99
ตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณ โดย นางสาววรรณณา ธิธรรมมา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2545 ISBN 974-653-600-1 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณฑิต อบด 2545 ISBN 974-653-600-1ศึกษาวิจัืยหรอแผนการดํิาเนนโครงการ บทที่ 4 ํการดิาเนนงานเพื่

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณ

โดย นางสาววรรณณา ธิธรรมมา

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา ภาควชิาเครื่องเคลือบดินเผา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2545

ISBN 974-653-600-1 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

TRADITIONAL THAI CONTORTION DEMONSTRATIVE DOLL

By

Wanna Thithamma

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF FINE ARTS

Department of Ceramics Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2002

ISBN 974-653-600-1

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณ” เสนอโดย นางสาววรรณณา ธิธรรมมา เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา

........................................................ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย)

คณบดบีัณฑิตวิทยาลยั วันที่..............เดือน....................พ.ศ............. ผูควบคุมวิทยานิพนธ

1. อาจารยประเสริฐ พิชยะสุนทร 2. อาจารย ดร.จิรวัฒน วงศพันธุเศรษฐ

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ...............................................ประธานกรรมการ (อาจารยกรธนา กองสุข) ........../................./................. ................................................กรรมการ ..................................................กรรมการ (อาจารยประเสริฐ พิชยะสนุทร) (อาจารย ดร.จริวัฒน วงศพันธุเศรษฐ) ........../................/................. ............/...................../................ ................................................กรรมการ ..................................................กรรมการ (ศาสตราจารย เกียรติคณุเสริมศักดิ์ นาคบวั) (อาจารยวศินบุรี สุพานิชวรภาชน) ........../................./................ ........../................./................

K 41365012 : สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา คําสําคัญ : ตุกตาเครื่องเคลือบดินเผาฤาษีดดัตน วรรณณา ธิธรรมมา : ตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณ (TRADITIONAL THAI CONTORTION DEMONSTRATIVE DOLL) อ.ผูควบคุมวิทยานิพนธ อาจารยประเสริฐ พิชยะสุนทร และ อ. ดร.จิรวัฒน วงศพันธุเศรษฐ. 88 หนา. ISBN 974-653-600-1

วิทยานิพนธฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตาเครื่องเคลือบดินเผาที่ส่ือสัญลักษณประเทศไทย โดยมีแนวความคิดมาจากการบริหารรางกายแบบไทยหรือฤาษีดัดตนในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม(วัดโพธิ์) รูปแบบของผลิตภัณฑเปนตุกตารูปคน ผูชาย ผูหญิง ออกแบบใหมีความเปนเอกลักษณของคนไทย โดยการศึกษาลักษณะของคนไทยจากภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ซ่ึงมีความออนชอย สามารถแสดงใหเห็นความเปนคนไทยสวนใหญทีม่ีความออนโยน นุมนวล และเปนมิตร ทําการสาธิตการดัดตน ที่ สามารถเปนตนแบบสาธิตการบริหารรางกายแบบไทย ชวยในการบําบัดโรคทางโครงสรางของรางกายได โดยใชเนื้อดินสโตนแวรเผาที่อุณหภูมิ 1250 ºCในการขึ้นรูป

เนื้อหาของวิทยานิพนธ แบงออกเปน 5 สวน บทที่ 1 บทนํา ไดกลาวถึงที่มาและความสําคัญของโครงการ วัตถุประสงค ขอบเขตและวิธีการศึกษา บทที่ 2 เปนขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการเชน แนวคิดที่ใชในการออกแบบ ตลาด กลุมผูบริโภค วัตถุดิบที่ใชในการผลิต บทที่ 3 วิธีการศึกษาวิจัยหรือแผนการดําเนินโครงการ บทที่ 4 การดําเนินงานเพื่อใหบรรลุตามแผนที่ตั้งไว บทที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและสรุปผลการศึกษาวิจัยเพื่อทราบถึง ขอดี ขอบกพรอง ของการดําเนินโครงการเพื่อเปนแนวทางที่จะนําไปพัฒนาปรับปรุงแกไขตอไป ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2545 ลายมือช่ือนักศึกษา.................................................... ลายมือช่ือผูควบคุมวิทยานพินธ 1..........................................………. .2...............................................…

K 41365012 : MAJOR: CERAMICS KEY WORD : CERAMIC DOLL

WANNA THITHAMMA :TRADITIONAL THAI CONTORTION DEMONSTRATIVE DOLL , THESIS ADVISORS: PRASERT PITHAYASOONTHORN, AND Dr. JIRAWAT VONGPHANTUSET. 88 pp. ISBN 974-653-600-1

This thesis is to create and design Thai souvenir ceramic dolls in a commercial production, that an inspiration from tradition Thai contortion demonstrative doll and contortion hermit in figurative doll at Wat-Pho. The design will be in the from of Thai man and woman in traditional Thai contortion demonstrative doll figure, That researched and studied from Thai painted-wall in the early Rattanakosin period, show the gracefulness, tenderness of the beautiful Thais character. The usefulness of these demonstrative figures also can remedy the health in body structure of human.

Stoneware clay and slip casting technique are use in this project and fired up to 1250 ºC. This book is devided in to 5 parts. The first of witch deals with its significance and objective

goal, scope, and methodology of study. The second shows the source of information, concept and inspiration, consumer and marketing, material and process. The third parts is about the method of the research and how to organize. The fourth described the process of construction while The fifth analyses all above, concludes all problem, sort out the result experiences and condenses them into new knowledge for further and more advanced.

______________________________________________________________________________________________ Department of Ceramics Graduate school, Silpakorn University Academic Year 2002 Student’s signature………………………………. Thesis Advisors’ signature 1………………………………………...2…………………………………

กิตติกรรมประกาศ

การดําเนินโครงการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตาเครื่องเคลือบดินเผาครั้งนี้สําเร็จลุลวงไป

ดวยดีผูจัดทําโครงการขอขอบพระคุณในความชวยเหลือในดานตางๆของกลุมบุคคลที่มาดวยน้ําใจ สถาบันและองคกร ดังมีรายนามตอไปนี้

บิดา มารดาผูใหกําเนิด ใหความรักการอบรมสั่งสอนที่ดี และสงเสียใหเลาเรียน ครู อาจารยทุกทานตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันชวยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู อาจารยประเสริฐ พิชยะสุนทร , อาจารย ดร.จีรวัฒน วงศพันธุเศรษฐ อาจารยที่ปรึกษา

โครงการ ชวยใหคําชี้แนะ ตรวจพินิจโครงการตลอดจนการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ อาจารยศุภกา ปาลเปรม , อาจารยเวนิช สุวรรณโมลี , อาจารยสืบพงศ เผาไทย ,

อาจารยณัฏฐินี ศตวรรษธํารง , อาจารยเกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง , อาจารยสมบัติ วงศอัศวนฤมล , อาจารยพิทักษ สงา , อาจารยเพ็ญศิริ ชาตินิยม , อาจารยกิตติพงษ สุริยทองชื่น เพื่อนอาจารยคนดีที่ใหคําปรึกษาและชวยเหลือดานการปฏิบัติงาน

คุณรุงนภา คาคลอง , คุณวุฒิชัย จิรวัฒนโสภณ , คุณอรุโณทัย จันทรคามคํา , คุณอาทิตย จันทรนนทชัย , คุณนารีรัตน บวงสรวง , คุณขวัญชัย สุดประเสริฐ , คุณสุรศักดิ์ แยมอุน นองๆผูมากดวยน้ําใจ ชวยจัดพิมพเอกสาร เปนตนแบบทาดัดตนชวยเหลือในการฏิบัติงานตลอดจนการบริการอาหารและเครื่องดื่ม

กรรมการพิจารณาทุนของทบวงมหาวิทยาลัย ที่ใหทุนสนับสนุนการทําวิทยานิพนธ เจาหนาที่ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผาทุกทานที่ใหความสะดวกในการปฏิบัติงาน ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา มหาวิทยาลัยศิลปากร ใหสถานที่และอุปกรณในการดําเนิน

โครงการและบุคคลอีกหลายทานที่มิไดกลาวถึง ขอขอบพระคุณเปนอยางยิ่ง

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย...................................................................................................................................ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ..............................................................................................................................จ กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................................................ฉ สารบัญภาพ................................................................................................................................….........ฌ สารบัญแผนภูมิ....................................................................…...............................................................ญ บทท่ี 1 บทนํา..........................................................................................................................................1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.....................................................................................1 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา.......................................................................... 3 ขอบเขตของการศึกษา................................................................................................................3 ขั้นตอนของการศึกษา.................................................................................................................6 ผลที่คาดวาจะไดรับ....................................................................................................................7 คํานิยามศัพทเฉพาะ...................................................................................................................8 2 เอกสารและผลงานที่เก่ียวของ....................................................................................................9

ของที่ระลึก...............................................................................................................................10 ตุกตาเครื่องเคลือบดินเผา........................................................................................................11 แนวคดิในการออกแบบ............................................................................................................26

3 วิธีการศึกษาวิจัย.......................................................................................................................35 ขั้นตอนการออกแบบและพฒันารูปแบบ..................................................................................36 ขั้นตอนการทดลองดินและเคลือบ ...........................................................................................38 ขั้นตอนการผลิตผลงานตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา...........................................41 ขั้นตอนการวเิคราะหการประเมินผลการออกแบบ.................................................................. 43 4 ผลการวิเคราะหขอมูล..............................................................................................................45 วิเคราะหผลการออกแบบ ........................................................................................................45

บทท่ี หนา 4 วิเคราะหผลของการทดลองเนื้อดิน........................................................................................ 45

วิเคราะหผลของการผลิต....................................................................................................…..51 5 สรุป.........................................................................................................................................79

สรุปผลการดําเนินงานขั้นที่ 1..................................................................................................79 สรุปผลการดําเนินงานขั้นตอนที่ 2-4.......................................................................................80 สรุปผลการดําเนินงานขั้นตอนที่ 5 ..........................................................................................80 ขอเสนอแนะ............................................................................................................................86

บรรณานุกรม....................................................................................................................................... 87 ประวัติผูวจิัย.........................................................................................................................................88

สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิท่ี หนา

1 แสดงขั้นตอนการออกแบบและพฒันารูปแบบ............................................................... 37 2 แสดงขั้นตอนการทดลองเนื้อดินและเคลือบ.................................................................. 40 3 แสดงขั้นตอนการผลิตตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา.................................... 42 4 แสดงขั้นตอนการวิเคราะหและประเมนิผลการออกแบบ............................................... .43 5 สรุปวิธีการดําเนินการวจิัย................................................................................................44

สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา 1 ตุกตาที่ใชในพิธีกรรมเสียกบาลสมัยสุโขทัยและสมัยรัตนโกสินทร........................................12 2 ตุกตาชาววังทาํดวยผาของบางกอกดอลล.................................................................................13 3 ตุกตาทําดวยผา ตัวละครไทย ตัวพระตวันาง ของบางกอกดอลล............................................ 13 4 ตุกตาทําจากผา ชุดโขนรามเกียรติ์ ของบางกอกดอลล.............................................................14 5 ตุกตาดินเผาสมัยทวารวด ี...................................................................................................….16 6 ตุกตาดินเผาชนิดที่มีการเคลอืบสมัยสุโขทัย......................................................................…. 17 7-8 ตุกตาดินเผาชนิดที่มีการเคลอืบสมัยสุโขทัย.......................................................................... .18 9-10 ตุกตาดินเผาชนิดที่มีการเคลอืบสมัยสุโขทัย......................................................................…..19 11-13 ตุกตาดินเผาสมัยอยุธยา........................................................................................................ .20 14 ตุกตาดินเผาชาววังบานบางเสด็จ........................................................................................... .21 15-16 ตุกตาดินเผาบานบางเสด็จ ชุดแตงงาน ชุดแมคา.....................................................................23 17 ตุกตาผาชุดโขนรามเกียรติ์ ของบางกอกดอลล........................................................................24 18 ตุกตาผา ชุดตวัละคร ตัวพระ ตัวนาง ของบางกอกดอลล........................................................25 19 การนวดแผนโบราณไทยในโรงเรียนหมอนวดของวัดเชตุพนวิมลมังคลาราม....................... 26 20 รูปปนฤาษีดัดตนที่เหลือในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลราม...................................................... 27 21-30 ตัวอยางของทาสาธิตที่นํามาใชในการออกแบบ................................................................ 29-33 31-32 ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทรตอนตน............................................................ .34 33 แสดงผลการทดลองเนื้อดินสเีผาที่อุณหภูมิ 1250 ºC ………………………………………...46 34 ภาพแสดงการออกแบบงานในรูปแบบ 2 มิติ......................................................................….47 35-36 ภาพแสดงการขึ้นรูปตนแบบดินน้ํามัน................................................................................. ...52 37-39 ภาพแสดงการการสรางแมพิมพปูนปลาสเตอรแบบชั่วคราวจากตนแบบดินน้ํามัน…….........53 40-41 ภาพแสดงการการสรางแมพิมพปูนปลาสเตอรแบบชั่วคราวจากตนแบบดินน้ํามัน….............54 42-43 ภาพแสดงการสรางตนแบบปูนปลาสเตอรจากแมพมิพช่ัวคราว……......................................55 44 ภาพแสดงการขัดแตงตนแบบปูนปลาสเตอร............................................................................56

ภาพที่ หนา 45-46 แสดงการผลิตแมพิมพปูนปลาสเตอร…………………………………………………...........57 47 แสดงการขึ้นรูปผลิตภัณฑ……………………………………………………………............58 48-49 แสดงการขึ้นรูปผลิตภัณฑ…........................................................................................…........59 50-51 แสดงการขึ้นรูปผลิตภัณฑ..............................................................................................…......60 52-53 แสดงชิ้นงานที่ผานการเผาดิบแลว ................................................................................…...... 61 54-55 การชุบเคลือบหลังจากการเผาดิบ.............................................................................................62 56-65 แสดงผลงานที่สําเร็จ...........................................................................................................63-72 66-67 แสดงรอยตอที่นูนขึ้นมาของชิ้นงานหลังการเผา......................................................................73 68-69 แสดงชิ้นงานสําเร็จพรอมบรรจุภัณฑ.......................................................................................74 70-77 แสดงชิ้นงานสําเร็จที่ทดลองวางจําหนายที่ Duty Free (Worldtrade Center)…………..….75-78 78-79 แสดงรอยแตกของชิ้นงานหลังจากการเผา...............................................................................81 80-81 แสดงชิ้นงานชนิดไมเคลือบที่แมงกานีสกระจายตวัไมทัว่ช้ินงาน........................................…82 82 แสดงชิ้นงานลมติดกันภายในเตาขณะเผา......................................................................……..83 83 แสดงชิ้นงานลมติดกันภายในเตาขณะเผา......................................................................…......84 84 แสดงชิ้นงานลมติดกันภายในเตาขณะเผา......................................................................……..85

บทที่1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

องคการทองเที่ยวโลกคาดวาการทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกกลางจะมอัีตราการขยายตัวของจํานวนนักทองเที่ยวในอัตราที่สูงอยางตอเนื่องเชนเดียวกับภูมิภาคยุโรปและอเมริกา ประเทศไทยเปนประเทศที่ติดอันดับแหลงทองเที่ยวยอดนิยมของโลกเปนอันดดับที่ 20 โดยมีจํานวนนักทองเที่ยวประมาณ 6.95 ลานคนตอป ปจจัยสําคัยที่ทําใหประเทศไทยสามารถแขงขันดานอุตสาหกรรมทองเที่ยวกับประเทศเพื่อนบานในแถบเอเชียไดนั้น คือประเทศไทยสามารถรักษาศิลปะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ส่ิงแวดลอมรวมถึงความเปนมิตรที่ดีตอนักทองเที่ยว ผลของการทองเที่ยว กอใหเกิดรายไดจากสินคาและธุรกิจการบริการดานตางๆ ซ่ึงไดแก ธุรกิจการโรงแรม รานอาหาร สถานบันเทิง นอกจากนี้ยังมีรายไดจากการจําหนายสินคาที่ระลึกใหแกนักทองเที่ยวเปนตน (องคการทองเที่ยว WTO พ.ศ.2538)

สินคาที่ระลึกเปนสินคาประเภทหนึ่งที่ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สินคาที่ระลึกสําหรับนักทองเที่ยวนั้นคือส่ิงที่แทนความประทับใจหรือส่ิงชวยระลึกถึงในการที่ไดมาเยือนสถานที่นั้น และยังสามารถใชเปนของฝากใหกับญาติมิตรผูใกลชิด สินคาที่ระลึกสรางรายไดใหแกประเทศไทยทําจากวัสดุมากมายหลายประเภทเชน ไม ผา โลหะ พลาสติก และเครื่องเคลือบดินเผาเปนตน แตละประเภทมีรูปแบบ สีสันและขนาดที่แตกตางกันออกไป สินคาที่ระลึกประเภทเครื่องเคลือบดินเผาของไทยไดรับความนิยมไมแพสินคาที่ระลึกที่ทําจากวัสดุประเภท อ่ืนๆ เนื่องจากมีรูปแบบที่หลากหลายเพราะวัสดุประเภทดินสามารถจําลองแบบหรือเลียนแบบวัสดุอ่ืนในธรรมชาติไดเปนอยางดี และในประเทศไทยเปนแหลงดินที่มีคุณสมบัติที่ดีในการนํามาผลิตสินคาทางเครื่องเคลือบดินเผาได สวนคุณคาทางดานการใชงาน เครื่องเคลลือบดินเผามีความคงทนงายแกการเก็บรักษาและทําความสะอาดเหมาะที่จะเปนสินคาที่ระลึก ซ่ึงปจจุบันมุงเนนสินคาที่คงทนถาวรมีการใชประโยชนไดจริงเขากับสภาวะเศรษฐกิจยุค 2000 รูปแบบสินคาที่ระลึกประเภทเครื่องเคลือบดินเผาในปจจุบันที่นักทองเที่ยวชาวตางชาติใหความนิยม สวนใหญแลวจะมีรูปแบบที่เปนสัญลักษณ เกี่ยวกับวิถีชีวิต ศิลปะวัฒนธรรมไทยโดยออกแบบใหเปนผลิตภัณฑประเภทของใชตางๆมีขนาดเล็กกะทัดรัด สามารถพกพาไดสะดวกเชน พวงกุญแจ เครื่องประดับ เชิงเทียน เตาน้ํามันหอม ถวย แจกัน ตุกตารูปสัตวตางๆ ซ่ึงสินคาที่ระลึกเหลานี้มีจําหนายใหกับนัก

2

ทองเที่ยวทั่วไปในรานสินคาที่ระลึกตามแหลงทองเที่ยว หางสรรพสินคา รานอาหาร โรงแรม หรือทาอากาศยาน ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวสวนใหญที่นิยมสถานที่ทองเที่ยวที่มีคุณภาพ มีบริการที่ใหความสะดวกสบาย มีความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพยสิน

ปจจุบันมนุษยไดใหความสนใจดานสุขภาพเปนอยางมาก สาเหตุเพราะการเปลี่ยนแปลงทางดานสิ่งแวดลอมที่เปนพิษประกอบกับความเหน็ดเหนื่อยจากภารกิจของแตละบุคคลทําใหสุขภาพรางกายเสื่อมลง วิชาการทางดานเวชศาสตรและเภสัชศาสตรก็มีความเจริญกาวหนามาก สามารถรักษาโรคไดนานาชนิด แตมีธุรกิจบริการดานสุขภาพประเภทหนึ่งที่เกี่ยวของกับการบําบัดรางกายนอกเหนือไปจากดานเวชศาสตรและเภสัชศาสตร คือธุรกิจการบําบัดโรคทางธรรมชาติ กายภาพบําบัดหรือวิชาหัตถศาสตร ซ่ึงในประเทศไทยไดเกิดธุรกิจหัตถศาสตรหรือการนวดแบบไทยแผนโบราณตามสถานที่ตางๆมากมายโดยเฉพาะตามแหลงทองเที่ยวที่สําคัยในประเทศไทยหรืออยูในสวนของธุรกิจการโรงแรมสถานบริการสวนบุคคลทั่งไปหรือแมแตใหบริการนอกสถานที่ โดยทําเปนสวนบุคคลเพื่อความสะดวกของผูใชบริการ ซ่ึงเปนอาชีพใหมที่แพรหลายและไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติหรือประชาชนไทยนั้น เพราะการนวดแผนโบราณไทยสามารถรักษาอาการที่เกี่ยวของกับโครงสรางของรางกายได เชนอาการเกี่ยวกับกลามเนื้อและกระดูก ฟกช้ํา เสนพลิก เคล็ด ขัดยอก หรือปญหาทางระบบไหลเวียนของโลหิต สถานบริการซึ่งเปนโรงเรียนสอนนวดแผนโบราณไทยที่มีช่ือเสียงแหงหนึ่งของประเทศไทยตั้งอยูในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามหรือวัดโพธิ์ ปจจุบันเปนสมาคมแพทยแผนโบราณไทยซึ่งเปนสถานบริการการศึกษาวิชาหัตถศาสตร ตํารายาสมุนไพรและการบริการการนวดแผนโบราณไทยที่มีช่ือเสียงถือเปปนศาสตรมรดกทางวัฒนธรรมของชาวไทย เปนแหลงวิชาหัตถศาสตรตั้งแตสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (สารคดี ชุดหากินบนแผนดินไทย 2534 :11,15) ที่สําคัญภายในวัดยังมีภาพและรูปปน “ฤาษีดัดตน” ซ่ึงเปนวิชากายภาพบําบัดดวยตนเองครบ 80 ทา ตอจากของเดิมที่ชํารุดสรางขึ้นในรัชการที่ 1 เพื่อเปนประโยชนกับประชาชนนําไปปฏิบัติดวยตนเองในการบําบัดโรคหรือผอนโรคจากหนักใหเปนเบาได แตในปจจุบันนี้รูปปนฤาษีดัดตนที่อยูในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามไดเสียหายไปมาก คงเหลือประมาณ 15 ทา และนับวันจะชํารุดและสูญหายไปตามกาลเวลา

จากเหตุผลที่กลาวมาขางตนผูวิจัยจึงคิดออกแบบสินคาที่ระลึกเครื่องเคลือบดินเผาไทยขึ้นเพื่อชวยสงเสริมการนวดแบบไทยแผนโบราณ โดยรูปแบบของสินคาจะเปนตุกตารูปคนที่มีเอกลักษณของไทยโดยศึกษาลักษณะของคนไทยจากภาพจิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทรตอนตนที่มีเสนที่แสดงถึงความออนชอย สามารถบงบอกถึงบุคลิกของคนไทยสวนใหญที่มีความออนโยนและเปนมิตรทําทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทย ซ่ึงทาสาธิตนี้ไดนําแนวความคิดมาจากฤาษีดัดตนของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ใชเนื้อดินสโตนแวร (Stone ware) ในการขึ้นรูปผลิตภัณฑ เหตุที่

3

ผูวิจัยคิดอกแบบสินคาประเภทนี้คือ เพื่อชวยสงเสริมการนวดแผนโบราณไทยใหเปนที่รูจักกันอยางกวางขวางเพราะปจจุบันนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติสวนหนึ่งจะรูจักการนวดแผนโบราณไทย จากสื่อที่เปนเอกสารบอกสรรพคุณหรือจากคําบอกกลาวของผูที่เคยใชบริการ การทําเปนสินคาที่ระลึกนี้จะชวยเผยแพรใหผูบริโภคไดรูจักและไดเห็นเปนรูปธรรม มีประโยชนตอผูที่นําไปปฏิบัติ โดยเปนทาสาธิตการบริหารรางกายดวยตนเอง ประกอบกับผูวิจัยตองการออกแบบสินคาที่ระลึกที่สามารถตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว ในปจจุบันที่นิยมสินคาที่ระลึกที่ส่ือสัญลักษณศิลปะวัฒนธรรมของแลงทองเที่ยวในดานของรูปแบบ วัสดุ สีสันประโยชนการใชสอยเปนตน และยังเปนสินคาที่ระลึกที่สามารถชวยเผยแพร อนุรักษมรดกศิลปะวัฒนธรรมไทยการแพทยแผนโบราณไมใหสูญหาย การเผยแพรในรูปสินคาที่ระลึกนี้สามารถที่จะจําหนายในรานสินคที่ระลึกตามแหลงทองเที่ยว ทาอากาศยานที่สําคัญ โรงเรียนหมอนวดแผนโบราณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม สถานบริการนวดแผนโบราณทั่วไปหรือในธุรกิจโรงแรม ศูนยสงเสริมการทองเที่ยวแหงประเทศไทยและตามแหลงที่เผยแพรศิลปะวัฒนธรรมไทยทั้งในและนอกประเทศ ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษารูปแบบของทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยเพื่อการบําบัดโรค 2. เพื่อออกแบบตุกตาเครื่องเคลือบดินเผารูปคนที่ทําทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทย

เพื่อการบําบัดโรคทางโครงสรางของรางกาย สําหรับเปนสินคาที่ระลึกจําหนายใหแกนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางประเทศ

3. เพื่อนําเสนอแนวทางในการออกแบบสินคาที่ระลึกเครื่องเคลือบดินเผาที่ส่ือสัญลักษณของประเทศไทย ทดลองผลิตโดยใชเนื้อดินสโตนแวรขึ้นรูป

4. เพื่ออนุรักษเผยแพรศิลปะวัฒนธรรมการแพทยแผนโบราณไทยคือ การนวดแผนโบราณไทยใหเปนที่รูจักอยางกวางขวางเปนประโยชนตอผูที่นําไปปฏิบัติเพื่อการบําบัดโรคและเพื่อไมใหมรดกของไทยสูญหายไปตามกาลเวลา ขอบเขตของการศึกษา

ออกแบบตุกตาเซรามิคที่แสดงถึงความเปนไทยแสดงทาสาธิตการบริหารรางกายที่มีคุณประโยชนทางดานการบําบัดโรคที่เกี่ยวกับโครงสรางของรางกาย มีคุณคาในการสะสมและเปนของฝากจากประเทศไทยที่ชวยสงเสริมอนุรักษศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย

4

1. แนวคิดในการศึกษา ศึกษาถึงรูปรางของคนไทยเพื่อออกแบบใหมีความเปนเอกลัษณของผูหญิงไทย ผู

ชายไทย ซ่ึงเลือกศึกษาจากภาพจิตรกรรมไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตนที่มีการใชเสนที่ออนชอย สามารถแสดงถึงความเปนเอกลักษณของคนไทยสวนใหญที่มีความออนโยน นุมนวล และเปนมิตร สาเหตุที่เลือกสรีระของมนุษยมาใชในการออกแบบเพราะตองการสื่อใหเห็นชัดเจนถึงทาการสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยที่สามารถชวยบําบัดโรคสําหรับผูที่นําไปปฏิบัติ ซ่ึงทาบริหารรางกายนี้ไดแนวความคิดมาจากการศึกษาภาพและรูปปนฤาษีดัดตนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

รูปแบบของผลิตภัณฑตุกตา จะเปนตุกตาเครื่องเคลือบดินเผา รูปแบบมีความสอดคลองกับความนิยมของผูบริโภคที่มีตอสินคาที่ระลึกในปจจุบันคือสามารถสื่อสัญลักษณของแหลงทองเที่ยว สีของผลิตภัณฑจะเปนสีธรรมชาติ เชน ขาว น้ําตาล และใชเนื้อดินสโตนแวรในการขึ้นรูป เคลือบที่ใชจะเปนเคลือบใส เผาที่อุณหภูมิ 1250° C 2. ขอบเขตของการออกแบบ

การออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตารูปคนทําทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยนี้เนื่องจากทาดัดตนของฤาษีในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามปจจุบันที่เปนรูปปนเหลืออยูนอยมากประมาณ 15 ทา จากเดิมมีอยู 80 ทา แตละทาสามารถบําบัดโรคทางโครงสรางของรางกายแตละโรคไปโดยจําแนกออกเปนทาบริหาร 4 กลุมดวยกันคือ ทานั่ง ทายืน ทานอน และทาดัดคู ผูวิจัยไดเลือกการบริหารบางทาที่สามรถเปนทาบริหารบําบัดโรคที่สวนใหญจะเกิดขึ้นกับผูคนทั่วไปในชีวิตประจําวันมาใชในการออกแบบ เปนตุกตารูปผูหญิง ผูชายทําทาสาธิตการดัดตนมีทั้งหมด 10 ทาซ่ึงรายละเอียดมีดังนี้

• แกลมสันนิบาต,เจ็บสนเทา และขอเทา (Sunnipata, Hall & Ankle’s Joint pain) • แกจุก (Abdominal Discomfort) • แกขัดขา ขัดคอ (Leg & Neck pain) • แกเอว(Waist Trouble or Low Back Pain) • แกงวงซึม (Hamstring & Gastrognemeus)

• แกเมื่อปลายมอืปลายเทา(Numbness of Hand & Foot • แกลมในตะโพกและตนขาทั้งสอง(Hip & Leg Trouble) • แกปวดศีรษะ(Headache) • แกสนเทา(Heal ’s Problem) • แกลมในเขา ขา หนาอก (Wata for spasm Knee leg and Chest)

5

3. วัตถุดิบท่ีใชในการผลิต วัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิตสินคาที่ระลึกโครงการนี้สามารถแบงออกไดเปนดังนี ้

3.1 เนื้อดินที่ใชในการผลิตจะใชเนื้อดินประเภทสโตนแวร ซ่ึงสูตรสวนผสมไดมาจากงาน วิจัยเนื้อดินสโตนแวรสําหรับอุตสาหกรรมของตกแตงซ่ึงเปนสวนหนึ่งของรายวิชา ดินและเคลือบขั้นสูง ของผูวิจัย นํามาปรับสีโดยเติมออกไซดใหสีโดยใชทฤษฎีเสนตรงในการคํานวณหาสูตรสวนผสม สูตรสวนผสมของเนื้อดินมีวัตถุดิบดังนี้

- ดินขาวลําปาง - ดินดําสุราษฎรธานี - หินฟนมา - หินเขี้ยวหนุมาน

3.2 เคลือบที่ใชจะใชเคลือบใสสําเร็จรูปของบริษัทคอมพาวดเคลย เผาที่อุณหภูม1ิ250° C 4. กรรมวิธีการผลิต

4.1 การขึ้นรูปจะใชวิธีการขึ้นรูปโดยการหลอน้าํดิน 4.2 การเผา เผาดิบที่ อุณหภูมิ 800 ° C เผาแคลือบที่อุณหภมูิ1250° C บรรยากาศ เผา

ไหมแบบไมสมบูรณ 5. การประเมินการออกแบบ

การประเมินผลการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตารูปคนทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยโครงการนี้ผูวิจัยใชการประเมินผลการออกแบบรวมกับอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและใชแบบสอบถาม ประเภทประเมินคา สอบถามความพึงพอใจ ซ่ึงสามารถกําหนดขอบเขตของกลุมตัวอยางดังตอไปนี้ 5.1 ผูประกอบการสถานบริการนวดแผนโบราณไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 10 สถานบริการ

5.2 ผูจําหนายสินคาที่ระลึกไทยตามแหลงทองเที่ยวของไทย 10 แหง

6

ขั้นตอนของการศึกษา 1. ขั้นตอนของการเก็บขอมูล เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาการออกแบบสามารถแบงออกเปน

1.1 ขอมูลดานเอกสาร 1.1.1 ขอมูลหรือเอกสารที่เกี่ยวของกับวิชาการนวดแผนโบราณไทยและฤาษีดัดตนของ

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม 1.1.2 ขอมูลของที่ระลึกในประเทศไทย ความนิยมของผูบริโภคและตลาดการจําหนาย 1.1.3 เอกสารที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต เทคนิควิธีการผลิตและวัตถุดิบที่ใชใน

การผลิตเครื่องเคลือบดินเผา เพื่อทราบถึงเทคนิคขั้นตอนการผลิตเพื่อสามารถที่จะผลิตได ตามวัตถุประสงค

1.1.4 ขอมูลที่เกี่ยวของกับแนวคิดในการออกแบบ เพื่อหารูปแบบที่นํามาใชในการออกแบบ ขอมูลภาคสนาม เปนขอมูลที่ไดจากการสํารวจแหลงการจําหนายสินคาที่ระลึกตามตามแหลงทองเที่ยวรานคาสินคาที่ระลึกของไทยหรือสถานบริการที่มีความเกี่ยวของโดยเก็บรวบรวมบันทึกเปนภาพถายและรายชื่อเพื่อเปนขอมูลในดานการตลาด

1.1.5 ขอมูลการสอบถามความนิยมของผูบริโภค เปนขอมูลท่ีสอบถามความนิยมที่มีตอสินคาที่ระลึกเครื่องเคลือบดินเผาทั่วไปของไทย 2. ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล เพื่อการออกแบบโดยนําเอาขอมูลท่ีไดมาประมวลหารูปแบบและแนวทางที่จะใชในการออกแบบ 3. ขั้นตอนดําเนินการออกแบบ เปนการนําเอาขอมูลท่ีไดมาวิเคราะหเพื่อเปนแนวคิดในการสรางผลงานการออกแบบแบงไดตามขั้นตอนดังนี้

3.1 การรางรายเสนหารูปแบบ เพื่อใหไดรูปแบบตามวัตถุประสงคของโครงการ 3.2 ขั้นตอนการเขียนแบบ เพื่อกําหนดรูปแบบและขนาดที่ตองการ 3.3 ขั้นตอนการทําตนแบบ เพื่อสรางตนแบบสามมิติใหไดตามแบบที่ออกแบบไวแลว

นําไปเปนตนแบบของการผลิตจริง 4. ขั้นตอนทดลองและปรับปรุงคุณภาพของวัตถุดิบ เปนขอมูลทางวิทยาศาสตรที่ไดจากการทดลองเนื้อดิน เคลือบ เพื่อใหไดวัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับเทคนิคและวิธีการผลิต ผลิตภัณฑตามรูปแบบที่ไดออกแบบไว 5. ขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑ เปนขั้นตอนการปฏิบัติงานตามกระบวนการการผลิตทางเครื่องเคลือบดินเผาใหไดผลิตภัณฑตามวัตถุประสงคที่ไดออกแบบ

7

5.1 ขั้นตอนการเขยีนแบบ 5.2 ขั้นตอนการทาํตนแบบ 5.3 ขั้นตอนการทาํพิมพ

5.4 ขั้นตอนการขึน้รูปผลิตภัณฑ 5.5 ขั้นตอนการตกแตงผลิตภณัฑ กอนเผาดิบ 5.6 ขั้นตอนการเผาดิบ 5.7 ขั้นตอนการตรวจสอบผลิตภัณฑหลังการเผาดิบ 5.8 ขั้นตอนการเคลือบผลิตภัณฑ 5.9 ขั้นตอนการเผาดิบ

5.10 ขั้นตอนการเผาเคลือบ 6. ขั้นตอนการประเมินผลงาน เปนขัน้ตอนการประเมินผลโดยการใชแบบสอบถามเพื่อทดสอบความพึงพอใจของนักทองเทีย่ว ผูประกอบการ รานจําหนายสินคาในรูปแบบที่ไดออกแบบและทําการผลิต 7. ขั้นตอนการวิเคราะหและสรุปผลการดําเนินโครงการ คือการประมวลขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหตามขั้นตอนทั้งหมด สรุปอภิปรายผลการออกแบบ เพื่อรวบรวมขอมูลตางๆทั้งหมดเปนเอกสารสําหรับการนําเสนอผลงาน 8. ขั้นตอนการนําเสนอผลงาน เปนการนําเสนอผลงานทั้งหมดที่ไดออกแบบและปฏิบัติตามขั้นตอนตางๆทั้งหมด โดยนาํเสนอผลงานออกแบบที่ไดทดลองผลิตและงานเอกสาร ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. สามารถผลิตของที่ระลึกตุกตาสาธิตเครื่องเคลือบดินเผาไดตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา

2. สามารถไดแนวทางในการพัฒนาการออกแบบสินคาที่ระลึกที่เปนสัญลักษณของประเทศไทย

3. สามารถทราบถึงรูปแบบของทาสาธิตการบริหารรางกายเพื่อบําบัดโรค

8

คํานิยามศัพทเฉพาะ 1. สินคาที่ระลึกตุกตารูปคนทําทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทย หมายถึง สินคาที่

ระลึกตุกตาเครื่องเคลือบดินเผารูปคน ประเภทสโตนแวร โดยมีที่มาของแนวความคิดมาจากภาพฤาษีดัดตน ของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยออกแบบใหเปนรูปคนที่มีความเปนเอกลักษณของไทย ซ่ึงสามารถเปนตนแบบการสาธิตการบริหารตนเพื่อบําบัดโรคที่เกิดกับโครงสรางของ รางกาย

2. ฤาษีดัดตน หมายถึง การบริหารรางกายชนิดหนึ่งซึ่งใชหลักของการดัดสวนตางๆของรางกายและการบริหารระบบหายใจเปนหลัก โดยมีเร่ืองของการนวดผสมผสานในบางหัวขอ โรคที่สามารถบําบัดไดคือโรคที่เกี่ยวของกับโครงสรางทางรางกาย เชน อาการเกี่ยวกับกลามเนื้อ และกระดูก ฟกช้ํา เสนพลิก เคล็ด ขัดยอก หรือปญหาทางระบบไหลเวียนของโลหิต

บทที่ 2 เอกสารและผลงานที่เกี่ยวของ

การศึกษาการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตารูปคนซึ่งทําทาการสาธิตการบริหารรางกายแบบ

ไทย เพื่อชวยเผยแพรและสงเสริมการนวดแผนโบราณไทย ใชดินสโตนแวรในการขึ้นรูป การศึกษาโครงการนี้ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลที่มีความเกี่ยวของกับโครงการจากเอกสาร งานวิจัย ตํารา และบทความตางๆเพื่อเปนขอมูลใหการศึกษาโครงการนี้สําเร็จตามวัตถุประสงคและจุดมุงหมายที่ตั้งไว โดยสามารถกําหนดเปนหัวขอดังตอไปนี้ 1. ของที่ระลึก 2. ตุกตาเครื่องเคลือบดินเผา 3. แนวคดิในการออกแบบ 4. วัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิตทางเครื่องเคลือบดินเผา 1. ของท่ีระลึก มีเนื้อหาที่มีความเกี่ยวของสามารถแบงไดดงันี้คือ 1.1 การทองเที่ยวและรายไดที่ไดจากการทองเที่ยว

1.2 ความหมายและประเภทของของที่ระลึก 1.3 กลุมผูบริโภคสินคาที่ระลึก 1.4 ตลาดการสงออกสินคาที่ระลึก 1.5 การออกแบบสินคาที่ระลึก

2. ตุกตาเครื่องเคลือบดินเผา มีเนื้อหาที่มีความเกี่ยวของสามารถแบงไดดงันี้คือ 2.1 ความหมายและประเภทของตุกตา 2.2 ตุกตาดินเผาในประเทศไทย 2.3 ตลาดและการสงออกตุกตา

3. แนวคิดในการออกแบบ มีเนือ้หาที่มีความเกี่ยวของสามารถแบงไดดังนีค้ือ 3.1 นวดแบบไทยแผนโบราณของวัดพระเชตพุนวิมลมังคลาราม 3.2 ฤาษีดัดตน 3.3 ภาพจิตรกรรมไทยรูปคนในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน

10

4 วัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิตทางเครื่องเคลือบดินเผา มีเนื้อหาที่มีความเกี่ยวของสามารถแบงได ดังนี้คือ

4.1 วัตถุดิบที่ใชในการผลิต 4.2 กรรมวิธีการผลิต

รายละเอียดในแตละหัวขอมีดังนี้ 1 ของท่ีระลึก 1.1. การทองเที่ยวและรายไดท่ีไดจากการทองเที่ยว

อุตสาหกรรมทองเที่ยวในประเทศไทยมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจและสังคมไทยเปนอยางมาก ประโยชนที่เห็นไดชัดจากนกัทองเที่ยวชาวตางประเทศคือการนําเงินตราตางประเทศเขามาใชจายในประเทศไทยเพิ่มขึ้นทกุปกอใหเกิดเงนิตราตางประเทศเชนเดยีวกับการสงสินคาออก เกิดการกระจายรายไดสูประชากรในภูมิภาคอยางกวางขวางกอใหเกิดการอนุรักษศิลปะวัฒนธรรมและทรัพยากรทาง

ธรรมชาติเปนตน รายไดที่เพิ่มขึ้นของธุรกิจบริการเนื่องจากผลของการทองเที่ยวประกอบดวยธุรกิจการขนสง ธุรกิจดานที่พักอาศยั ธุรกิจการนําเที่ยว ธุรกิจสินคาที่ระลึกซึ่งสามารถที่จะสรุปเปนคาใชจายของ

นักทองเที่ยวแบงเปนหมวดสําคัญคิดเปนเปอรเซ็นตไดดงันี้

ตารางที่ 1 แสดงคาใชจายของนักทองเที่ยวในประเทศไทย พ.ศ.2535 คิดเปนเปอรเซ็นต

หมวด เปอรเซ็นต คาที่พัก คาอาหาร คาพักผอนบันเทิง คาเดินทางทองเที่ยวในประเทศไทย คาซ้ือสินคาที่ระลึก อ่ืนๆ (เบ็ดเตลด็)

27.09 16.22 4.49

13.37 36.87 1.30

ที่มา : ศุริษา ชนเห็นชอบ, สินคาที่ระลึก (กรุงเทพฯ :สํานักพิมพโอเดยีนสโตร, 2535).

11

จากตารางจะเห็นไดวานักทองเที่ยวใชจายในหมวดสินคาที่ระลึกเปนจํานวนเงินที่คิดเปนเปอรเซ็นตสูงถึง 36.73 % ซ่ึงสูงกวาหมวดอื่น สาเหตุที่สินคาที่ระลึกสรางรายไดเปนอันดับตนของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทยนั้นเพราะการที่มนุษยมีของที่ระลึกเปนของตนเองหรือการมอบของที่ระลึกใหแกผูอ่ีนนั้นแสดงใหเห็นความสัมพันธที่ดีระหวางมนุษยกับมนุษย ของที่ระลึกเปนวัตถุแหงความยินดีหรือเปนสิ่งที่ชวยเตือนความทรงจําและการระลึกถึงเหตุการณตางๆที่ผานมาของมนุษยเราไดเปนอยางดี 1.2 ความหมายและประเภทของของทีร่ะลึก

ความหมายของ ของที่ระลึก ในขั้นแรกสามารถแยกหาความหมายของคําที่มาประกอบกันคือ ของ หมายถึง ส่ิงหรือวัตถุ ท่ีระลึก หมายถึง คิดถึงหรือทําใหนึกถึง (ราชบัณฑิตยสถาน 2525:135และ686) ดังนั้น ของท่ีระลึก หมายถึง ส่ิงที่ทําใหเกิดความคิดถึงและนึกถึง ซ่ึงตรงกับภาษาอังกฤษ SOUVENIR ประวัติความเปนมานั้นไมมีผูใดสามารถระบุไดเพราะของที่ระลึกมีการมอบใหแกกันตั้งแตมนุษยยุคแรกที่เกิดขึ้นบนโลกเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความพึงพอใจระหวางผูใหและผูรับเปนวัตถุแหงความยินดีที่นําไปสูความคิดถึงหรือนึกถึงตอกัน สวน สินคาท่ีระลึก ในการทองเที่ยว หมายถึง วัตถุหรือส่ิงที่สามารถซื้อขายโดยไดรับการออกแบบสรางสรรคขึ้นเพื่อกระตุนการซื้อของนักทองเที่ยว อาจมีรูปแบบที่ส่ือสัญลักษณของสถานที่ บุคคล เหตุการณ เร่ืองราวเพื่อเปนสิ่งชวยเตือนหรือเนนย้ําความทรงจําใหคิดถึง หรือนึกถึง (ประเสริฐ ศีลรัตนา 2531 : 3) ประเภทของสินคาที่ระลึกในประเทศไทย จากการสํารวจโดยรวมของผูวิจัยในหางสรรพสินคา รานคาที่ระลึกหรือศูนยศิลปะวัฒนธรรมในทองถ่ินตางๆตามแหลงทองเที่ยวที่สําคัญในจังหวัดใหญๆเชน กรุงเทพฯ เชียงใหม หรือชลบุรีนั้น พบวาประเภทของสินคาที่ระลึกในปจจุบันที่จําหนายใหแกนักทองเที่ยวในประเทศไทยทําจากวัสดุมากมายหลายประเภทเชน ไม ผา พลาสติก และเซรามิคเปนตน 2. ตุกตาเครื่องเคลือบดินเผา

2.1 ความหมายและประเภทของตุกตา ตุกตา (Doll) ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2530 ให

คําอธิบายวา ของเลนของเด็กซ่ึงทําเปนรูปคนหรือสัตว มลัีกษณะนามวา ตัว,เงาที่ปรากฏเปนรูปคนเล็กๆในแววตา (สมาคมเซรามิคแหงประเทศไทย 2540 : 28) ซ่ึงสามารถแบงประเภทของตุกตาได 4 หมวดใหญๆดวยกนัคือ

ตุกตาที่ใชในพธีิกรรม ไดแกตุกตาเครื่องปนดินเผา สมัยสุโขทัย ตุกตาเจาพราหมณใช แกบนเพื่อถวายเจาที่มี รูปคน ชาง มา ตัวละคร ตลอดจนตุกตาเสียกบาล

ตุกตาสาํหรับเด็กเลน ไดแก ตุกตาที่ทําดวยผา ตัดเย็บสวนตางๆของตุกตายัดนุนแลว เขียนหนามีผมจัดทรงสวยงามพรอมเครื่องแตงกาย มีทาทางกริยาตางๆทั้งนั่งและยนื นอกจากนั้นยังมีตุกตารูปสัตว ตุกตาลมลุก

12

ตุกตาที่มีคุณคาทางศิลปวัฒนธรรม เชน ตุกตาชาวเขาเผาตางๆ ตุกตาชาววัง ตุกตาบาง เสด็จทําจากดนิเหนยีว แสดงชีวิตความเปนอยู ตุกตาโขนละครรามเกียรติ์ ตุกตาสมัยตางๆที่บอกถึงอาชีพ

ตุกตาอื่นๆ ไดแกตุกตาเปลือกขาวโพด ตุกตาเมล็ดขาวฟาง ขาวเปลือก และขาวสําหรบั นกยอมสีแลวประดิษฐเปนตุกตา (โรจน บูรพา 2529 : 31)

ภาพที่ 1 ตุกตาที่ใชในพิธีกรรมเสียกบาลสมัยสุโขทัย และสมัยรัตนโกสินทร ที่มา : วีรวัฒน วงศศุปไทย.วารสาร สยามอารยะ , 2 ,12 (เมษายน : 2540 ).

13

ภาพที่ 2 ตุกตาชาววงัทําดวยผาของบางกอกดอลล ที่มา : หนังสือ Thai Life Thai Folk Arts and Crafts 1998

ภาพที่ 3 ตุกตาทําดวยผา ตัวละครไทย ตัวพระตัวนาง ของบางกอกดอลล ที่มา : หนังสือ Thai Life Thai Folk Arts and Crafts 1998

14

ภาพที่ 4 ตุกตาทําจากผาชุดโขนรามเกียรติ์ ของบางกอกดอลล ที่มา : หนังสือ Thai Life Thai Folk Arts and Crafts, 1998

15

2.2 ตุกตาดินเผาของประเทศไทย การทําตุกตาดินเผาของชาวไทย จากหลักฐานที่มีผูศึกษาพบวาทํากันมานานมากแลว ตั้งแต

สมัยกอนประวัติ์ศาสตรและไดทําสืบตอกันเรื่อยมาในสมัยรัตนโกสินทรจนกระทั่งมาถึงปจจุบัน รูปแบบของตุกตามีความแตกตางกันออกไปซึ่งขึ้นอยูกับความเชื่อและการนําไปใชงานในแตละยุคสมัย ซ่ึงผูวิจัยไดศึกษาและเก็บรวมรวมขอมูลจากเอกสารตางๆ สามารถแบงสมัยของตุกตาดินเผาไทยดังนี้

2.2.1 ตุกตาดนิเผาสมัยกอนประวัติศาสตร 2.2.2 ตุกตาดนิเผาสมัยประวัติศาสตร

- สมัยทวารด ี - สมัยลพบุรี - สมัยสุโขทัย - สมัยอยุธยา

- สมัยรัตนโกสินทร

2.2.1 ตุกตาดินเผาสมัยกอนประวัติศาสตร การทําตุกตาดนิเผาสมัยกอนประวัติศาสตร จากหลักฐานที่มีผูคนพบ สวนใหญจะทําขึ้นมา

ใชในลัทธิความเชื่อ สรางเปนรูปเคารพ, ตุกตาโชคลาง, และตุกตาทีใ่ชในพิธีกรรมตางๆ เชนตุกตาที่ใชหลังความตายมักพบในหลุมฝงศพคือประเพณีของการฝงศพของมนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร มคีวามเชื่อวา การอทุิศส่ิงของไปใหกับผูตาย ถือวาเปนการใหของกับผูตายนําเอาไปใชในภายภาคหนา ในประเทศอิยิปตโบราณมีการทําตุกตาเปนตวัแทนของบุคคลสําคัญที่ตาย มีตุกตาคนรบัใช หรือเพื่อนและครอบครัวของผูตายฝงไปกับศพ (วิบูลย ล้ีสุวรรณ: 24) สวนในประเทศไทยที่บานเชียง อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี มีการคนพบตุกตาวัวดินเผาสีเหลืองสมัยกอนประวัติศาสตร ขึ้นรูปดวยมอือยางหยาบๆ แตใหความรูสึกมีชีวติชีวาบางตัวมโีหนกที่สูงมาก ซ่ึงมักจะพบอยูในหลุมฝงศพ นอกจากตุกตาแลวยังมีของใชตางๆ จําพวกเครื่องมือ หมอ ไห แจกัน เครื่องประดับฝงรวมอยูดวย คติความเชื่อนี้ยังมีใหเห็นมาถึงในปจจุบนัคือยังมีการเอาสิ่งของเครื่องใชเผาไปพรอมกับการเผาศพผูตาย (กิติชัย ระมิงควงศ 2543 :7)

16

2.2.2 ตุกตาดินเผาสมัยประวัติศาสตร การทําตุกตาดนิเผาในสมัยประวัติศาสตร เทาที่มีผูคนพบมี สมัยทวารวดี ลพบุรี สุโขทัย

อยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้ตุกตาดินเผาสมัยทวารวด ี

ศิลปะของอาณาจักรทวารวดีในยุคแรกสวนใหญแลวไดรับอิทธิพลมาจากอินเดียเพราะมีการติดตอการคารวมกัน แตก็มีการเปลี่ยนแปลงอิทธิพลที่ไดรับก็คอยลดนอยลง ไมวาจะเปนพระพุทธรูปหรือตุกตา ตุกตาสมัยทวารวดีมีรูปหนาและทรงผมคลายศิลปะแบบอมราวดีของอินเดีย แตปากแบะ จมูกใหญ เปนแบบพื้นเมือง ซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของศิลปะแบบทวารวดีทรงผมของตุกตาเปนผมหวีเปดขึ้นเกลาเปนมวยสูงมีพวงมาลัยรัดรอบ หูขางซายใสตางหูและที่คอมีหวงกลมสวมอยู สวนใหญแลวตุกตาสมัยของทวารวดีมักจะเปนรูปเคารพและเปนเครื่องลางทางศาสนา (เพ็ญพรรณ เต็มสุข 2536 : 28)

ภาพที่ 5 ตุกตาดนิเผาสมัยทวารวดี ที่มา : กิตชัย ระมิงควงศ.ตุกตาชาววัง.(นครปฐม :โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร,

2543).

17

ตุกตาดินเผาสมัยลพบุรี

สวนใหญเปนตุกตารูปสัตว เชน ชาง มา วัว ควาย มักทําแตสัตวไมมีคนขี่คงเปนตุกตาสําหรับเด็กเลน และยังมีรูปตุกตาลูกไกเกาะบนตัวแม (เพ็ญพรรณ เต็มสุข 2536 : 79) มีการเคลือบดวยเคลือบสีน้ําตาลเขม ซ่ึงเปนเคลือบลักษณะเฉพาะของเคลือบสมัยลพบุรี (สุนทรียา อนุสนธิ์พรเพิ่ม 2536 : 47) ตุกตาดินเผาสมัยสุโขทัย

เปนสมัยที่พบตุกตาดินเผามากที่สุด มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 19 – 20 (วลัยลักษณ ทรงศิริ 2536 : 17) มีชนิดที่เคลือบและไมเคลือบ นั่นเพราะวาสุโขทัยเปนสมัยที่มีความเฟองฟูในงานเครื่องเคลือบดินเผา ตุกตาในยุคนี้มีหลายรูปแบบมีทั้งรูปคนและสัตวมีอิริยาบทที่หลากหลาย ที่มีความงดงามมีชีวิตชีวาซึ่งแสดงถึงความชํานาญของชางปน สําหรับตุกตาที่มีช่ือเสียงของสุโขทัยคือ ตุกตาเสียกบาล มีรูปแมอุมเด็ก รูปผูชาย รูปเด็ก รูปสัตว ลักษณะตุกตารูปผูหญิงจะไวผมมวยคอนไปขางหลังไมใสเส้ืออุมลูกไวกับอก ตุกตารูปผูชายจะเกลาผมไวบนหัว บางตัวอุมลูกพาดอยูบนบา บางตัวนั่งอุมไก ซ่ึงในอดีตคงนิยมชนไก ตุกตาเหลานี้สามารถที่จะสะทอนถึง วิถีชีวิตความเปนอยูของคนในสังคมสมัยสุโขทัยไดเปนอยางดีนอกจากตุกตารูปคนแลวยังมีตุกตารูปสัตวตางๆ เชน ชาง มา เปด ไก กบ เตา และกระตาย (กฤษดา พิณศรี 2535 : 43)

ภาพที่ 6 ตุกตาดินเผาชนดิท่ีมีการเคลือบสมัยสุโขทัย ที่มา : พิพิธภณัฑ

18

ภาพที่ 7-10 ตุกตาดินเผาสมยัสุโขทัย

19

ภาพที่ 11-12 ตุกตาดินเผาสมัยสุโขทัย

-

20

ตุกตาดินเผาสมัยอยุธยา ตุกตาดินเผาสมัยอยุธยาที่มีผูคนพบสวนใหญไดรับอิทธิพลจากสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยามี

ตุกตา เสียกบาลเชนเดียวกับสุโขทัยคงทําขึ้นดวยความมุงหมายเดียวกัน มีตุกตารูปผูหญิง รูปผูชาย นอกจากนี้ยังมีตุกตารูปสัตวตางๆที่มีความใกลชิดกับคนมาก เชนสุนัข แมว สัตวเล้ือยคลาน เตา ไก ซ่ึงเปนสัตวที่นิยมเลี้ยงกันอยูแทบทุกบาน ดังเชนตุกตารูปผูชายอุมเด็กในมือหนึ่งและอีกมือหนึ่งอุมไก ตุกตาสมัยอยุธยานี้จะมีความปราณีตในเรื่องของทรงผมทําใหเราทราบวาคนอยุธยาไวทรงผมอยางไร เชนทรงผมของผูชายนั้นดานบนตรงกลางศีรษะจะไวยาวพอสมควรรวบเปนปกไวดานขางผมดานลางจะโกนหมดหรือไวส้ัน หวีเรียบลงมา แสดงถึงความเรียบงายไมประดิษฐประดอย (เพ็ญพรรณ เตม็สุข 2536 : 81)

ภาพที่ 13 ตุกตาดนิเผาสมัยอยุธยา

21

ตุกตาดินเผาสมัยรัตนโกสินทร ชาวไทยสวนใหญในสมัยรัตนโกสินทรนับถือผีบานผีบรรพบุรุษและนับถือพระภูมิจึงสราง

ศาลพระภูมิไวบริเวณบาน ในศาลจะมีเครื่องถวายตางๆเชน ขาวปลาอาหาร เครื่องดื่ม ตลอดจนตุกตา ชาง มา วัว ควาย และตุกตารูปคน ชาย หญิง ซ่ึงทําดวยดินเผา นอกจากบูชาพระภูมิแลวตุกตาจีนก็เปนที่นิยมกันมากในสมัยรัตนโกสินทร เพราะมีการคาขายกับตางประเทศอยางกวางขวางตุกตาจีนมีทั้งรูปคนและรูปสัตว มาในสมัยรัชการที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเกิดตุกตาอีกประเภทหนึ่งคือตุกตาชาววัง มีลักษณะเลียนแบบชาววังทุกประการ เชนใบหนาทรงผม การแตงกาย ตลอดจนกริยาทาทาง ตุกตาชนิดนี้ในยุคแรกมีจําหนายแคในพระบรมมหาราชวังเทานั้น แตตอมาก็เร่ิมมีการแพรหลายรูปแบบไดเพิ่มขึ้นจากปนเลียนแบบชาววังก็เร่ิมปนเปนตัวชาวบานทั่วไปแตก็ยึดแนวทางของแบบเดิมอยู ตุกตาชาววังนี้ในปจจุบันสมเด็จพระนางเจาบรมราชินีนาถไดสนับสนุนใหอนุรักษโดยสนับสนุนใหเปนโครงการศิลปาชีพพิเศษ ซ่ึงอยูในบานบางเสด็จ และไดเรียกวาตุกตาบานบางเสด็จตามชื่อของหมูบานที่ทํา (กิติชัย ระมิงควงศ 2543 :11,12)

22

ภาพที่ 14 ตุกตาดินเผาชาววังบานบางเสด็จ ที่มา : ศูนยศิลปาชีพพิเศษ หมูบานบางเสด็จ อําเภอปาโมก จังหวัดอางทอง

23

ภาพที่ 15-16 ตุกตาดินเผาบานบางเสด็จ ชดุแตงงาน ชดุแมคา ที่มา : ศูนยศิลปาชีพบานบางเสด็จ อําเภอปาโมก จังหวดัอางทอง

24

2.3.3. ตุกตาผา เปนตุกตาที่มหีลากหลายรูปแบบสวนใหญที่ทําจะเปนตัวละครไทย เชนตุกตาโขนรามเกียรติ์ ประกอบดวย พระราม พระลักษณ นางสีดา ทศกัณฐ และก็มีการจัดชดุใหตัวละครบางตวัทําทารบกัน และยังมีตวัละครอื่น เชนตวัพระ ตัวนางหรือเปนตุกตาจําพวกชาวเขาเผาตาง ๆ ตุกตาสมัยตาง ๆ แตงกายตามสมัยเชนสมัยสุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร นอกจากนี้ยังมีตุกตาอาชีพ เชนชาวนา ชาวบาน เปนตน

ภาพที่ 17 ตุกตาผาชดุโขนรามเกียรติ์ ของบางกอกดอลล ที่มา : จากหนังสือ Thai Life Thai Folk Arts Crafts

25

ภาพที่ 18 ตุกตาผา ชดุตัวละคร ตัวพระ ตวันาง ของบางกอกดอลล ที่มา : จากหนังสือ T h a i L i f e T h a i F o l k A r t s a n d C r a f t s

ตลาดการจําหนายตุกตาของไทยสวนใหญจะเปนตลาดตางประเทศสวนในประเทศ

ไทยนัน้ความนิยมยังมไีมมากนักซึ่งอาจจะเนื่องดวยชาวไทยเหน็วาเปนสินคาฟุมเฟอยไมจําเปนตอการดํารงชีวิตประจําวนั และรูปแบบของตุกตาที่เปนเอกลักษณไทยนั้นเปนสิ่งที่ใกลตัวความสนใจจึงมีนอย สวนชาวตางชาตทิี่ใหความนยิมนัน้เพราะสินคาดานหัตถกรรมไดรับการยกยองจากชาวตางชาติมานาน เพราะทําดวยมือมีความปราณีต ถึงแมราคาจะสูงกวาตุกตาที่ทําดวยเครื่องจักรก็ตาม ตลาดการสงออกสินคาที่สําคัญที่สุดคือสหรัฐอเมริกาสําหรับภูมิเอเชีย ไดแก ญี่ปุน สิงคโปร ฮองกง ไตหวนั เกาหลี สวนในยุโรป เยอรมันนี เดนมารก อังกฤษ สวีเดน และออสเตรเลีย (โรจน บูรพา 2529 : 31 – 34 )

จะเห็นไดวาตุกตาไทยเปนสนิคาที่ยังมีอนาคตในตลาดการสงออกดวยความมีเอกลักษณเฉพาะตัวและสะทอนถึงศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเปนอยูของคนไทยที่มีความงดงาม การกําหนดราคาสินคาที่สูงก็มีความสมเหตุผลเพราะเปนงานที่ใชฝมือ และรูปแบบในการประดิษฐมีความงดงามไดมาตราฐาน สามารถทัดเทียมกับตุกตาตางประเทศได

26

3. แนวคิดในการออกแบบ 3.1 นวดแผนโบราณไทย

การศึกษาการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตาเครื่องเคลือบดินเผาทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยนี้ ผูวจิัยมุงเนนการออกแบบสินคาที่ระลึกใหกบันักทองเที่ยวที่เขามาเที่ยวในประเทศไทย รูปแบบของสินคาถึงสัญลักษณของแหลงทองเที่ยวเพื่อใหมีความสอดคลองกับความตองการสินคาที่ระลึกของนกัทองเที่ยวในปจจุบัน ผูวิจยัไดศกึษาถึงความเปนเอกลักษณของไทยที่สามารถนสื่อใหเปนความเปนไทย และไดศึกษาความสนใจของนกัทองเที่ยว ซ่ึงไดพบวา

นักทองเที่ยวชาวตางชาติและชาวไทยจํานวนไมนอยใหความสนใจเกีย่วกับการบําบดัโรคทางธรรมชาติในแนวคิดของคนไทย คือการนวดแผนโบราณไทย (THAI MASSAGE) ซ่ึงเปนมรดกทางการแพทยของคนไทยในยุคโบราณ และไดสืบทอดมาในปจจุบนั ทําใหเกิดสถานบริการนวดแผนโบราณไทยเพื่อใหบริการอยางมากมายตามแหลงทองเที่ยว สถานบันเทิง โรงแรม และการใหบริการนอกสถานที่ การนวดแผนโบราณไทยนั้นสามารถรักษาโรคทางโครงสรางของรางกายไดเปนอยางดี โรงเรียนสําหรบัสอนการนวดแผนโบราณไทยแหงหนึ่งที่มีช่ีอเสียงของประเทศไทยอยูในวดัพระเชตพุนวิมลมังคลารามเปนสถานบริการนวดและเปดสอนการนวดแบบไทยใหกับคน

ทั่วไปทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ

ภาพที่ 19 การนวดแผนโบราณไทยในโรงเรียนหมอนวดของวัดเชตุพนวมิลมังคลาราม

27

3.2 ฤาษีดัดตนวัดพระเชตุพนวมิลมังคลาราม แหลงกําเนิดวชิาหัตถศาสตรในสมัยรัตนโกสินทรที่แทจริงนั้นอยูในวดัพระเชตุพน

วิมลมังคลาราม หรือ วัดโพธิ์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงดําริใหผูที่มีความรูจารกึวิชาหตัถศาสตรนี้ไวในวดัเพื่อเปนประโยชนกับประชาชน นอกจากนั้นยังมีการเขียนและปนฤาษีดันตน อันเปนวิชากายภาพบาํบัดเบื้องตนดวยตนเองไวในวัดซึ่งหลักฐานการบันทึกที่มีใหเห็นจากบนหนิออนประดับอยูตามเสาและผนังศาลารายรอบวัด เปนภาพรางกายของมนุษยซ่ึงอธิบายถึงเสนและจุดที่นวดแกอาการเจ็บปวยและทานวดตาง ๆ หรือฤาษีดัดตนนี้ไดรับการปฏิสังขรณใหมใหสมบรูณอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2374 ในราชกาลที่ 3 สมเด็จพระนัง่เกลาเจาอยูหวั โดยเฉพาะรูปปนของฤาษีดดัตน มีทาบริหารครบ 80 ทา (ภัทรา แสงดานุช 2534 : 19 – 23 ) แตมาในปจจุบนันี้ไดสูญหายไปตามกาลเวลาเหลือรูปปนของฤาษีดัดตนประมาณ 10 กวาทา

ภาพที่ 20 รูปปนฤาษดีันตนที่เหลือในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

28

ในการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตาทาบรหิารรางกายแบบไทยโบราณนี้ผูวจิัยไดนาํทาการบริหารของฤาษีดัดตน ของวัดโพธิ์มาใชในการออกแบบเปนทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทย โดยรูปแบบของตุกตาจะเปนรูปของคนที่มีความเปนเอกลักษณของคนไทยโบราณ ผูวิจัยไดศกึษาจากภาพจิตรกรรมรูปคนสมัยรัตนโกสินทรตอนตนคือสมัยรัชกาลที่ 3 ซ่ึงมีภาพเขียนอยูทีว่ัดสุทศันเทพวราราม มาเปนแนวทางในการออกแบบ ทาการบริหารรางกายที่ผูวจิัยเลือกมาใชนั้นจะมี 10 ทา เปนทาที่สามารถบําบัดโรคที่สวนใหญจะเกิดขึ้นทัว่ไปในชีวิตประจําวนัของคนเราซึ่งมีรายละเอียด

ดังนี ้• แกลมสันนิบาต,เจ็บสนเทา และขอเทา (Sunnipata, Hall & Ankle’s Joint pain) • แกจกุ (Abdominal Discomfort) • แกขัดขา ขัดคอ (Leg & Neck pain) • แกเอว(Waist Trouble or Low Back Pain) • แกงวงซึม (Hamstring & Gastrognemeus) • แกเมื่อปลายมอืปลายเทา(Numbness of Hand & Foot) • แกลมในตะโพกและตนขาทั้งสอง(Hip & Leg Trouble) • แกปวดศีรษะ(Headache) • แกสนเทา(Heal ’s Problem) • แกลมในเขา ขา หนาอก (Wata for spasm Knee leg and Chest)

29

ภาพที่ 21 ตวัอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกลมสันนิบาต,เจ็บสนเทา และขอเทา (Sunnipata, Hall & Ankle’s Joint pain)

ภาพที่ 22 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกจกุ (Abdominal Discomfort)

30

ภาพที่ 23 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกขัดขา ขัดคอ (Leg & Neck pain)

ภาพที่ 24 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ

แกเอว(Waist Trouble or Low Back Pain)

31

ภาพที่ 25 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกงวงซึม (Hamstring & Gastrognemeus)

ภาพที่ 26 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกเมื่อปลายมอืปลายเทา(Numbness of Hand & Foot)

32

ภาพที่ 27 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ

แกลมในตะโพกและตนขาทั้งสอง(Hip & Leg Trouble)

ภาพที่ 28 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกปวดศีรษะ(Headache)

33

ภาพที่ 29 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกสนเทา(Heal ’s Problem)

ภาพที่ 30 ตัวอยางของทาสาธิตท่ีนํามาใชในการออกแบบ แกลมในเขา ขา หนาอก (Wata for spasm Knee leg and Chest)

34

ภาพที่ 31-32 ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทรตอนตน

บทที่ 3 วิธีการศึกษาวิจัย

โครงการออกแบบตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณ เปนการออกแบบเพื่อ

สงเสริมความเปนเอกลักษณและคุณประโยชนของการดัดตนเพื่อบําบัดโรค โดยส่ือถึงความเปนไทยดวยลักษณะโดยรวมของคนไทยผานทางตุกตา

แนวคิดในการออกแบบ คือ การนําเอาจุดเดนของทาดัดตนแกโรคตาง ๆ ประกอบกับการนําเอาความออนชอยของคนไทย มาออกแบบเปนของที่ระลึกที่ผลิตจากเครื่องเคลือบดินเผาเพื่อการเผยแพรและอนุรักษทาการดัดตนของคนไทยโบราณใหอยูคูกับสังคม วัฒนธรรมไทยไปชั่วกาลนาน

การออกแบบตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณจะเนนเอกลักษณทาทางการดัดตนโดยใชรูปแบบการดัดตนของฤาษีดัดตนของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามเปนแบบอยางทาทาง เนื้อดินที่ใชคือดินสโตนแวร เนื่องจากเปนเนื้อดินที่เปนที่รูจักอยางแพรหลายและเหมาะสมในการนํามาใชงาน สีที่ไดเปนโทนสีน้ําตาลและตรงกับวัตถุประสงคที่ตั้งไว สวนเคลือบที่ใชจะเปนเคลือบใสผิวเรียบมัน กรรมวิธีการผลิตนั้นจะเลือกใชวิธีการผลิตแบบอุตสาหกรรมเปนหลัก แตอาจมีการผสมผสานกันแบบหัตถกรรม ขึ้นอยูกับแบบของตุกตาที่ออกแบบ

ขั้นตอนการดําเนินการออกแบบตุกตาสาธิตดัดตนแบบไทยแผนโบราณ มีวิธีการดําเนินงานโครงการศึกษารวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับการออกแบบ ซ่ึงรวบรวมจากเอกสาร ตํารา ภาพถาย การสัมภาษณแลวนํามาวิ เคราะหเพื่อสรางแนวคิดหลักในการออกแบบ เมื่อไดแนวความคิดหลักแลวจึงดําเนินการออกแบบตามขั้นตอนดังตอไปนี้

1. ขั้นตอนการออกแบบ 2. ขั้นตอนการทดลองดินและเคลือบ 3. ขั้นตอนการผลิตผลงานตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา 4. ขั้นตอนการวิเคราะหการประเมินผลการออกแบบ

36

แตละขั้นตอนมีรายละเอียดของวิธีการดําเนินงาน ดังตอไปนี้ 1. ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนารปูแบบ การออกแบบตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผน โบราณ โครงการนี้มีพื้นฐานมาจากการวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ ซ่ึงรวบรวมมาจากเอกสาร ตํารา ภาพถาย การสัมภาษณ เพื่อสรางแนวความคิดหลักในการออกแบบ เมื่อไดแนวความคิดหลักแลว จึงดําเนินการออกแบบตามขั้นตอนดังตอไปนี ้

1.1 ขั้นตอนการรางลายเสน 2 มิติการรางลายเสนเพื่อหารูปแบบของงานออกแบบการ สรางภาพลายเสนนี้จะสรางจนกวาจะไดแนวทางในการออกแบบ และนํารูปแบบนัน้ไปพัฒนาจนไดรูปแบบที่เหมาะสม

1.2 ขั้นตอนการสรางแบบ 3 มิติ คือ การนําแบบราง 2 มิติ มาสรางเปนงาน 3 มิติ เพื่อตรวจ ดูรายละเอยีดในแงมุมตาง ๆ ไมวาจะเปนรูปทรง ความเหมาะสมในการใชงาน แลวปรับปรุงใหมีความสมบูรณแบบในทกุ ๆ ดาน

1.3 การวิเคราะหรูปแบบ คือ การพิจารณาคัดเลือกรูปแบบที่เหมาะสมที่สุดจากที่ออกแบบ ไดแลวเพื่อนําไปผลิต

1.4 การปรับปรุงแบบ คือ การนํารูปแบบที่เลือกไวแลวมาปรบัปรุงแกไขในสวนที่ยังบก พรองใหเปนแบบที่สมบูรณที่สุดเพื่อนําไปผลิต

1.5 การเขียนแบบ คือ การนํารูปแบบของงานออกแบบที่จะนาํไปผลิต มากําหนดขนาดที ่ไดกําหนดไวลงบนกระดาษโดยใชวิธีการทางเขียนแบบ

37

สรุปขั้นตอนการออกแบบและพัฒนารปูแบบ

ออกแบบและพัฒนารูปแบบ

รางลายเสน 2 มิติ

สรางแบบ 3 มิติ

การวิเคราะหรูปแบบ

การปรับปรุงรูปแบบ

การเขียนแบบ

แผนภูมิท่ี 1 แสดงขัน้ตอนการออกแบบและพัฒนารปูแบบ

38

2. ขั้นตอนการทดลองดินและเคลือบ 2.1 เนื้อดินที่ ใชในการผลิตตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณนี้ ตามวัตถุประสงคจะใชเนื้อดินสโตนแวรในการขึ้นรูปสูตรสวนผสมของเนื้อดินสโตนแวร ผูวิจัยไดมาจากงานวิจัยเนื้อดินสโตนแวรที่ใชในการหลอแบบงานอุตสาหกรรมของตกแตง ซ่ึงเปนงานวิจัยที่เปนสวนหนึ่งของรายวิชา 365 403 เนื้อดินปนและเคลือบขั้นสูง ปการศึกษา 2541 ของผูวิจัย เคลือบที่ใชเคลือบเนื้อดินพอรสเลนเปนเคลือบใสสําเร็จ ของบริษัทคอมพาวดเคลย เคลือบผลิตภัณฑหรือเผาเคลือบที่อุณหภูมิ 1250 ºC

สูตรสวนผสมเนื้อดินที่ใชในการหลอแบบอุตสาหกรรมของตกแตง สูตรที่ 19 อุณหภูมิ 1250 ºC ดินขาวลําปาง 35 % ดินดําสุราษฎรธานี 35 % หินฟนมา 15 % หินเขี้ยวหนุมาน 15 % คุณสมบัติ

• ความแข็งกอนเผา (Green Strength) 8.64 kg/cm² • การหดตัว

- หดตัวเมื่อแหง 4 % - หดตัวหลังเผา 10.6 % - หดตัวรวม 15 %

การทดสอบคุณสมบัติตาง ๆ ของเนื้อดินสโตนแวร และ เนื้อดินพอรซเลนตองทดสอบคุณสมบัติดังนี้ 2.1.1 การหดตัวของเนื้อดินหลังการเผา การทดสอบการหดตัวของเนื้อดินหลังเผาทําใหสามารถคํานวณ ขนาดของตุกตาภายหลังการเผาไดถูกตอง นอกจานี้การหดตัวของเนื้อดินจะมีผลตอการบิดเบี้ยวของตุกตาดวย คามาตราฐานของการหดตัวของเนื้อดินหลังเผาของเนื้อดิน สโตนแวร ประมาณรอยละ 14 – 16 และเนื้อดินพอรซเลน หดตัว ประมาณรอยละ 13 – 15 การทดสอบการหดตัวของเนื้อดินหลังการเผาใชสูตรดังนี้ คาการหดตัวของเนื้อดินหลังการเผา = ความยาวขณะดินเปยก – ความยาวหลังการเผา X 100 ความยาวขณะดินเปยก

39

2.1.2 .ในโครงการนี้สีของเนื้อดินสโตนแวรผูวิจัยไดออกแบบใหเปนเนื้อดินสี ที่มีลักษณะเหมือนหินทรายโดยเติม ออกไซด(Oxide) ใหสีลงไปในเนื้อดินคือ แมงกานีสไดออกไซด เฟอรริกออกไซด ลงไปในเนื้อดิน โดยใชทฤษฎีเสนตรงในการหาสูตรสวนผสม

วัตถุดิบ ปริมาณ (%) 0.5 1 2 Manganese Oxide 3 4 5 1 2 4 Ferric Oxide 6 8 10

เคลือบที่ใชเปนเคลือบใสสําเร็จรูปจากบริษัทคอมพาวดเคลยเผาที่อุณหภูมิ 1250 ºC การ

ตรวจสอบคุณสมบัติของเคลือบหลังการเผามีดังนี้ - ลักษณะผิวเคลือบ ตรวจสอบโดยการสังเกตลักษณะพื้นผิวของเคลือบ แลวบันทึกผล

การตรวจสอบ - สีของเคลือบ ตรวจสอบโดยการสังเกตสีของเคลือบ แลวบันทึกผลการตรวจสอบ - การไหลตัวของเคลือบ ตรวจสอบโดยการสังเกตการไหลตัวของเคลือบ แลวบันทึกผล

การตรวจสอบ - ตําหนิที่เกิดบนผิวผลิตภัณฑ ตรวจสอบโดยการสังเกตตําหนิที่เกิดบนผิวเคลือบ แลว

บันทึกผลการตรวจสอบ เปอรเซ็นตการดูดซึมน้ําที่อุณหภูมิ 1250 ºC เทากับ 0.759 %

40

สรุปขั้นตอนการทดลองเนื้อดินและเคลือบ

ขั้นตอนการทดลองเนื้อดินและเคลือบ ทดลองดิน เลือกสูตรที่เหมาะสมเพื่อนํา ไปทดลองกับออกไซด ทดลองหาอัตราสวน ทดลองปริมาณออกไซดใหสี ผสมของดิน ในเคลือบ ทดสอบคุณสมบัติของดิน ทดสอบคุณสมบัติของเคลือบ เลือกสูตรที่เหมาะสมเพื่อ เลือกสีที่เหมาะสมมาใชกับ นําไปใชงานจริง งานจริง ทดลองเคลือบ ทดลองหาอัตราสวนผสม ของเคลือบ ทดสอบคณุสมบัติของเคลือบ

แผนภูมิท่ี 2 แสดงขัน้ตอนการทดลองเนื้อดินและเคลือบ

41

3. ขั้นตอนการผลิตตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดนิเผา 3.1 การทําตนแบบ เร่ิมจากการขึ้นรูปดวยดินน้ํามัน เนื่องจากตุกตาเปนลักษณะรูปราง

ลอยตัวการขึ้นรูปดวยดินน้ํามันจะงายตอการแกไขปรับปรุง เมื่อขึ้นรูปไดแบบที่ตองการแลว จึงนําไปทําพิมพทุบ แลวใชปูนปลาสเตอรหลอเพื่อใหใหตนแบบที่เปนปูนปลาสเตอร จากนั้นนํามาตกแตงเก็บรายละเอียดใหไดตามรูปทรงที่ไดออกแบบ 3.2 การทําพิมพ เมื่อไดตนแบบปูนปลาสเตอรแลวจึงนํามาทําแมพิมพปูนปลาสเตอร เมื่อทําแมพิมพเสร็จแลว ตองอบหรือตากพิมพใหแหงกอนที่จะนําไปใชงาน 3.3 ขึ้นรูปชิ้นงานโดยใชวิธีหลอแบบ 3.4 ตกแตงชิน้งานใหเรียบรอยกอนนําไปเผาดิบ 3.5 เผาดิบที่ อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส 3.6 เคลือบชิ้นงาน 3.7 เผาเคลือบที่ อุณหภูมิ 1250 องศาเซลเซียส บรรยากาศแบบสมบูรณ

42

สรุปขั้นตอนการผลิตตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา

ขั้นตอนการผลิตตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา

เขียนแบบ

ทําตนแบบ

ทําพิมพ

หลอช้ินงาน

ตกแตงชิ้นงาน

เผาดิบ อุณหภมูิ 800 องศาเซลเซียส

เคลือบชิ้นงาน

เผาเคลือบ อุณหภูมิ 1250 องศาเซลเซียส

แผนภูมิท่ี 3 แสดงขัน้ตอนการผลิตตามกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา

43

4. ขั้นตอนการวิเคราะหและประเมินผลการออกแบบ การวิเคราะหและประเมินผลการอกแบบตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณ ใช

การวิเคราะหโดยการใชแบบสอบถาม ทดสอบความพึงพอใจ โดยใชคําถามแบบประเมินคาจากการกําหนดกลุมผูตอบแบบสอบถามดังนี้คือ 4.1 ผูประกอบการสถานบริการนวดแผนโบราณไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 10 สถานบริการ 4.2 ผูจําหนายสินคาที่ระลึกไทยตามแหลงทองเที่ยวของไทย 10 แหง

สรุปขั้นตอนการวิเคราะหและประเมินผลการออกแบบ

ขั้นตอนการวเิคราะหและประเมินผลการออกแบบ

สรางแบบสอบถาม

กําหนดกลุมผูตอบแบบสอบถาม

ดําเนินการสอบถามโดยใชแบบสอบถาม

หาคาเฉลี่ยและประเมินผลจากแบบสอบถาม

สรุปและอภิปรายผลการออกแบบ

แผนภูมิท่ี 4 แสดงขัน้ตอนการวิเคราะหและประเมินผลการออกแบบ

44

สรุปวิธีการดําเนินการวิจัย

วิธีการดําเนนิการวิจยั

รวบรวมขอมลูที่เกี่ยวของกบัการออกแบบ

วิเคราะหขอมูลที่รวบรวมมาเพื่อสรางแนวความคิดหลัก ในการออกแบบ

ออกแบบและพัฒนารูปแบบ ทดลองดินและเคลือบ

ผลิตผลงานออกแบบตามกระบวนการ ทางเครื่องเคลือบดินเผา

นําผลงานที่ผลิตมาประเมินผลการออกแบบ โดยใชแบบสอบถาม

นําขอมูลทั้งหมดมาสรุป วิเคราะห อภิปรายผลการออกแบบ และนําเสนองานออกแบบ

แผนภูมิท่ี 5 สรุปวิธีการดําเนินการวิจัย

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การดําเนนิการออกแบบตุกตาสาธิตการดัดตนแบบไทยแผนโบราณนี ้ ผูวิจัยไดดาํเนินการ

ตามแผนหรือวิธีการศึกษาวจิัยดังนี ้1. วิเคราะหผลการออกแบบ 2. วิเคราะหผลของการทดลองเนื้อดิน 3. วิเคราะหผลของการผลิต

1. วิเคราะหผลการออกแบบ 1.1 ผลงานการออกแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ

เมื่อนําเสนอโครงการเสร็จสิ้นแลวนั้น การออกแบบงานในรูปแบบ 2 มิติ เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะชวยในการคนหารูปแบบของงานจริงที่มีความลงตัว ซ่ึง ณ ชวงขบวนการคนหาจะทําใหไดรูปแบบที่มีการคลี่คลายและพัฒนารูปแบบของงานหลากหลาย สามารถเลือกไปพัฒนาเปนรูปแบบลอยตัว 3 มิติ การขึ้นรูปตนแบบ 3 มิติ ตุกตารูปคนนี้ผูวิจัยไดใชดินน้ํามันในการขึ้นรูปตนแบบ ดวยคุณสมบัติของดินน้ํามันที่สามารถยืดหยุน การขึ้นรูปสามารถลด ตัด ทอนแบบไดตลอดเวลา การเก็บรายละเอียดของใบหนาหรือสรีระไดเปนอยางดี กอนที่จะเขาสูขบวนการของการถอดพิมพทุบเพื่อใหไดมาซึ่งตนแบบปูนปลาสเตอร สําหรับถอดพิมพที่ใชในงานหลอน้ําดินตอไป

2. การวิเคราะหผลของการทดลองเนื้อดิน เนื้อดินสโตนแวรและเนื้อดนิพอรสเลนที่ใชในการขึ้นรูปตองเตรียมเปนน้ําดินทีใ่ชสําหรับ

หลอแบบ ในสวนของเนื้อดนิสโตนแวรที่เตรียมขึ้นเองนัน้มีสูตรสวนผสมคือ ดินขาวลําปาง 35% ดินดําสุราษฎร 35 % หินฟนมาชนิดโปแตส 15 % หินเขีย้วหนุมาน 15 % ผสมออกไซดใหสีแมงกานีสไดออกไซดและเฟอริกออกไซด โดยใชทฤษฎีเสนตรงในการหาสูตร

46

ภาพที่ 33 แสดงผลการทดลองเนื้อดินสีเผาท่ีอุณหภูมิ 1250 ºC

จากผลการทดลองหาสีของเนื้อดินเลือกสูตรที่มีปริมาณแมงกานีสไดออกไซด 1 % ซ่ึงสีของเนื้อดินมีความเขมคลายกับหินทรายตามธรรมชาติ เมื่อนํามาขึ้นรูปแลวปริมาณแมงกานีสไดออกไซดไมกลบหรือทําใหรายละเอียดของงานหายไป

51

3. การวิเคราะหการผลิต ผลของการวิเคราะหการผลิตเพื่อศึกษาเทคนิคการผลิตมีปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการ

ดําเนินงานการผลิตในดานอุตสาหกรรมมีดวยกัน 4 ขั้นตอนดังนี้ 3.1 การสรางตนแบบ 3.2 การผลิตแบบพิมพปูนปลาสเตอร 3.3 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ 3.4 การเคลือบและการเผา 3.1 การสรางตนแบบ

3.1.1 ปนตนแบบดวยดินน้ํามันซึ่งมีขนาดเผื่อขยายรอยละ 15 การปนจะปนแยก เปนสวนๆไปเชน สวนลําตัว ศรีษะ แขน ขา และมือ ใชลวดตัดเปนทอนๆ ความยาวประมาณ 2-3 เซ็นติเมตรเชื่อมตอสวนตางๆเขาดวยกัน

3.1.2 เมื่อไดตนแบบที่เปนดินน้ํามันแลวนําไปถอดพิมพช่ัวคราวหรือพิมพทุบ การแบงพิมพใชพลาสติก หรือแผนฟลมถายรูปมากั้นทําพิมพช่ัวคราว สวนของตนแบบเชนมือ เทา ศีรษะ ตองตัดแยกออกมาเพื่อทําพิมพแยกออกไป

3.1.3 เมื่อไดพิมพช่ัวคราวแลวก็นําดินนั้นมาทาน้ําสบูใหทั่วเพื่อจะนํามาหลอ ดวยปูนปลาสเตอรเปนตนแบบปลาสเตอรในการสรางแมพิมพ

3.1.4 ขัดแตงตนแบบปลาสเตอรเพื่อจะนําไปถอดพิมพสําหรับหลอน้ําดินตอไป

52

ภาพที่ 35-36 ภาพแสดงการขึ้นรูปตนแบบดินน้ํามนั

53

ภาพที่ 37-39 ภาพแสดงการการสรางแมพิมพปลาสเตอรแบบชั่วคราวจากตนแบบดินน้ํามนั

54

ภาพที่ 40-41 ภาพแสดงการการสรางแมพิมพปลาสเตอรแบบชั่วคราวจากตนแบบดินน้ํามนั

55

ภาพที่ 42-43 ภาพแสดงการสรางตนแบบปลาสเตอรจากแมพิมพชั่วคราว

56

ภาพที่ 44 ภาพแสดงการขดัแตงตนแบบปลาสเตอร

57

ปญหาที่พบในการสรางตนแบบ • ดวยคุณสมบัติที่ยืดหยุนของดินน้ํามันทําใหทาทางของตุกตาทาสาธิตการดัดตนบิดเบี้ยวใน

ระหวางทําแมพิมพช่ัวคราว ทําใหไดตนแบบที่ผิดเพี้ยน แนวทางแกไข

• ควรเลือกดินน้ํามันที่มีความเหลวต่ํา การปนควรใชลวดหรือเหล็กวางเปนแกนกลางในตัวตนแบบ

3.2 การผลิตแมพิมพปูนปลาสเตอร

3.2.1 แบงพิมพ เชน แยกตัดสวนแขน ขา ศีรษะหรือเทา เพื่องายแกการถอดแบบ 3.2.2 นําตนแบบปลาสเตอรมาทาดวยน้ําสบูโปแตสเซียม 3.2.3 กั้นตนแบบที่แบงไว หลอปูนปลาสเตอรเพื่อสรางแมพิมพ

ภาพที่ 45-46 แสดงการผลติแมพิมพปูนปลาสเตอร

58

3.3 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ 3.3.1 ประกอบแมพิมพแตละชุดเขาดวยกัน หลอดวยน้ําดินที่เตรียมไว เมื่อได

ความหนาแลวจึงเทน้ําดินที่เหลืออยูในพิมพออก 3.3.2 ถอดเอาชิ้นงานออกจากแมพิมพ พรอมกับประกอบสวนตางๆของผลิต

ภัณฑ โดยใชน้ําดินในการติด 3.3.3 ขูดตะเข็บของชิ้นงานและเช็ดดวยฟองน้ําหรือปาดดวยพูกัน เพื่อใหช้ิน

งานมีความเรียบ 3.3.4 นําชิ้นงานไปอบแหงหรือปลอยใหแหงเองในอุณหภูมิหอง พอช้ินงาน

แหงนําไปเผาดิบที่อุณหภูมิ 800 ºC ตอไป

ภาพที่ 47 แสดงการขึน้รปูผลิตภัณฑ

59

ภาพที่ 48-49 แสดงการขึ้นรูปผลิตภัณฑ

60

ภาพที่ 50-51 แสดงการขึ้นรูปผลิตภัณฑ

61

3.4 การเคลือบและการเผา 3.4.1 นําชิ้นงานที่เผาดิบแลวมาเช็ดทําความสะอาดฝุนดวยฟองน้ําชุบหมาดๆ 3.4.2 เตรียมเนื้อดินที่บดไวแลว โดยกวนใหเขากันไมใหเคลือบตกตะกอน 3.4.3 ทําการชุบชิ้นงานใหเคลือบมีความหนาประมาณ 0.5 มิลลิเมตร เพราะ

เคลือบที่ใชเปนเคลือบใส 3.4.4 เช็ดเคลือบบริเวณฐานชิ้นงานออกปองกันการติดแผนรองเวลาเผา 3.4.5 นําชิ้นงานเขาเตาเผาที่อุณหภูมิ 1250 ºC ดวยเตาไฟฟาระยะเวลาการเผา 8

ช่ัวโมง โดยควบคุมอุณหภูมิดังนี้ 400 องศาเซลเซียส ใชเวลาเผา 240 นาที 1250 องศาเซลเซียส ใชเวลาเผา 240 นาที

ภาพที่ 52-53 แสดงชิ้นงานที่ผานการเผาดิบแลว

บทที่5 สรุปผลและขอเสนอแนะ

ผลของการดําเนินงานโครงการออกแบบสินคาที่ระลึกตุกตาทาสาธิตการดัดตนแบบไทย

แผนโบราณนี้ ผูออกแบบไดนําเสนอทาตนแบบสาธิตการดัดตนจํานวน 10 ทา ซ่ึงแตละทาเปนทาที่ชวยบําบัดโรคทางโรคทางโครงสรางของรางกายที่มักเกิดขึ้นบอยๆในชีวิตประจําวันของคนเรา จุดมุงหมายของการออกแบบสินคาที่ระลึกโครงการนี้คือ

• เพื่อศึกษารูปแบบของทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยเพื่อการบําบัดโรค • เพื่อออกแบบตุกตาเครื่องเคลือบดินเผารูปคนที่ทําทาสาธิตการบริหารรางกายแบบไทยเพื่อการ

บําบัดโรคทางโครงสรางของรางกาย สําหรับเปนสินคาที่ระลึกจําหนายใหแกนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางประเทศ

• เพื่อนําเสนอแนวทางในการออกแบบสินคาที่ระลึกเครื่องเคลือบดินเผาที่ส่ือสัญลักษณของประเทศ

ไทย ทดลองผลิตโดยใชเนื้อดินสโตนแวรขึ้นรูป • เพื่ออนุรักษเผยแพรศิลปะวฒันธรรมการแพทยแผนโบราณไทยคือ การนวดแผนโบราณไทยให

เปนที่รูจกัอยางกวางขวางเปนประโยชนตอผูที่นําไปปฏิบัติเพื่อการบําบัดโรคและเพือ่ไมใหมรดกของไทยสูญหายไปตามกาลเวลา สรุปผลและขอเสนอแนะ

จากการดําเนินโครงการสามารถสรุปผลไดดังนี้ สรุปผลการดําเนินงานขั้นที่ 1

การนําเสนอโครงการ ผูออกแบบไดนําเสนองาน 2 ชวงดวยกันคือ ชวงแรกนําเสนอหัวขอโครงการตอคณะกรรมการพิจารณาหัวขอ ในชวงนี้ผูออกแบบมีโอกาสนําเสนอรูปแบบงานภาพราง 2 มิติ และ 3มิติ บางสวนตอคณะกรราการ ซึ่งเปนผลดีตอผูออกแบบคอนขางมากคือ ไดแงคิดหรือขอคิดเห็นในดานของรูปแบบของของที่ระลึกที่สามารถสื่อสัญลักษณของประเทศไทยไดชัดเจนจากประสบการณของผูเชี่ยวชาญหลายๆทาน

ในชวงที่ 2 เปนการนําเสนอรูปแบบ 2 มิติและ 3 มิติกับอาจารยที่ปรึกษาโครงการ ในชวงนี้เปนการนําเสนอรูปแบบงานที่จะนํามาใชเปนตนแบบในการผลิตจริง โดยการนําเสนอรูแปบบงานนั้นมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อพัฒนาแบบกับอาจารยที่ปรึกษาโครงการ ซึ่งสามารถสรุปรูปแบบของงานคือ เปนตุกตาที่ระลึกทําทาสาธิตการดัดตนแบบฤาษีดัดตนจํานวนทาที่ใชบําบัดโรค 10 ทา ทุกๆทา

80

เนนความถูกตองของทาทางที่จะบําบัดโรค รวมไปถึงสัดสวนทางกายวิภาคของมนุษย สวนเอกลักษณะของงานนั้นเปนตุกตารูปคนที่มีลักษณะเฉพาะของคนไทย โดยผูออกแบบไดใชเสนทางจิตรกรรมฝาผนังไทยมาใชซึ่งแสดงใหเห็นถึงลักษณะโดยรวมของคนไทยคือ มีความออนโยน นุมนวล ใจดี ทาทางการดัดตนนั้นตองชัดเจนในการดัดตนหรือการยืดสวนตางๆในโครงสรางของรางกายใหไดรูสึกถึงการดัดหรือการถูกดึง การเสนองานในชวงนี้ถือไดวามีความสําคัญ ทําใหการออกแบบและการพัฒนารูปแบบเปนไปอยางถูกตองและรวดเร็ว สรุปผลการดําเนินงานขั้นตอนที่ 2-4

การสรางตนแบบและแมพิมพในการผลิตตุกตารูปคนนั้นเปนงานที่คอนขางมีรายละเอียดสูงเพราะรางกายมนุษยนั้นมีสวนปลีกยอยและประกอบไปดวยอวัยวะสวนตางๆมากมาย เมื่อตนแบบของงานเสร็จข้ันตอนการทําแมพิมพสําหรับหลอในระบบอุตสาหกรรมนั้นตองมีความแมนยํา ใชความชํานาญและความปราณีตในการแบงแมพิมพเพื่อใหงายแกการถอดแบบในการขึ้นรูปตนแบบ ตุกตา 1 ตัวอาจมีแมพิมพถึง 8 ชุดดวยกันการขึ้นรูปและการตกแตงผลิตภัณฑตองพิถีพิถันเชนการตอชิ้นงานที่เปนดินดิบเขาดวยกัน ถาชิ้นงานที่จะตอมีปริมาณความชื้นไมเทากันการหดตัวของเนื้อดินก็จะไมเทากัน เกิดการแตกราวตรงรอยตอ ทําใหเกิดการสูญเสียทางดานวัตถุดิบและเวลาการเผาดิบและการเผาเคลือบตองควบคุมอุณหภูมิการเผา ระยะเวลาการเผาอยางใกลชิด เร่ิมตนจากการนําชิ้นงานเขาเตาตองวางใหมีระยะหางที่พอดี เพราะตุกตาบางทาเมื่อถูกความรอนแลวเกิดการหดตัว สวนที่อยูสูงหรือสวนที่ยื่นออกมาโดยไมมีที่ยึดนั้นอาจหอยตกลงมาติดกับชิ้นงานอื่นๆ ซึ่งความเสียหายที่เกิดหลังจากการเผาเสร็จแลวนั้นไมสามารถนําชิ้นงานที่เสียหายมายอยหรือนําวัตถุดิบที่ถูกเผามาขึ้นรูปใหมไดซึ่งเปนปญหากับผูผลิตหรือผูประกอบการเครื่องเคลือบดินเผาเปนอยางมาก สรุปผลการดําเนินงานขั้นตอนที่ 5

การตรวจสอบผลิตภัณฑหรือตุกตาที่ระลึกการดัดตนแบบไทยแผนโบราณนี้ เคลือบที่ใชเคลือบผลิตภัณฑเปนเคลือบใสเผาในอุณหภูมิ 1250°C บรรยากาศ Oxidation ผลิตภัณฑมีอยู 2ชนิดดวยกันคือ ชนิดเคลือบใสและชนิดไมเคลือบ เปนเนื้อดินสโตนแวรผสมแมงกานีสไดออกไซด 1.5 เปอรเซ็นต สีของเนื้อดินที่ไดจะเปนสีครีมมีจุดของแมงกานีสกระจายอยูบนผิวของผลิตภัณฑ ปญหาที่พบในผลิตภัณฑนั้นคือการกระจายตัวของแมงกานีสไมทั่วทั้งตัวของผลิตภัณฑ ซึ่งเกิดจากการบดผสมวัตถุดิบไมเปนเนื้อเดียวกัน

81

ภาพที่ 78-79 แสดงรอยแตกของชิ้นงานหลงัจากการเผา

82

ภาพที ่ 80-81 แสดงชิ้นงานชนิดไมเคลอืบที่แมงกานีสกระจายตัวไมทัว่ชิ้นงาน

83

ภาพที ่ 82 แสดงชิ้นงานลมติดกันภายในเตาขณะเผา

84

ภาพที ่ 83 แสดงชิ้นงานลมติดกันภายในเตาขณะเผา

85

ภาพที ่ 84 แสดงชิ้นงานลมติดกันภายในเตาขณะเผา

86

ขอเสนอแนะ 1. การใชดินน้ํามนัในการขึ้นรูปตนแบบสามมติินั้นจะชวยเกบ็รายละเอียดของชิ้นงานนัน้หรือดัดไดรูป ทรงตามตองการ แตขอเสียคือ เมื่อถูกความรอนหรืออากาศรอนจะเกิดการละลายทําใหชิน้งานทรุดหรือเสียรูปทรง วิธีแกไขตองใชลวดหรือไมทําเปนโครงสรางดานในของงานและใชดินน้ํามนัปนพอทบัไวดานนอกหรือผสมดินน้าํมนัใหมีความเหนยีวและแข็งเพิม่ข้ึน 2. การขึ้นรูปผลิตภัณฑตองมีความพิถพีิถนั ความรูเร่ืองคณุสมบัติทางกายภาพหรือทางเคม ี ฟสิกส

ของวัตถ ุดิบนั้นมีความสําคัญจะทาํใหการปฏิบัติงานนั้นไมเกิดความผิดพลาดเกิดการเสียหายนอย เชนการตอสวนตางๆของชิ้นงานสวนหวัเขากับตัว สวนแขน สวนขา ตองควบคุมความชืน้ของชิ้นงานที่เปนดินดิบใหเทากนั เพื่อปองกันการแตกราว บิดเบี้ยว ซ่ึงเกิดจากการหดตัวของเนือ้ดิน 3. การเผาเริ่มจากการเรียงผลติภัณฑเขาเตาเผาตองมีความระมัดระวงัไมวางผลิตภณัฑอัดแนนหรือ

ชิดติด กันเพราะงานประเภทตุกตาที่มีสวนยื่นออกมานั้นหรือสวนที่ไมมีฐานค้ํา ขณะเผาเนื้อดินมีการหดตัวอาจเกิดจากการตกหรือหอยลงมาติดกับช้ินงานอื่นในเตา การเสียหายกับผลิตภัณฑในชวงนี้ไมสามารถแกไขไดเพราะวัตถุดิบที่ผผานการเผาเคลือบแลวนั้นไมสามารถนํากลับมาใชใหมได 4. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการทํางานตองมีคุณภาพและครบเพื่อชวยใหการทํางานสะดวกขึ้น

และไม เกิดปญหาระหวางที่ปฏิบัติงาน

87

บรรณานุกรม กฤษดา พณิศรแีละคณะ.เครือ่งถวยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : อัมรินทรพร้ินติ้งกรุป, 2535. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.เอกสารประกอบการทองเที่ยว,เลมที่ 9. กรุงเทพฯ :ม.ป.ท., 2542. กิติชัย ระมิงควงค,ตุกตาชาววัง. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา มหาวิทยาลัยศิลปากร,2543. มหาวิทยาลัยจฬุาลงกรณ .รายงานฉบับสมบูรณโครงการสํารวจความตองการสินคาที่ระลึกของ

นักทองเที่ยว. ป 2534.กรุงเทพฯ : 2534. ภัทรา แสงดานุช.อาชีพนวดแบบโบราณไทย,กรุงเทพฯ : บริษัทตนออจํากัด, 2534. รังสิมา มโนปญจสิริ.ของขวัญและเครื่องใชประดับตกแตงบานในยุค 2000, 13,

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดยีนสโตร,2534. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวันพระเชตุพน. ตําราฤาษีดดัตนวดัโพธิ์ตนฉบับรูปปนฤาษีดัดตน

วัดพระเชตุพน. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2543. วลัยลักษณ ทรงศิริ.ตุกตาชาววัง. กรุงเทพฯ : บริษัทตนออจํากัด, 2536. ประเสริฐ ศีลรัตนา.ของที่ระลึก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,2531. สน สีมาตรัง.จิตรกรรมฝาผนังสกุลชางรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ. 2522. สถาบันการแพทยแผนไทย กรมการแพทยกระทรวงสาธารณสุข.การบริหารแบบไทยทาฤาษีดัดตน.

กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,2534. สุนทรียา อนุสนธิ์พรเพิ่ม.วิทยานิพนธตุกตาชาววังบานบางเสด็จ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร,

2536. สมาคมเซรามิคแหงประเทศไทย.วารสารเซรามิค, 7, 3 (มิถุนายน 2540) :46. สํานักพิมพเมอืงโบราณ.วัดสุทัศนเทพวราราม.กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,2539. หนวยการศกึษานิเทศกกรมฝกหัดคร.ูการทองเที่ยว. กรุงเทพฯ : คุรุสภา,2533.

88

ประวัติผูวิจัย ช่ือ-สกุล นางสาววรรณณา ธิธรรมมา ที่อยู 80 หมู 1 ตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวดัลําปาง 52150

โทรศัพท (054)287195 ที่ทํางาน ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมณัฑนศลิป มหาวิทยาลัย

ศิลปากร อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท (034)251526

ประวัติการศกึษา พ.ศ. 2537 ป.ว.ส. ภาควิชาออกแบบเครือ่งปนดินเผา สถาบันราชมงคล

วิทยาเขตภาคพายัพ(เจ็ดยอด) เชียงใหม พ.ศ. 2539 สําเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา

วิทยาศาสตรเทคโนโลยีเซรามิค สถาบันราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. 2541 ศึกษาตอระดบัปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการทํางาน พ.ศ.2539-ปจจุบัน อาจารยประจําภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมณัฑนศลิป

มหาวิทยาลัย ศิลปากร