25
คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา ( School Project Management) การบริหารโครงการ เป็นหัวใจของความสาเร็จหรือความล้มเหลวของโครงการซึ่งนอกจาก จะต้องดาเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจโครงการนั้นอย่างดีพอแล้ว การบริหารโครงการย่อม ต้องการระบบและมีขั้นตอนของการดาเนินงาน ที่สาคัญการบริหารโครงการเป็นงานชนิดหนึ่งที่ผู้เกี่ยวข้อง ทุกคนจะต้องร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติงานนั้นให้บรรลุถึงความสาเร็จ หรือตามเป้าหมายที่บุคคลเหล่านั้น ต้องการความสาเร็จจะเกิดขึ้นได้ย่อมต้องอาศัยกระบวนการในการบริหาร นาเสนอความรู้เบื้องเกี่ยวกับ โครงการ ดังต่อไปนี๑.๑ ความหมาย โครงการ (Project) หมายถึง โครงการ คือ : การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทาขึ้นอย่างมีระบบ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน และคาดหวังที่จะได้ ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า โครงการ (Project) กิจกรรมหรือแผนงานที่เป็นหน่วยอิสระหนึ่งที่ สามารถทาการวิเคราะห์ วางแผน และนาไปปฏิบัติ พร้อมทั้งมีลักษณะแจ้งชัดถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด โดยแผนสาหรับกิจการ ต่างๆ ต้องระบุวัตถุประสงค์ตามระยะเวลาที่กาหนด การบริหารโครงการ (Project management) หมายถึง การจัดการ การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสม เพื่อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไวการบริหารโครงการ(Project management) คือการจัดการและกากับทรัพยากร (เวลา วัสดุ บุคลากร และค่าใช้จ่าย) เพื่อความสาเร็จของโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑.๒ ลักษณะของโครงการ . มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (เน้นผลลัพธ์ ) . มีกาหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด . ดาเนินงานอยู่ภายใต้ข้อจากัดเวลาต้นทุนคุณภาพ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ

บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑

การบริหารโครงการเป็นหัวใจของความส าเร็จหรือความล้มเหลวของโครงการซึ่งนอกจากจะต้องด าเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจโครงการนั้นอย่างดีพอแล้ว การบริหารโครงการย่อมต้องการระบบและมีขั้นตอนของการด าเนินงาน ที่ส าคัญการบริหารโครงการเป็นงานชนิดหนึ่งที่ผู้ เกี่ยวข้องทุกคนจะต้องร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติงานนั้นให้บรรลุถึงความส าเร็จ หรือตามเป้าหมายที่บุคคลเหล่านั้นต้องการความส าเร็จจะเกิดขึ้นได้ย่อมต้องอาศัยกระบวนการในการบริหาร น าเสนอความรู้เบื้องเกี่ยวกับโครงการ ดังต่อไปนี้

๑.๑ ความหมาย โครงการ (Project) หมายถึง โครงการ คือ : การวางแผนล่วงหน้าที่จัดท าขึ้นอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการด าเนินงาน และคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า โครงการ (Project) กิจกรรมหรือแผนงานที่เป็นหน่วยอิสระหนึ่งที่ สามารถท าการวิเคราะห์วางแผน และน าไปปฏิบัติ พร้อมทั้งมีลักษณะแจ้งชัดถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด โดยแผนส าหรับกิจการต่างๆ ต้องระบุวัตถุประสงค์ตามระยะเวลาที่ก าหนด การบริหารโครงการ (Project management) หมายถึง การจัดการ การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสม เพื่อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การบริหารโครงการ(Project management) คือการจัดการและก ากับทรัพยากร (เวลา วัสดุ บุคลากร และค่าใช้จ่าย) เพ่ือความส าเร็จของโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.๒ ลักษณะของโครงการ ๑. มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (เน้นผลลัพธ์) ๒. มีก าหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ๓. ด าเนินงานอยู่ภายใต้ข้อจ ากัดเวลาต้นทุนคุณภาพ

บทที่ ๑ ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับโครงการ

Page 2: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒

๑.๓ ลักษณะโครงการที่ดี ๑. มีรายละเอียด วัตถุประสงค์เป้าหมายต่าง ๆ ชัดเจน สามารถด าเนินงานได้ มีความเป็นไปได้

๒. ก าหนดขึ้นอย่างมีข้อมูลความจริง(มีสถิติ ตัวเลข ข้อมูลจากองค์กรดังกล่าว)และเป็นข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบ

๓. อ่านแล้วเข้าใจว่านี้คือโครงการอะไร มีประโยชน์อย่างไร ท าไปเพื่ออะไร มีขอบเขตการท าแค่ไหน

๔. มีระยะเวลาในการด าเนินงานแน่นอน ระบุวันเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด

๕. สามารถติดตามประเมินผลได้

๑.๔ ความส าคัญของการบริหารโครงการ ๑. ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการปฏิบัติงาน ๒. เกิดการประสานงาน ๓. เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. เกิดผลลัพธ์หรือเกิดประสิทธิผลสูงสุด

๑.๕ ประโยชน์จากการบริหารโครงการ ๑. ลดความเสี่ยงจากโครงการ ๒. การด าเนินงานเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ๓. เชื่อมั่นว่ากิจกรรมด าเนินไปตามทิศทางท่ีก าหนดไว้ ๔. เกิดระบบประสานงานและความร่วมมือ ๕. สามารถปรับแผนหรือแก้ปัญหาได้ทันท่วงที ๖. ทราบผลการด าเนินงานว่าประสบผลส าเร็จเพียงใด

๑.๖ ปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการ ๑) โครงการไม่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ มีลักษณะเป็นขนมชั้นที่เอามาวางเรียงทับซ้อนกันสามารถ

ลอกออกมาเป็นชิ้นๆ ได้โดยไม่เชื่อมโยงกัน ๒) ไม่ได้คิดโครงการอย่างรอบคอบ ถี่ถ้วน ในทุกมุมมอง ๓) ขาดระบบในการติดตามการด าเนินโครงการที่ดี ๔) ขาดความเอาใจใส่จากผู้บริหารระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ๕) การด าเนินโครงการไม่ได้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Page 3: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๓

๑.๗ กระบวนการบริหารโครงการ กระบวนการการบริหารโครงการ (Project initiation process) แบ่งเป็นล าดับขั้นตอนในการ

บริหารโครงการ ๔ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. การวางแผนโครงการ(Project Planning) ๑.๑ การเกิดและท่ีมาโครงการ( Project conception)

๑.๒ การออกแบบหรือการจัดท าร่างโครงการ (Project formulation) ๑.๓ การวิเคราะห์และประเมินโครงการ ( Project analysis and appraisal) ๒. การปฏิบัติตามโครงการ(Project implementation) ๒.๑ การเตรียมการ( Project implementation preparation) ๒.๒ การด าเนินการ ( Project implementation)

๓. การควบคุมโครงการ (Project control) ๓.๑ การติดตามโครงการ (Project monitoring) ๓.๒ การประเมินโครงการ (Project evaluation)

๔. การยุติโครงการ (Project termination)

๑.๘ ความส าเร็จของโครงการ มี 3 ลักษณะ คือ ๑) ส าเร็จภายในระยะเวลา (Schedule) ๒) ส าเร็จภายใต้งบประมาณ (Budget) ๓) ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ (Objective หรือ Goal)

๑.๙ ความแตกต่างระหว่างงานโครงการกบังานประจ า J. Rodney Tuner เขียนหนังสือชื่อ The Handbook of Project-Based Management

(London :McGraw-Hill, 1993) เรื่อง Project and Their Management : A Structured Approach to Managing Project ในเอกสารประกอบค าบรรยายฉบับที่ 1 หน้า 203-204 ได้เปรียบเทียบโครงการ (Projects) กับงานประจ า(Operations) ถึงความแตกต่างกันใน 10 ประการด้วยกัน ดังตาราง

ประเด็นที่แตกต่าง โครงการ (Project) งานประจ า (Operation) ๑. ขอบข่ายของงาน

(Scope) มีลักษณะพิเศษเป็นเอกเทศ(Unique)ช่วยท าให้งานประจ าดีขึ้น

เป็นงานที่ต้องกระท าซ้ าๆกันไปทุกๆวัน (Repetitive)

๒. เวลา Time มีกรอบระยะเวลาที่เริ่มต้นและสิ้นสุดที่แน่นอน(Finite)

เป็นงานที่ต้องท าไปตลอดกาลตราบชั่วนิรันดร์ (Eternal)

๓. การเปลี่ยนแปลที่เกิดข้ึน(Change)

มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วแบบถอนรากถอนโคน (Revolutionary)

มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป(Evolutionary)

Page 4: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๔

๔. แนวโน้มที่เกิดขึ้น(Trend)

มีการสร้างสิ่งที่มิได้ก่อให้เกิดดุลยภาพ(Disequilibrium)ในองค์กร

มีการสร้างสิ่งที่มิได้ก่อให้เกิดดุลยภาพ(Equilibrium)ในองค์กร

๕. วัตถุประสงค์ (Objective)

เพ่ือก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันขึ้นในองค์กร (Unbalance)

เพ่ือก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันขึ้นในองค์กร (Balance)

๖. ทรัพยากร(Resources)

ทรัพยากรมีจ ากัด เป็นสิ่งที่ไม่ยั่งยืน ใช้แล้วมีโอกาสจะหมดไป (Transient)

จะต้องมีทรัพยากรสนับสนุนอยู่ตลอดเวลาในการท างาน(Stable)

๗. สภาพแวดล้อม/บริบท(Context)

ค่อนข้างจะยืดหยุ่นและมีการเปลี่ยนแปลงได้ฉับพลันมา(Flexibility)

ค่อนข้างจะคงท่ีและมีเสถียรภาพค่อนข้างสูง(Stability)

๘. ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น(Results)

มุ่งไปสู่ประสิทธิผล(Effectiveness)มากกว่าประสิทธิภาพ

มุ่งผลการท างานส่วนใหญ่ไปสู่ประสิทธิภาพ (Efficiency)

๙. ทีมงานที่ใช้ท างาน(Team)

เน้นเป้าหมาย(Goal)ของงานมากกว่าภาระหน้าที่

มุ่งเน้นบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ(Roles)มากกว่าเป้าหมาย

๑๐. ลีลาในการท างาน(Styles)

ต้องท างานภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน(Risk/Uncertainty)

ท างานโดยใช้ประสบการณ์(Experience) ที่ไม่เสี่ยง

๑.๙ ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพของการบริหารโครงการ

๑) ความสามารถและความมีอ านาจของผู้บริหารโครงการ

๒) ความเหมาะสมขององค์การของโครงการ

๓) ความสามารถและความเหมาะสมของบุคคลากร

๔) ความพอเพียงของงบประมาณ

๕) ความชัดเจนของแผนการควบคุมโครงการ

๖) ความเหมาะสมของสถานที่ด าเนินโครงการ

๗) ความพร้อมและความเหมาะสมของวัสดุอุปกรณ์ ๘) ความเหมาะสมของระยะเวลาด าเนินโครงการ

๙) ความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๐) ความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมต่อ

Page 5: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๕

สถานศึกษาเป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่มีภารกิจในการจัดการศึกษาให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ ในการบริหารจัดการของสถานศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายใน ก าหนดให้สถานศึกษาจัดท าแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยจัดท าแผนเป็น ๒ ระยะ คือ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระยะ ๔ ปี และแผนปฏิบัติการประจ าปี

ตามโครงสร้างแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระยะ ๔ ปี และแผนปฏิบัติการประจ าปี จะมีโครงสร้างตั้งแต่วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ริเริ่มหรือ แนวทางการด าเนินงาน และโครงการ/กิจกรรม ส าหรับการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี สถานศึกษาจะต้องด าเนินการด าเนินการวิเคราะห์แผนพัฒนาการศึกษาระยะ ๔ ปี และก าหนดโครงการที่จะด าเนินงานประจ าปี ตามวงเงินงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร จึงขอเสนอแนวทางการบริหารโครงการ ดังนี้

๒.๑ การวางแผนโครงการ (Project Planning) ๒.๑.๑ การเกิดและท่ีมาโครงการ( Project conception) เป็นขั้นตอนเริ่มต้นในการจัดท าโครงการ โดยพิจารณาถึงความจ าเป็นในด้านต่างๆ ว่ามีความต้องการในด้านใด โดยจัดท าเป็นร่างโครงการ (Project proposal) ในการวิเคราะห์ที่มาของโครงการมี ๓ ลักษณะ ดังนี้

๑) โครงการปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ (Improvement project) วิเคราะห์ปัญหาที่มีอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ซึ่งในท่ีนี้หมายความรวมถึง โครงการปรับสมรรถนะด้านต่าง ๆ ขององค์การ (Competency improvement) เพ่ือน าไปสู่การท างานที่กระตือรือร้นมากยิ่งขึ้นด้วย

๒) โครงการริเริ่มหรือพัฒนานวัตกรรม (Innovative project) ด้านต่าง ๆ ทั้งในส่วนของทุน อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร เทคโนโลยี ความรู้ วทิยากร และปัญญาประดิษฐ์ ทั้งหลายที่มีคุณค่าอย่างสูงยิ่งต่อองค์การ

๓) โครงการวิจัยและพัฒนา (research and development project) ทั้งนี้เพ่ือทุ่มเทหรืออุทิศให้กับการค้าคว้า การท าการทดลอง การฝึกปฏิบัติ การบุกเบิกหรือน าร่อง

บทท่ี ๒ การบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management)

Page 6: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๖

(Pilot) ในพ้ืนที่หรือกลุ่มคน เพ่ือหาข้อสรุปที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อการจัดการในระยะยาว

๔) โครงการที่เกิดความส าเรจจตามเปาาประสงค์เชิงกลยุทธ์ในปัจจุบัน แล้วน ามาปรับปรุงพัฒนาให้โดดเด่น ก้าวกระโดดจากเดิม

๕) โครงการที่ตอบสนองนโยบายในระดับต่างๆ ทั้งนี้ อาจจะน ามาบูรณาการกับโครงการตามประเด็นกลยุทธ์

๒.๑.๒ การออกแบบหรือการจัดท าร่างโครงการ (Project formulation) โครงสร้างทั่วไป : หลกัการเขียนโครงการที่เป็นโครงการแบบทั่วไปนั้น เป็นหลักการที่อาจประยุกต์ใช้ได้ค่อนข้างกว้างขวางอาจปรับขยายให้เหมาะสมกับความต้องการในประเด็นต่าง ๆ ได้ค่อนข้างสะดวก ตลอดจนอาจน าไปประยุกต์ใช้ในการจัดท า Project proposal ในรูปแบบอื่นได้ รายละเอียดในโครงสร้างของโครงการนั้น แท้ที่จริงแล้วมาจากความพยายามตอบค าถามของผู้บริหาร ซึ่งเป็นผู้มีอ านาจพิจารณาและตัดสินใจอนุมัติให้จัดท าโครงการ มีอ านาจตัดสินใจในการสนับสนุนด้านงบประมาณหรือทรัพยากรที่จ าเป็นส าหรับการด าเนินงานตามโครงการนั้น ค าถามเหล่านั้นคือค าตอบเพ่ือให้แสดงรายละเอียดในหัวข้อต่อไปนี้

๑. ชื่อโครงการ ๒. บุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ ๓. เวลา ๔. หลักการและเหตุผล/ความเป็นมาของโครงการ/ความส าคัญของโครงการ ๕. วัตถุประสงค์ ๖. เป้าหมาย ๗. วิธีการด าเนินการ ๘. งบประมาณ ๙. การติดตาม ควบคุมก ากับและประเมินผล ๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๑. ผู้เสนอโครงการ

ในแบบฟอร์มที่ก าหนดโครงสร้าง ที่ใช้กันแต่ละในหน่วยงานอาจมีรายละเอียดที่แตกต่างกัน จะมีรายละเอียดเรื่องใดมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความต้องการรายละเอียดของหน่วยงานนั้น หรือตามท่ีได้ก าหนดไว้ในโครงสร้างมาตรฐานในภาคปฏิบัติจริงในหน่วยงานในหน่วยงานต่างๆ ส่วนใหญ่แล้ว การเสนอรายละเอียดในโครงการมักจะเป็นไปตามโครงสร้างมาตรฐาน หรือตามแบบฟอร์มมาตรฐาน

Page 7: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๗

๒.๑.๓ การวิเคราะห์และประเมินโครงการ ( Project analysis and appraisal) ๑. การคัดเลือกและประเมินโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกโครงการ - การตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อเสมอโครงการ - การกลั่นกรองข้อเสนอโครงการเบื้องต้น ๒. การอนุมัติโครงการ (Selection and Approve) - เสนอขอความเห็นชอบโครงการต่อผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การประถมศึกษา - บรรจุในแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ - เสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ๒.๒ การปฏิบัติตามโครงการ(Project implementation) ๒.๒.๑ การเตรียมการ( Project implementation preparation)

๑) จัดท าโครงสร้างการบริหารโครงการ : เป็นการด าเนินการตามแผนโดยผู้จัดการโครงการจะเป็นผู้รับผิดชอบซึ่งมีอ านาจในสายงานหลัก (Line authority) และมีหน้าที่ในการควบคุมดูแลหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในกรณีท่ีเป็นโครงการใหญ่ซ่ึงต้องด าเนินงานในระยะสั้น การด าเนินงานตามแผนโครงการทุกขั้นตอนอาจสิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรอ่ืนๆ ดังนั้นจึงอาจมีการตั้งผู้ จัดการโครงการย่อย ผู้จัดการกลุ่ม กิจกรรม หรือผู้จัดการแต่ละกิจกรรมย่อย เพ่ือกระจายอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบ

- คัดเลือกทีมและก าหนดมอบหมายงาน- การจัดท าก าหนดการและผังการก ากับงาน - ก าหนดด้านทรัพยากร

๒.๒.๒ การด าเนินการ ( Project implementation) - ประชุมชี้แจงโครงการ ออกค าสั่งมอบหมายงาน - มอบหมายงานแก่บุคคล คณะบุคคล ทีมงาน - ปฏิบัติงานตามที่ก าหนด - การก าหนดและการด าเนินการประสานงาน - การติดตามตรวจสอบและการก ากับงานและหรือการนิเทศงาน

๒.๓ การควบคุมโครงการ (Project control) ๒.๓.๑ การติดตามโครงการ (Project monitoring)

๑) การติดตามความก้าวหน้า ๒) การเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เป็นจริงกับผลลัพธ์ที่พยากรณ์ไว้ ๓) การวิเคราะห์ผลกระทบ ๔) การปรับปรุง

Page 8: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๘

๒.๓.๒ การประเมินโครงการ (Project evaluation)

๑) การประเมินตามช่วงระยะต่างๆของการด าเนินงาน ๒) การประเมินผลรวมเม่ือด าเนินเสร็จสิ้นโครงการ ๓) การประเมินผลกระทบโครงการ

๒.๔ การยุตโิครงการ (Project termination) เป็นขั้นที่การด าเนินการสิ้นสุดลง ตามระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในโครงการ โดยผู้จัดการโครงการจะต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อผู้บริหารระดับสูงตามสายการบังคับบัญชา เพื่อให้ทราบถึงการปฏิบัติงานว่า ประสบความส าเร็จมากน้อยเพียงใด ซึ่งถือว่า เป็นการสิ้นสุดการปฏิบัติงานส าหรับโครงการนี้

Page 9: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๙

การจัดท าโครงการเสนอเพ่ือขออนุมัติการปฏิบัติ จัดท าเสนอเพ่ือพิจารณาคัดเลือกจัดเข้าแผน หรือเพ่ือให้พิจารณาเป็นโครงการในแผน รายละเอียดที่เสนอจะเป็นรายละเอียดที่ท าเสนอให้ผู้บริหารหรือผู้มีอ านาจอนุมัติหรือผู้ที่ท าหน้าที่วิเคราะห์โครงการ ได้วิเคราะห์และพิจารณาจัดโครงการเข้าเป็นส่วนของแผน เป็นแบบที่ท าเสนอให้พิจารณาเรียกว่า Project proposal โดยทั่วไปแล้วต้องแสดงให้เห็นถึงสิ่งส าคัญๆ ในโครงการที่ผู้เสนอโครงการจะต้องระบุให้ชัดเจน จะต้องให้รายละเอียดให้สมบูรณ์ทุกส่วน เพ่ือช่วยให้ผู้ท าหน้าที่พิจารณา เข้าใจโครงการได้เป็นอย่างดี ให้ได้ทราบรายละเอียดอย่างแน่ชัด รายละเอียดเหล่านั้นจะมีบทบาทส าคัญยิ่งที่จะช่วยให้มีการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม คืออย่างน้อยต้องมีรายละเอียดที่แสดงให้เห็นว่า ต้องการท าอะไร จะท าอย่างไร ด้วยวิธีใด จะต้องใช้งบประมาณสักเท่าใด จะรู้อย่างไรว่าถ้าตกลงให้ท าแล้วจะด าเนินงานจนบรรลุตามท่ีได้ก าหนดไว้ ในทางปฏิบัติตามปกติทั่วไป การเขียนโครงการ หรือการจัดท าโครงการเพ่ือเสนอในหน่วยงานใด ก็มักจะต้องใช้แบบฟอร์มโครงการ หรือเขียนเสนอตามโครงสร้างของโครงการ ที่หน่วยงานนั้นก าหนดไว้เป็นหลัก และแนวปฏิบัติเฉพาะที่หน่วยงานนั้นยึดถือเป็นหลักก ากับการปฏิบัติ ซึ่งในเรื่องนี้ ผู้จัดท าโครงการเสนอ จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง ให้เป็นไปตามแนวที่ก าหนดไว้เสมอ ซึ่งแต่ละแบบของการเสนอโครงการ แต่ละระบบโครงสร้างของโครงการจะมีรายละเอียดมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป

๓.๑ รายละเอียดตามหัวข้อในโครงสร้างของโครงการ ๓.๑.๑ ข้อมูลทั่วไปของโครงการ ๑. ชื่อโครงการ ชื่อโครงการเป็นส่วนที่จะบอกให้ทราบว่าจะท าอะไร โครงการนั้นต้องการ

จะท าสิ่งใด จัดท าโครงการขึ้นมาเพ่ือท าอะไร ชื่อโครงการส่วนใหญ่มักจะมาจาก ชื่องานที่ปฏิบัติ เช่น โครงการปรับปรุง………. โครงการการจัดท า………….โครงการวิจัย………โครงการส่งเสริม………..ชื่อโครงการอาจเป็นชื่อที่มาจากลักษณะเฉพาะของกิจกรรม เช่น โครงการสัมมนา …..

บทท่ี ๓ การออกแบบหรือการจดัท าร่างโครงการ (Project formulation)

Page 10: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๐

โครงการประชุมปฏิบัติการ………หลักการส าคัญส าหรับการระบุชื่อโครงการก็คือใช้ข้อความที่ สั้น – กะทัดรัด – ชัดเจน เพราะถ้าไม่เป็นไปตามหลักการดังกล่าว ความสับสนจะเกิดขึ้นได้ง่าย หรือมิฉะนั้นก็จะต้องก าหนดรายละเอียดอ่ืนเพิ่มประกอบไว้ด้วย เช่นต้องมีขอบข่ายและความหมายของโครงการ และประเด็นอ่ืนๆประกอบไว้ด้วยเพื่อขยายความให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน ท าให้เกิดไม่ประหยัดตามหลักการของวิธีวิทยาในการวางแผน ดังนั้น หลักส าคัญชื่อโครงการคือ สั้น กะทัดรัด ชัดเจน

๒. หน่วยรับผิดชอบโครงการ หน่วยรับผิดชอบโครงการ เป็นการระบุถึง หน่วยงานตามโครงสร้างขององค์กรที่รับผิดชอบโครงการ ซึ่มีภารกิจสัมพันธ์กับผู้รับผิดชอบโครงการ

๓. ผู้รับผิดชอบโครงการ ในหัวข้อผู้รับผิดชอบโครงการนี้ ต้องการรู้หรือถามถึงตัวผู้ดูแลการปฏิบัติงาน โครงการที่เสนอ หรือถามถึงตัวบุคคลและหน่วยงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติโครงการ รายละเอียดในส่วนนี้ จะแสดงถึงบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบเพ่ือพิจารณาถึงความน่าเชื่อถือของบุคคล ผู้ดูแลการปฏิบัติงานของโครงการที่เสนอ และเพ่ือตรวจสอบความสัมพันธ์ของโครงการกับขอบเขตความรับผิดชอบหน่วยงาน

๔. ลักษณะโครงการ เป็นการบ่งบอกถึงลักษณะโครงการ

โครงการต่อเนื่อง ดูจากวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการใหม่ ๕. ระยะเวลาด าเนินการ เวลาที่ใช้ในการด าเนินงานตามโครงการ รายละเอียดในเรื่อเวลา จะ

แสดงถึงเวลาที่ใช้และช่วงเวลา หมายถึงเวลาที่ต้องใช้ในการด าเนินโครงการนั้นทั้งหมด ตั้งแต่ต้นจนแล้วสิ้น ว่าจะต้องใช้เวลาทั้งหมดเท่าใด และแสดงให้เห็นว่าจะใช้เวลาในช่วงเวลาใดถึงเวลาใด หลักส าคัญในเรื่องเวลาก็คือต้องการทราบการใช้เวลาในการด าเนินงาน ซึ่งครอบคลุมระยะเวลาทั้งหมดและช่วงเวลาที่ใช้เพ่ือจะได้ประเมินความเหมาะสมในการใช้เวลา ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ แนวการใช้เวลาทั้งหมดและการใช้เวลาตามช่วงระเวลา ตามท่ีก าหนดไว้ในโครงการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติมากน้อยเพียงใด

๖. สนองกลยุทธ์ เป็นการบ่งบอกถึงการตอบสนองต่อความส าเร็จตามกลยุทธ์ที่ก าหนดในแผนพัฒนาการศึกษา หรือแผนปฏิบัติการประจ าปี

Page 11: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๑

๗. สนองมาตรฐาน เป็นการบ่งบอกถึงการตอบสนองต่อความส าเร็จของมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย

๓.๑.๒ รายละเอียดโครงการ ๘. หลักการและเหตุผล ส่วนนี้จะตอบค าถามว่า ท าไมต้องท าโครงการนั้น แสดงถึงเหตุผลความ

จ าเป็นและที่มาของการจัดท าโครงการนั้นว่า มีเหตุสมควรอย่างไร ท าไมจึงต้องจัดท าโครงการนั้นขึ้น เรื่องนั้นส าคัญมากน้อยแค่ไหน ข้อมูลที่ใช้แสดงเหตุผลที่มาของโครงการมาจาก

ปัญหา/ความต้องการในการพัฒนา

นโยบาย/แผนพัฒนาการพัฒนา

เกณฑ์มาตรฐานของงาน

แผนด าเนินงานไปสู่สภาพความคาดหวังในอนาคต หรืออาจเป็นเหตุผลมาจากหลักการในเรื่องนั้น

ทฤษฎีทางวิชาการที่ยึดถือกันในเรื่องนั้น ๆ ผู้เสนอโครงการจะต้องให้เหตุผล หรือแสดงถึงที่มาและความจ าเป็นในการจัดท า

โครงการให้ชัดเจน แสดงข้อมลู มตีัวเลขสนับสนุนให้มีน้ าหนัก แสดงให้เห็นความเหมาะสมหรือความจ าเป็นของการจัดท าโครงการนั้น

๙. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ของโครงการ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าให้ท าตามท่ีโครงการก าหนดแล้ว จะเหจนผลงานใดเกิดขึ้น ผลิตผลที่จะเกิดข้ึนคืออะไร จะได้เห็นผลผลิตหรือผลงานใดที่เป็นชิ้นเป็นอัน ถ้าผู้พิจารณาโครงการได้ตัดสินใจให้ท าโครงการแล้ว ผลสุดท้ายที่เกิดจากการปฏิบัติตามโครงการนั้นคืออะไร จะได้ผลงานใดเกิดขึ้นหลักการเขียนข้อความท่ีแสดงวัตถุประสงค์ ต้องระบุชัดเจน ต้องมีลักษณะจ าเพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ ไม่ท าให้ตีความหมายหรือแปลความหมายได้หลายอย่าง วัตถุประสงค์ของโครงการจะแสดงให้เห็นเป็นผลงาน หรือผลผลิตที่คาดหวังจะได้จากการท าโครงการนั้น แสดงชิ้นงาน เนื้องานแสดงถึงสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น หลักส าคัญท่ีใช้ก ากับข้อความท่ีแสดงวัตถุประสงค์ระดับโครงการ ก็คือ จ าเพาะเจาะจง วัดได้ นับได้ เป็นสิ่งที่ท าได้ เป็นเรื่องจริง หรือเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และเป็นสิ่งที่อาจท าให้ส าเร็จได้ในเวลาอันสมควร ตัวอย่าง เช่น

เพ่ือทราบจ านวนประชากรในกลุ่มอายุต่าง ๆ ในเขตบริการของโรงเรียน

Page 12: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๒

เพ่ือรายงานสถิติแนวโน้มการออกกลางคันของนักเรียนในช่วงระยะ 5 ปี (ปี พ.ศ.….- ปี พ.ศ………

เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะเบื้องต้นในการ - การจัดท าโครงการ - วิเคราะห์นโยบายและแผนเพ่ือก าหนดโครงการให้สอดคล้องกันได้ - จัดท าแผนการติดตาม ควบคุมก ากับและประเมินโครงการได้

๑๐. เปาาหมาย

เป็นการก าหนดผลงานในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ ของการปฏิบัติงาน จะแสดงให้เห็นว่าจะปฏิบัติงานอย่างไรในจ านวนเท่าใด ในเงื่อนเวลาอย่างไร เพ่ือน าไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์โครงการนั้น เป้าหมายเป็นลักษณะวัตถุประสงค์เฉพาะประกอบของแต่ละวัตถุประสงค์ของโครงการ เป้าหมายจะแสดงได้เชิงปริมาณ บอกลักษณะที่แสดงคุณภาพ หรืออาจแสดงลักษณะเฉพาะอย่างใด อย่างหนึ่ง ที่เก่ียวข้องกับการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ในโครงการนั้น และเป้าหมายมักจะถูกก ากับด้วยเงื่อนไขของเวลา ตัวอย่าง

ฝึกเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด จ านวน 250 คน ในเวลา 6 เดือน นับตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ

ด าเนินงานในพ้ืนที่เขตรอบนอกเสร็จภายใน 120 วัน และด าเนินงานในพ้ืนที่ส่วนในเสร็จใน 60 วัน ภายหลังจากเสร็จงานในพ้ืนที่เขตรอบนอกแล้ว

๑๑. วิธีด าเนินการ วธิีด าเนินการให้บรรลุเป้าหมายการปฏิบัติงาน และบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อจะแสดงวิธีปฏิบัติ แสดงกิจกรรมตามล าดับขั้นตอนในการด าเนินกิจกรรม เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายต่างๆที่ก าหนดไว้ ซึ่งจะน าไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์นั้น ๆ ของโครงการทั่วไป ส่วนนี้ของโครงการ จะเป็นลักษณะเป็น Action plan หรือ Operation plan แสดงสาระส าคัญของกิจกรรม แสดงขั้นตอนการด าเนินงานที่ระบุกิจกรรม ช่วงเวลาการปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบแต่ละส่วนและวิธีการเฉพาะเทคนิคเฉพาะส าหรับการวางแผนปฏิบัติ หรือการวางแผนท างาน (Action Planning หรือ Operation plan) นั้น มีมากมายหลายวิธี หลายเทคนิคด้วยกัน นับได้ตั้งแต่เทคนิคง่าย ๆ ซึ่งก าหนดเป็นแบบรายการปฏิบัติ (Listing) จนถึงเทคนิคที่ก้าวหน้าสลับซับซ้อน เช่น PERT และ CPM ซึ่งผู้วางแผนจะต้องเลือกใช้เทคนิค ให้เหมาะสมกับลักษณะงานและกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ หรือมิฉะนั้น ก็ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการด าเนินงานที่หน่วยงานนั้นได้ก าหนด

Page 13: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๓

๑๒. งบประมาณ โดยหลักวิชาการทางการวางแผนแล้ว ส่วนที่ว่าด้วยเรื่องงบประมาณนั้น คือส่วนที่ตอบว่า จะต้องใช้เงินสักเท่าใด และเอามาจากไหน จะเป็นเรื่องที่เกี่ยกวับทรัพยากรที่จ าเป็นส าหรับการด าเนินงานตามโครงการ ซึ่งจะต้องแจกแจงตามรายการ ตามปริมาณ ตามประเภทงบประมาณ สิ่งที่จะต้องแสดงคือ

ยอดรวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดของโครงการนั้น

รายละเอียดค่าใช้จ่ายแต่ละกิจกรม/รายการและประเภทแต่ละรายการ

แหล่งสนับสนุน แหล่งงบประมาณ แหล่งทรัพยากรอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ๑๓. การประเมินผล เป็นการระบุรายละเอียดการประเมินผลโครงการ ที่จะบ่งบอกถึง

ความส าเร็จของโครงการตามวัตถุประสงค์ โดยก าหนด...

ตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ

วิธีการวัดผล

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลโครงการ ๑๔. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ หมายถึง ผลพลอยได้ หรือผลประโยชน์ที่

เป็นผลพลอยได้ เป็น ผลที่อาจได้รับนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ แสดงให้เห็นว่า โครงการนี้จะมีผลพลอยได้อะไร ผลพลอยได้ที่น่าจะได้รับเพ่ิมเป็นพิเศษมีอะไรอีกบ้าง

๑๕. ผู้เสนอโครงการ ข้อมูลในส่วนนี้มุ่งตอบค าถามว่าใครเป็นผู้ร่างโครงการ ใครเป็นผู้จัดท าร่างโครงการมาเสนอถ้าต้องการรายละเอียดเพ่ิมเติมหรือต้องการปรับปรุงแก้ไขโครงการ จะติดต่อผู้ใด

Page 14: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๔

๓.๒ แบบฟอร์มโครงการทั่วไป โครงการ......................................................................................................................... ................................ แผนงาน........................................................................................................................... .............................. หน่วยรับผิดชอบโครงการ.................................................................................................. ............................ ผู้รับผิดชอบโครงการ........................................................................ ............................................................ ลักษณะโครงการ............................................................................................................................. .............. ระยะเวลาด าเนินการ............................................................................................................................ ......... สนองกลยุทธ์ที่...................................................................................................... ............................ สนองมาตรฐานที่ ................................................................................................................ ..........................

๑. หลักการและเหตุผล .................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... .........................................................................

๒. วัตถุประสงค์ ๒.1 .........................................……………………………………………………………………………………………… .................................................................................. ...................................................................................... ๒.๒ ………………………………………………………………………………………………....................................... ........................................................................................ ................................................................................

๓. เปาาหมาย เชิงปริมาณ ๓.๑.........................................…………………………………………………………………………………………………….. ๓.๒……………………………………………………………………………………………….................................................

Page 15: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๕

เชิงคุณภาพ ๓.๓………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓.๔………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. วิธีการด าเนินงาน

๕. สถานที่ด าเนินโครงการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. งบประมาณ ๖.๑ ใช้งบประมาณจากแผนงาน.....................................................................จ านวน......................บาท ๖.๒ รายละเอียดการใช้งบประมาณ

กิจกรรม/รายการ ประเภทค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินนอก

งบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม กิจกรรมที่ ๑..................................... ค่าใช้จ่าย ๑.๑ ………......................................... ๑.๒..............................………………….

กิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินงาน ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑......................................... ขั้นตอนการด าเนินงาน ๑.๑......................................................... ๑.๒.........................................................

กิจกรรมที่ ๒ ......................................... ขั้นตอนการด าเนินงาน ๒.๑........................................................ ๒.๒.........................................................

Page 16: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๖

กิจกรรมที่ ๒ ๒.๑...............................………........... ๒.๒.................................……………….

รวม ๗. การประเมินผล

ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้

๘. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................................................................

ผู้เสนอโครงการ

(……………………………………………) ต าแหน่ง..........................................................................

ผู้เห็นชอบโครงการ (……………………………………………) ต าแหน่ง..........................................................................

ผู้อนุมัติโครงการ

(……………………………………………) ต าแหน่ง..........................................................................

Page 17: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๗

๓.๓ แบบฟอร์มการเขียนโครงการเกี่ยวกับการประชุม สัมมนา อบรม โครงการ................................................................................................................. ........................................ แผนงาน........................................................................................................................... .............................. หน่วยรับผิดชอบโครงการ.................................................................................................. ............................ ผู้รับผิดชอบโครงการ............................................................................................................................ ........ ลักษณะโครงการ............................................................................................................................. .............. ระยะเวลาด าเนินการ................................................................................................. .................................... สนองประเดจนกลยุทธ์ที่...................................................................................................... ............................ สนองมาตรฐานที่...........................................................................................................................................

๑. หลักการและเหตุผล ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ......................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ .......................................... ................................................................................ ........................................................................................ ๒. วัตถุประสงค์ ๒.1 .........................................……………………………………………………………………………………………… ................................................................... ..................................................................................................... ๒.๒ ………………………………………………………………………………………………....................................... ......................................................................... ............................................................................................... ๓. เปาาหมาย เชิงปริมาณ

Page 18: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๘

๓.๑.........................................…………………………………………………………………………………………………….. ๓.๒………………………………………………………………………………………………................................................. เชิงคุณภาพ ๓.๓………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓.๔………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. วิธีการด าเนินงาน

๕. หลักสูตรการอบรม เนื้อหา เวลา(ชม.) ๑........................................................................... ................. ๒........................................................................... ................. ๓........................................................................... ................. ๔........................................................................ ... ................. ๕........................................................................... .................

กิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินงาน ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑......................................... ขั้นตอนการด าเนินงาน ๑.๑......................................................... ๑.๒.........................................................

กิจกรรมที่ ๒ ......................................... ขั้นตอนการด าเนินงาน ๒.๑........................................................ ๒.๒.........................................................

กิจกรรมที่ ๓ ......................................... ขั้นตอนการด าเนินงาน ๓.๑........................................................ ๓.๒.........................................................

Page 19: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๑๙

รวม ................. ๖. สถานที่ด าเนินโครงการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. งบประมาณ ๗.๑ ใช้งบประมาณจากแผนงาน.....................................................................จ านวน......................บาท ๗.๒ รายละเอียดการใช้งบประมาณ

กิจกรรม/รายการ ประเภทค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินนอก

งบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม กิจกรรมที่ ๑..................................... ค่าใช้จ่าย ๑.๑ ………......................................... ๑.๒..............................………………….

กิจกรรมที่ ๒ ๒.๑...............................………........... ๒.๒.................................……………….

รวม ๘. การประเมินผล

ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้

๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผู้เสนอโครงการ (……………………………………………) ต าแหน่ง..........................................................................

Page 20: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒๐

ผู้เห็นชอบโครงการ (……………………………………………) ต าแหน่ง..........................................................................

ผู้อนุมัติโครงการ (……………………………………………) ต าแหน่ง..........................................................................

๔.๑ รูปแบบท่ี ๑ การวิเคราะห์โดยใช้การตัดสินของผู้เชี่ยวชาญ(Expert Judgment) เป็นการวิเคราะห์ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง(Index of Item-Objective Congruence : IOC) ของข้อค าถามที่ก าหนดขึ้นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

ชื่อโครงการ……………………………………………………………………………………………………………………………..

แบบวิเคราะห์โครงการ รายการพิจารณา ผลการพิจารณา

๓ ๒ ๑ ๑. มีข้อมูลยืนยันชัดเจนเหตุผลและความจ าเป็น ๒. โครงการตอบสนองเหตุผลและความจ าเป็น ๓. วัตถุประสงค์ของโครงการมีความเป็นไปได้ในการด าเนินการ ๔. วัตถุประสงค์ของโครงการสามารถวัดได้ ประเมินได้ ๕.วัตถุประสงค์ของโครงการสามารถจัดกิจกรรมด าเนินงานให้บรรลุได้ ๖. โครงการมีขอบเขตเวลาที่แน่นอนในการปฏิบัติงาน ๗. วัตถุประสงค์ของโครงการสมเหตุสมผลสอดคล้องกับปัญหา ๘. วิธีด าเนินการของโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ๙. ความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างกิจกรรม ๑๐. กิจกรรมเป็นไปตามทฤษฎีหรือหลักการที่เหมาะสม ๑๑.ระยะเวลาเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ท่ีจะท างานให้บรรลุเป้าหมายได้ ๑๒. ค่าใช้จ่ายเหมาะสมกับโครงการ ๑๓. มีการติดตามประเมินผลที่ชัดเจน ๑๔. ประโยชน์ของโครงการเหมาะสม

บทที่ ๔

การวิเคราะห์โครงการบรรจุในแผนปฏิบัติการ

Page 21: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒๑

๑๕. มีผู้รับผิดชอบโครงการชัดเจน

เกณฑ์การตัดสินโครงการ

น้ าหนักรวมต่ ากว่า ๓๐ ยู่ในเกณฑ์ไม่ควรอนุมัติให้ด าเนินโครงการ น าหนักรวม ๓๑ – ๓๕ อยู่ในเกณฑ์ควรน าไปปรับแก้โครงการตามที่ผู้วิเคราะห์เสนอแนะน าเข้าพิจารณาใหม่ น้ าหนักรวม ๓๖ – ๔๐ จะอยู่ในเกณฑ์ ควรอนุมัติให้ด าเนินโครงการได้แต่ต้องปรับแก้ก่อน น้ าหนักรวม ๔๑ – ๔๕ จะอยู่ในเกณฑ์ ควรอนุมัติให้ด าเนินโครงการได้ ๔.๒ รูปแบบท่ี ๒ การวิเคราะห์ความสมบูรณ์หรือความถูกต้องของโครงการ

คะแนน ๑ หมายถึง น้อย หรือ ไม่มี ๒ หมายถึง ปานกลาง และ ๓ หมายถึง มาก

ประเดจนโครงการ ประเดจนการวิเคราะห์ ค่าคะแนนที่ได้

รวม 1 2 3

๑. ช่ือโครงการ ๑.๑ ความถูกต้อง ชัดเจน ๑.๒ สอดคล้องกับกิจกรรม ๑.๓ อ่านเข้าใจง่าย เร้าใจ

๒. แผนงาน ถูกต้องตามหลักการจัดสรรงบประมาณ ๓. หลักการและ เหตุผล

๓.๑ แสดงความเป็นมาชัดเจน ๓.๒ มีข้อมลู ทฤษฎี สนับสนุน ๓.๓ บอกความต้องการแก้ปัญหาหรือพัฒนา

๔. วัตถุประสงค ์

๔.๑ บอกสิ่งท่ีต้องการใหเ้กิดหลังด าเนินโครงการ ๔.๒ มีความเป็นไปได ้ ๔.๓ สอดคล้องกับกิจกรรมที่ท า

๕. เป้าหมาย ๕.๑ แสดงผลงานในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ ๕.๒ ระบุกลุม่ที่จะด าเนินงาน ๕.๓ ระบุจ านวนหรือวันเวลาสถานท่ีที่จะด าเนินการ

๖. กิจกรรมและ ด าเนินงาน

๖.๑ ล าดับกิจกรรมอยา่งต่อเนื่อง ๖.๒ กิจกรรมระบุวันเวลาที่ด าเนนิการ ๖.๓ กิจกรรมระบผุู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม

7. รายละเอียด การใช้งบประมาณ

๗.๑ การเขียนงบประมาณค านึงถงึความประหยดั ๗.๒ งบประมาณค านวณถูกต้องตามระเบียบ กระทรวงการคลัง ๗.๓ ความคุ้มค่า เหมาะสม เพียงพอของงบประมาณ

๘. การประเมินผล ๘.๑ ตัวช้ีวัดสามารถวัดได ้๘.๒ บอกวิธีการที่จะประเมิน ๘.๓ บอกเครื่องมือท่ีใช้ประเมิน

๙. ผลที่คาดว่าจะ ได้รับ

๙.๑ บอกผลที่คาดว่าจะได้รับหลังสิ้นสุดโครงการ ๘.๒ ผลทีค่าดว่าจะได้รับบอกเป็นผลลัพธ์ (Outcomes)

Page 22: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒๒

๙.๓ ผลที่คาดว่าจะได้รับสูงกว่าวัตถุประสงค์ รวม / เฉลี่ย เกณฑ์การตัดสินโครงการ

น้ าหนักรวมต่ ากว่า ๔๕ อยู่ในเกณฑ์ไม่ควรอนุมตัิให้ด าเนินโครงการ น าหนักรวม ๔๖ – ๕๕ อยู่ในเกณฑ์ควรน าไปปรับแก้โครงการตามที่ผู้วิเคราะห์เสนอแนะน าเข้าพิจารณาใหม ่น้ าหนักรวม ๕๖ – ๖๕ อยู่ในเกณฑ์ควรอนมุัติให้ด าเนินโครงการได้แต่ต้องปรับแก้ก่อน น้ าหนักรวม ๖๖ – ๗๕ อยู่ในเกณฑ์ควรอนมุัติให้ด าเนินโครงการได้

แบบรายงานผลโครงการ

ตัวอย่าง แบบรายงานผลการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.

ชื่อโครงการ......................................................................................... ........................................................... แผนงาน……………………………………………………………………………………………………………………………………….. หนว่ยที่รับผิดชอบ…………………………………………………………………………………………………………………………. ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑................................................................กลุ่ม..................................... ............................... ๒................................................................กลุ่ม....................................... ............................ สอดกับประเด็นกลยุทธ์ที่ ................................................................................................................ ............. สถานะโครงการ ยังไม่ด าเนินการ อยู่ระหว่างด าเนินการ ด าเนินการเสร็จแล้ว

๑. วัตถุประสงค์ 4.1............................................................................................ .................................... 4.2.......................................................................................... ....................................... 4.3.......................................................................................... ....................................... ๒. เป้าหมาย เชิงปริมาณ ๒.๑ ........................................................................... ...................................................... ๒.๒............................................................... .................................................................

บทท่ี ๕ การรายงานผลโครงการ

Page 23: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒๓

เชิงคุณภาพ ๒.๓.............................................................................. ................................................... ๒.๔................................................................................................................................. ๓. ผลการด าเนินงานตามระยะเวลา

กิจกรรมส าคัญ ระยะเวลาด าเนินกิจกรรม เป็นไปตามเวลา ไม่เป็นไปตามเวลา

ตามแผน ปฏิบัติจริง ๑...................................... ๒...................................

๔. ผลการด าเนินงานตามเปาาหมายกิจกรรม

กิจกรรมส าคัญ ผลการการด าเนินงานตามกิจกรรมส าคัญ เป็นไปตาม

เป้าหมาย ไม่เป็นไปตาม

เป้าหมาย เป้าหมายกิจกรรม ผลการด าเนินงาน ๑...................................... ๒......................................

๕. ผลการด าเนินงานตามตัวช้ีวัดความส าเรจจ ตัวช้ีวัดความส าเรจจโครงการ ผลการด าเนินงานตามตัวช้ีวัด

ความส าเรจจ เป็นไปตามตัวชี้วัด

ความส าเร็จ ไม่เป็นไปตามตัวชี้วัด

ความส าเร็จ ๑...................................... ๒......................................

๖. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ๖.๑ งบประมาณโครงการทั้งหมด....................บาท ๖.๒ ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ

กิจกรรมส าคัญ งบประมาณท่ีได้รับอนุมัติ

ผลการเบิกจ่าย รวม คงเหลือ

ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ๑..................................... ๒.....................................

Page 24: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒๔

รวม

๗. ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขการด าเนินงาน (ด้านบุคลากร ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านงบประมาณ ด้านประสานงาน) ๗.๑ ปัญหา/อุปสรรคการด าเนินงาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗.๒ ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗.๓ งานที่จะด าเนินต่อหลังจากการด าเนินงานโครงการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………

(...............................................................) ต าแหน่ง………………………….....................................................

ผู้รายงาน ๘. ความคิดเหจนของผู้บริหารตามล าดับชั้น ความคิดเหจนของหัวหน้ากลุ่ม ..................................................................................................................................................

(.....................................................) ต าแหน่ง...................................................

ความคิดเหจนของรองผู้อ านวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. .....................

(...........................................................) ต าแหน่ง...................................................

ความคิดเหจนของผู้อ านวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. .....................

(...............................................................) ต าแหน่ง...................................................

Page 25: บทที ๑ ความรู้เบืองต้นเกียวกับ ... · 2015-10-17 · ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ

คู่มือการบริหารโครงการระดับสถานศึกษา (School Project Management) ๒๕

ภาพประกอบการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม (ไม่เกิน 8 รูป พร้อมแนบไฟล์ JPEG Image ด้วย )