ท่ีนํามาใชงานคือ Version 6.0.5.451

รูปท่ี 3.18 แสดงหนาแรกของ PRTG

Page 42: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

31

3.4.1 การเพิ่ม Sensor สาํหรับการ Monitor

ทําการเปด PRTG Traffic Click here to Create Your first sensor ท่ีหนาจอ

โปรแกรมเพือ่เร่ิมทําการตรวจจับ Traffic (สําหรับติดตั้งเปนคร้ังแรก)

รูปท่ี 3.19 แสดงการเปด PRTG Traffic Click here to Create Your first sensor

จากน้ันจะมีหนาจอตอนรับข้ึนมาใหทาํการคลกิ Next

รูปท่ี 3.20 แสดงหนาตาง Add Sensor Wizard

Page 43: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

32

ใหทําการเลือก SNMP (Simple Network Management Protocol) แลวทํา

การคลกิ Next

รูปท่ี 3.21 แสดงหนาตาง Add Sensor SNMP

จากน้ันโปรแกรมจะใหเลอืกรูปแบบการตรวจจับ Traffic ใหเลือกเปน Standard

Traffic Sensor แลวทําการคลกิ Next ตอไป

รูปท่ี 3.22 แสดงหนาตาง SNMP Sensor Selection

Page 44: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

33

ในชอง Device Name / Alias ใหใสช่ือของอุปกรณ และในชอง IP Address /

DNS Name ใหใส IP Address ของอุปกรณท่ีตองการ Sensor จากน้ันตรวจเช็คคา SNMP

Community String ใหตรงกับท่ีกําหนดไวในอุปกรณ Click Next

รูปท่ี 3.23 แสดงหนาตาง Device Selection

ใหทําการเลือก Network Card ท่ีเราไดทําการเช่ือมตอจากน้ัน Click Next

รูปท่ี 3.24 แสดง Interface ท่ีตองการ Monitor

Page 45: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

34

เลือก Finish

รูปท่ี 3.25 แสดงSensor ท่ี Add

รูปท่ี 3.26 แสดงการตรวจดูเหตุการณ

Page 46: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

35

รูปท่ี 3.27 แสดงการตรวจสอบ Sensor

การสราง Custom Sensor แลวทําการการคลกิ here to add a graph or table

รูปท่ี 3.28 แสดงการสราง Custom Sensor

Page 47: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

36

หนาจอตอนรับ Click Next

รูปท่ี 3.29 แสดงหนาตาง PRTG

เลือก Network ท่ีตองการสราง Click Next

รูปท่ี 3.30 แสดงSensor ท่ีสรางข้ึนมา

Page 48: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

37

หนาตาง New Graph or Table จะปรากฏ เลือก Finishเปนการเสร็จสิน้การตัง้คา

รูปท่ี 3.31 แสดงการกาํหนดคาเวลาของ Graph

ปรากฏ Graph ท่ีแสดงการทํางานในแตละชวงเวลา

รูปท่ี 3.32 แสดง Graph ท่ีแสดงการทํางานในแตละชวงเวลา

Page 49: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

38

เปนการเปด Sensor จากปุม Browser ภายในโปรแกรม

รูปท่ี 3.33 แสดงการเปด Sensor จากปุม Browser ภายในโปรแกรม

Click ท่ีอุปกรณจะแสดงสถานะ Graph ออกมา

รูปท่ี 3.34 แสดงสถานะ Graph

Page 50: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

39

การดผูาน Web Interface เปด IE หรือ Browser อื่นๆ ข้ึนมาใส IP Address

หรือ URL ของเคร่ืองท่ีทําการติดตั้ง โปรแกรม PRTG Click Enter

รูปท่ี 3.35 แสดงการกาํหนดคาตางของ Web

ปรากฏหนา โปรแกรม PRTG ข้ึนมา (หากมีการกาํหนด Password ใหใส User

Name & Password)

รูปท่ี 3.36 แสดงการเขาหนาตาง PRTG

Page 51: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

40

การทํา Report ใหเลือกท่ี Menu Report ดังภาพ

รูปท่ี 3.37 แสดง Menu Report ในการใชงาน PRTG

เลือกท่ี Menu Add

รูปท่ี 3.38 แสดงการกาํหนดคาในการออก Report

Page 52: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

41

ท่ีแถบ Setting ในชอง Report Name : ใสช่ือของ Report ตามช่ือท่ีตองการ

รูปท่ี 3.39 แสดงการระบุช่ือท่ีใชเก็บ Report

ท่ีแถบ Sensors จะเปนการเลือก Sensors ท่ีตองการทํา Report

รูปท่ี 3.40 แสดงการเลือก Sensors ท่ีตองการทํา Report

Page 53: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

42

ท่ีแถบ Email & Export จะเปนการตั้งคา File Report ท่ีตองการบันทึก

รูปท่ี 3.41 แสดงการตั้งคา File Report ท่ีตองการบันทึก

การกาํหนดคา Option ในสวน Web Server กรณี Connect ผาน IE

รูปท่ี 3.42 แสดงการกาํหนดคา Option ในสวน Web Server

Page 54: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

43

ปรากฏหนาตาง Options

รูปท่ี 3.43 แสดงกําหนดคา Option ในสวน Web Server

กาํหนด Interface IP ท่ีตองการ และตองเลือกขาท่ีเปน Web Interface

รูปท่ี 3.44 แสดงการกาํหนด Interface IP ท่ีตองการ

Page 55: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

44

ปรับตั้งคา Port ท่ีใช Connect และหากใหไมตองการให Log in & Password

เลือกหัวขอแรก ใน Website Access Control

รูปท่ี 3.45 แสดงการปรับตั้งคา Port ท่ีใช Connect

ในหัวขอน้ีแสดงการเลือก Option Limited เม่ือตองการให Login User Name &

Password

รูปท่ี 3.46 แสดงการเลือก Option Limited

Page 56: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

45

หากตองการสราง User ท่ีจะใช Log In ใหเขาท่ี Extras ->Option

รูปท่ี 3.47 แสดงการสราง User ท่ีจะใช Log In

ปรากฎ User ท่ีมีอยูข้ึนมา โดย ปรกติจะเปน Addmin

รูปท่ี 3.48 แสดงUser ท่ีมีอยู

Page 57: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

46

หากตองการสราง User กด Add และใส User Name & Password ตามท่ี

ตองการ

รูปท่ี 3.49 แสดงการสราง User ใหม

ปรากฏรายช่ือ User ท่ีไดสรางข้ึนมา

รูปท่ี 3.50 แสดงรายช่ือ User ท่ีสรางข้ึนมา

Page 58: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

47

หากตองการให User ท่ีสรางข้ึนมาเปน Admin ดานขวา This User is a

member of เลือกClick ชอง Administrator

รูปท่ี 3.51 แสดงการให User ท่ีสรางข้ึนมาเปน Admin

เม่ือตองการทําการ Backup Database & maintenance Click -> Extras ->

Options

รูปท่ี 3.52 แสดงการ Backup Database & maintenance

Page 59: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

48

Click เลือก System ทางดานขวาจะเปนการเลอืก Path ท่ีเกบ็ในการ Backup

รูปท่ี 3.53 แสดงการเลือก Path ท่ีเกบ็ในการ Backup

Click Folder Backup ใหเลือก Folder ท่ีตองการเก็บ File Backup

รูปท่ี 3.54 แสดงการเลือก Folder ท่ีตองการเก็บ File Backup

Page 60: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

49

จะได Path ท่ี Backup Database เสร็จแลว Click OK เปนอันเสร็จสิ้นการตั้งคา

การ Backup

รูปท่ี 3.55 แสดง Path ท่ี Backup Database

Page 61: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

50

บทที่ 4

การทดสอบประสิทธิภาพและการทํางาน

จากการดาํเนินการท่ีออกแบบ การ Monitor และ Analysis ดวย Software PRTG และ Net

flow Analyzer ตาม Network Diagram ของบริษัท บีฟูดส โปรดักส อินเตอรเนชันเนล ท่ีตั้งอยูท่ี

จังหวัดลพบุรี โดยเปนฐานการผลติใหญของเครือบริษทั เบทาโกร จํากดั (มหาชน) ซ่ึงจะไดแสดงผลการ

ดําเนินการดังน้ี

4.1 การ Monitor Traffic ดวย Software PRTG

- Link Monitor AP Wireless VLAN 101

- Link Monitor Line Backup MPLS VLAN 100

- Link Monitor Line Special Tunnel 501(FXA)

Page 62: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

51

4.2 การวิเคราะหปริมาณ Traffic Net Flow Analyzer

รูปท่ี 4.1 แสดงหนาจอ Traffic รวมท่ีใชงาน

รูปที่ 4.2 แสดง Interface จาก Router ท่ีเขา Flow-Export

Page 63: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

52

รูปท่ี 4.3 แสดง Interface และ Traffic ท่ีใชงาน

รูปท่ี 4.4 Traffic ของคา Interface AP Wireless Link

รูปท่ี 4.5 แสดง Data Point ชวงเวลาของ Traffic

Page 64: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

53

รูปท่ี 4.6 แสดง Application ท่ีใชงานอยูบน Interface Input

รูปท่ี 4.7 แสดง Application ท่ีใชงานอยูบน Interface Output

Page 65: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

54

รูปท่ี 4.8 แสดง Application ท่ีใชงาน HTTP,TCP โดยสามารถดู Source และ

Destination ได

Page 66: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

55

บทท่ี 5

สรุปผลการดําเนินการและแนวทางแกไข

จากผลการดาํเนินการ Monitor Traffic ของบริษัท เบทาโกร จํากัดมหาชน สวนโรงงาน บี

ฟูดส โปรดักส จะเห็นไดวาการใชงาน Traffic เฉพาะโรงงาน BFI มีการใชงานในสวนของ Line ปรกต ิ

Wireless Lan ซ่ึงเปน Link หลกัท่ีรองรับการทํางานในระบบงาน Web , Mail ,Internet ,Web App

จะพบวามีปริมาณ Traffic เปนจํานวนมาก โดย App ท่ีใชงานมากสุด คือ Internet , TCP_APP

,MS_SQL , Netbios-ssn ,Other

โดยมีผลท่ีไดดังน้ี

1. Internet คิดเปน 79 %

2. TCP_APP คิดเปน 13 %

3. MS_SQL คิดเปน 3 %

4. Netbios-ssn คิดเปน 2 %

5. Other คิดเปน 3 %

โดย Link Bandwidth ท่ีใชงานจะอยูท่ี 50 Mbps สาํหรับ Line Backup ท่ีรองรับกบัระบบ

ERPของบริษทั จะใช Application AS 400 , BPLS เปนหลักซ่ึงมีอยูสอง Application อยูแลว (ใน

สภาวะปรกติ) โดย Peak สูงสุดจะอยูในชวงสิ้นเดือน และ ตนเดือน Link Bandwidth จะอยูทีป่ระมาณ

850 Kbps สาํหรับ Line Extra จะใชงานอยูท่ี 750 Kbps (Application FXA) โดยท่ีจากการ Monitor

ทําใหทราบวา Link Wireless Lan มี Time Out อันเกิดจาก Session ของ User ท่ีออกใชงานผาน

อุปกรณ Wireless Lan (Aruba) มีจํานวนมากทําใหตวัอปุกรณ Forward Package ไมทันจึงจําเปนตองมี

การแกไข

สําหรับแนวทางการปรับปรุงแกไขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพมีแนวทางดังน้ี

1.แนวทางการจัดทํา QOS (Local Link Wireless Lan)

2.แนวทางการจัดทํา QOS (MPLS TT&T)

3.การเพิ่ม Router สาํหรับการ Forwarding

Page 67: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

56

สาํหรับการเพิม่แนวทางการ Forwarding ดวย Router เน่ืองจากตัว Interface Sw 3Com

5500 มี Feature ในการ Forwarding ไดนอยกวาตัวอุปกรณ Router จากท่ีไดจับตัว Traffic ดวย

PRTG พบวามี Time Out จึงมีแนวคดิในการนํา Router มาดาํเนินการในเร่ืองของการชวยในเร่ืองของ

การ Forwarding และ ชวยลองรับในเร่ืองของ Session ท่ีมีอยูเปนจํานวนมาก

รูปท่ี 5.1 แสดงแนวคดิการดาํเนินการใช Router ในการชวยลองรับปริมาณ Session ใน Link

AP Wireless

ในการบริหารการจัดการเครือขาย Network ภายในองคกรนับวนัจะมีความซับซอนมากข้ึน

เน่ืองจากมีความตองการใชงานเพื่อติดตอสื่อสารเชิงธุรกิจ ท่ีเพิ่มมากข้ึน เทคโนโลยีดาน อุปกรณ

Device Hardware และ Software มีการพัฒนาข้ึนทุกขณะดังน้ันงานของดูแลและจัดการระบบเครือขาย

จึงจําเปนตองมีเครืองมือท่ีดี และเหมาะสมกับระบบเครือขายของตัวเอง เพื่อใชในการเฝาระวังและ

ติดตาม วิเคราะหเพื่อหาแนวทางแกไขปญหาของระบบท่ีอาจจะเกิดข้ึนได การแกไขปญหาตางๆ เปน

งานสําคัญอยางย่ิงของผูดูแลและจัดการเครือขาย และงานท่ีสําคัญย่ิงของการแกไขปญหาก็คือการ

Monitor ระบบเครือขาย น้ันเอง ปญหาสวนใหญของระบบเครือขายท่ีมักจะเกิดข้ึน แบงออกเปน 2 สวน

คือ บางสิ่งท่ีจะตองทํางาน กลับหยุดทํางานไป และ บางสิ่งในระบบเครือขายทํางานไมเปนไปตามความ

คาดหมายเอาไว เชนประสทิธภิาพการรับสงขอมูล ต่าํกวาท่ีควรจะเปน ซ่ึงสวนแรกๆ การตรวจสอบ

ระบบจะกระทําไดทันทีวาสวนประกอบใดในระบบท่ีไมทํางานตามหนาท่ี ท่ีกําหนดไว สวนอีกกรณีหน่ึง

Page 68: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

57

น้ันอาจจําเปนตองรวบรวมขอมูลเปนระยะเวลาหน่ึง แลวจึงจะนํามาวิเคราะห และคนหาวิธีการแกไข

ปญหาตอไป ซ่ึงเราจําเปนตองอาศัยเคร่ืองตางๆ เพื่อชวยงานในสวนของการ Monitor และรวบรวม

ขอมูลจากระบบเครือขาย

Page 69: A Web-based Network Traffic Monitor For Betagro (Lop Buri) A Web-based...Somkeat Homtrakul สารน พนธ ฉบ บน เป นส วนหน งของการศ

58

เอกสารอางอิง

[1] จตุชัย แพงจันทร และอนุโซต วุฒิพรพงษ ไดตีพิมพประวัติยอของ เจาะระบบ Network

ฉบับสมบูรณ ในป 2547

[2] บัณฑิต จามรภูติ ไดตีพิมพประวัติยอของ คัมภีร RedHat Enterprise Linux เลมท่ี 2 ในป

2547

[3] เรืองไกร รังสพิล เจาะระบบ TCP/IP จุดออนของโปรโตคอลและวิธีปองกัน บริษัท โปรวิช่ัน

จํากัด 2001547

[4] เอกสิทธิ์ วิริยจารี เรียนรูระบบเน็ทเวิรกจากอุปกรณของ CISCO สํานักพิมพ ซีเอ็ด