23
คูมือ การจัดทําเอกสารทางวิชาการ ประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานัก สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหนาที่สํานักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแหงชาติ Data Information Knowledge

คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

คูมือ

การจัดทําเอกสารทางวิชาการ

ประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ

สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานัก

สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา

ปฏิบัติหนาท่ีสํานักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแหงชาติ

Data

Information

Knowledge

Page 2: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

คูมือ

การจัดทําเอกสารทางวิชาการ

ประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ

สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานัก

สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา

ปฏิบัติหนาท่ีสํานักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแหงชาติ

Page 3: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

คํานํา

จากความมุงมั่นท่ีจะพัฒนาบุคลากรใหตระหนักรู มีความเปนเลิศดานกฎหมายและวิชาการของ

สํานักกรรมาธิการ ๑ สํานักกรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓ ใหมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของฝาย

นิติบัญญัติ และเพ่ือขับเคล่ือนองคกรใหบรรลุเปาหมายตามอํานานหนาท่ีซึ่งสํานักกรรมาธิการไดรับ

มอบหมาย ท้ังนี้ การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของ

คณะกรรมาธิการเปนภารกิจท่ีสําคัญเปนฟนเฟองใหคณะกรรมาธิการมีขอมูลพ้ืนฐานประกอบการ

ตัดสินใจในการพิจารณาศึกษาเรื่องนั้นๆ

สํานักกรรมาธิการ ๑ สํานักกรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓ ใหความสําคัญกับความรู และมี

ระบบการจัดการความรูเพ่ือให คนที่ตองใชความรู สามารถใชความรูที่ถูกตองไดในเวลาท่ีตองการใช

Right Knowledge, Right People, Right Time จึงได จัดทํา “คูมือ การจัดทําเอกสารทางวิชาการ

ประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ” โดยอาศัยกระบวนการในการ

จัดการความรู การระดมความคิดเห็น รวมท้ัง ศึกษา เรียบเรียงจากรายงานผลการพิจารณาศึกษาชอง

คณะกรรมาธิการและหนวยงานภายนอก บทความ ความคิดเห็นทางวิชาการ รวมไปถึงเจตนารมณนโยบาย

คําส่ัง ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ และขอมูลในการบริหารราชการแผนดินท่ีเกี่ยวของกับอํานาจ

หนาที่ของคณะกรรมาธิการ และจัดเก็บขอมูลความรู (Tacit knowledge) เกี่ยวกับแนวทาง เทคนิค ขั้นตอน

วิธีการปฏิบัติงานภายในสํานักกรรมาธิการ ๑ สํานกักรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓

คณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา คูมือ การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณาและ

สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ ชวยใหสามารถทํางานไดงายขึ้น คนทํางาน “รูงาน”

ผูบังคับบัญชา “ไดงานมาตรฐานเดียวกัน” องคกร “มีประสิทธิภาพ” ผูรับบริการ “พึงพอใจ” อันเปน

เปาหมายของการจัดการความรู ๓ ประการ คือ พัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองคกร

สํานักกรรมาธกิาร ๓ สํานัก

ความรู

ของเรา

ความรู

ของเพือ่น

ความรูรวม

ของเรา + ของเพือ่น

ความรู

ใหม

คูมือ

Page 4: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

สารบัญ

หนา

๑. บทนํา ๑

๒. วธิดีําเนนิการ/ขัน้ตอนการจัดทําองคความรู ๒

๓. ผังกระบวนงาน (Work Flow) การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบ ๓

การพิจารณา

๔. บทสรุป ๔

๕. ภาคผนวก ๕

ภาคผนวก ก บรรณานกุรม ๖

ภาคผนวก ข คําส่ังคณะกรรมการวิชาการ ๓ สํานัก ๘

ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรม ๑๓

ภาคผนวก ง แผนงาน ๑๗

Page 5: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

1. การบงชี้ความรู

(Identification)

2. การสรางและ แสวงหาความรู

(Creation and Acquistion)

3. การจัดการความรู ใหเปนระบบ

(Organization)

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู (Codification

&Refinement)

5. การเขาถึงความรู (Access)

6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู

(Sharing)

7. การเรียนรู

(Learning)

KM Process

3. จัดเก็บ สังเคราะห

- แตงตัง้คณะกรรมการที่ปรึกษาดานวิชาการฯ

- ประชุมคณะกรรมการฯ เพือ่กําหนดหวัขอองคความรูที่

จําเปนตอการผลักดนัตามยุทธศาสตร (คูมือ การจดัทําเอกสาร

ทางวชิาการ ประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดาํเนินงาน

ของคณะกรรมาธกิาร) เปนองคความรูท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงาน

สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรสนง. 2560 ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2

การพัฒนาความเปนเลิศดานกฎหมายและวิชาการ

ความรูชัดแจง : ศึกษา

เอกสาร รายงานวชิาการ

รัฐธรรมนูญ ขอบังคับ ฯลฯ

ความรูฝงลกึ : ประชมุ

ระดมสมอง จากบุคลากรผู

ปฏิบัติภายในสํานักกมธ.

1 2 และ 3

คณะกรรมการที่ปรึกษาดาน

วิชาการสํานกักรรมาธิการ 3

สํานัก นําความรูที่รวบรวมได

จากการคนควา ประชุม

มาวิเคราะหเพื่อจดัทําคูมือ

- คณะกรรมการฯ ประชุมเพือ่รางคูมือ

กลัน่กรองความถูกตอง แกไข ปรับปรุงคูมือฯ

ประกอบดวย 3 รูปแบบ

1. แนวทางในการดาํเนินงานของคณะกรรมาธิการ

2. กรณีท่ีคณะกรรมาธิการเห็นสมควรนํามาพิจารณา

3. กรณีเร่ืองรองเรียนของคณะกรรมาธิการ

- จัดทําหนังสอืนําเรียนผูบังคับบัญชา

ตามลําดบัชัน้เรียบรอยแลว

- เผยแพรคูมือฯ ในระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-Office) - จัดพิมพเปนเลม จํานวน

6 เลม เก็บไวที่กลุมงาน

บริการเอกสารอางอิงฯ

สํานักละ 2 เลม

- แจงเวียนเพื่อรับ

ฟงความคิดเห็น

ตอคูมือจากผูท่ี

เก่ียวของ คือ

นิติกรและ

วิทยากรทุกคนใน

สน.กมธ. 3 สํานัก

- รองเลขาธิการฯ

และผบก.รวมกัน

ทบทวนสรุป

บทเรียน

(After action

review : AAR)

- บุคลากรผูปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3

มีขอมูลทางวชิาการท่ีสามารถตอบสนองความตองการ

ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติและกรรมาธิการใน

การนําขอมูลไปสนับสนุนการปฏิบัติงานเพ่ือประกอบ

การตัดสินใจในการดําเนินงานดานตางๆของคณะกมธ.

- นําขอมูลที่ผูใชงานเสนอไปแกไข และปรับปรุง

ตอไป คน

งาน องคกร

๒. วิธีดําเนินการ/ขั้นตอนการจัดทําองคความรู

Page 6: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

๓. ผังกระบวนงาน (Work Flow) การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณา ดงัรูปภาพ

ผูบังคับบัญชากลุมงานมอบหมาย

ใหเจาหนาท่ีประจํากลุมงาน

เจาหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายศึกษา คนควา วิเคราะห

และสังเคราะหขอมลูดานวิชาการท่ีเกี่ยวของ

เพ่ือจัดทําเอกสารประกอบการพิจารณา

จัดพิมพขอมลู

ตรวจทาน/แกไข

เสนอผูบังคับบัญชาพิจารณาตรวจสอบความถกูตอง

และความสมบูรณครบถวนของเนื้อหา

รวมท้ังใหความเห็นเพ่ิมเติม (ถามี)

ผูบังคับบัญชา

ตรวจสอบตนฉบับ

เอกสารประกอบการ

พิจารณา

ผูบังคับบัญชากลุมงานบรรจ ุ

ในระเบียบวาระการประชุม

นําเสนอเอกสารประกอบการพิจารณา

ตอท่ีประชุมคณะกรรมาธิการ

เอกสารตนฉบับ

มีขอมลูไมถูกตอง

ไมครบถวน หรือ

ไมสมบูรณ

รูปแบบท่ี ๑ แนวทางในการ

ดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ

๑. ขอมูลพ้ืนฐานของคณะกรรมาธิการ

๒. ขอมูลท่ีเก่ียวของในการพิจารณา

เพ่ือใชกําหนดแนวทางในการ

ดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ

๓. กฎหมายท่ีเก่ียวของ

๔. ขอมูลดานวิชาการท่ีเก่ียวของ

๕. ประเด็นท่ีคณะกรรมาธิการสมควร

พิจารณาเพ่ือการดําเนินงานของ

คณะกรรมาธิการ

รูปแบบท่ี ๒ กรณท่ีีคณะกรรมาธกิาร

เห็นสมควรนํามาพิจารณา

๑. ท่ีมาและความสําคญัของปญหา

๒. การดาํเนินการของหนวยงานท่ี

เก่ียวของ

๓. ขอมูลทางดานกฎหมาย และขอมูล

ทางดานวิชาการท่ีเก่ียวของ (ถามี)

๔. ความเห็นของฝายเลขานุการ

๕. ประเด็นการพิจารณา

๖. ขอเสนอแนะในการดําเนินงาน

รูปแบบท่ี ๓ กรณีเรื่องรองเรียน

ขอคณะกรรมาธิการ

๑. ขอมูลท่ัวไป

๒. สรปุสาระสําคัญของเรื่องรองเรยีน

๓. ประเด็นขอรองเรียน

๔. ความประสงคของผูรองเรียน

๕. กฎหมายท่ีเก่ียวของ

๖. ขอพิจารณาและขอเสนอแนะ

Page 7: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

บทนํา

๑. หลักการและเหตุผล

การจัดการความรูและระบบการเรียนรูของสํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ตองมีความสอดคลอง

และสนับสนุนภารกิจ เปาหมาย ยุทธศาสตรขององคกร นโยบายของผูบริหารระดับสูง องคความรูท่ี

จําเปนตอการปฏิบัติงาน รวมท้ัง การตอบสนองความตองการของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

เพ่ือใหระบบการจัดการความรูและการเรยีนรูของสํานกังานฯ สามารถสนับสนุนการปฏิบตัิงานของบุคลากรให

มีประสิทธิภาพ ผูบริหารและผูรับบริการมีองคความรูท่ีสนับสนุนการตัดสินใจและสอดคลองตอความตองการ

ใชงานตามภารกิจ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภาจึงไดจัดทําแผนการจัดการความรูและระบบการเรียนรูของ

สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) และแผนปฏิบัติการการจัดการความรูและระบบการ

เรียนรูฯ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ท้ังนี้ ขอบเขตองคความรูดานกระบวนการนิติบัญญัติอยูในความ

รับผิดชอบของสํานักกรรมาธิการ ๑ สํานักกรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓

สํานักกรรมาธิการ ๑ สํานักกรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓ ไดใหความสําคัญในการ

สนับสนุนใหบุคลากรอาศัยองคความรูในการปฏิบัติงาน ตองปฏิบัติหนาที่โดยใชองคความรูทางวิชาการ

กฎหมายเขาชวยในการปฏิบัติงาน บุคลากรจึงตองมีความรอบรูและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง เพ่ือให

สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการสนับสนุนการดําเนินงานในกระบวนการนิติบัญญัติ เชน การศึกษา

คนควาและการวิเคราะหเพ่ือ การจัดทําเอกสารประกอบการพิจารณาตางๆ ซึ่งเปนการดําเนินงานตามแผน

ยุทธศาสตรที่ ๒ การพัฒนาความเปนเลิศดานกฎหมาย ในกลยุทธท่ี ๒.๕ สงเสริมและพัฒนางานดาน

กฎหมายและวิชาการเพ่ือตอบสนองการดําเนินการของสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งสํานักกรรมาธิการ ๑ สํานัก

กรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓ ไดตั้งคณะกรรมการท่ีปรึกษาดานวิชาการสํานักกรรมาธิการ ๓

สํานัก เพ่ือกําหนดแนวทางและใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพดานวิชาการ

การดําเนินงานเพ่ือพัฒนาความรูและมาตรฐานการปฏิบัติงานนั้น สํานักกรรมาธิการ ๑ สํานัก

กรรมาธิการ ๒ และสํานักกรรมาธิการ ๓ ไดจัดทําองคความรูทางวิชาการในหัวขอ คูมือ การจัดทํา

เอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ อันจะ

อํานวยประโยชนแกเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานดานการประชุมของคณะกรรมาธิการ เพ่ือใหการทํางานดาน

เลขานุการของท่ีประชุมคณะกรรมาธิการเปนไปอยางมีมาตรฐานความเปนมืออาชีพท่ีไดรับการยอมรับ

จากบุคคลในวงงานรัฐสภา ทั้งนี้ผูปฏิบัติงานสามารถใชเปนแนวทางในการทํางาน เพ่ือขับเคล่ือนองคกร

สูความเปนเลิศในการสงเสริม สนับสนุน งานฝายนิติบัญญัติ อันเปนการสนองตอบตอการปฏิบัติงาน

ดานนิติบัญญัติแกสมาชิกวุฒิสภาหรือสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติและคณะกรรมาธิการใหมีความ

ถูกตองพรอมท้ังสามารถสรางความพึงพอใจแกผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสีย กอใหเกิดประโยชนสูงสุด

แกสาธารณชน และทายที่สุดเปนการสานวิสัยทัศนสํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา“องคกรที่เปนเลิศในการ

สงเสริม สนับสนุนงานฝายนิติบัญญัติ” ใหเปนจริง

Page 8: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

การทํางานทุกอยางเปรียบเสมือนการเดินทางท่ีตองมี จุดเริ่มตน มี จุดหมายปลายทาง และ

เสนชัยเปนส่ิงที่ทุกคนอยากไปใหถึงแตกวาจะถึงเสนชัยนั้น ทุกยางกาวของการเดินทางตองมี

กระบวนการท่ีชัดเจน และตองมีการศึกษาอยางถองแท เมื่อการเริ่มตนท่ีดีนับวามีชัยไปกวาครึ่ง

จุดเริ่มตนของสํานักกรรมาธิการ ๑ ๒ และ ๓ คือการตระหนักวาการจัดการความรูในองคกรเปนส่ิง

สําคัญท่ีจะทําใหองคความรูท่ีมีอยูกระจัดกระจายในตัวบุคคล หรือเอกสารสามารถนํามาพัฒนาใหเปน

ระบบได ดังนั้นจึงแตงตั้งคณะกรรมการท่ีปรกึษาดานวิชาการสํานักกรรมาธกิาร ๓ สํานัก เพ่ือจัดทําคูมือ

“การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดาํเนินงานของคณะกรรมาธิการ” ขึ้น

ประกอบดวย ๓ รูปแบบ รูปแบบท่ี ๑ แนวทางในการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ รูปแบบท่ี ๒

กรณี ท่ีคณะกรรมาธิการเห็นสมควรนํ ามาพิจารณา รูปแบบ ท่ี ๓ กรณี เรื่องรองเรียนของ

คณะกรรมาธิการ เพ่ือมุงพัฒนาสมรรถนะของขาราชการฝายรัฐสภา ซึ่งการจะบรรลุในวัตถุประสงค

ไดนั้นจําเปนจะตอง เรงสรางและสงเสริมการมีสวนรวมของบุคลากร จัดส่ิงแวดลอม เวลาที่เอื้อใหกับ

ผูเรียน เพ่ือสรางใหทุกฝายมีความเขาใจรวมวา KM เปนเครื่องมือที่ชวยในการปฏิบัติงานเพ่ือใหเกิด

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ปจจัยสําคัญหรือประเด็นปญหาท่ีเปนอุปสรรคตอการจัดการความรูในสํานักกรรมาธิการ ๑ ๒

และ ๓ คือวัฒนธรรมองคกรที่ไมอยากรับส่ิงใหม การขับเคล่ือนจึงตองออกแรงเยอะ การทํา KM ตองทํา

Change Management เปดใจยอมรับ เปดใจเรียนรูกับคนรอบขาง ควบคูกับ KM นอกจากนี้ ความใส

ใจในการพัฒนาตนเองของบุคลากร อยางไรก็ตาม ปญหาย่ิงใหญขณะนี้คือองคกรจะจัดการความรู

อยางไรใหคนมีความคิด “คิดจะทําทุกอยางใหดี ท่ีสุดหรือไม คิดจะตั้งใจทํางานใหดี ท่ีสุด”

หรือยัง หรือ “ไมคิด” อยากที่จะพัฒนา และเชื่อหรือไมการเรียนรูไมมีวันส้ินสุด เปนส่ิงสําคัญที่ทําให

เราไดพัฒนาตนเอง พัฒนาองคกรใหดีขึ้น หวังวาคงมีใครสักคนอยากท่ีจะเรียนรู (การจัดการความรู)

และคุณพรอมที่จะเรียนรูเปนคนแรก หรือคนสุดทาย ก็อยูที่ตัวคุณเปนผูกําหนด

บุคลกรในสํานักกรรมาธิการ ๑ ๒ และ ๓

คิดเปน ทํางานเปน เอกสารประกอบ

การพิจารณามีประสิทธิภาพ

สํานักกรรมาธิการ ๑ ๒ และ ๓

บรรลุเปาหมายตาม

ยุทธศาสตร

คน

องคกร

งาน

บทสรุป

Page 9: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด
Page 10: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

ภาคผนวก ก

บรรณานุกรม

Page 11: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

บรรณานุกรม

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐

คณะกรรมการท่ีปรึกษาดานวิชาการสํานักกรรมาธิการ ๓ สํานัก. (ราง) คูมือการจัดทําเอกสาร

ทางวิชาการประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ.

กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการท่ีปรึกษาดานวิชาการสํานักกรรมาธิการ ๓ สํานัก, ๒๕๕๙.

Page 12: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

ภาคผนวก ข

คําสั่งคณะกรรมการวิชาการ ๓ สํานัก

Page 13: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

' .

f11a-:~1v.:~La"lJ15n111~~.n1 • d 'VI li:l/klct'bo

. "' . L~eH LL~.:~(;).:~flru~n1111n11Vimm~n~1'U1'tf1n11~hunn11ll15n11 m ~hun

~1Enbe.J'UCJVllif'f1!;'1~1~1Uf1·n'UL~"IJ15fl1'n~!;'l.n1 ouu~ ~ (YLf'f. kl<tbo- kl<tb~) , ,

1~ nTVI'U~ 1 ~~1'11n·n'ULn"U15fl111~!;'1fl1'W~u1ui'lm m1 ~lji'l1111L U'Ub~f'fb ~eJ 1 ~ur1mn1ljP!nCJfl1'rl , , ,

1 u rn1!;'1UtJ!;'I~'U.:J1'U~ 1uu &iu 'lJ~&i bb~~!;'l11111(1~ eJtJ!;'I'UeJ.:Jr11111vl eJ.:JFn1"1leJ.:!l ~!;'lfl1 bb~~!;'lflTU &iu 'lJ~&i

bb 'Vi.:J"l11&i ~111th~ b~'U~Vllif'f1!;'1~{~ <t tl1~ne1unu 1 'UU'OJ~u'U~1un.:J1W~"U15m1l19ii"'n11~\.J~u&i . . 1.1 Cll 0 QJ' ~ Q. Q, QJ Q.l Q I Cit. q 4 Cll .r:-.

VI u 1 Yl ?f 1 'U n .:J 1 'U b ~ "U 15 n 1 1 ?f n1 u ~ u '1J '1J ~ bb VI.:! "11 1 ~ 11ll.:J u e1 n b VI u e1 'OJ 1 n 'OJ~ 11 n 1 1 'rl 'OJ 1 1 ru 1

~1.:JYI1~11"11U'1J ~&i bb~1 t1.:Jljm1Vi'OJ11u.t1 ~~ &i'VI1eJ~ n~1 b~el.:J 1~ 1 eJ'ue1~1 'UeJ1'U1'0JVIU1~"1JeJ.:J?ffl1 V11eJ ~ 111~?1 n111 e1u 'VI111 CJ 1~ CJ 1 ui:l'OJ 'OJ uu eJ.:J r1 r11111 fYI1.:J ~ 1 'Ul"l11 m 1"1! eJ.:J ~1u n n 111116 n11tJ.:J"U1 ~ , ~

rn 1u'1V11 1~ ~ rn 1e1 ci1.:J b U'U1~uu bb~~"U1 ~ bb 'U1Vl1.:J 1 'U m 1'W ~'U1 PIn EJfl1YIVl1.:J ~1'Ul"l11 Fn1"1JeJ.:JtJi'l~1 m ,

1 'U~1'11nn111116m1~oU'~ b 'OJ'U tl1~ neJunur111'W~'U1~ n~~ 1 'Ufl11fl'Ui'll1oUeJ11nYI1.:Jl"111fl11bb~~m1 1 ~ ~

~ Q, !.1 0 Q,.l Cit. 0 Q.l Cit. 0 cv Q,

i'l1111bVI'UVl1.:!1"111fl11"1Jel.:J"IJ111"11fl11?f1'Uf1f111111lifn1 ® !;'i1'Uf1n11111lifn1 kJ bb~~?f1'Ufln111115fn1 Q1

b ~e:J1e:J.:J~u n 11tl~u&iV1u1~1 'Uvh bb 'VItJ.:J "'11 n1"111 n11u&iu '1J ~&i" vi'.:JJ'U b ~e:J 1 ~~1u n n111116m1

bb~ ~ b ~1'VIU1~~1U f) n 111115 n 1 1?f11111(1U ~u&ifl11fl 'il1 ~?fe:J ~ i'l~ f).:) nuL 'OJ~'U 1111 ru"U f).:) 1']51111'\d '1J

bb~ ~.Ue:Ju.:J ~u m1tl 1~"1111?ffl1 ~~ e1 ~ 'OJ'U~'U ~ e1 r11111 v1 e:J.:J m 1"1! e:J .:!?1111~ m ~?fn1 ?f111~n?fn1u &i u ru ru&i 1 , IV V

bb'Vi.:J"l11&i n111116n11 bb~~tl1~"111"11'U ~111bbe.J'UCJVllif'f1?!~1~1Un.:J1'UL~"U15n11119ii?fn1 ouu~ ~ ' , I I I 1,1 I

~.:J L ~'U r111 CJ m~ n A' 161'.:J1eJ.:J b~"ln5n 111 \9li ?ffl1 Vi ®!®<t<t~ L1eJ.:J bb~.:J vl.:Ji'l ru ~ n 1111 m1Vitl~n~1 , . "' .

~1'Ul"111fl11~1'11nm11116m1 Q1 ~1un ~.:Ji''UVi ~ 11m1r111 ®crcr~ LL~~bb~.:Jvi'.:Ji'lru~m111rn1Vimn~1

~1'Ul"l11n11~1unn111116m1 Q1 ~1'11n ~111A'1~,muud L~eJ n1VI'U~Lb 'U1Vl1.:JLLn~ 1 ~.Um?t'Umb 'U~ b~m num1'W~'U1Pi' nCJfl1Yl~1'Ul"l11 rn1 1~ CJljeJ.:Jrltl1~ ne1u bb~~eJ1'U1'0J'VIU1~ vi'.:J~eJ 1 uif

n. eJ.:Jrhh~nt:JtJ ...

Page 14: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

11111£11!-!.Q !.Q~lel~Lib -~

LG !.LL.lQLrt!.WL.llbL~ !.LllffiLibLR.WL~IAL. '=" ('b 0 0 tlr

!.l.Ll]~IA, t }IAib~M,Ib~ Lib -~

<:9) !.LL.lQLrtUL.ll.llbL~ !.LL.lmLibLR.WL~IAL. ~ ('b 0 0 'C:7

lJ1 LIAib~ LU~n.RrtlL~~Lib "(Uj

<:9) !.LL.lQUt!.WL.llbl,~ !.LL.lmLibLR.WWIAL. 'C:7 f'b I 0 0 '1::7

~2:111 LLJ }ffim1~mf11lL~~Lib ·c.

® !.LL.lQLrt!.WL.llbLIJ !.LL.lmLibLR.WL~IAL. "C:7 ('b 0 0 't:::r

~,Cbgrt!.LL.lfbBR.~ ~n,k:::m, ~,, t~mWfl.U!!I~ t ~ L 11V1.fl.G11f1k~t~LLJIJ[Yl ~!.Lll£Lfl.~, ~G!. "®

.tLL.l rtnO :::I'Ut!!!Lf=l>O.tf'l>IA , f"

-<:9) -

..

Page 15: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

- rn -

Q 6' Q.Q ff

(9)(9). 'U1tJ111VltJ Pl1lJ'VI1Yit]fl~ fl';j';jlJfl11

u~muljU'~m1 ~1unm1l.n6m1 (9)

f( Q.l f( 0

<9lh 'U1-.:J?f11 lflP111.fl1ru "il'UV1TU11-.:J • fl';j';jlJfl11

iVJtJ1mui]u~m1 ~111nm<Jl.n5m<J k>

"' ~ "" <9lrn. 'U1-.:J?f1Tm.J<J"J\Pl'U eJ'U'Ul-11\Pl"J '

fl"j"jljfl1"j

u~mui]u~m<J ~111nn<J<Jl-11Bfl1<J rn ~ 0

<9l<i'. 'U1-.:J?f11'W1~~:::'VI\l~ A1l..l..:JAru ' . fl';j"jljfl1"j

Q..l .t::::lt. Q..l .C:::.,Q Q.l ~ 11 .:::..

'Ufl1"1l1fl1<J?f'W'U?f'W'W..:J1'W'U\Pl'Ururu1Pl~1'Wl"ll1fl1<J . "'"'

~1unm<Jl-115m<J (9)

.t::::lt. .r::::IIV f(

@let. 'W1-.:J?f11?f.flruru1 l-!ru<J\Pl'U . "'"' fl';j"jljfl1"j

Q..l Cit, QJ QQ. Q.l ~ 1.1 Q

'U fl1"1l1 fl1<J?f'U'U?f'U'U..:J1'U'U IPl'U ru ru IP1~1'W1"1l1 m<J . "'"'

~1unm<Jl..l15m<J k>

"' ~ <9lb. 'U1-.:J?f11YI"il'UtJ l"1JlJ"J

iVJtJ1m"ll1'W1t1Jfl1<J ~111nm<Jl..l15m<J (9)

Cit, d'Q .:::.. Q. 6'

<9l(J)}. 'U1-.:J?f11YilJYIYI"ll"ll1 ?fV15~.flt]fl~

iVJtJ1mui]u~m<J ~1unm<Jl..l15m<J rn

(9)~. 'W1tJ'W<J1m U'WVJ11P1<J.fly.j

Q..l Q Q..l QQ. Q.J Q.IQ v ..=-.

fl"j"jlJfl1"J~~:::l~"1J1'Ufl1"J '

" ' fl';j"jlJ fl1 "Jll~::: (!.J"1J1 tJ l~"1J1'Ufl1"J " . " ' fl"j"jlJ fl1 "Jll~::: (!.J"1J1 tJ l~"1J1'Ufl1"J " '

'W fl1"1l1 fl1<J?f'U'U?f'U'W..:J1'U'U\Pl'U ru ru \PI~ 1'W1"1l1 m<J . "'"'

~1unm<Jl..l15m<J k> '

0 lJ "' "1J. tn'YJ"il'W\.JJVl

(9). ~JlU'Wfll<J'W"ilJ<JruJ ~fl~J l"i''WAll llA<JJ:::~ ll~:::<Jl'I.J"Jll..loUeJl..l~l~vu<J:::nvu "

fl1"J'W "il1"Jru J ~ ~ vl loU eJ ~ ~ l i1'W -u eJ l?f'W eJ ll 'U ::: ll ~::: n J'VI'W ~ ll 'W 1 V1 1-.:J 1 'W fl J "j~ ~ 'W 1-.:JJ'W ~J'Wl"lll fll "j o Q.l .t::::~t. o Q.l ~ .t::::~t. .:::::.. C~t. .c:::.. .dl Vo o Q.l

"1J eJ..:J?fJ'W fl fl "J"Jl.JJ 5fll "J rn ?fJ'W fl \PlllJVll~"1JJ5fl1"Jl~ ?f.fll "JeJ..:Jl~"1JJ5fl1"Jl ~ ?f.fll 'VI"JeJ(!.JeJ J'W1tJfl1"J?fl'W fl ' . "

m<Jl..lJ5m<J (9) ~Junn<J<Jl..lJBflJ<J k> ll~:::~Junn<J<Jl..lJ5m<J m l..lvU'VIl..lltJ 'VI~vn~l..l..:~J'W.flJtJ1'W~Jun • m<Jl..lJ5m<J m ~1un ~v..:~"llv 1P1~v~"il'WUJl?f'WvoUv~~li1'W .Um?t'Wml'W::: ll~:::nJ'VI'W~ll'WlVJJ..:~1'Wm<J

CV 1/.Q. OCV Q OQ.I

YI~'WJ..:JJ'W~J'W1"1llfll"J"1JeJ..:J?fJ'W flfl"J"Jl.JJ5fll"J m ?fl'W fl

k>. ~JlU'UflJ<J'W"ilJ<JruJ ~fl~J l"i''WAll llA<JJ:::~ ll~:::<J1'\.J<J1l-loUeJl..l~l~vu<J::: fl eJ 'U "

m<J'W"ilJ<Jru 1~ ~v'l JoUeJ ~~ l i1'W .Uv l?f'WeJ ll 'W::: ll~ ::: n1'VI'U~ ll 'W1VJJ..:J l ~m1..:~ l?f~l-1 1 ~iJn1<J~ ~'WJA1JlJ~ "

luYIJ::: ~J'W 1 'W1-.:J..:JJ'W~ l~CJJoUeJ..:J l~tJ\Pl"J..:J "J1lJ~..:J~\1ll'WJYlfl~::: 1 'Wfll"JI"i''WAlloUeJl.J~Vll..:Jl"lllfll"Jll~:::flJ"J 1 ~ "

A1Jl.Jli1'WV11-.:Jl"ll1fll"Jl~eJ"jeJ..:J1'U~Jll 'VItJ..:J " Ufll"lllfll"JU~Uqjrg'~" ~e) 1 u

" bll. ll~..:J!'i'..:J ...

Page 16: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

~Lrtlt1.f1.GrtLLJ~~tJ;,LU£LfM~1t'G~ LLJ~~l~LU£Lfl.m~rtLI.t1 ~ rt~~L!\l.1~gf1 ·~

(1 tG~~LUf\Q. 1L~Lm~L!!~G~It1.

f1.L~ IA.GM. 1 LLJ~~l~LUQLfl.~1t'G~ LLJ~~l~LUQLfl.~1Glt1f\Lt'rtf\1L~~LU~I':lf\Lt'~L~ ";!! 1f;;7 b 'b 0 b I t::r 0

-;!! -

Page 17: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

ภาคผนวก ค

ภาพกิจกรรม

Page 18: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

ภาพกิจกรรม

การประชุมคณะกรรมการท่ีปรึกษาดานวิชาการสาํนักกรรมาธิการ ๓ สํานัก

Page 19: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

- ๒ –

Page 20: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

- ๓ -

การทบทวนสรุปบทเรียน (After action review : AAR)

นายสุรตัน หวังตอลาภ รองเลขาธกิารวุฒิสภา ผูอํานวยการสํานักกรรมาธิการ ๑ และผูบังคับบัญชากลุมงาน

จากสํานกักรรมาธิการ ๑ สํานกักรรมาธกิาร ๒ และสํานกักรรมาธกิาร ๓ หรอืผูแทน รวมกนัทบทวนคูมือ

การจัดทําเอกสารทางวชิาการประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ

Page 21: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

ภาคผนวก ง

แผนงาน

Page 22: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

แผนงาน การจัดทําเอกสารองคความรู คูมือ การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณาและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธกิาร

กิจกรรม ระยะเวลา

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. จัดทําเอกสารองคความรู คูมือ การจัดทําเอกสารทางวิชาการประกอบการพิจารณาและ

สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการ

- ระดมสมองทบทวนรางคูมือฯ - ปรับปรุง (ไดรางคูมือเพ่ือเวียนรับทราบความคิดเห็นจากบุคลากรท่ีเกี่ยวของ) - แจงเวียน e-Office เพ่ือรับทราบความคิดเห็นจากบุคลากรท่ีเกี่ยวของ

- ทบทวนสรุปบทเรยีน (After action review : AAR)

- ปรับปรุง สรุปเพ่ือใหไดคูมือฯ - จัดทําหนังสือนําเรียนผูบังคับบัญชาตามลําดับข้ัน - จัดทําเลม คูมือ ฉบับจริงใหกลุมงานอางอิงเก็บกลุมละ 2 เลม และสงกรรมการ 3 เลม

- แจงเวียน e-Office เพ่ือใหบุคลากรรับทราบและถือปฏิบัต ิ

- จัดทํารายงานองคความรูเพ่ือใหคณะกรรมการพิจารณาตัดสินการมอบรางวัล ไมเกิน 3 หนา - จัดทําหนังสือนําเรียนผูบังคับบัญชาตามลําดับข้ัน - KM Day เดือนสิงหาคม (ยังไมทราบวัน) ตกแตงบูธ และเจาหนาท่ีประจําบูธ

Page 23: คู มือ · ระดมสมอง จากบุคลากรผู ปฏิบัติภายในสํานักกมธ. 1 2 และ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาด

สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานัก

สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา

ปฏิบัติหนาท่ีสํานักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแหงชาติ

Knowledge is Endless to Learn