17
หมูบานสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บานหลุก หมูที8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน หมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. ความเปนมาของโครงการ กรมการพัฒนาชุมชน กําหนดใหการดําเนินการหมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2555-2559 โดยกําหนดใหจํานวนสะสมของหมูบานตนแบบ การจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2555-2559 ยุทธศาสตรที่ 2 เสริมสรางขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน กลยุทธที่ 2.1 บริหารจัดการขอมูลเพื่อการพัฒนาชนบท ไทย เปาหมายป พ.ศ.2557 มีจํานวนสะสมของหมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต จํานวน 1,832 หมูบาน (เปาหมายป 2555 จํานวน 76 หมูบาน, ป 2556 จํานวน 878 หมูบาน, ป 2557 จํานวน 878 หมูบาน) ป 2558 จังหวัดลําพูนไดคัดเลือกบานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน เปนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด 2. กระบวนการและขั้นตอนการขับเคลื่อนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.1 กระบวนการและขั้นตอนการขับเคลื่อนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด 2.1.1ไดดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการ การดําเนินการหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิต ป 2558 2.1.2 ดําเนินการแตงตั้งคณะทํางานการดําเนินการหมูบานตนแบบการจัดการีสารสนเทศเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด ป 2558 2.1.3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแกเจาหนาที่ที่รับผิดชอบหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิต 2.1.4 ติดตามผลการดําเนินงานหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับจังหวัด 2.1.5 สรุปผลการดําเนินงานหมูบานสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัดและระดับอําเภอ 2.2 กระบวนการและขั้นตอนการขับเคลื่อนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอําเภอ 2.2.1 ประชุมสรางความรูความเขาใจแกแกนนําของหมูบานสารสนเทศตนแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต บานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน 2.2.2 ดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยการจัดเวทีประชาคมในหมูบาน หมูบานสารสนเทศตนแบบบานหลุก ป 58 1

หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

หมูบานสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน

หมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต1. ความเปนมาของโครงการ

กรมการพัฒนาชุมชน กําหนดใหการดําเนินการหมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตเปนตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2555-2559 โดยกําหนดใหจํานวนสะสมของหมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2555-2559ยุทธศาสตรที่ 2 เสริมสรางขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน กลยุทธที่ 2.1 บริหารจัดการขอมูลเพ่ือการพัฒนาชนบทไทย เปาหมายป พ.ศ.2557 มีจํานวนสะสมของหมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต จํานวน1,832 หมูบาน (เปาหมายป 2555 จํานวน 76 หมูบาน, ป 2556 จํานวน 878 หมูบาน, ป 2557 จํานวน 878 หมูบาน)ป 2558 จังหวัดลําพูนไดคัดเลือกบานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน เปนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด2. กระบวนการและข้ันตอนการขับเคลื่อนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต

2.1 กระบวนการและข้ันตอนการขับเคลื่อนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด2.1.1ไดดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการ การดําเนินการหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนา

คุณภาพชีวิต ป 25582.1.2 ดําเนินการแตงตั้งคณะทํางานการดําเนินการหมูบานตนแบบการจัดการีสารสนเทศเพ่ือพัฒนา

คุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด ป 25582.1.3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแกเจาหนาที่ที่รับผิดชอบหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนา

คุณภาพชีวิต2.1.4 ติดตามผลการดําเนินงานหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับจังหวัด2.1.5 สรุปผลการดําเนินงานหมูบานสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัดและระดับอําเภอ

2.2 กระบวนการและข้ันตอนการขับเคลื่อนหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอําเภอ2.2.1 ประชุมสรางความรูความเขาใจแกแกนนําของหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิต บานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน2.2.2 ดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยการจัดเวทีประชาคมในหมูบาน

หมูบานสารสนเทศตนแบบบานหลุก ป 58 1

Page 2: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

2.2.3 กําหนดความตองการและวิเคราะหวิสัยทัศน โดยใชขอมูล จปฐ.และ ขอมูล กชช. 2ค เปนเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน

2.2.4 ใชโปรแกรม Rader Analysis เปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูลของหมูบาน2.2.5 นําขอมูลของหมูบานสารสนเทศตนแบบเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบานหลุกเผยแพรบน

เว็บไซตของเทศบาลตําบลเหมืองงา โดยเจาหนาที่ของเทศบาลตําบลเหมืองงาเปนผูดูแลระบบเว็บไซต2.2.6 ปจจัยที่ทําใหการดําเนินงานงานตามโครงการ ประสบความสําเร็จคือ การมีสวนรวมของคนใน

ชุมชน2.2.7 ปญหา อุปสรรค ในการดําเนินงาน

- คนในชุมชนขาดความรูเรื่องการทําเว็บไซต แกไขโดยประสานความรวมมือกับเทศบาลเพ่ือขอความรวมมือในการทําเว็บไซตใหแกหมูบาน

ขอเสนอแนะการดําเนินโครงการ ควรมีการอบรมเรื่องการทําเว็บไซตของหมูบาน เพ่ือกอใหเกิดความคลองตัวในการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันได

2.3 ผลการดําเนินงานตามโครงการ2.3.1 หมูบานไดนําเอาขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห ไปจัดทําแผนเพ่ือพัฒนาหมูบาน โดยนําเขาที่ประชุม

เทศบาลเพ่ือนําเอาแผนบรรจุไวในขอบัญญัติของเทศบาล2.3.2 ผลที่เกิดข้ึนตอครัวเรือน

ดานเศรษฐกิจ ทําใหเกิดการมีสวนรวมและมีกลุมตาง ๆ ในหมูบาน ซึ่งบานหลุก ไดคัดเลือกเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ทําใหคนในหมูบานไดพัฒนาตนเองตามแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหมีการปลูกพืชผักสวนครัวไวกินเหลือจึงขายเปนรายไดของครัวเรือนอีกดวย

ดวยสังคม วัฒนธรรม คนในหมูบานไดรวมมือรวมใจในการจัดกิจกรรมทางดานวัฒนธรรมโดยเฉพาะการทําสลากยอมเพ่ือประกวดในงานสรงน้ําพระธาตุหริภุญชัย ซึ่งผลการประกวดสลากยอมบานหลุก ชนะเลิศในระดับจังหวัด เปนความรวมมือกันภายในชุมชน ที่ทําใหคนในชุมชนเขมแข็ง และสามารถถายทอดความรูในเรื่ องของวัฒนธรรมใหกับหมูบานใกลเคียงได

ดานสิ่งแวดลอม คนในชุมชนไดศึกษาดูงานจากหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง(บานพ่ี) และไดนําเอาความรูมาปรับใชในหมูบาน โดยไดรับการชวยเหลืองบประมาณจากเทศบาลตําบลเหมืองงา ในการจัดทําที่เก็บขยะโดยการคัดแยกขยะใหหมูบาน ทําใหหมูบานสะอาด นามอง ยิ่งข้ึน

Page 3: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

ขอมูลทั่วไปของหมูบานบานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน พอสังเขป ดังนี้ บานหลุกไดถือกอตั้งข้ึนเปน

หมูบานเมื่อประมาณ พ.ศ. 2325 ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร โดยเปนผูคนที่อพยพมาจากเมืองยองรัฐเชียงตุง ดวยเหตุสงคราม ผูคนสวนใหญจะพูดภาษา “ยอง” ซึ่งเปนภาษาแมและไดตั้งชื่อหมูบานวา “บานหลุก” ตามชื่อหมูบานเดิมที่เมืองยองรัฐเชียงตุงในประเทศพมา

อาณาเขตหมูบานหลุกมีพ้ืนที่อาณาเขตติดตอ ดังนี้

- ทิศเหนือ ติดตอ ตําบลหนองชางคืน- ทิศใต ติดตอ บานเหมืองงา หมูที่ 2 ตําบลเหมืองงา- ทิศตะวันออก ติดตอ บานตนผึ้ง หมูที่ 1 ตําบลเหมืองงา- ทิศตะวันตก ติดตอ บานหัวยาง หมูที่ 9 ตําบลเหมืองงา

ประชากร/ครัวเรือน

จํานวนครัวเรือนมีทั้งหมด จํานวน 416 ครัวเรือน ประชากรรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,222 คน โดยแยกเปนชาย จํานวน 555 คน หญิง 667 คน (จากการสํารวจ จปฐ. ป 2558)

สถานที่สําคัญของหมูบาน

ศูนยเรียนรู จํานวน 2 แหง , ที่ทําการกลุมเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทําการกลุมจักสารผลิตภัณฑดอกไมจัน

ผูสูงอายุ , โรงเรียนบานหลุก , วัดบานหลุก , ที่ทําการกองทุนหมูบาน , ที่ทําการกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต , ที่ทําการ

กองทุนแมของแผนดิน

Page 4: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

สภาพทางเศรษฐกิจ

สภาพพ้ืนที่บานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน เปนที่ราบลุมเหมาะแกการทําเกษตรกรรมโดยมีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,600 ไร คิดเปนเนื้อที่ 2.56 ตารางกิโลเมตร และเปนเนื้อที่ทําการเกษตรกรรม 1,315 ไร

อาชีพหลัก (1) เกษตรกรรม จํานวน 398 ครัวเรือน(2) รับราชการ จํานวน 40 ครัวเรือน(3) คาขาย จํานวน 17 ครัวเรือน

อาชีพเสริม (1) รับจางทั่วไป จํานวน 40 ครัวเรือนรายไดเฉลี่ย 67,270 บาท/คน/ป รายจายของแตละครัวเรือน จะเปนรายจายเพ่ือการลงทุนในการประกอบอาชีพและคาใชจายที่จําเปนในครอบครัวแบบประยัดตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผูนํา/แกนนําการพัฒนาหมูบานตนแบบสารสนเทศ (ระดับหมูบาน)1. นายชัยวัฒน ไชยสิทธิ์ ผูใหญบานบานกลุก2. นายจํารัส ทองชาติ ผูชวยผูใหญบาน3. นายประเวศ ทิพยนิจ ผูชวยผูใหญบาน4. นายทองเนตร กันสิทธิ์ ประธานกลุมจักสานผูสูงอายุ5. นายมงคล ทองกลาง ประธานกลุมปุยเกษตรทําสวนอินทรียชีวภาพ6. นางวันเพ็ญ เชียงจันทร ประธานกลุมสตรีท่ีปรึกษาการดําเนินงาน (ระดับตําบล)1. นายคนอง กัลละหะ นายกเทศบาลตําบลเหมืองงา2. นายกิตติ ทิพยมณี กํานันตําบลเหมืองงา3. นายไสว มโนรัตน พัฒนากรประจําตําบลเหมืองงา4. นางทรงพร สินธุป เกษตรตําบล5. นางณิชนันทน นันตาเวียง นักวิชาการประชาสัมพันธ6. นายมนตรี ขันคํากาศ ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ

Page 5: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

ท่ีปรึกษาการดําเนินงาน (ระดับอําเภอ)1. วาที่ ร.ต.ณรงค โรจนโสทร นายอําเภอเมืองลําพูน2. นางนงนุช ธงศรี พัฒนาการอําเภอเมืองลําพูนท่ีปรึกษาการดําเนินงาน (ระดับจังหวัด)1. นายอนันตพล บุญชู รองผูวาราชการจังหวัดลําพูน2. นางสุพัตรา แสงทอง พัฒนาการจังหวัดลําพูน3. หัวหนากลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน4. นางพนิดา ธรรมวดี นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการขอมูลความเสี่ยง 5 ดานของบานหลุก

การดําเนินงานจัดเก็บขอมูลความจําเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอมูล กชช. 2ค ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลดวย Radar Analysis ของบานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน ดังนี้

ขอ้มลู จปฐ.รอ้ยละทีไมผ่า่น

เกณฑ์

หมวดที 1 สขุภาพดี1.เด็กแรกเกดิมีน้ําหนักไมนอยกวา 2500 กรัม2.เด็กแรกเกดิถึง 12 ปไดรับการฉีดวัคซีนปองกันโรค3. เด็กแรกเกิดไดกินนมแมอยางเดียวอยางนอย 6 เดือน ติดตอกัน4. ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย5. คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาการเจ็บปวยเหมาะสม6. คนอายุ 35 ปข้ึนไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจาํป7. คนอายุ 6 ปขึ้นไป ออกกาํลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 วันๆละ30นาที

หมวดที 2 มบีา้นอาศยั8. ครัวเรือนมีความมุนคงในที่อยูอาศัยและบานมีสภาพมั่นคงถาวร9. ครัวเรือมีนําสะอาดสําหรับดืม่และบรโิภคเพียงพอตลอดป10. ครัวเรือนมีน้ําใชเพียงพอตลอดป11. ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนเปนระเบียบเรียบรอยถูกสุขลกัษณะ12. ครัวเรือนไมถูกรบกวนจากมลพิษ13. ครัวเรือนมีการปองกันอุบัตภิยัอยางถูกวิธี14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน15. ครัวเรือนมีความอบอุน

Page 6: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

หมาดที 3 ฝกัใฝ่การศกึษา16. เด็กอายุ 3-5 ปเต็มไดรับการเลี้ยงดูเตรียมความพรอมกอนวยัเรียน17. เด็กอายุ 6-14 ป ไดรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป18. เด็กจบช้ัน ม.3 ไดเรยีนตอช้ัน ม.4 หรือเทียบเทา19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ไดรับการฝกอบรมดานอาชีพ20. คนอายุ 15-60 ปเต็ม อาน เขยีน ภาษาไทย และคิดเลขอยางงายได

หมวดที 4 รายไดก้า้วหนา้21. คนอายุ 15-60 ปเต็มมีอาชีพและรายได22. คนอายุมากกวา 60 ปเต็มข้ึนไป มีอาชีพและมีรายได23. คนในครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยไมนอยกวาคนละ 30000 บาทตอป 0.2424. ครัวเรือนมีการออมเงิน

หมวดที 5 ปลกูฝงัคา่นยิมไทย25. คนในครัวเรือนไมดื่มสุรา26. คนในครัวเรือนไมสูบบุหรี 2.0427. คนอายุ 6 ปขึ้นไปปฏิบัตกิิจกรรมทางศาสนาอยางนอยสัปดาหละ 1คร้ัง28. คนสูงอายุไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมูบาน/ชุมชนหรือภาครัฐ29. คนพิการไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมูบาน/ชุมชน หรือภาครัฐ30. คนในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกกรมสาธารณะเพื่อประโยชนชุมชน

ขอ้มลูกชช.2ค ระดบัปัญหา

ดา้นท1ี ดา้นโครงสรา้ง1. ถนน 22. น้ําดื่ม 33. น้ําใช 34. น้ําเพ่ือการเกษตร 35. การไฟฟา 36. การมีท่ีดินทํากิน 37. การติดตอสื่อสาร 3

ดา้นที 2 ดา้นสภาพพืนฐานทางเศรษฐกจิ8. การมีงานทํา 29. การทํางานในสถานประกอบการ10. ผลผลิตจากการทํานา

1

Page 7: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

11. ผลผลิตจากการทําไร12. ผลผลิตจากการทําการเกษตรอ่ืนๆ 213. การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน14. การไดรับประโยชนจากการมสีถานท่ีทองเท่ียว 1

ดา้นที 3 สขุภาพอนามยั15. ความปลอดภัยในการทํางาน 316. การปองกันโรคติดตอ 317. การกีฬา 3

ดา้นที 4 ความรูแ้ละการศกึษา18. การไดรับการศึกษา 119. อัตราการเรยีนตอของประชาชน20. ระดับการศึกษาของประชาชน 3

ดา้นที 5 ดา้นการมสีว่นรว่มและความเขม้แข็งของชุมชน

21. การเรียนรูโดยชุมชน 222. การไดรับการคุมครองทางสังคม 323. การมสีวนรวมของชุมชน 324. การรวมกลุมของชุมชน 225. การเขาถึงแหลงเงินทุนของประชาชน 3

ดา้นที 6 ทรพัยากรธรรมชาตแิละสิงแวดลอ้ม26. คูณภาพดิน 327. คุณภาพน้ํา 328. การปลูกปาหรือตนไมยืนตน29. การใชประโยชนท่ีดิน 230. การจดัการสภาพแวดลอม 3

ดา้นที 7 ความเสียงของชุมชนและภยัภบิตั ิ31. ความปลอดภัยจากยาเสพตดิ 332. ความปลอดภัยจากภัยพิบตัิ 333. ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน 3

1

Page 8: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

ขอ้มูลอืนๆ ระดบัปัญหาสารสนเทศเพือการพฒันาด้านอาชีพ

1.ราคาผลผลิตตกต่ํา 2

สารสนเทศเพือการจดัการทนุชุมชน1. ขาดการประชาสัมพันธ 2

สารสนเทศเพือการจดัการความเสียงชุมชน1. มีการลักเล็กขโมยผลผลิตจากคนภายนอกชุมชน 2

2.การตดิยาเสพตดิ 3

สารสนเทศเพือการแกป้ญัหาความยากจน1. จากการสํารวจขอมูล จปฐ.มีครวัเรือนตกเกณฑ 3จํานวน 1 ครัวเรือน

สารสนเทศเพือการบรหิารจดัการชุมชน1. มลพิษจากสิ่งแวดลอม เชน ขยะ สารพิษ หมอกควัน 22. ไมใหความสําคัญในการออกกําลังกาย 2

Page 9: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

ผลการวิเคราะห

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

สารสนเทศเพือการพัฒนาดา้นอาชพี

สารสนเทศเพือการจัดการทนุชมุชน

สารสนเทศเพือการจัดการความเสียงชมุชน

สารสนเทศเพือการแกปั้ญหาความยากจน

สารสนเทศเพือการบรหิารจัดการชมุชน

Community Information Radar Diagramข้อมลู จปฐ.

ข้อมลูกชช.2ค

ข้อมลูอืนๆ

Page 10: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

จากการวิเคราะหประเด็นการพัฒนาสรสนเทศชุมชน ไดดําเนินการตาม 5 กระบวนการ ในการขับเคลื่อนดังนี้กระบวนการที่ 1 มีการจัดเวทีสรางความเขาใจรวมกันระหวางเจาหนาที่พัฒนาชุมชนและแกนําหมูบาน และ

วิเคราะหขอมูลใหเปนหมวดหมู แบงเปนดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมกระบวนการที่ 2 นําขอมูลที่รวบรวมเปนหมวดหมูและขอมูลที่จัดเก็บเพ่ิมเติมมาวิเคราะห โดยใชเครื่องจาก

Radar Analysisกระบวนการที่ 3 การบริหารจัดการชุมชนดานความเสี่ยงของหมูบาน เพ่ือทราบจุดเดนและปญหาของหมูบาน

เพ่ือหาแนวทางแกไข และกําหนดความตองการรวมกัน

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

สารสนเทศเพือการพัฒนาดา้นอาชพี

สารสนเทศเพือการจัดการทนุชมุชน

สารสนเทศเพือการจัดการความเสียงชมุชน

สารสนเทศเพือการแกปั้ญหาความยากจน

สารสนเทศเพือการบรหิารจัดการชมุชน

ผลการวิเคราะห์ประเดน็การพัฒนาสารสนเทศชุมชน

Page 11: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

กระบวนการที่ 4 ดําเนินการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันโดยใชจัดเดนของหมูบานมาพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองในดานตาง ๆ จนประสบผลสําเร็จ

กระบวนการที่ 5 เผยแพรผลการดําเนินงานในรูปแบบตาง ๆ เชน นําเสนอในรูปแบบศูนยเรียนรูของหมูบานเว็บไซต และการเปนครูถายทอดองคความรูใหแกคนทั้งในหมูบาน นอกหมูบาน ตางตําบล และอําเภอ

จากการผลวิเคราะหไดพบวาปญหาที่เกิดความเสี่ยงมากที่สุดคือ ปญหาดานการบริหารจัดการชุมชน จึงไดรวมกันหาสาเหตุและแนวทางแกไข สิ่งที่จะยึดเยี่ยวจิตใจของชาวไดคือการทํากิจกรรมรวมกับวัด กิจกรรมที่วาคือการรวมประเพณีสลากยอม เปนประเพณีที่ชาวบานทุกครัวเรือนจะตองรวมกันทํา เปนการทําบุญถวายสลากภัตร วัดบานหลุกตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน พุทธศาสนิกชน และ นักทองเที่ยว รวมทําบุญถวายทานสลาก เพ่ืออุทิศสวนบุญกุศล ใหผูมีพระคุณ , บรรพบุรุษ และ ญาติ ที่ลวงลับ ในงานประเพณี สลากยอม วัดบานหลุก ซึ่งเปนประเพณี การทําบุญของตําบลเหมืองงาที่ปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนาน การทําสลากยอมเปนการทําตนสลากขนาดใหญ ตกแตงดวยกระดาษสีสันสวยงาม มี เครื่อง อุปโภค บริโภค อาทิ เสื้อผา หวี และ อาหารแหง ประดับอยูกับ ตนสลาก เพ่ืออุทิศสวนบุญกุศลใหผูมีพระคุณ บรรพบุรุษ และ ญาติ ที่ลวงลับ

เมื่อถึงเวลาที่จะตองรวมมือรวมแรงกันทําสลากยอม เพ่ือนําไปประกวดในงานสลากภัตรที่วัดพระธาตุ หริภุญชัยของทุกป ทุกครัวเรือนในบานหลุกก็จะมาชวยกันทําดวยความพรอมเพรียงกัน ในขณะที่ทํางานรวมกันก็จะทําการพูดคุยเรื่องตาง ๆ ภายในหมูบาน ทั้งที่เปนปญหาและไมเปนปญหาพรอมทั้งรวมกันแกไขปญหาจนทําใหบานหลุกมีการพัฒนาไปในทางที่ดีข้ึน รวมกันแกไขเรื่องขยะภายในหมูบาน โดยมีการคัดแยกขยะใหเปนระเบียบเรียบรอย และทําใหเกิดกลุมตาง ๆข้ึนในหมูบาน เชน กลุมจักสานผูสูงอายุ กลุมเศรษฐกิจพอเพียงทําปุยเกษตรทําสวนอินทรียชีวภาพ กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต กลุมน้ําสมควันไม เปนตนสวนใหญจะมีความรูในเรื่องของการทําดอกไม การทําบายศรี หรือเครื่องใชในงานพิธีบุญตาง ๆ ก็ไดรวมตัวกันเพ่ือทํางานรวมกันและตั้งเปนกลุมจักสานผูสูงอายุข้ึนมา

บานหลุก ไดรับการคัดเลือกใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของกลุมจังหวัด และการดําเนินงานไดมีการขยายผลตอเนื่อง โดยไดทําการจัดตั้งกลุมปุยเกษตรทําสวนอินทรียชีวิภาพ เพ่ือเปนการลดตนทุนในการผลิตของคนในหมูบาน และทําใหผลผลิตไดมากยิ่งข้ึนซึ่งเกิดการคุมทุนในการผลิตแตละครั้ง อีกทั้งกลุมยังมีเงิน ทุนหมุนเวียนภายในกลุม 52,000 บาท จากการตอยอดของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง มีสมาชิก 66 คน นายชัยวัฒน ไชยสิทธิ์ เปนประธาน

Page 12: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

ผลการวิเคราะห จากภาพรวมของบานหลุก จากขอมูลที่แสดงผลเปนหนึ่งเสนในแผนผัง พบวาการบริหารจัดการชุมชนมีปญหามากที่สุด และการจัดการความเสี่ยงของหมูบานมีปญหานอย เมื่อทราบปญหาของหมูบานจึงไดรวมกับจังหวัด/อําเภอจัดเวทีประชุมเพ่ือหาแนวทางแกไข

บานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน ไดรวมกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินและภาคีการพัฒนา เชน สํานักงานพัฒนาชุมชน เกษตร กศน. สาธารณสุข ฯลฯ เปนตน ในการรวมกันจัดตั้งกลุมองคกรตางๆ ในหมูบาน เชน กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต กลุมผูสูงอายุจักสานและทําดอกไมจันท กลุมเกษตรทําสวนเกษตรอินทรียชีวภาพ กลุมเศรษฐกิจพอเพียง เปนตน

Page 13: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

กลุมผูสูงอายุจักสานและทําดอกไมจันทบานหลุก

กลุมผูสูงอายุบานหลุกไดรวมตัวกันเพ่ือทํากิจกรรมรวมกัน เชน การทําดอกไมจันท การทําบายศรีสูขวัญการตัดตุง และปจจุบันรับทําเครื่องถวายในการทําบุญตาง ๆ ดวย ที่สําคัญกลุมนี้ไดรวมกับทางวัดจัดทําสลากยอมเพ่ือนําไปแขงขันในงานพิธีสรงน้ําพระธาตุหริภุญชัยทุกป และไดรางวัลชนะเลิศทุกป การทําสลากยอมเปนการรวมมือรวมใจของคนในหมูบานทุกหลังคาเรือน เมื่อมารวมตัวกันแลวก็จะพูดคุยถึงปญหาตางๆภายในหมูบาน และจะรวมกันแกไขปญหารวมกัน

วันจัดตั้งกลุม จัดตั้งกลุมเมื่อป พ.ศ. 2538 นายทองเนตร กันสิทธิ์ เปนประธาน

ท่ีทําการกลุม บานเลขที่ 165/2 หมูที่ 8 บานหลุก ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูนจํานวนสมาชิกในปจจุบัน จํานวน 68 คน เงินทุนหมุนเวียน จํานวน 6,000 บาท

Page 14: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

ตนสลากยอมบานหลุก

หมูบานและครัวเรือนมีการนําสารสนเทศไปใชใหเกิดประโยชน ดังนี้๑. การนําองคความรูไปใชในการประกอบอาชีพ

-การทําเกษตรอินทรีย การเพ่ิมผลผลิต และลดการใชสารเคมี-การสานตะกราพลาสติก มีการเพ่ิมลวดลายใหทันสมัย-เพ่ิมชองทางการตลาดของกลุมทําตระกราโดยผานทางเฟสบุคของหมูบาน-ประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

๒. การดูแลสุขภาพ-การดูแลสุขลักษณะ ของคนในหมูบานดีข้ึน มีความรูในการดูแลสุขภาพจากอินเตอรเน็ต-คนหาความรูในเรื่องสมุนไพรพ้ืนบาน

๓. การดูแล รักษาสิ่งแวดลอม-การดูแลปาชุมชน-การทําน้ําหมักชีวภาพ-ปลูกผักปลอดสารพิษ

๔.การจัดสวัสดิการชุมชน- ฌาปนกิจสงเคราะห

๕.การบริหารงานกลุม/องคกรในหมูบาน-มีธรรมาภิบาลในกรบริหารงาน-นําความรูใหมๆมาใชในการบริหารงานกองทุน เชนงานเก่ียวกับคอมพิวเตอร งานพิมพหนังสือ เปนตน

๖.ศิลปวัฒนธรรม-ใชสื่อในการใหลูกหลานไดรูจักวัฒนธรรมของหมูบาน

ผลท่ีเกิดขึ้นตอครัวเรือนและหมูบาน๑.ชุมชนเกิดการเรียนรูกระบวนการพัฒนาเพ่ือการพ่ึงตนเอง ผานระบบงานสารสนเทศ๒.ทําใหเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนและรวดเร็ว๓.ประชาชนในหมูบานสามารถใชงานคอมพิวเตอรและระบบอินเตอรเน็ตได๔.เปนชองทางในการคนหาองคความรูที่ชุมชนตองการ เพ่ือนํามาใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต๕.เปนชองทางในการถายทอดความรูดานภูมิปญญาทองถ่ิน และความรูดนตางๆของชุมชน๖.เกิดการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของชุมชน

แผนการดําเนินงานและพัฒนาตอยอดโครงการ๑.จัดทําโครงการขอรับการสนับสนุนจาก อบต.ในการจัดปายองคความรูตางๆ

หมูบานสารสนเทศตนแบบบานหลุก ป 58

Page 15: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

๒.ปรับปรุงขอมูลเว็บไซตและเฟสบุคใหเปนปจจุบัน๓.รวบรวมขอมูลที่เปนประโยชน และตรงตามความตองการของคนในหมูบานและผูคนทั่วไปในเว็บไซต

ภาพกิจกรรมกิจกรรมกลุมจักสานผูสูงอายุและทําดอกไมจันท

จุดเดนของหมูบาน บานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน คือกลุมจักสานผูสูงอายุและทําดอกไมจันท ซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจของคนทั้งหมูบาน

Page 16: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

นอกจากนี้ยังรวมมือรวมใจกันทําสลากยอม ซึ่งเปนศิลปวัฒนธรรมของคนบานหลุกที่รักษาไวใหลูกหลานไดสืบทอดตอไปบานหลุกไดรวมมือกันทําตนสลากยอมเพ่ือนําไปแขงขันกับตําบล/หมูบานอ่ืนอีกดวย และจากการรวมมือรวมทใจทําใหประสบผลสําเร็จจากการนําตนสลากยอมไปประกวดที่วัดพระธาตุหริภุญชัย ในงานพิธีสรงน้ําพระธาตุหริภุญชัยในทุกป

การทําตนสลากยอม

Page 17: หมู บ านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ านหลุก หมู ที่ ... · เป นตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร

หมูบานสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบานหลุก หมูที่ 8 ตําบลเหมืองงา อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน

หมูบานตนแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเมืองลําพูนโทร./โทรสาร 0-5356-1447