248
ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที......................... ห้อง ม.6/..........................

ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.6/edu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m6-60.pdf · 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ช่ือ .......................................................................... นามสกลุ................................................................. เลขที ่......................... ห้อง ม.6/..........................

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท 33106 ครูผูสอน ม.นิมิตร กิตติบริรักษ ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 , ม.5 พสพ. ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จาํนวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะหเก่ียวกับโครงสรางของการแสดงเหตุผล ภาษาท่ีใชในการแสดงเหตุผล วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

เหตุและผล การอนุมานเหตุและผลท่ีสัมพันธ โครงสรางการแสดงทรรศนะ ความแตกตางระหวางทรรศนะของบุคคล ประเภท

ของทรรศนะ ลักษณะของภาษาท่ีใชแสดงทรรศนะ ปจจัยท่ีสงเสริมการแสดงทรรศนะ การประเมินคาทรรศนะ โครงสรางของ

การโตแยง หัวขอและเนื้อหาของการโตแยง กระบวนการโตแยง การวินิจฉัยเพ่ือตัดสินขอโตแยง ขอควรระวังในการโตแยง ความ

ตองการพ้ืนฐานของมนุษยกับการโนมนาวใจ ลักษณะภาษาและการพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ แนวทางการพัฒนา

ความสามารถการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา การเขียนเรียงความเก่ียวกับโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ การ

ใชภาษาใหงดงามโดยการเลือกสรรคํา การเรียบเรียงคํา คุณคาและความหมายของสํานวนไทยการอานวรรณคดี ศึกษาวรรณคดี

เรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา เรื่องสามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ เรื่องขัตติยพันธกรณี

โดยใชกระบวนการฝกฝนทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การสืบเสาะหาความรู การสืบคน

ขอมูล การคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาเรื่องท่ีอาน

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใช

ประโยชนในชีวิตประจําวัน มีนิสัยรักการอาน รักความเปนไทย ซ่ือสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ

และเห็นคุณคาการใชภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ

สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 8, 9 มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิฅ และมีนิสัยรักการอาน ตัวช้ีวัดท่ี 1 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 2 ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีอานในทุกๆดานอยางมีเหตุผล ตัวช้ีวัดท่ี 4 คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอาน และประเมินคาเพ่ือนําความรู ความคิดไปตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต ตัวช้ีวัดท่ี 5 วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงกับเรื่องท่ีอานและเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล

ตัวช้ีวัดท่ี 8 สังเคราะหความรูจาการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูตางๆมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ตัวช้ีวัดท่ี 9 มีมารยาทในการอาน

สาระท่ี 2 การเขียน

มาตรฐานการเรียนรู ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆไดตรงตามจุดประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตองมีขอมูลและ

สาระสําคัญชัดเจน

ตัวช้ีวัดท่ี 8 มีมารยาทในการเขียน

สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐานการเรียนรู ท 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 5

มาตรฐานท่ี ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก

ในโอกาสตางๆอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวช้ีวัดท่ี 1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู

ตัวช้ีวัดท่ี 5 พูดในโอกาสตางๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหม

สาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 4

มาตรฐานท่ี ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา

ตัวช้ีวัดท่ี 2 ใชคํา กลุมคําสรางประโยคตรงตามจุดประสงค

ตัวช้ีวัดท่ี 4 แตงบทรอยกรอง

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรรกรรม

มาตรฐานการเรียนรู ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5

มาตรฐานท่ี ท 5.1 เขาใจ แสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยางเห็นคุณคาและซาบซ้ึง และ

นํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 1 วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเบื้องตน

ตัวช้ีวัดท่ี 2 วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของ

สังคมในอดีต

ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใช

ในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 4 สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 5 รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบานและอธิบายภูมิปญญาทางภาษา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1.การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

30 คะแนน

มฐ. ท 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 6

มฐ. ท 2.1

ตัวชีว้ัดท่ี 1

มฐ. ท 4.1

ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 ,2 ,3, 4

2.สภาพจริง 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 8

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 5

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 5

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วีดท่ี 1

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 3, 4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

- ขุนชางขุนแผน

- ขัตติยพันธกรณี

-จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

- ความงามของภาษา -โวหารภาพพจน และการสรรคํา

- ความสัมพันธระหวางกับ

ความคิด

-บทบาทของภาษาในการพัฒนาความคิด

-วิธีคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคา และวิธีคิดแกปญหา

- เหตุผลกับภาษา

-โครงสรางของการแสดงเหตุผล

-การใชภาษาในการแสดงเหตุผล

-วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

- สํานวนไทย -ความหมายและการใชสํานวนไทย

-การวิเคราะหค

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทท่ี รายละเอียด

- สามกก

- จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

-ประเภทของฉันท

- การใชภาษาแสดงทรรศนะ

- โครงสรางและประเภทของทรรศนะ

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การวิเคราะหภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การใชภาษาในการโตแยง

- โครงสรางของการโตแยง

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการโตแยง

- กระบวนการโตแยงและการวินิจฉัยเพ่ือตัดสิน

การโตแยง

- การใชภาษาเพ่ือโนมนาวใจ

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการโนมนาว

- กลวิธีในการโนมนาวใจ

- การพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ

- การอธิบาย การบรรยาย

และการพรรณนา

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- จุดมุงหมาของการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- การวิเคราะหการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- วรรณคดีวิจักษ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- ภาษาเพ่ือพัฒนาการคิด ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- เว็บไซต http://www.google.co.th

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน (O-NET) รหัส ค 33106

ครูผูสอน 1. มิสอรนิภา ไทยแท 2. มิสพัชราวดี สายทองแท ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี มัธยมศึกษาปที 6/1-9 และ 5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ..........

คําอธิบายรายวิชา ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ สถิติและการวิเคราะหขอมูล การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม

การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล และการวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ลําดับและอนุกรมจํากัด ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต

ความนาจะเปน แผนภาพตนไม กฎการนับเบื้องตน แซมเปลสเปซ เหตุการณและความนาจะเปน

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดย ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใชเหตุผล

การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการ

เรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยาสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางาน อยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 : พีชคณิต มาตรฐานท่ี ค.4.1 : อธิบายและวิเคราะหแบบรูป(pattern)ความสัมพันธและฟงกชันตางๆ ตัวชี้วัด 4. เขาใจความหมายของลําดับและหาพจนท่ัวไปของลําดับจํากัด

5. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต หาพจนตางๆของลําดับเลขคณิตและ ลําดับเรขาคณิตและการนําไปใชได

มาตรฐานท่ี ค.4.2: ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร ( mathematic model) อ่ืนๆ แทนสถานการณตางๆตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช ตัวชี้วัด 6. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก ของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิตโดยใชสูตรและนําไปใชได

สาระท่ี 5. : การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐานท่ี ค. 5.1 : เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวชี้วัด 1. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงายๆ

2. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงแบนมาตรฐานและเปอรเซ็นไทลของขอมูล

3. เลือกใชคากลางท่ีเหมาะสมกับขอมูลและวัตถุประสงค มาตรฐานท่ี ค.5.2 : ใชวิธีการทางสถิติและความรูเก่ียวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล ตัวชี้วัด 1. นําผลท่ีไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชคาดการณท่ีกําหนดให 2. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณและนําผลไปใชคาดการณท่ี กําหนดได มาตรฐานท่ี 5.3 : ใชความรูเก่ียวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา ตัวชี้วัด 1. ใชขอมูลขาวสารและคาเฉลี่ยชวยในการตัดสินใจ 2. ใชความรูเก่ียวกับความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา

สาระท่ี 6. : ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการ นําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วัด 2. ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

3. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตองและชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอ่ืนๆ

6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

30 คะแนน

ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

2.สภาพจริง 20 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test / Performance Assessment) 30 คะแนน รายละเอียดการสอบ บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห

1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล 1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน

บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต 2.2 ลําดับเรขาคณิต

2. สอบปลายภาค (Final-test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห 1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล

1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต

2.2 ลําดับเรขาคณิต 2.3 หาผลบวก n พจน 2.4 อนุกรมเลขคณิต

2.5 อนุกรมเรขาคณิต บทท่ี 3. ความนาจะเปน แผนภาพตนไม 3.1 แผนภาพตนไม

3.2 กฎการนับ 3.3 แซมเปลสเปซ 3.4 เหตุการณ

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐานคณิตศาสตรเลม 4.ของสถานบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนฯ 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต 3. ขอสอบ O – Net ยอนหลังเรื่อง สถิติ ลําดับและอนุกรม และความนาจะเปน

4. หนังสือคณิตศาสตรของทุกสํานักพิมพตางๆท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียนเชน สถิติและการวิเคราะหขอมูล ลําดับและอนุกรมจํากัด ความนาจะเปน แผนภาพตนไม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Science IE Code: SC33106 Instructors: 1. Master Phongtorn Kaewyongphang 2. Master Patawee Srisawet

3. Miss Siripen Tanpleng Foreigner: 1. Miss Shirley Aldeguer Class Level: Secondary 6 and 5/9 Semester 2 Academic Year 2017

3 periods/week 60 periods/semester 1.5 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others ...............

Course Description:

To investigate and explain nature and evolution of fixed stars such as constellations, energy of stars, classification of stars, life cycle of stars and measuring star distances by using parallax method. To investigate and define evolution of galaxies and the universe such as star systems and star cluster, type of galaxies, formation and expansion of the universes. To investigate and describe evolution of the solar system such as overview of the solar system model, formation of the solar system, inner planets and outer planets and other objects in the solar systems. To investigate and define about benefit in launching of satellites, the launching of space ships, and space exploration by utilizing space ships and space stations.

Finally, the student will learn how to use the scientific process experiment, investigative process, and search for and accumulate data. To use discussion to create knowledge and develop the student’s thinking process, ability to understand more, ability to communicate from their learning, being capable of making decisions and finally, insight into the virtue of proper knowledge and applying it to one’s daily life, to have a scientific mind, moral, ethical and proper value.

The Learning Standard:

Strand Standard Astronomy and Space Standard Sc7.1:

Understanding of evolution of the stars, galaxies, the universe and the solar system; interrelationships and explain within the stars, galaxies, the universe, the solar system and their effects on living things on Earth; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge for useful purposes. (Indicators 1-3)

Strand Standard Standard Sc7.2:

Understanding of importance of launching of satellites, space ships space exploration by utilized for space exploration and natural resources for agriculture and communication; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge that could be ethically applied to life and the environment. (Indicators 4-6)

Indicators:

1. Search relevant information for and explain the constellation and evolution of fixed stars.

2. Search for relevant information and explain evolution of the galaxies and the expanding of the

universe.

3. Search for relevant information and explain formation and evolution of the solar system.

4. Search for relevant information and explain inner planets, outer planets and other objects in the

solar system.

5. Search for relevant information and explain the launching of satellites and benefits of satellites in

various respects.

6. Search for relevant information and explain the launching of space ships, space stations and

space explorations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

1. Communication 10 marks 1 - 6 30 marks 4 - 6

2. Authentic 20 marks

– Dictation 5 marks

– Presentation 10 marks

– Exercise and Assignments 5 marks

1 - 6

3. Performance test 30 marks 1 - 3

4. Portfolio 10 marks 1 - 6

Total 100 marks

Examinations

1. Performance Assessment (30 marks)

Unit 1: Stars, Galaxies and the Universe

- Constellations

- Energy of the stars

- Classification of stars and Life cycle of stars

- The Star systems

- Galaxies classifications

- Formation of the Universe: The Big Bang Theory, CMB dark matter and dark energy

Unit 2: The Solar Systems

- Models and formation of the solar system

2. Final Examination (30 marks)

Unit 2: The Solar Systems

- The inner planets outer planets in the Solar Systems

- Other objects in the Solar Systems

Unit 3: Observing and Exploring Space

- The launching of satellites and benefits of satellites

- Space ship space station and space explorations

References:

1. Text book and Hangouts

English Book: 1. My World of Earth Science (Astronomy)

2. Caroles Stott et al. Space from Earth to the Edge of the Universe, Dorling

Kindersley Limited, 2010.

(Link: http://en.bookfi.net/book/1371153)

Thai Book: ทวีศักดิ์ บุญบูชาไชย, หนังสือคูมือเตรียมสอบรายวิชาพ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร และ

อวกาศ ม. 4 – 6, สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา จํากัด.

2. The Internet and web sites

NASA : https://science.nasa.gov/science-news

สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) : https://www.narit.or.th/

สมาคมดาราศาสตรไทย (The Thai Astronomical Society): http://thaiastro.nectec.or.th/

ดาราศาสตร - LESA: ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร: http://www.lesa.biz/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Social Studies Code: SO 33111

Instructors: 1. Master Kreetha Tirawattayawat 2. Mr. Vijay Daneil

Class Level: Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods / semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description:

The Social Studies course of Secondary 6 in semester 2 will primarily focus on the important

events that affected and/or changed our 21st century world. Exploring this syllabus through various

aspects as enthusiastic learners will not only broaden students’ knowledge, but also enhance students’

analytical and critical skills in the current world situation. Topics include but are not limited to: Terrorism

and Globalized World, Global Warming and Climate Change, Migrations and Refugees, The Asian Financial

Crisis, Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy, and, the newest and most

important for all Thai citizens, Thailand 4.0. In this course, students must possess the ability to think

incisively, to handle problems in both micro and macro terms, be able to process information that may

seem to be unrelated and find the ties that connect them. Students are responsible for studying the

assigned topics both inside and outside of class and will be expected to engage in discussion,

presentation, and analytical writing assignments. In addition to that, students will be able to gain more

understanding of how these events frame the way of the world and the way of living of its citizens.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 4: The 21st Century World History Sub-Strand:

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees 4. The Asian Financial Crisis 5. Sustainable Development and Sufficiency

Economy Philosophy 6. Thailand 4.0

So.4.1: Understanding of the meaning and significance of historical times and periods; and ability to avail of historical methodology for systematic analysis of various events.

So.4.2: Understanding of development of mankind from the past to the present; realizing the importance of relationships and continuous change of events, and ability to analyse their effects.

Indicators: (Write the details in items)

Strand 4: History (The 21st Century World History)

So.4.1.1 Be aware of the importance of historical times and periods indicating changes in the

development of mankind

(1) Identify crucial events occurred in the 21st century world.

(2) Responsible for studying topics both inside and outside of class and be able to organize and

present information of assigned topics in a coherent manner.

So.4.1.2 Create new bodies of historical knowledge through systematic application of historical

methodology

(1) Use and apply historical, political, economic, and security concepts, terms and facts learnt to

new contexts and issues.

(2) Observe, collect and extract relevant information from both primary, if possible, and

secondary resources (literary, numerical, diagrammatic, pictorial, and graphical forms).

So.4.2.2 Analyse various important events affecting social, economic and political changes leading to the

present world

(1) Able to explain and give opinions on topics through examination, writing assignments, and

group presentations.

So.4.2.4 Analyse the world situation of 21st century

(1) Analyse and cohere crucial causes, consequences, and relations between events occurred in

the 21st century world applying historical, political, economic, and security concepts, terms

and facts.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks So.4.1.1 30 marks So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Authentic 20 marks So.4.1.2

So.4.2.2

Performance test 30

marks

So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Portfolio 10 marks So.4.2.2

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. The Asian Financial Crisis 2. Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy 3. Thailand 4.0

References:

Subject’s supplementary sheets, Contemporary Issues in the 21st Century (Saint Gabriel’s College, 2nd

Edition 2017).

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ศาสนา รหัส ส 33112

ครูผูสอน มิสนิศากร วงศสินธพ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-6/9 ภาคเรียนท่ี 2 /2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและวิเคราะหเก่ียวกับความสําคัญประวัติความเปนมา องคประกอบของศาสนาตางๆ ในเรื่อง ศาสดา หลักธรรม สาวก ผูสืบทอดศาสนา ศาสนพิธี และเปาหมายสูงสุดของชีวิตวิเคราะหและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ประกอบดวย ทุกข (ขันธ 5) สมุทัย (หลักกรรม ในเรื่อง นิยาม 5 และวิตก 3) นิโรธ (ภาวนา 4) มรรค (พระสัทธรรม 3 ปญญาวุฒิธรรม 4 พละ 5 อุบาสกธรรม 5) มงคล (สงเคราะหบุตร สงเคราะหภรรยาหรือสามี สันโดษ) พุทธศาสนสุภาษิต การสังคายนาพระไตรปฎก การปฏิบัติตนเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ การปฏิบัติตนเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม ศาสนพิธีเก่ียวกับพิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ หลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับวันสําคัญและเทศกาลสําคัญในพระพุทธศาสนา การเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ เปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม การพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาอันสงผลถึงการพัฒนาคน พัฒนาชาติและโลก ประวัติของศาสดาของศาสนาอ่ืนและหลักคําสอนพ้ืนฐาน

โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม ในการคิดวิเคราะหผลการเปลี่ยนแปลง ประเมิน เสนอแนะ สามารถสื่อสารและ ระบุสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางดานศาสนาท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน และนําเสนอองคความรูใหมอยางเปนระบบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปแกปญหาของตนเองและครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุขไมวาจะเปนบุคคลในศาสดาใด สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวน 6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ศาสนา มาตรฐาน ส. 1.1 เขาใจประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ โดยมี ศรัทธาท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข มาตรฐาน ส. 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฎิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี และธํารงพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีนับถือ ตัวช้ีวัด (รวม 6 ตัวช้ีวัด) ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 13 วิเคราะหหลักธรรมในกรอบพระพุทธศาสนา หรือหลักคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 15 วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก หรือคัมภีรของ ศาสนาท่ีตนนับถือและการเผยแผ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 21 วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และชักชวน สงเสริมสนับสนุนใหบุคคลอ่ืนเห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 1 ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดีตอสาวกสมาชิกในครอบครัวและคนรอบขาง ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 2 ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรม ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ

ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 4 วิเคราะหหลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวของกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ ของศาสนาท่ีตนนับถือ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัด ( ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัด ( ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน

ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ

13,21

ส.1.2 ตัวชี้วัดขอ 1

30 คะแนน

ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15

ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2,4

สภาพจริง 20 คะแนน

กลางภาค/ ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

2. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. ประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 13)

2. การปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี (ส.1.2ตัวชี้วัดขอ 1)

3. วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกัน (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 21)

3. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก (ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15)

2. ศาสนพิธี พิธีกรรมของแตละศาสนา (ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2)

3. วันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ (ส. 1.2 ตัวชี้วดัขอ 4)

หนังสือท่ีใชอางอิง และเอกสารประกอบการสอน

1. เอกสารใบงานความรูศาสนา

2. แบบฝกหัดศาสนา

3. ศาสนาโลก โดยธนู แกวโอภาส

4. ขอสอบเขามหาวิทยาลัย o-net สาระ ศาสนา

5. พระพุทธศาสนา ผศ.ดร.ธีระพงษ มีไธสง และคณะ

6. พระพุทธศาสนา4-6 โดยสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษา รหัส 33106 ครูผูสอน มิสฤทัยทิพย เอ่ียมสุเมธ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี …6/1-9..... ภาคเรียนท่ี …2…./2560

จาํนวน …1….. คาบ/สัปดาห ……20……. คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

1. ใสใจสุขภาพ การศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน โรคและการเจ็บปวยท่ีเกิดข้ึนจากพฤติกรรมสุขภาพ ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ การสรางศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณและความเครียดและวัยรุนกับการพัฒนางานสาธารณสุขชุมชน ชวยใหนักเรียนสามารถวิเคราะหสาเหตุของปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนและสังคม สามารถเลือกใชทักษะในการปองกันและแกไขปญหาท่ีอาจสงผลกระทบมาสูตนเองและสังคมและสามารถท่ีจะเขาไปมีสวนรวมในการวางแผนสรางเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนอยางมีประสิทธิภาพได

2. ชีวิตปลอดภัย การศึกษา ทําความเขาใจเก่ียวกับปญหาและการแกไขปญหาสารเสพติด กระบวนการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน อุบัติภัยกับการดําเนินชีวิตและอุบัติภัยในโรงเรียนและชุมชน ถือวาเปนความรูและทักษะเบื้องตนท่ีเปนปจจัยสําคัญอีกหนึ่งปจจัยท่ีชวยใหเราสามารถท่ีจะดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดดวยความปลอดภัยและมีสุขภาพท่ีดี

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …3…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ………3……..(ใสใจสุขภาพ) มาตรฐานท่ี พ 4.1 รู เขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน วิเคราะหสาเหตุของการเกิดโรคจากพฤติกรรมสุขภาพและเสนอแนะแนวทางในการสรางเสริมศักยภาพของตนเอง การจัดการอารมณและความเครียดตลอดจนการมีสวนรวมในการวางแผนสรางเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนได ตัวช้ีวัด 1 , 4 , 5 ตัวชี้วัด ท่ี 1 : วิเคราะหบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลท่ีมีตอการสรางเสริมสุขภาพและการ ปองกันโรคในชุมชน ตวัชี้วัด ท่ี 4 : วิเคราะหสาเหตุและเสนอแนวทางการปองกันการเจ็บปวยและการตายของคนไทย ตวัชี้วัด ท่ี 5 : วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …5…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……4……….. (ชีวิตปลอดภัย) มาตรฐานท่ี พ 5.1

รูและเขาใจผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด ตลอดจนการวางแผนเพ่ือกําหนดแนวทางการลดอุบัติเหตุและการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชนอยางถูกตองได

ตัวช้ีวัด 1 , 2 , 4 , 5 , 6 ตัวชี้วัด ท่ี 1 : มีสวนรวมในการปองกันความเสี่ยงตอการใชยาการใชสารเสพติดและความรุนแรง เพ่ือ สุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัด ท่ี 2 : วิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด

ตัวชี้วัด ท่ี 4 : วางแผนกําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัด ท่ี 5 : มีสวนรวมในการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัด ท่ี 6 : ใชทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณท่ีเสี่ยงตอสุขภาพและความรุนแรง

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

20

มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัด 1 , 4 , 5

มฐ.พ 5.1 ตัวช้ีวัด 1, 2, 4, 5, 6

2.สภาพจริง …30… คะแนน มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

4.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน มฐ.พ 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,4,5

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

รวมคะแนนท้ังหมด …100…….. คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน 2. โรคและการเจ็บปวยท่ีเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ 3. ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ 4. การสรางศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณและความเครียด รายละเอียดการสอบ 1. ใสใจสุขภาพ 2. ชีวิตปลอดภัย หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม 1. ใบงานความรู 2. หนังสือแบบเรียน 3. ขอมูล website ตางๆ

3. สอบปลายภาค ……20……… คะแนน

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (แบดมินตัน) รหัส พ33206 ครูผูสอน มาสเตอรกุศล ทองนอก ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .... มัธยมศึกษาปท่ี ....6/1-9 ภาคเรียนท่ี 2/2560 จาํนวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพ้ืนฐาน วิธีการเลนและประเภทการแขงขันกีฬาแบดมินตัน โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชื่อมโยง การฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบคน

เพ่ือใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงม่ันในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอผูอ่ืนและสังคม 3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนําหลักการแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ

กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. ออกกําลังกายและเลนกีฬาท่ีเหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของ

ทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปนแนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจําวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬา ดวยความมีน้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุก

โอกาส จนเปนบุคลิกภาพท่ีดี 4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

1. ความตั้งใจ 2. ความรับผิดชอบ 3. สนใจตอกระบวนการเรียนรู

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) (…30……… คะแนน) เกณฑการใหคะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด

1.การมีสวนรวมในการแขงขันกีฬา 2. การฝกซอม สนใจในการแขงขัน 3. ผลงานในการแขงขัน

3. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( ……30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การสง – เสิรฟลูก (15) - สงลูกสั้นหนามือ 5

- สงลูกสั้นหลังมือ 5

- สงลูกยาวหนามือ 5 - ทักษะการตีลูก - การตีลูกโยน 5

แบดมินตัน (15) การตีลูกดาด 5

จํานวนครั้ง / 1 นาที 5 4. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ทําใบงานเทคนิคทักษะชั้นสูง 10

1. ความถูกตองของขอมูล = 3 คะแนน 2. รูปแบบการนําเสนอของขอมูล และความคิด

สรางสรรค = 3 คะแนน 3. ความปราณีต สวยงาม สะอาด = 2 คะแนน 4. การสงงานตรงตามเวลาท่ีกําหนด = 2 คะแนน

คะแนนรวม 10

5. สอบปลายภาค ………20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การแขงขันแบดมินตัน - ทักษะการตีแบดมินตัน 5

- รูกฎ กติกา กีฬาแบดมินตัน 5

- มีน้ําใจนักกีฬา 4

- การใช – เก็บอุปกรณ 3

- ความรูท่ัวไปเก่ียวกับแบดมินตัน 3

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติมหนังสือแบบเรียน วพ แบดมินตัน

เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติม

จากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (ฟุตซอล) รหัส พ.33206

ครูผูสอน 1. มาสเตอร สงา จาระนัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ... มัธยมศึกษาปที่ 6/1-9 ภาคเรียนที่ 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สปัดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพื้นฐาน วิธีการเลนกีฬาฟุตซอลเปนทีมและการ

ทดสอบวายน้าํ

โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชือ่มโยง การฝกปฏิบตัิ กระบวนการกลุม และกระบวนการสบืคน

เพื่อใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงมั่นในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การ

ใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติที่ดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คํานึงถึงผล ที่เกิดตอผูอ่ืนและสังคม

3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด

4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนาํหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิา มี

น้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชืน่ชมในสนุทรียภาพของการกีฬา

1. ออกกําลังกายและเลนกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอยางสม่าํเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลด

ความเปนตัวตน คํานึงถึงผลที่เกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปน

แนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจาํวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬาดวยความมนี้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุกโอกาส จน

เปนบุคลิกภาพที่ด ี

4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชืน่ชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

คะแนนการส่ือสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจตอกระบวนการเรียนรู 5 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) หัวขอเรื่อง การรับสงบอล(10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดีมาก 9-10

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดี 7-8

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การพาบอลเคล่ือนท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองดีมาก 9-10

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองด ี 7-8

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การยิงประตูท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การยิงประตูไดถูกตองดีมาก 9-10

การยิงประตูไดถูกตองดี 7-8

การยิงประตูไดถูกตองปานกลาง 5-6

คะแนนสอบตามสภาพจริง 25+5 คะแนน หัวขอเรื่อง..................การเดาะบอล...............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 5

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด 5

หัวขอเรื่อง............การหยุดบอลและการครองบอล...... ( ..15 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 15

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด

หัวขอเรื่อง..................อาน คดิ วิเคราะห ( ..5 คะแนน)

คะแนนสอบแฟมสะสมงาน 10 คะแนน

หัวขอเรื่อง....................กฏกตกิา.............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ปฏิบัติตามกฏกติกาอยางถูกตอง 5

ตอบคําถามไดอยางถูกตอง 5

การประเมินปลายภาค (20 คะแนน)

หัวขอเรื่อง การเลนทีม (20 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การมีสวนรวมกับทีม 5

การแสดงออกถึงทักษะกีฬาฟุตซอล 5

การปฏิบัติตามกฏกติกาของการเลนกีฬาฟุตซอล 5

ความมีน้ําใจเปนนักกีฬา 5

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือแบบเรียน วพ ฟุตซอล เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติมจากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ (พ้ืนฐาน) รหัส ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรธนิตย เพียรมณีวงศ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .......... มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-9 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก และฝกปฏิบัติ การใชทัศน

ธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ การใชศัพททางทัศนศิลป การใชวัสดุอุปกรณและ

กระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป การสรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการ

ออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป การออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะกับโอกาสและสถานท่ี ศึกษาจุดมุงหมายของ

ศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิค และเนื้อหาในการสรางงาน การวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณ

ศิลปะ การสรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและสากลดวยการศึกษางานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ งานทัศนศิลปในรูปแบบ

ตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ศิลปนท่ีมีชื่อเสียง การประเมินคุณคา พัฒนาทักษะ และประยุกตใชกับกลุมสาระการ

เรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางความคิด

วิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย

มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10

มฐ. ศ 1.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 2, 3

รวม 13 ตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน

ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. วิเคราะหการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ

2. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลปโดยใชศัพททางทัศนศิลป

3. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออกทางทัศนศิลป

4. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุอุปกรณและกระบวนการท่ีสูงข้ึน ในการสรางงานทัศนศิลป

5. สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป

6. ออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะสมกับโอกาสและสถานท่ี

7. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุอุปกรณเทคนิคและเนื้อหา เพ่ือสรางสรรคงาน

ทัศนศิลป

8. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ

9. จัดกลุมงานทัศนศิลป เพ่ือสะทอนพัฒนาการ และความกาวหนาของตนเอง

10. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ สรางงานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปท่ีเปนม

รดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล

1. วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก

2. ระบุงานทัศนศิลปของของศิลปนท่ีมีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม

3. อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของ วัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 7 , 8

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

คะแนนเต็ม

.......20........

คะแนน

ศ 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 4 ,

5 , 7 , 9

2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 8 , 9

3.ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,7 , 8,10

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 10

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

การจดบันทึกทฤษฎีประวัติศาสตรศิลปะ = 5 คะแนน

ตรงเวลา = 1 คะแนน สรางสรรค= 2 คะแนน เรียบรอย สวยงาม = 2 คะแนน

การทดสอบยอยทฤษฎีประวัติศาสตรศิลปะ = 5 คะแนน

ความรูความเขาใจในงานประวัติศาสตรศิลปะยุคสมัยตางๆ

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( ……30……… คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

วาดภาพคนเหมือน / การตูนลอเลียน (ทักษะปฏิบัติ) = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

• แบบฝกหัดภาคทฤษฎี 1 ชุด = 5 คะแนน

ขอสอบจริยธรรม /อัตนัย = 5 คะแนน

3.การประเมินภาคปฎิบัติ (Performance Assessment) 30 คะแนน (งานปฏิบัต)ิ

การสรางสรรคผลงานประติมากรรม = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานภาพพิมพ = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานศิลปะไทย = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) = 10 คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

การเก็บรวบรวมผลงานครบถวนสมบูรณอยูในสภาพเรียบรอย

การปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง 5 คะแนน

การพัฒนา 3 คะแนน

การสงผลงาน 2 คะแนน

5. การประเมินปลายภาค ……20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

พ้ืนฐานความถนัดในงานทัศนศิลป

คุณคาและการนําไปใช= 10 คะแนน

ความคิดสรางสรรคความรูความเขาใจ = 5 คะแนน

ความประณีต สวยงาม และมีเอกภาพ = 5 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

องคประกอบศิลป (ชลูด นิ่มเสมอ) องคประกอบศิลป (ฉัตรชัย อรรถปกษ) Internet

Design for ENTRANCE / Decorative Arts guide book by grayman’s studio

โครงการติวความถนัดทางสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

Sketch Design For Entrance (นันทวัชร ชัยมโนนาถ)

โครงการสอนแลการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู ศิลปะ วิชาดนตรีไทย (ปพาทยมอญ) รหัส ศ 33105 - ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรชัยวัฒน คุณสมบัติ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2560

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ การใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย การใชศัพททางทัศนศิลป การ

เลือกใชวัสดุอุปกรณและเทคนิคของศิลปน การใชทักษะและเทคนิคท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป การจัดกลุมงาน

ทัศนศิลป การสรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและสากลดวยการศึกษางานของศิลปนท่ีตนเองชื่นชอบ วาดภาพระบายสีเปนภาพ

ลอเลียนหรือภาพการตูนเพ่ือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมในปจจุบัน รูปแบบงานทัศนศิลปตะวันออกและตะวันตก

อิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

บทเพลง วงดนตรี ประเภท รูปแบบวงดนตรีไทยและสากล สรางสรรคงานดนตรี อาน เขียน โนตดนตรีไทย-สากล

เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง เทคนิคการแสดงออกทางดนตรี คุณภาพของการแสดง การประพันธและการเลนดนตรี ความ

ซาบซ้ึงในงานดนตรีจากตางวัฒนธรรม งานวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ การผสมผสานการแสดงรูปแบบตางๆ ประเมินคุณคา

พัฒนทักษะ และประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทาง

ดนตรี เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาน เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันใน

การทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

มฐ. ศ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

ตัวช้ีวัด (ใหเขียนรายละเอียดเปนขอๆ)

มฐ. ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคาดนตรีถายทอด

ความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. เปรียบเทียบรปูแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของวง วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มฐ. ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีปพาทยมอญในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

มฐ. ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป วิเคราะห วิจารณ คุณคาทางนาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิด

อยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ

2. สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบ ท่ีชื่นชอบ

3. ใชความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป เปนคู และหมู

4. วิจารณการแสดงตามหลักนาฏศิลป และการละคร

5. วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลป และการละครท่ีตองการสื่อความหมาย ในการแสดง.

6. บรรยาย วิเคราะห อิทธิพลของ เครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ และสถานท่ีท่ีมีผลตอการแสดง

7. พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการ ประเมินการแสดง

8. วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหว ของผูคนในชีวิตประจําวันและนํามา ประยุกตใชในการแสดง

มฐ. ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตร็และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลปท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยสากล

1. เปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชใน โอกาสตาง ๆ

2. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิลปและการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ

3. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและ การละครไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

4. นําเสนอแนวคิดในการอนุรักษ นาฏศิลปไทย

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 / ศ 2.1.2 / ศ 2.1.3

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / ศ 3.1.1 ศ 3.1.2

ศ 3.1.4 / ศ 3.1.6 ศ 3.1.8

ศ 3.2.1

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / ศ 2.1.5 / ศ 2.2.1

ศ 2.2.2 / ศ 2.2.3 / ศ 3.1.3

ศ 2.2.4

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / ศ 2.2.5 / ศ 3.1.5

ศ 3.1.7 / ศ 3.2.2 / ศ 3.2.3

ศ 3.2.4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฏีดนตรีไทย

2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย

3. ดนตรีในวิถีชีวิต

4. ดุริยกวีดนตรีไทย

5. นาฏกรรมสยาม

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงท่ีกําหนดให (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

3.1 ความสําเร็จของช้ินงาน (20 คะแนน)

ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน2 ครั้งๆ ละ10คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o รายละเอียดตางๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน

o ความสะอาด / เปนระเบียบ 3 คะแนน

o ทัศนคติของนักเรียนตอการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน

3.2 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน)

ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย

4 ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

รายงาน เรื่อง “ศิลปนท่ีขาพเจาชื่นชอบ”

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก 5 คะแนน

o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน

o ตรงเวลา 2 คะแนน

การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. ดุริยางคศาสตรไทย (กรมศิลปากร)

2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล)

3. สารานุกรมศัพทดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต)

4. การละเลนของไทย มนตรี ตราโมท)

5. โลกใบนี้ดนตรีไทย (ขุนอิน โตสงา)

6. พัฒนาการดนตรีไทย : บาน – วัด – วัง (อนันต สบฤกษ)

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชาศิลปะ (ดนตรีสากล / พฐ ) รหัส ศ 33105 – ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรเอกสิทธิ์ จุลละครินทร

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ........... มัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปโดยใชความรูเร่ืองทัศนะธาตุและหลักการออกแบบ การสรางงาน

ทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ การผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงานทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถายทอดประสบการณและ

จินตนาการ การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อสื่อความหมายเปนเร่ืองราว ศึกษารูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเอง

และผูอ่ืนหรือของศิลปน การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคที่หลากหลาย ศึกษาอาชีพที่

เก่ียวของกับงานทัศนศิลป และทักษะที่จําเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ การเลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กําหนดข้ึนอยาง

เหมาะสม และนําไปใชในการจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคาของวัฒนธรรม ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุค

สมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล

องคประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิครองเพลง รอง-เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง แตงเพลงงาย ๆ ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัย

ตางๆ วิเคราะหวิจารณงานดนตรีของตนเองและผูอ่ืน อิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุม

สาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี

เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาณ เพื่อใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน รัก

ความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที ่(ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวขอเน้ือหาวิชา

1. สังคีตนยิมวาดวยดนตรีตะวนัตก

2. การปฏิบัติเคร่ืองดนตรีสากล และ การบรรเลงรวมวง

3. อิทธิพลดนตรีตอบุคคล/สังคม

4. การจัดการแสดงดนตรี

การบูรณาการรายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

� ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการสื่อสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติที่ดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบตัิ (30 คะแนน)

การบรรเลงรวมวง

เพลงที่ 1 : Let it be me

เพลงที่ 2 : Can ‘ t help falling in love

เพลงที่ 3 : Aura lee

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

เพลงที่ 1 : World Anthem

เพลงที่ 2 ; เดี่ยวเคร่ืองดนตรี เพลงเลือกตามถนัด

เกณฑการใหคะแนน

O เทคนิคการบรรเลง 10 คะแนน

O มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

O ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

3.1 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนสื่อความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o การใชภาษาไทย 2 คะแนน

3.2 การสอบกลางภาค (5 คะแนน)

ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย 4

ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

การเขียน “ บทความดนตรี “

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / ความคิดสรางสรรค 5 คะแนน

o การใชภาษาไทย / รูปแบบ 3 คะแนน

o ตรงเวลา 2 คะแนน

� การสอบปลายภาค 20 คะแนน

งานบูรณาการ และ ใบงานความรูทั่วไปเก่ียวกับดนตรี

เกณฑการใหคะแนน

o ความถูกตองของชิ้นงาน 20 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือ สังคีตนยิมดนตรีตะวันตก

2. The Guitar Mag. , Rhythm Section Mag. , Overdrive Music Mag.

3. เว็บไซดตางๆ ที่เก่ียวของกับดนตรี

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Illustration Design Code ง 33106

Instructors : Miss Nanattarak Aruntat

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text and Graphics into interesting presentations.

This course is designed teach the student basic graphics design. The program that will be used is

Adobe Illustrator. Adobe Illustrator is a program primarily used to create what is often called outline art.

Examples of outline art are a typical company logo, or a technical drawing, or the customized lettering

on virtually any commercial product. It is called outline art because you simply

Students will learn how to create and edit images and design, for example, create logos, graphics,

cartoons and fonts for the photo-realistic layouts of Adobe Photoshop, three dimensional and magazine

front covers. They will also study many techniques to design new pictures creatively and how to

incorporate their work into other document. They will be encouraged to work independently and as

they grow in confidence, use their own creative skills.

Students work through the course using your content or deliverable as part of the exercise. That

way, after the course, student will already have some or all of the project complete.

Standard:

Strand standard

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand standard

Strand 3 :Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper

perception of future career; technological application for occupational

development; endowment with morality and favorable attitude towards

occupations

Indicators :

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the

benefit of life, society and the environment, and sustainably mange technologies

through methodology of clean technologies.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects. O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making. O 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and

responsibility. O 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

O 4.1.3 Have experience in occupations in which they have aptitude and interest.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4, 5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2, 3)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

- Using Adobe Illustrator program to create assignment

Cartoon and Photo-realistic layout creation

Three Dimensional creation

Logo creation

2. Final Examination (20 Marks )

Topic / subject matter:

- Poster Creation

Creating Poster by using Adobe Illustrator

The concept of Poster

Poster process

References

Topic / Subject matter

- http://www.istylebox.com/illust%20tutorial1.html

- http://www.webthaidd.com/illustrator/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Digital Video Editing Code ง 33106

Instructors :Master Thanusak Thongman

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text, Audio, Graphics and Animation into interesting presentations.

And the course going help you to build software demonstrations and interactive

training/assessment simulations. Using a task-based approach, participants learn the key features of

Camtasia and apply best practices throughout the creation of an in-class project. Participants also learn

how to create, maintain and update projects.

This is the most efficient way to develop your own tutorials. Students work through the course

using your content or deliverable as part of the exercise. That way, after the course, you’ll already have

some or all of your project complete.

Standard:

Strand standards

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills

for various aspects and work processes, management, teamwork,

investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness

of the need to economise on the use of energy and the environment

for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and

creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial

to one’s life, society and the environment, and participation in

sustainable technological management

Strand 3 : Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences;

proper perception of future career; technological application for

occupational development; endowment with morality and favourable

attitude towards occupations

Indicators : (Write the details in items)

1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

1.1.3 Have management skills for work.

1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the benefit

of life, society and the environment, and sustainably mange technologies through

methodology of clean technologies.

3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. 3.1.7 Develop computer projects. 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making. 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and

responsibility. 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination

Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4,5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2)

Total 100 marks

Assessment

3. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

1. Video 1

2. Video 2

4. Final Examination (20 marks)

Topic / subject matter:

- Motivation Video

Create a motivation video by using images, audio, and messages.

References

Topic / Subject matter

1. http://edu.sg.ac.th/m6

2. http://www.nyvs.com/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Fundamental English (EIE.I) Code: อ. 33106

Instructors: 1. Master Nobhadol Chuencharoensuk

Class Level: Primary ....... Secondary 6/1-9 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester 1.0 unit of learning

Basic Subject Intensive Subject Others ………..

Course Description:

Study language skills, pronunciation, explanation, conclusion, analysis, synthesis, interpretation, comparison, main points and details. Also, studying writing using various phrases, agreement of subject and verb and finite and non-finite verbs through context and variety of media. Use language skills to communicate, and exchange news and information and express thoughts and opinions efficiently. Present news and information, concepts and opinions in various items through writing and speaking skills. Understand the relationship between the language and culture of native speakers and apply these understandings appropriately. Also, understand the similarities and differences in the culture and language of the native speakers and Thai and then, apply to use appropriately.

Students can use foreign language as a learning tool for higher studies, careers, and exchange knowledge with global society through analyzing English language structures, words, sentences and grammatical usages. Create knowledge using continuous communication through technology and various medias in and out of school. Employ knowledge and understandings about language and culture to apply in developing and managing for higher learning and profession.

Employ communication, analyze, solving problem, group work, explanations, cause-effect, question-answer, conceptual idea to search for knowledge through self-research to establish students to love studying. Also encouraging honesty, responsibilities, attempts and interests in learning together with practicing systematic working and emphasizing creative thinking as well as focusing on good attitude toward learning English language.

Basic Standard of Learning: (Example: Component 1 :……… Standard F. 1.1………)

Strand : Standard :

1. Language for Communication F. 1.2,1.3

2. Language and Culture F. 2.2

4. Language and Relationship with

community and the world.

F. 4.1

Strand : 1 Language for Communication Standard: F 1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions. Indicators: 1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately.

1.2.2 Choose and use requests and give instructions, clarifications and explanations fluently. 1.2.3 Speak and write to express needs and offer, accept and refuse to give help in simulated or real situations. 1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/issues/news and situations heard and read 1.2.5 Speak and write to describe their own feelings and opinions about various matters, activities, experiences and news/incidents with proper reasoning. Standard: F.1.3 Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing. Indicators: 1.3.1 Speak and write to present data themselves/experiences, news/incidents, matters and various issues of interest to society. 1.3.2 Speak and write to summarize the main idea/theme identified from analysis of matters, activities, news, incidents and situations in accordance with their interests.

1.3.3 Speak and write to express opinions about activities, experiences and incidents in the local area, society and the world, as well as provide justifications an examples for illustration. Strand : 2 Language and Culture Standard F 2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language. Indicator: 2.2.1 Explain/compare between the structures of sentences, texts, idioms, sayings, proverbs and poems in foreign language and Thai language. Strand: 3 Language and Relationship with Other Learning Areas Standard F 3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view. Indicator: 3.1.1 Research / search for, make records, summarize and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing. Strand: 4 Language and Relationship with Community and the World Standard: F 4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society. Indicator: 4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom, school, community and society.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators

(Mid-term)

Final

examination

Indicators

(Final examination)

Communication 10 marks 1.2.1, 1.2.3, 1.2.4

30 Marks

1.2.1, 1.2.2, 1.2.5, 2.2.1

Authentic 20

marks

1.3.1, 1.3.2, 1.3.3,

2.2.1,4.1.1

Performance test 30 marks 1.2.3, 1.2.4, 1.3.1

Portfolio 10 marks 3.1.1,

Total 100 marks

Details of Evaluation and Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment Details

- Phrases

2. Final Examination Details

- Finite and non-finite verbs - Subject & Verb Agreement

References : - Andrews, Barbara; Francis, Jeanie; A. Azar, Donald, Understanding and Using English Grammar,

Third Edition, Pearson Education Company, New York, U.S.A. 321 pages. - Grammar and Language Workbook, The McGraw-Hill Companies, Inc., 1976, Glencoe/McGraw-Hill,

Columbus, Ohio, USA.348 pages. - Harrison, Louis; Cushen Caroline, Hutchinson Susan, Achieve IELTS 2 English for International

Education, Marshall Cavendish Ltd. 2006 176 pages - Holt, Rinehart and Winston, Grammar, Usage, and Mechanics Language Skills Practice, Harcourt

Classroom Education Company, 409 pages - My World of English, Secondary 6; St. Gabriel’s Foundation; Orient Blackswan Private Limited,

New Delhi, India, 2016 259 pages

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู วิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม รหัส ค 33206

ครูผูสอน 1. มิสศจีกาญจน ศิรทรัพยไพสิฐ 2. มาสเตอรจักรพล สาใจ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ม.6/1-7 และ ม.5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาค จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและการฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้

เวกเตอรในสามมิติ เวกเตอร การบวกและการลบเวกเตอร การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร เวกเตอรในระบบ

แกนมุมฉาก ผลคูณเชิงสเกลาร ผลคูณเชิงเวกเตอร

จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน สมบัติเชิงพีชคณิตของจํานวนเชิงซอน กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน

จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงข้ัว สมการพหุนาม

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนํา

ประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค

รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี

วิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 6 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 3 เรขาคณิต

5. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับเวกเตอรในสามมิติ

6. หาผลบวกเวกเตอร ผลคูณเวกเตอรดวยสเกลารและผลคูณเชิงเวกเตอรได

7. หาขนาดและทิศทางของเวกเตอรท่ีกําหนดใหได

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัดท่ี 10. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับจํานวนเชิงซอน

11. นําสมบัติตางๆเก่ียวกับจํานวนเชิงซอน การดําเนินการไปใชแกปญหาได

12. นําความรูเรื่องจํานวนเชิงซอนไปแกสมการพหุนามตัวแปรเดียวท่ีมีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มดีกรีไมเกินสาม

และหารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอนเม่ือ n เปนจํานวนเต็มบวกได

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลาย

ภาค

ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

2.สภาพจริง 20 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. เวกเตอรในสามมิติ

1. การบวกและการลบเวกเตอร

2. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

4. ผลคูณเชิงสเกลาร

5. ผลคูณเชิงเวกเตอร

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. เวกเตอรในสามมิติ

1. การบวกและการลบเวกเตอร

2. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

4. ผลคูณเชิงสเกลาร

5. ผลคูณเชิงเวกเตอร

บทท่ี 2. จํานวนเชิงซอน

1. จํานวนจินตภาพ

2. การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเชิงซอน

3. การเทากันของจํานวนเชิงซอน

4. สังยุคของจํานวนเชิงซอน

5. คาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน

6. กราฟของจํานวนเชิงซอน

7. การเขียนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงข้ัว

8. การหารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอน

9. สมการพหุนาม

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม คณิตศาสตร เลม 1 และ 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป

ท่ี 5 ของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต

หนังสือคณิตศาสตรของสํานักพิมพตาง ๆ ท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ฟสิกสเพ่ิมเติม รหัส ว33206

ครูผูสอน 1. ม. อวิรุทธ วิเศษชาติ 2. ม.วีระชัย ญาณเดชอังกูร 3. ม. พงษธร แกวยองผาง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-5 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห อธิบาย หลักการของ ปริมาณท่ีเก่ียวของกับไฟฟากระแสสลับ ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุและตัว

เหนี่ยวนําใน วงจรไฟฟากระแสสลับกําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ การคนพบอิเลกตรอน แบบจําลองอะตอมของทอม

สัน การทดลองของรัดเทอรฟอรดการทดลองดานสเปกตรัม ปรากฏการณโฟโตอิเล็กตริก ทฤษฎีอะตอมของโบร การ

ทดลองของฟรังกซและเฮริตซ รังสีเอกซความไมสมบรูณของทฤษฎีอะตอมของโบร ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค กลศาสตร

ควอนตัม เลเซอร ตัวนํา ก่ึงตัวนํา และฉนวน การพบกัมมันตภาพรังสี การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส การสลายของนิวเคลีย

กัมมันตภาพรังสี ไอโซโทปเสถียรภาพของนิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร ประโยชนของกัมมันตภาพรังสีและพลังงาน

นิวเคลียร กัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจาก กัมตภาพรังสีและการปองกัน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร

การสืบคนขอมูล การสํารวจตรวจสอบ

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ ความคิด มีความสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู การตัดสินใจ การนําความรูไปใช

ประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ เพ่ิมเติม

มาตรฐาน ว 9.7 เขาใจธรรมชาติของ ไฟฟาสถิต ไฟฟากระแสตรง แมเหล็กไฟฟา ไฟฟากระแสสลับ มีกระบวนการ

สืบเสาะหา ความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งท่ี เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด ว 9.7 ขอ 1

มาตรฐาน ว 9.8 เขาใจธรรมชาติของ ฟสิกสอะตอม ฟสิกสนิวเคลียร คลื่นแมเหล็กไฟฟา มีกระบวนการสืบเสาะหา

ความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งท่ี เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด ว 9.8 ขอ 2-10

รวม 10 ตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัด

1. อธิบายลักษณะของไฟฟากระแสสลับ การผลิตไฟฟากระแสสลับ และปริมาณท่ีเก่ียวของ

2. อธิบายการคนพบอิเล็กตรอน และโครงสรางอะตอมตามแบบจําลองอะตอมของทอมสันและรัทเทอรฟอรด

3. อธิบายสมมติฐานของพลังค ทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนของโบรและระดับพลังงานของอะตอม

4. อธิบายปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกและปรากฏการณคอมปตันซ่ึงเปนปรากฏการณท่ีสนับสนุนวาแสงแสดงสมบัติ

ของอนุภาคได

5. อธิบายสมมติฐานของเดอบรอยล และทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค

6. อธิบายโครงสรางอะตอมตามทฤษฎีกลศาสตรควอนตัม และหลักของความไมแนนอน

7. อธิบายกัมมันตภาพรังสี และการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี

8. อธิบายหลักการท่ีเก่ียวของการสลายของธาตุกัมมันตรังสี

9. อธิบายไอโซโทปและการแยกไอโซโทป แรงนิวเคลียร พลังงานยึดเหนี่ยว และ เสถียรภาพของนิวเคลียส

10. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียรและพลังงานนิวเคลียรท่ีเกิดข้ึนรวมท้ังการใชประโยชน ประโยชนและโทษของรังสีและ

การปองกัน

การวัดและประเมินผล

คะแนนระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี(ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน 1-10

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

5-10 สภาพจริง 20 คะแนน 1-10

กลางภาค 30 คะแนน 1-4

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 1-10

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

ไฟฟากระแสสลับ

ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนําในวงจรไฟฟากระแสสลับ

กําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ

ฟสิกสอะตอม

อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน

แบบจําลองอะตอม

สเปกตรัมของอะตอม

ทฤษฎีอะตอมของโบร

ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกและปรากฏการณคอมปตัน

สอบปลายภาค 30 คะแนน

ฟสิกสอะตอม

สมมตฐิานของเดอบรอยล

ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค

ฟสิกสนิวเคลียร

การคนพบกัมมันตรังสี

การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส

การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี

ไอโซโทป

เสถียรภาพของนิวเคลียส

ปฏิกิริยาของนิวเคลียร

ประโยชนและโทษของรังสแีละการปองกัน

หนังสืออางอิงและเอกสารประกอบการสอน

1. หนังสือเรียนวิชาฟสิกสพ้ืนฐานและเพ่ิมเติมฟสิกส เลม 4-5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

กระทรวงศึกษาธิการ ตามหลักสูตรการศึกษาพ้ืนฐานป 2551

2. Physics for science and engineers with modern physics serway beicher

3. เทคนิคตะลุยโจทยเอนทรานซ ม. 4-6 3000 ขอ เลม 2 อ. กฤตนัย จันทรจตุรงค

ฟสิกส หลักสูตรแหงชาติระดับมัธยมศึกษา (GCSE) ของประเทศอังกฤษ

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา เคมี รหัส ว 33226 ครูผูสอน มิสกรกนก ศรีมันตะ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6/1 – 6/5 และมัธยมศึกษาปท่ี 5 พสพ ภาคเรยีนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ เพ่ิมเติม คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและทดลองสมบัติบางประการของแกส ทฤษฎีจลนของแกส ศึกษาและทดลองเก่ียวกับความสัมพันธของความดัน อุณหภูมิและปริมาตรของแกส คํานวณหาปริมาตร ความดันและอุณหภูมิของแกสโดยใชกฎของบอยล กฎของชารล กฎของเกยลูสแซค กฎรวมแกส กฎแกสสมบูรณแบบ ศึกษาทดลองการแพรและอัตราการแพรของแกส การคํานวณเก่ียวกับกฎการแพรของแกรแฮม ศึกษาวิเคราะหสมบัติของของเหลวเก่ียวกับความตึงผิว การระเหย ความดันไอ ความสัมพันธระหวางความดันไอของของเหลวกับจุดเดือดของของเหลว สมบัติของของแข็งและการจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง การหลอมเหลวและการระเหิด ศึกษาเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับแกส ของแข็ง ของเหลว

ศึกษาและสืบคนขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมแร การถลุงแรเพ่ือนําไปใชประโยชน การนํามาใชประโยชนของธาตุและสารประกอบสําคัญในประเทศไทย อุตสาหกรรมการผลิตและการใชประโยชนจากโซเดียมคลอไรดและอุตสาหกรรมปุย โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด) (สาระเพ่ิมเติมเคมี ) สาระเพ่ิมเติมท่ี 10 เคมีเพ่ิมเติม มาตรฐานท่ี ว 10.6 เขาใจลักษณะของธาตุและ สารประกอบในอุตสาหกรรม มีกระบวนการสืบ เสาะหา ความรูและ จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู และนํา ความรูไปใชประโยชน ตัวช้ีวัด

1. อธิบายสมบัติบางประการของของแข็ง และสมบัติของของเหลวเก่ียวกับความตึงผิว การระเหยและการเกิดความดันไอ ความสัมพันธระหวางความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว

2. อธิบายสมบัติบางประการของแกสโดยใชทฤษฎีจลนของแกส 3. อธิบายความสัมพันธระหวางอุณหภูมิ ความดัน ปริมาตรของแกส และใชกฎตางๆของแกส ไดแก กฎของบอยล กฎ

ของชารล กฎของเกยลูสแซค กฎรวมแกส และกฎแกสสมบูรณแบบ คํานวณหาปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจํานวนโมลหรือมวลของแกส

4. อธิบายความสัมพันธระหวางการแพรของแกสกับมวลโมเลกุล รวมท้ังสามารถเปรียบเทียบอัตราการแพร และ คํานวนณอัตราการแพรผานของแกส

5. อธิบายหลักการถลุงแรดีบุก ทองแดง พลวง สังกะสี และแคดเมียม พรอมท้ังเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึน และอธิบายวิธีสกัดธาตุแทนทาลัม ไนโอเบียม และเซอรโคเนียม และบอกประโยชนของดีบุก ทองแดง พลวง สังกะสี แคดเมียม แทนทาลัม ไนโอเบียมและเซอรโคเนียม

6. อธิบายกระบวนการผลิตปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยยูเรีย และปุยฟอสเฟต ท่ีเกิดข้ึนจริงในโรงงานอุตสาหกรรมปุย 7. อธิบายกระบวนการผลิตเกลือสมุทร และเกลือสินเธาว ตลอดจนผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนจากการผลิตเกลือ

8. อธิบายกระบวนการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด และกาซคลอรีน โดยวิธีตาง ๆ การผลิตสารฟอกขาว ผงชูรส และโซดาแอซ 9. อธิบายผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท่ีเกิดจากอุตสาหกรรมตางๆ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1 – 5 คะแนนเต็ม

30

คะแนน

5 – 6, 8 - 9

2.สภาพจริง 20 คะแนน 3 – 6

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1 – 4

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 5 – 8

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

แกส ทฤษฎจีลนของแกส กฎของชารลและกฎของบอยล เกยลูสแซค กฎรวมของแกส กฎของแกสสมบูรณแบบ การแพรของแกส ของเหลว แรงตึงผิวและการระเหยความดันไอและจุดเดือดของของเหลว

ของแข็ง สมบัติของของแข็ง

2. สอบปลายภาค (Final Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การถลุงแรดีบุก พลวง สังกะสี แคดเมียม

วิธีสกัดธาตุแทนทาลัม ไนโอเบียม และเซอรโคเนียม วิธีการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด และกาซคลอรีน การผลิตสารฟอกขาว ผงชูรส และโซดาแอซ

อุตสาหกรรมปุย ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยยูเรีย และปุยฟอสเฟต การถลุงแรดีบุก ทองแดง พลวง สังกะสี แคดเมียม วิธีสกัดธาตุแทนทาลัม ไนโอเบียม และเซอรโคเนียม

การผลิตเกลือสมุทร และเกลือสินเธาร

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม หนังสือเรียนวิชาเคมี (สสวท) , หนังสือเรียนวิชาเคมี (ทบวงมหาวิทยาลัย) และเอกสารประกอบการสอนวิชาเคมี

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ชีววิทยา รหัส ว 33246

ครูผูสอน มิสอนุรักษ พฤกษมาศ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จาํนวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห อธิบาย

การเคล่ือนท่ีของส่ิงมีชีวิต การเคลื่อนท่ีของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว การเคลื่อนท่ีของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง การเคลื่อนท่ี

ของสัตวมีกระดูกสันหลัง ระบบโครงรางแข็งและระบบกลามเนื้อของคน การเคลื่อนไหวในพืช

มนุษยกับความย่ังยืนของส่ิงแวดลอม ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

ปญหาและการจัดการ ชนิดพันธุตางถ่ินท่ีสงผลกระทบตอระบบนิเวศ ปญหาอุณหภูมิของโลก

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการ

อภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของ

การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ เพ่ิมเติม

มาตรฐาน ว11.4 เขาใจลักษณะของ การสืบพันธของสิ่งมีชีวิต การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การรับรูและการตอบสนองตอ

สิ่งเราของสิ่งมีชีวิต ระบบตอมไรทอ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและ จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรู

ไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด

1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับ การเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิต protozoa

2. รวมอภิปรายเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีของสัตวไมมีกระดูกสันหลังท่ีไมมีโครงรางแข็ง สัตวไมมีกระดูกสันหลังท่ีมีโครง

รางแข็ง

3. ศึกษาและอธิบายเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีของสัตวมีกระดูกสันหลัง

4. มีความรูความเขาใจการเคลื่อนไหวของพืช

5. มีความรูความเขาใจประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาและการจัดการ การใชประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุตางถ่ินท่ีสงผลกระทบตอระบบนิเวศ ปญหาอุณหภูมิของโลก

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1-5

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

5

2.สภาพจริง 20 คะแนน 1-5

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1-4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 1-5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. การเคลื่อนท่ีของ Protozoa

2. การเคลื่อนท่ีของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

3. การเคลื่อนท่ีของสัตวมีกระดูกสันหลัง และของคน

4. การเคลื่อนไหวในพืช

2. สอบปลายภาค (Final Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

2. การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาและการจัดการ

3. ชนิดพันธุตางถ่ินท่ีสงผลกระทบตอระบบนิเวศ

4. ปญหาอุณหภูมิของโลก

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- โครงการตําราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมูลนิธิ สอวน. ชีววิทยา

- เอกสารประกอบการเรียนชีววิทยา ม.5พสพ. โรงเรียนเซนตคาเบรียล

- Campbell, N. A. and Reece, J. B. Biology 7thed. Pearson Education, Inc. Publishing as Benjamin

Cumming, San Francisco.

-

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : English IE2 Code อ33206

Instructor : M. Pongpol Suansri

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2/4 periods/week 40/80 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

A practical course that teaches the skills of extended reading for both academic purpose and

pleasure including such strategies as understanding facts and details, identifying negative facts, and

locating referents. Over the course of the semester, students will be exposed to a wide range of

advanced level reading passages and will become proficient in each one. Emphasis will be placed on

the reading skills necessary for university entrance examination.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand1: Language for communication F1.1 Understand the listening and speaking

process. Be able to understand a story from

listening and reading various media and apply this

understanding logically.

F1.2 Gain communication skills to exchange news and

information, express opinions by using the proper

technology and management for lifelong learning.

Strand2 : Language and culture

F2.2 Understand the similarities and differences in

the cultures and languages of native speakers and

Thais. Apply these understandings logically.

Strand3 : Language and its relationship to other

learning groups

F3.1 Use the foreign language to connect

knowledge with other learning groups. This is the

basis for opening up and developing students’

vision.

Indicators : (Write the details in items) 1. Observe instructions in manuals for various types of work, clarifications, explanations and descriptions heard and read. 2. Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles of reading. 3. Explain and write sentences and texts related to various forms of non-text information, as well as specify and write various forms of non-text information related to sentences and texts heard or read. 4. Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to and reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justifications and examples for illustration. 5. Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately. 6. Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/ issues/news and situations heard and read. 7. Analyse/discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais, and apply them appropriately. 8. Research/search for, make records, summarise and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

Communication 10 marks 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

30 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

Authentic 20 marks 1.1.1 1.1.2 1.1.3 1.1.4 2.2.1 2.2.2

Performance test 30 marks 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

Portfolio 10 marks 3.1.1

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

Reading skills to be assessed include Understanding facts and details, Identifying negative facts,

Locating referents, and Understanding vocabulary in context. Written reflection on the advanced level

reading passages whose marks will be determined by accuracy, correctness, and fluency of the language

will also be included.

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

Reading skills to be assessed include Making inferences, Determining purpose, and Recognizing

paraphrase and text organization.

ช่ือ .......................................................................... นามสกลุ................................................................. เลขที ่.........................

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท 33106 ครูผูสอน ม.นิมิตร กิตติบริรักษ ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 , ม.5 พสพ. ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จาํนวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะหเก่ียวกับโครงสรางของการแสดงเหตุผล ภาษาท่ีใชในการแสดงเหตุผล วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

เหตุและผล การอนุมานเหตุและผลท่ีสัมพันธ โครงสรางการแสดงทรรศนะ ความแตกตางระหวางทรรศนะของบุคคล ประเภท

ของทรรศนะ ลักษณะของภาษาท่ีใชแสดงทรรศนะ ปจจัยท่ีสงเสริมการแสดงทรรศนะ การประเมินคาทรรศนะ โครงสรางของ

การโตแยง หัวขอและเนื้อหาของการโตแยง กระบวนการโตแยง การวินิจฉัยเพ่ือตัดสินขอโตแยง ขอควรระวังในการโตแยง ความ

ตองการพ้ืนฐานของมนุษยกับการโนมนาวใจ ลักษณะภาษาและการพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ แนวทางการพัฒนา

ความสามารถการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา การเขียนเรียงความเก่ียวกับโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ การ

ใชภาษาใหงดงามโดยการเลือกสรรคํา การเรียบเรียงคํา คุณคาและความหมายของสํานวนไทยการอานวรรณคดี ศึกษาวรรณคดี

เรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา เรื่องสามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ เรื่องขัตติยพันธกรณี

โดยใชกระบวนการฝกฝนทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การสืบเสาะหาความรู การสืบคน

ขอมูล การคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาเรื่องท่ีอาน

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใช

ประโยชนในชีวิตประจําวัน มีนิสัยรักการอาน รักความเปนไทย ซ่ือสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ

และเห็นคุณคาการใชภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ

สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 8, 9 มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิฅ และมีนิสัยรักการอาน ตัวช้ีวัดท่ี 1 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 2 ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีอานในทุกๆดานอยางมีเหตุผล ตัวช้ีวัดท่ี 4 คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอาน และประเมินคาเพ่ือนําความรู ความคิดไปตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต ตัวช้ีวัดท่ี 5 วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงกับเรื่องท่ีอานและเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล

ตัวช้ีวัดท่ี 8 สังเคราะหความรูจาการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูตางๆมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ตัวช้ีวัดท่ี 9 มีมารยาทในการอาน

สาระท่ี 2 การเขียน

มาตรฐานการเรียนรู ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆไดตรงตามจุดประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตองมีขอมูลและ

สาระสําคัญชัดเจน

ตัวช้ีวัดท่ี 8 มีมารยาทในการเขียน

สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐานการเรียนรู ท 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 5

มาตรฐานท่ี ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก

ในโอกาสตางๆอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวช้ีวัดท่ี 1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู

ตัวช้ีวัดท่ี 5 พูดในโอกาสตางๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหม

สาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 4

มาตรฐานท่ี ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา

ตัวช้ีวัดท่ี 2 ใชคํา กลุมคําสรางประโยคตรงตามจุดประสงค

ตัวช้ีวัดท่ี 4 แตงบทรอยกรอง

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรรกรรม

มาตรฐานการเรียนรู ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5

มาตรฐานท่ี ท 5.1 เขาใจ แสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยางเห็นคุณคาและซาบซ้ึง และ

นํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 1 วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเบื้องตน

ตัวช้ีวัดท่ี 2 วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของ

สังคมในอดีต

ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใช

ในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 4 สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 5 รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบานและอธิบายภูมิปญญาทางภาษา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1.การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

30 คะแนน

มฐ. ท 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 6

มฐ. ท 2.1

ตัวชีว้ัดท่ี 1

มฐ. ท 4.1

ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 ,2 ,3, 4

2.สภาพจริง 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 8

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 5

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 5

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วีดท่ี 1

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 3, 4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

- ขุนชางขุนแผน

- ขัตติยพันธกรณี

-จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

- ความงามของภาษา -โวหารภาพพจน และการสรรคํา

- ความสัมพันธระหวางกับ

ความคิด

-บทบาทของภาษาในการพัฒนาความคิด

-วิธีคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคา และวิธีคิดแกปญหา

- เหตุผลกับภาษา

-โครงสรางของการแสดงเหตุผล

-การใชภาษาในการแสดงเหตุผล

-วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

- สํานวนไทย -ความหมายและการใชสํานวนไทย

-การวิเคราะหค

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทท่ี รายละเอียด

- สามกก

- จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

-ประเภทของฉันท

- การใชภาษาแสดงทรรศนะ

- โครงสรางและประเภทของทรรศนะ

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การวิเคราะหภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การใชภาษาในการโตแยง

- โครงสรางของการโตแยง

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการโตแยง

- กระบวนการโตแยงและการวินิจฉัยเพ่ือตัดสิน

การโตแยง

- การใชภาษาเพ่ือโนมนาวใจ

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการโนมนาว

- กลวิธีในการโนมนาวใจ

- การพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ

- การอธิบาย การบรรยาย

และการพรรณนา

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- จุดมุงหมาของการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- การวิเคราะหการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- วรรณคดีวิจักษ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- ภาษาเพ่ือพัฒนาการคิด ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- เว็บไซต http://www.google.co.th

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน (O-NET) รหัส ค 33106

ครูผูสอน 1. มิสอรนิภา ไทยแท 2. มิสพัชราวดี สายทองแท ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี มัธยมศึกษาปที 6/1-9 และ 5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ..........

คําอธิบายรายวิชา ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ สถิติและการวิเคราะหขอมูล การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม

การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล และการวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ลําดับและอนุกรมจํากัด ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต

ความนาจะเปน แผนภาพตนไม กฎการนับเบื้องตน แซมเปลสเปซ เหตุการณและความนาจะเปน

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดย ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใชเหตุผล

การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการ

เรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยาสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางาน อยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 : พีชคณิต มาตรฐานท่ี ค.4.1 : อธิบายและวิเคราะหแบบรูป(pattern)ความสัมพันธและฟงกชันตางๆ ตัวชี้วัด 4. เขาใจความหมายของลําดับและหาพจนท่ัวไปของลําดับจํากัด

5. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต หาพจนตางๆของลําดับเลขคณิตและ ลําดับเรขาคณิตและการนําไปใชได

มาตรฐานท่ี ค.4.2: ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร ( mathematic model) อ่ืนๆ แทนสถานการณตางๆตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช ตัวชี้วัด 6. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก ของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิตโดยใชสูตรและนําไปใชได

สาระท่ี 5. : การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐานท่ี ค. 5.1 : เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวชี้วัด 1. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงายๆ

2. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงแบนมาตรฐานและเปอรเซ็นไทลของขอมูล

3. เลือกใชคากลางท่ีเหมาะสมกับขอมูลและวัตถุประสงค มาตรฐานท่ี ค.5.2 : ใชวิธีการทางสถิติและความรูเก่ียวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล ตัวชี้วัด 1. นําผลท่ีไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชคาดการณท่ีกําหนดให 2. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณและนําผลไปใชคาดการณท่ี กําหนดได มาตรฐานท่ี 5.3 : ใชความรูเก่ียวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา ตัวชี้วัด 1. ใชขอมูลขาวสารและคาเฉลี่ยชวยในการตัดสินใจ 2. ใชความรูเก่ียวกับความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา

สาระท่ี 6. : ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการ นําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วัด 2. ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

3. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตองและชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอ่ืนๆ

6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

30 คะแนน

ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

2.สภาพจริง 20 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test / Performance Assessment) 30 คะแนน รายละเอียดการสอบ บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห

1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล 1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน

บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต 2.2 ลําดับเรขาคณิต

2. สอบปลายภาค (Final-test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห 1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล

1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต

2.2 ลําดับเรขาคณิต 2.3 หาผลบวก n พจน 2.4 อนุกรมเลขคณิต

2.5 อนุกรมเรขาคณิต บทท่ี 3. ความนาจะเปน แผนภาพตนไม 3.1 แผนภาพตนไม

3.2 กฎการนับ 3.3 แซมเปลสเปซ 3.4 เหตุการณ

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐานคณิตศาสตรเลม 4.ของสถานบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนฯ 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต 3. ขอสอบ O – Net ยอนหลังเรื่อง สถิติ ลําดับและอนุกรม และความนาจะเปน

4. หนังสือคณิตศาสตรของทุกสํานักพิมพตางๆท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียนเชน สถิติและการวิเคราะหขอมูล ลําดับและอนุกรมจํากัด ความนาจะเปน แผนภาพตนไม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Science IE Code: SC33106 Instructors: 1. Master Phongtorn Kaewyongphang 2. Master Patawee Srisawet

3. Miss Siripen Tanpleng Foreigner: 1. Miss Shirley Aldeguer Class Level: Secondary 6 and 5/9 Semester 2 Academic Year 2017

3 periods/week 60 periods/semester 1.5 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others ...............

Course Description:

To investigate and explain nature and evolution of fixed stars such as constellations, energy of stars, classification of stars, life cycle of stars and measuring star distances by using parallax method. To investigate and define evolution of galaxies and the universe such as star systems and star cluster, type of galaxies, formation and expansion of the universes. To investigate and describe evolution of the solar system such as overview of the solar system model, formation of the solar system, inner planets and outer planets and other objects in the solar systems. To investigate and define about benefit in launching of satellites, the launching of space ships, and space exploration by utilizing space ships and space stations.

Finally, the student will learn how to use the scientific process experiment, investigative process, and search for and accumulate data. To use discussion to create knowledge and develop the student’s thinking process, ability to understand more, ability to communicate from their learning, being capable of making decisions and finally, insight into the virtue of proper knowledge and applying it to one’s daily life, to have a scientific mind, moral, ethical and proper value.

The Learning Standard:

Strand Standard Astronomy and Space Standard Sc7.1:

Understanding of evolution of the stars, galaxies, the universe and the solar system; interrelationships and explain within the stars, galaxies, the universe, the solar system and their effects on living things on Earth; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge for useful purposes. (Indicators 1-3)

Strand Standard Standard Sc7.2:

Understanding of importance of launching of satellites, space ships space exploration by utilized for space exploration and natural resources for agriculture and communication; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge that could be ethically applied to life and the environment. (Indicators 4-6)

Indicators:

1. Search relevant information for and explain the constellation and evolution of fixed stars.

2. Search for relevant information and explain evolution of the galaxies and the expanding of the

universe.

3. Search for relevant information and explain formation and evolution of the solar system.

4. Search for relevant information and explain inner planets, outer planets and other objects in the

solar system.

5. Search for relevant information and explain the launching of satellites and benefits of satellites in

various respects.

6. Search for relevant information and explain the launching of space ships, space stations and

space explorations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

1. Communication 10 marks 1 - 6 30 marks 4 - 6

2. Authentic 20 marks

– Dictation 5 marks

– Presentation 10 marks

– Exercise and Assignments 5 marks

1 - 6

3. Performance test 30 marks 1 - 3

4. Portfolio 10 marks 1 - 6

Total 100 marks

Examinations

1. Performance Assessment (30 marks)

Unit 1: Stars, Galaxies and the Universe

- Constellations

- Energy of the stars

- Classification of stars and Life cycle of stars

- The Star systems

- Galaxies classifications

- Formation of the Universe: The Big Bang Theory, CMB dark matter and dark energy

Unit 2: The Solar Systems

- Models and formation of the solar system

2. Final Examination (30 marks)

Unit 2: The Solar Systems

- The inner planets outer planets in the Solar Systems

- Other objects in the Solar Systems

Unit 3: Observing and Exploring Space

- The launching of satellites and benefits of satellites

- Space ship space station and space explorations

References:

1. Text book and Hangouts

English Book: 1. My World of Earth Science (Astronomy)

2. Caroles Stott et al. Space from Earth to the Edge of the Universe, Dorling

Kindersley Limited, 2010.

(Link: http://en.bookfi.net/book/1371153)

Thai Book: ทวีศักดิ์ บุญบูชาไชย, หนังสือคูมือเตรียมสอบรายวิชาพ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร และ

อวกาศ ม. 4 – 6, สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา จํากัด.

2. The Internet and web sites

NASA : https://science.nasa.gov/science-news

สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) : https://www.narit.or.th/

สมาคมดาราศาสตรไทย (The Thai Astronomical Society): http://thaiastro.nectec.or.th/

ดาราศาสตร - LESA: ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร: http://www.lesa.biz/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Social Studies Code: SO 33111

Instructors: 1. Master Kreetha Tirawattayawat 2. Mr. Vijay Daneil

Class Level: Secondary 5 psp Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods / semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description:

The Social Studies course of Secondary 6 in semester 2 will primarily focus on the important

events that affected and/or changed our 21st century world. Exploring this syllabus through various

aspects as enthusiastic learners will not only broaden students’ knowledge, but also enhance students’

analytical and critical skills in the current world situation. Topics include but are not limited to: Terrorism

and Globalized World, Global Warming and Climate Change, Migrations and Refugees, The Asian Financial

Crisis, Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy, and, the newest and most

important for all Thai citizens, Thailand 4.0. In this course, students must possess the ability to think

incisively, to handle problems in both micro and macro terms, be able to process information that may

seem to be unrelated and find the ties that connect them. Students are responsible for studying the

assigned topics both inside and outside of class and will be expected to engage in discussion,

presentation, and analytical writing assignments. In addition to that, students will be able to gain more

understanding of how these events frame the way of the world and the way of living of its citizens.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 4: The 21st Century World History Sub-Strand:

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees 4. The Asian Financial Crisis 5. Sustainable Development and Sufficiency

Economy Philosophy 6. Thailand 4.0

So.4.1: Understanding of the meaning and significance of historical times and periods; and ability to avail of historical methodology for systematic analysis of various events.

So.4.2: Understanding of development of mankind from the past to the present; realizing the importance of relationships and continuous change of events, and ability to analyse their effects.

Indicators: (Write the details in items)

Strand 4: History (The 21st Century World History)

So.4.1.1 Be aware of the importance of historical times and periods indicating changes in the

development of mankind

(1) Identify crucial events occurred in the 21st century world.

(2) Responsible for studying topics both inside and outside of class and be able to organize and

present information of assigned topics in a coherent manner.

So.4.1.2 Create new bodies of historical knowledge through systematic application of historical

methodology

(1) Use and apply historical, political, economic, and security concepts, terms and facts learnt to

new contexts and issues.

(2) Observe, collect and extract relevant information from both primary, if possible, and

secondary resources (literary, numerical, diagrammatic, pictorial, and graphical forms).

So.4.2.2 Analyse various important events affecting social, economic and political changes leading to the

present world

(1) Able to explain and give opinions on topics through examination, writing assignments, and

group presentations.

So.4.2.4 Analyse the world situation of 21st century

(1) Analyse and cohere crucial causes, consequences, and relations between events occurred in

the 21st century world applying historical, political, economic, and security concepts, terms

and facts.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks So.4.1.1 30 marks So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Authentic 20 marks So.4.1.2

So.4.2.2

Performance test 30

marks

So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Portfolio 10 marks So.4.2.2

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. The Asian Financial Crisis 2. Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy 3. Thailand 4.0

References:

Subject’s supplementary sheets, Contemporary Issues in the 21st Century (Saint Gabriel’s College, 2nd

Edition 2017).

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ศาสนา รหัส ส 33112

ครูผูสอน มิสนิศากร วงศสินธพ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 5 พสพ ภาคเรียนท่ี 2 /2560

จาํนวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและวิเคราะหเก่ียวกับความสําคัญประวัติความเปนมา องคประกอบของศาสนาตางๆ ในเรื่อง ศาสดา หลักธรรม สาวก ผูสืบทอดศาสนา ศาสนพิธี และเปาหมายสูงสุดของชีวิตวิเคราะหและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ประกอบดวย ทุกข (ขันธ 5) สมุทัย (หลักกรรม ในเรื่อง นิยาม 5 และวิตก 3) นิโรธ (ภาวนา 4) มรรค (พระสัทธรรม 3 ปญญาวุฒิธรรม 4 พละ 5 อุบาสกธรรม 5) มงคล (สงเคราะหบุตร สงเคราะหภรรยาหรือสามี สันโดษ) พุทธศาสนสุภาษิต การสังคายนาพระไตรปฎก การปฏิบัติตนเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ การปฏิบัติตนเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม ศาสนพิธีเก่ียวกับพิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ หลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับวันสําคัญและเทศกาลสําคัญในพระพุทธศาสนา การเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ เปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม การพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาอันสงผลถึงการพัฒนาคน พัฒนาชาติและโลก ประวัติของศาสดาของศาสนาอ่ืนและหลักคําสอนพ้ืนฐาน

โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม ในการคิดวิเคราะหผลการเปลี่ยนแปลง ประเมิน เสนอแนะ สามารถสื่อสารและ ระบุสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางดานศาสนาท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน และนําเสนอองคความรูใหมอยางเปนระบบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปแกปญหาของตนเองและครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุขไมวาจะเปนบุคคลในศาสดาใด สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวน 6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ศาสนา มาตรฐาน ส. 1.1 เขาใจประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ โดยมี ศรัทธาท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข มาตรฐาน ส. 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฎิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี และธํารงพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีนับถือ ตัวช้ีวัด (รวม 6 ตัวช้ีวัด) ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 13 วิเคราะหหลักธรรมในกรอบพระพุทธศาสนา หรือหลักคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 15 วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก หรือคัมภีรของ ศาสนาท่ีตนนับถือและการเผยแผ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 21 วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และชักชวน สงเสริมสนับสนุนใหบุคคลอ่ืนเห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 1 ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดีตอสาวกสมาชิกในครอบครัวและคนรอบขาง ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 2 ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรม ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ

ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 4 วิเคราะหหลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวของกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ ของศาสนาท่ีตนนับถือ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัด ( ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัด ( ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน

ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ

13,21

ส.1.2 ตัวชี้วัดขอ 1

30 คะแนน

ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15

ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2,4

สภาพจริง 20 คะแนน

กลางภาค/ ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

2. สอบกลางภาค / สอบปฏบัิติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. ประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 13)

2. การปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี (ส.1.2ตัวชี้วัดขอ 1)

3. วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกัน (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 21)

3. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก (ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15)

2. ศาสนพิธี พิธีกรรมของแตละศาสนา (ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2)

3. วันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ (ส. 1.2 ตัวชี้วดัขอ 4)

หนังสือท่ีใชอางอิง และเอกสารประกอบการสอน

1. เอกสารใบงานความรูศาสนา

2. แบบฝกหัดศาสนา

3. ศาสนาโลก โดยธนู แกวโอภาส

4. ขอสอบเขามหาวิทยาลัย o-net สาระ ศาสนา

5. พระพุทธศาสนา ผศ.ดร.ธีระพงษ มีไธสง และคณะ

6. พระพุทธศาสนา4-6 โดยสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (แบดมินตัน) รหัส พ33206 ครูผูสอน มาสเตอรกุศล ทองนอก ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .... มัธยมศึกษาปท่ี 5/9 ภาคเรียนท่ี 2/2560 จาํนวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพ้ืนฐาน วิธีการเลนและประเภทการแขงขันกีฬาแบดมินตัน โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชื่อมโยง การฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบคน

เพ่ือใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงม่ันในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอผูอ่ืนและสังคม 3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนําหลักการแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ

กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. ออกกําลังกายและเลนกีฬาท่ีเหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของ

ทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปนแนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจําวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬา ดวยความมีน้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุก

โอกาส จนเปนบุคลิกภาพท่ีดี 4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

1. ความตั้งใจ 2. ความรับผิดชอบ 3. สนใจตอกระบวนการเรียนรู

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) (…30……… คะแนน) เกณฑการใหคะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด

1.การมีสวนรวมในการแขงขันกีฬา 2. การฝกซอม สนใจในการแขงขัน 3. ผลงานในการแขงขัน

3. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( ……30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การสง – เสิรฟลูก (15) - สงลูกสั้นหนามือ 5

- สงลูกสั้นหลังมือ 5

- สงลูกยาวหนามือ 5 - ทักษะการตีลูก - การตีลูกโยน 5

แบดมินตัน (15) การตีลูกดาด 5

จํานวนครั้ง / 1 นาที 5 4. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ทําใบงานเทคนิคทักษะชั้นสูง 10

1. ความถูกตองของขอมูล = 3 คะแนน 2. รูปแบบการนําเสนอของขอมูล และความคิด

สรางสรรค = 3 คะแนน 3. ความปราณีต สวยงาม สะอาด = 2 คะแนน 4. การสงงานตรงตามเวลาท่ีกําหนด = 2 คะแนน

คะแนนรวม 10

5. สอบปลายภาค ………20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การแขงขันแบดมินตัน - ทักษะการตีแบดมินตัน 5

- รูกฎ กติกา กีฬาแบดมินตัน 5

- มีน้ําใจนักกีฬา 4

- การใช – เก็บอุปกรณ 3

- ความรูท่ัวไปเก่ียวกับแบดมินตัน 3

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติมหนังสือแบบเรียน วพ แบดมินตัน

เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติม

จากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (ฟุตซอล) รหัส พ.33206

ครูผูสอน 1. มาสเตอร สงา จาระนัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ... มัธยมศึกษาปที่ 5/9 ภาคเรียนที่ 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สปัดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัตกิฎกติกา ทักษะพื้นฐาน วิธีการเลนกีฬาฟุตซอลเปนทีมและการ

ทดสอบวายน้าํ

โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชือ่มโยง การฝกปฏิบตัิ กระบวนการกลุม และกระบวนการสบืคน

เพื่อใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงมั่นในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การ

ใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติที่ดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คํานึงถึงผล ที่เกิดตอผูอ่ืนและสังคม

3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด

4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนาํหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิา มี

น้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชืน่ชมในสนุทรียภาพของการกีฬา

1. ออกกําลังกายและเลนกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอยางสม่าํเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลด

ความเปนตัวตน คํานึงถึงผลที่เกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปน

แนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจาํวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬาดวยความมนี้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุกโอกาส จน

เปนบุคลิกภาพที่ด ี

4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชืน่ชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

คะแนนการส่ือสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจตอกระบวนการเรียนรู 5 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) หัวขอเรื่อง การรับสงบอล(10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดีมาก 9-10

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดี 7-8

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การพาบอลเคล่ือนท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองดีมาก 9-10

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองด ี 7-8

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การยิงประตูท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การยิงประตูไดถูกตองดีมาก 9-10

การยิงประตูไดถูกตองดี 7-8

การยิงประตูไดถูกตองปานกลาง 5-6

คะแนนสอบตามสภาพจริง 25+5 คะแนน หัวขอเรื่อง..................การเดาะบอล...............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 5

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด 5

หัวขอเรื่อง............การหยุดบอลและการครองบอล...... ( ..15 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 15

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด

หัวขอเรื่อง..................อาน คดิ วิเคราะห ( ..5 คะแนน)

คะแนนสอบแฟมสะสมงาน 10 คะแนน

หัวขอเรื่อง....................กฏกตกิา.............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ปฏิบัติตามกฏกติกาอยางถูกตอง 5

ตอบคําถามไดอยางถูกตอง 5

การประเมินปลายภาค (20 คะแนน)

หัวขอเรื่อง การเลนทีม (20 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การมีสวนรวมกับทีม 5

การแสดงออกถึงทักษะกีฬาฟุตซอล 5

การปฏบิัติตามกฏกติกาของการเลนกีฬาฟุตซอล 5

ความมีน้ําใจเปนนักกีฬา 5

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือแบบเรียน วพ ฟุตซอล เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติมจากอินเตอรเน็ต หองสมุด

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Illustration Design Code ง 33106

Instructors : Miss Nanattarak Aruntat

Class Level : Secondary 5 psp Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text and Graphics into interesting presentations.

This course is designed teach the student basic graphics design. The program that will be used is

Adobe Illustrator. Adobe Illustrator is a program primarily used to create what is often called outline art.

Examples of outline art are a typical company logo, or a technical drawing, or the customized lettering

on virtually any commercial product. It is called outline art because you simply

Students will learn how to create and edit images and design, for example, create logos, graphics,

cartoons and fonts for the photo-realistic layouts of Adobe Photoshop, three dimensional and magazine

front covers. They will also study many techniques to design new pictures creatively and how to

incorporate their work into other document. They will be encouraged to work independently and as

they grow in confidence, use their own creative skills.

Students work through the course using your content or deliverable as part of the exercise. That

way, after the course, student will already have some or all of the project complete.

Standard:

Strand standard

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable

technological management Strand standard

Strand 3 :Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper

perception of future career; technological application for occupational

development; endowment with morality and favorable attitude towards

occupations

Indicators :

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the

benefit of life, society and the environment, and sustainably mange technologies

through methodology of clean technologies.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks. O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects.

O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks. O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

O 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and responsibility.

O 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

O 4.1.3 Have experience in occupations in which they have aptitude and interest.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4, 5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2, 3)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

- Using Adobe Illustrator program to create assignment

Cartoon and Photo-realistic layout creation

Three Dimensional creation

Logo creation

2. Final Examination (20 Marks )

Topic / subject matter:

- Poster Creation

Creating Poster by using Adobe Illustrator

The concept of Poster

Poster process

References

Topic / Subject matter

- http://www.istylebox.com/illust%20tutorial1.html

- http://www.webthaidd.com/illustrator/

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู วิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม รหัส ค 33206

ครูผูสอน 1. มิสศจีกาญจน ศิรทรัพยไพสิฐ 2. มาสเตอรจักรพล สาใจ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ม.6/1-7 และ ม.5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาค จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและการฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้

เวกเตอรในสามมิติ เวกเตอร การบวกและการลบเวกเตอร การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร เวกเตอรในระบบ

แกนมุมฉาก ผลคูณเชิงสเกลาร ผลคูณเชิงเวกเตอร

จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน สมบัติเชิงพีชคณิตของจํานวนเชิงซอน กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน

จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงข้ัว สมการพหุนาม

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนํา

ประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค

รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี

วิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 6 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 3 เรขาคณิต

5. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับเวกเตอรในสามมิติ

6. หาผลบวกเวกเตอร ผลคูณเวกเตอรดวยสเกลารและผลคูณเชิงเวกเตอรได

7. หาขนาดและทิศทางของเวกเตอรท่ีกําหนดใหได

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัดท่ี 10. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับจํานวนเชิงซอน

11. นําสมบัติตางๆเก่ียวกับจํานวนเชิงซอน การดําเนินการไปใชแกปญหาได

12. นําความรูเรื่องจํานวนเชิงซอนไปแกสมการพหุนามตัวแปรเดียวท่ีมีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มดีกรีไมเกินสาม

และหารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอนเม่ือ n เปนจํานวนเต็มบวกได

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลาย

ภาค

ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

2.สภาพจริง 20 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. เวกเตอรในสามมิติ

1. การบวกและการลบเวกเตอร

2. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

4. ผลคูณเชิงสเกลาร

5. ผลคูณเชิงเวกเตอร

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. เวกเตอรในสามมิติ

1. การบวกและการลบเวกเตอร

2. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

4. ผลคูณเชิงสเกลาร

5. ผลคูณเชิงเวกเตอร

บทท่ี 2. จํานวนเชิงซอน

1. จํานวนจินตภาพ

2. การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเชิงซอน

3. การเทากันของจํานวนเชิงซอน

4. สังยุคของจํานวนเชิงซอน

5. คาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน

6. กราฟของจํานวนเชิงซอน

7. การเขียนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงข้ัว

8. การหารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอน

9. สมการพหุนาม

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม คณิตศาสตร เลม 1 และ 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป

ท่ี 5 ของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต

หนังสือคณิตศาสตรของสํานักพิมพตาง ๆ ท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ฟสิกสเพ่ิมเติม รหัส ว33206

ครูผูสอน 1. ม. อวิรุทธ วิเศษชาติ 2. ม.วีระชัย ญาณเดชอังกูร 3. ม. พงษธร แกวยองผาง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-5 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห อธิบาย หลักการของ ปริมาณท่ีเก่ียวของกับไฟฟากระแสสลับ ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุและตัว

เหนี่ยวนําใน วงจรไฟฟากระแสสลับกําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ การคนพบอิเลกตรอน แบบจําลองอะตอมของทอม

สัน การทดลองของรัดเทอรฟอรดการทดลองดานสเปกตรัม ปรากฏการณโฟโตอิเล็กตริก ทฤษฎีอะตอมของโบร การ

ทดลองของฟรังกซและเฮริตซ รังสีเอกซความไมสมบรูณของทฤษฎีอะตอมของโบร ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค กลศาสตร

ควอนตัม เลเซอร ตัวนํา ก่ึงตัวนํา และฉนวน การพบกัมมันตภาพรังสี การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส การสลายของนิวเคลีย

กัมมันตภาพรังสี ไอโซโทปเสถียรภาพของนิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร ประโยชนของกัมมันตภาพรังสีและพลังงาน

นิวเคลียร กัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจาก กัมตภาพรังสีและการปองกัน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร

การสืบคนขอมูล การสํารวจตรวจสอบ

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ ความคิด มีความสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู การตัดสินใจ การนําความรูไปใช

ประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ เพ่ิมเติม

มาตรฐาน ว 9.7 เขาใจธรรมชาติของ ไฟฟาสถิต ไฟฟากระแสตรง แมเหล็กไฟฟา ไฟฟากระแสสลับ มีกระบวนการ

สืบเสาะหา ความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งท่ี เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด ว 9.7 ขอ 1

มาตรฐาน ว 9.8 เขาใจธรรมชาติของ ฟสิกสอะตอม ฟสิกสนิวเคลียร คลื่นแมเหล็กไฟฟา มีกระบวนการสืบเสาะหา

ความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งท่ี เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด ว 9.8 ขอ 2-10

รวม 10 ตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัด

1. อธิบายลักษณะของไฟฟากระแสสลับ การผลิตไฟฟากระแสสลับ และปริมาณท่ีเก่ียวของ

2. อธิบายการคนพบอิเล็กตรอน และโครงสรางอะตอมตามแบบจําลองอะตอมของทอมสันและรัทเทอรฟอรด

3. อธิบายสมมติฐานของพลังค ทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนของโบรและระดับพลังงานของอะตอม

4. อธิบายปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกและปรากฏการณคอมปตันซ่ึงเปนปรากฏการณท่ีสนับสนุนวาแสงแสดงสมบัติ

ของอนุภาคได

5. อธิบายสมมติฐานของเดอบรอยล และทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค

6. อธิบายโครงสรางอะตอมตามทฤษฎีกลศาสตรควอนตัม และหลักของความไมแนนอน

7. อธิบายกัมมันตภาพรังสี และการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี

8. อธิบายหลักการท่ีเก่ียวของการสลายของธาตุกัมมันตรังสี

9. อธิบายไอโซโทปและการแยกไอโซโทป แรงนิวเคลียร พลังงานยึดเหนี่ยว และ เสถียรภาพของนิวเคลียส

10. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียรและพลังงานนิวเคลียรท่ีเกิดข้ึนรวมท้ังการใชประโยชน ประโยชนและโทษของรังสีและ

การปองกัน

การวัดและประเมินผล

คะแนนระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี(ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน 1-10

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

5-10 สภาพจริง 20 คะแนน 1-10

กลางภาค 30 คะแนน 1-4

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 1-10

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

ไฟฟากระแสสลับ

ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนําในวงจรไฟฟากระแสสลับ

กําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ

ฟสิกสอะตอม

อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน

แบบจําลองอะตอม

สเปกตรัมของอะตอม

ทฤษฎีอะตอมของโบร

ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกและปรากฏการณคอมปตัน

สอบปลายภาค 30 คะแนน

ฟสิกสอะตอม

สมมติฐานของเดอบรอยล

ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค

ฟสิกสนิวเคลียร

การคนพบกัมมันตรังสี

การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส

การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี

ไอโซโทป

เสถียรภาพของนิวเคลียส

ปฏิกิริยาของนิวเคลียร

ประโยชนและโทษของรังสแีละการปองกัน

หนังสืออางอิงและเอกสารประกอบการสอน

1. หนังสือเรียนวิชาฟสิกสพ้ืนฐานและเพ่ิมเติมฟสิกส เลม 4-5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

กระทรวงศึกษาธิการ ตามหลักสูตรการศึกษาพ้ืนฐานป 2551

2. Physics for science and engineers with modern physics serway beicher

3. เทคนิคตะลุยโจทยเอนทรานซ ม. 4-6 3000 ขอ เลม 2 อ. กฤตนัย จันทรจตุรงค

ฟสิกส หลักสูตรแหงชาติระดับมัธยมศึกษา (GCSE) ของประเทศอังกฤษ

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา เคมี รหัส ว 33225 ครูผูสอน มิสกรกนก ศรีมันตะ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 5 พสพ ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาค จํานวน 1.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ เพ่ิมเติม คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา ชนิด โครงสรางและหนาท่ีของเพปไทดและโปรตีน กรดอะมิโนและพันธะเพปไทด การแปลงสภาพโปรตีน การทํางานของเอนไซม ชนิด โครงสราง สมบัติและปฏิกิริยาของคารโบไฮเดรต โครงสราง สมบัติและปฏิกิริยาไขมันและน้ํามัน สเตอรอยด ไข ฟอสโฟลิพิด โครงสรางของนิวคลีโอไทด กรดนิวคลีอิก ศึกษา ปฏิกิริยาเคมีกับการถายโอนอิเล็กตรอน การดุลสมการรีดอกซ เซลลไฟฟาเคมี ประโยชนของเซลลกัลวานิก ประโยชนของเซลลอิเล็กโทรไลต การผุกรอนของโลหะและการปองกัน และความกาวหนาทางเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับเซลลไฟฟาเคมี โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 9 ตัวช้ีวัด) สาระเพ่ิมเติมเคมี

1. สารชีวโมเลกุล มาตรฐาน ว. 10.5 ตัวชี้วัดท่ี 1 – 4 2. ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี มาตรฐาน ว. 10.5 ตัวชี้วัดท่ี 5 – 9 มาตรฐาน ว 10.5 เขาใจลักษณะของ สารชีวโมเลกุล ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี มีกระบวนการสืบ เสาะหา ความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด 1. อธิบายโครงสรางของโปรตีน คารโบไฮเดรต ลิพิด และกรดนิวคลีอิก 2. บอกสมบัติ และวิธีการทดสอบไขมัน โปรตีนและคารโบไฮเดรต 3. บอกประโยชนของโปรตีน คารโบไฮเดรต ลิพิด และกรดนิวคลีอิก 4. ทําการทดลอง รวบรวมขอมูล แปลความหมายขอมูล และสรุปผลการทดลองในเรื่องตอไปนี้ การทดสอบ โปรตีนในอาหาร การแปลงสภาพโปรตีน สมบัติของเอนไซน สมบัติบางประการของคารโบไฮเดรต การละลายของไขมัน และน้ํามันในตัวทําละลายบางชนิด ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส น้ํามันพืชดวย โซเดียมไฮดรอกไซด

5. อธิบายปฏิกิริยารีดอกซ ตัวออกซิไดส ตัวรีดิวส ในแงการถายโอนอิเล็กตรอนและพิจารณาเลขออกซิเดชัน 6. ดุลสมการรีดอกซ โดยใชเลขออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยาได 7. อธิบายเซลลกัลวานิก การเขียนแผนภาพ และการคํานวณศักยไฟฟา ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 8. อธิบายเซลลอิเล็กโทรไลต และสามารถบอกความแตกตางของเซลลกัลวานิกกับเซลลอิเล็กโทรไลตได 9. ทําการทดลอง บันทึกผลการทดลอง แปลความหมายขอมูลและสรุปผลการทดลองในเรื่องตอไปนี้

การถายโอนอิเล็กตรอนในเซลลกัลวานิก การชุบตะปูดวยสังกะสี ปฏิกิริยาระหวางโลหะกับสารละลาย ของโลหะไอออน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน 1 – 3

30 คะแนน

5 - 9

2.สภาพจริง …20… คะแนน 3-4 , 7-9

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน 1 - 4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 3 , 7-8

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ สารชีวโมเลกุล

- โครงสรางของโปรตีน และ กรดอะมิโน คารโบไฮเดรต ลิพิด และกรดนิวคลีอิก

- สมบัติ และวิธีการทดสอบไขมัน โปรตีนและคารโบไฮเดรต

- ประโยชนของโปรตีน คารโบไฮเดรต ลิพิด และกรดนิวคลีอิก

- การแปลงสภาพโปรตีน สมบัติของเอนไซม

- การละลายของไขมัน และน้ํามันในตัวทําละลายบางชนิด

- ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสน้ํามันพืช ดวยโซเดียมไฮดรอกไซด

รายละเอียดการสอบ ไฟฟาเคมี

- ปฏิกิริยารีดอกซ ตัวออกซิไดส ตัวรีดิวส

- ดุลสมการรีดอกซ โดยใชเลขออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยา

- เซลลกัลวานิกและเซลลอิเล็กโทรไลต

- การถายโอนอิเล็กตรอนในเซลลกัลวานิก

- การเขียนแผนภาพเซลลกัลวานิก

- การคํานวณศักยไฟฟา

- ปฏิกิริยาระหวางโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือเรียนเพ่ิมเติมวิชา เคมี เลม 5 สสวท. และ เอกสารประกอบการสอนวชิาเคมี ม.5 พสพ

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา เคมี รหัส ว 33226 ครูผูสอน มิสกรกนก ศรีมันตะ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6/1 – 6/5 และมัธยมศึกษาปท่ี 5 พสพ ภาคเรยีนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ เพ่ิมเติม คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและทดลองสมบัติบางประการของแกส ทฤษฎีจลนของแกส ศึกษาและทดลองเก่ียวกับความสัมพันธของความดัน อุณหภูมิและปริมาตรของแกส คํานวณหาปริมาตร ความดันและอุณหภูมิของแกสโดยใชกฎของบอยล กฎของชารล กฎของเกยลูสแซค กฎรวมแกส กฎแกสสมบูรณแบบ ศึกษาทดลองการแพรและอัตราการแพรของแกส การคํานวณเก่ียวกับกฎการแพรของแกรแฮม ศึกษาวิเคราะหสมบัติของของเหลวเก่ียวกับความตึงผิว การระเหย ความดันไอ ความสัมพันธระหวางความดันไอของของเหลวกับจุดเดือดของของเหลว สมบัติของของแข็งและการจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง การหลอมเหลวและการระเหิด ศึกษาเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับแกส ของแข็ง ของเหลว

ศึกษาและสืบคนขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมแร การถลุงแรเพ่ือนําไปใชประโยชน การนํามาใชประโยชนของธาตุและสารประกอบสําคัญในประเทศไทย อุตสาหกรรมการผลิตและการใชประโยชนจากโซเดียมคลอไรดและอุตสาหกรรมปุย โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด) (สาระเพ่ิมเติมเคมี ) สาระเพ่ิมเติมท่ี 10 เคมีเพ่ิมเติม มาตรฐานท่ี ว 10.6 เขาใจลักษณะของธาตุและ สารประกอบในอุตสาหกรรม มีกระบวนการสืบ เสาะหา ความรูและ จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู และนํา ความรูไปใชประโยชน ตัวช้ีวัด

1. อธิบายสมบัติบางประการของของแข็ง และสมบัติของของเหลวเก่ียวกับความตึงผิว การระเหยและการเกิดความดันไอ ความสัมพันธระหวางความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว

2. อธิบายสมบัติบางประการของแกสโดยใชทฤษฎีจลนของแกส 3. อธิบายความสัมพันธระหวางอุณหภูมิ ความดัน ปริมาตรของแกส และใชกฎตางๆของแกส ไดแก กฎของบอยล กฎ

ของชารล กฎของเกยลูสแซค กฎรวมแกส และกฎแกสสมบูรณแบบ คํานวณหาปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจํานวนโมลหรือมวลของแกส

4. อธิบายความสัมพันธระหวางการแพรของแกสกับมวลโมเลกุล รวมท้ังสามารถเปรียบเทียบอัตราการแพร และ คํานวนณอัตราการแพรผานของแกส

5. อธิบายหลักการถลุงแรดีบุก ทองแดง พลวง สังกะสี และแคดเมียม พรอมท้ังเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึน และอธิบายวิธีสกัดธาตุแทนทาลัม ไนโอเบียม และเซอรโคเนียม และบอกประโยชนของดีบุก ทองแดง พลวง สังกะสี แคดเมียม แทนทาลัม ไนโอเบียมและเซอรโคเนียม

6. อธิบายกระบวนการผลิตปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยยูเรีย และปุยฟอสเฟต ท่ีเกิดข้ึนจริงในโรงงานอุตสาหกรรมปุย 7. อธิบายกระบวนการผลิตเกลือสมุทร และเกลือสินเธาว ตลอดจนผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนจากการผลิตเกลือ

8. อธิบายกระบวนการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด และกาซคลอรีน โดยวิธีตาง ๆ การผลิตสารฟอกขาว ผงชูรส และโซดาแอซ 9. อธิบายผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท่ีเกิดจากอุตสาหกรรมตางๆ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1 – 5 คะแนนเต็ม

30

คะแนน

5 – 6, 8 - 9

2.สภาพจริง 20 คะแนน 3 – 6

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1 – 4

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 5 – 8

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

แกส ทฤษฎีจลนของแกส กฎของชารลและกฎของบอยล เกยลูสแซค กฎรวมของแกส กฎของแกสสมบูรณแบบ การแพรของแกส ของเหลว แรงตึงผิวและการระเหยความดันไอและจุดเดือดของของเหลว

ของแข็ง สมบัติของของแข็ง

2. สอบปลายภาค (Final Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การถลุงแรดีบุก พลวง สังกะสี แคดเมียม

วิธีสกัดธาตุแทนทาลัม ไนโอเบียม และเซอรโคเนียม วิธีการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด และกาซคลอรีน การผลิตสารฟอกขาว ผงชูรส และโซดาแอซ

อุตสาหกรรมปุย ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยยูเรีย และปุยฟอสเฟต การถลุงแรดีบุก ทองแดง พลวง สังกะสี แคดเมียม วิธีสกัดธาตุแทนทาลัม ไนโอเบียม และเซอรโคเนียม

การผลิตเกลือสมุทร และเกลือสินเธาร

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม หนังสือเรียนวิชาเคมี (สสวท) , หนังสือเรียนวิชาเคมี (ทบวงมหาวิทยาลัย) และเอกสารประกอบการสอนวิชาเคมี

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ชีววิทยาเพ่ิมเติม รหัส ว 33245 ครูผูสอน มิสอนุรักษ พฤกษมาศ ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 5 พสพ. ภาคเรียนท่ี 2/2560 จาํนวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ.................................................... คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห อธิบาย การถายทอดทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรม การคนพบกฎการถายทอดทางพันธุกรรม ลักษณะทาง

พันธุกรรมท่ีนอกกฎของเมนเดล การถายทอดลักษณะบางประการของยีนและออโตโซม ยีน และ โครโมโซม การถายทอดยีนและโครโมโซม การคนพบสารพันธุกรรม องคประกอบทางเคมีของ DNA และ

RNA โครงสรางของ DNA คุณสมบัติของสารพันธุกรรม โครงสรางของ RNA โครงสรางของ DNA ใน Prokaryotic และ Eukaryotic cell การเกิด Mutation โครโมโซมของคนกับการกําหนดเพศ

พันธุศาสตรและเทคโนโลยีทาง DNA พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห DNA และ การศึกษาจีโนม การประยุกตใชเทคโนโลยี DNA ความปลอดภัยของเทคโนโลยี DNA พฤติกรรมของสัตว กลไกการเกิดพฤติกรรม ประเภทพฤติกรรมของสัตว ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับการพัฒนาการของระบบประสาท โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม สาระเพ่ิมเติม มาตรฐาน ว11.5 เขาใจลักษณะของ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม พันธุศาสตรและเทคโนโลยีทางดีเอนเอ การเคลื่อนท่ีของสิ่งมีชีวิต และพฤติกรรมของสัตว มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและ จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ตัวช้ีวัด 1. อธิบายกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรมท้ังกฎเมนเดลและนอกกฎเมนเดล การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ 2. อธิบายความของเทคโนโลยีทางดีเอนเอ กระบวนการสรางดีเอนเอรีคอมบิแนนท จีโนม และการศึกษาจีโนม 3. สืบคนขอมูล อภิปรายและเปรียบเทียบการโคลนยีนโดยอาศัยพลาสมิดและเทคนิคพีซีอาร 4. อภิปรายและวิเคราะหการนําขอมูลทางดีเอนเอ ไปประยุกตใชประโยชนในดานตางๆ 5. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับ พฤติกรรมของสัตว กลไกการเกิดพฤติกรรม พฤติกรรมท่ีมีมาแตกําเนิด พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู ความสมัพันธของระบบประสาทกับพฤติกรรม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1-5

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

3-5

2.สภาพจริง 20 คะแนน 1-5

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1-2

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 1-5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

- ลักษณะทางพันธุกรรม

- การคนพบกฎการถายทอดทางพันธุกรรม

- ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีนอกกฎของเมนเดล

- การถายทอดลักษณะบางประการของยีนและออโตโซม

2. ยีนและโครโมโซม

- การถายทอดยีนและโครโมโซม

- การคนพบสารพันธุกรรม

- องคประกอบทางเคมีของ DNA และ RNA กับคุณสมบัติทางพันธุกรรม

- โครงสรางของ DNA ใน Procaryotic cell และ Eucaryotic cell

- การเกิดและผลกระทบของ Mutation

- โครโมโซมกับการกําหนดเพศ

2. สอบปลายภาค (Final Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. พันธุศาสตรและเทคโนโลยีทางดีเอนเอ

- พันธุวิศวกรรม

- การโคลนยีน

- การวิเคราะหดีเอนเอ และ การศึกษาจีโนม

- การประยุกตใชเทคโนโลยีทางดีเอนเอ

2. พฤติกรรมของสัตว

- กลไกการเกิดพฤติกรรม

- ประเภทของพฤติกรรมสัตว

- ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับการพัฒนาของระบบประสาท

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- โครงการตําราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมูลนิธิ สอวน. ชีววิทยา

- เอกสารประกอบการเรียนชีววิทยา ม.6 โรงเรียนเซนตคาเบรียล

- Campbell, N. A. and Reece, J. B. Biology 7thed. Pearson Education, Inc. Publishing as Benjamin

Cumming, San Francisco.

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ชีววิทยา รหัส ว 33246

ครูผูสอน มิสอนุรักษ พฤกษมาศ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จาํนวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห อธิบาย

การเคล่ือนท่ีของส่ิงมีชีวิต การเคลื่อนท่ีของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว การเคลื่อนท่ีของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง การเคลื่อนท่ี

ของสัตวมีกระดูกสันหลัง ระบบโครงรางแข็งและระบบกลามเนื้อของคน การเคลื่อนไหวในพืช

มนุษยกับความย่ังยืนของส่ิงแวดลอม ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

ปญหาและการจัดการ ชนิดพันธุตางถ่ินท่ีสงผลกระทบตอระบบนิเวศ ปญหาอุณหภูมิของโลก

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการ

อภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของ

การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ เพ่ิมเติม

มาตรฐาน ว11.4 เขาใจลักษณะของ การสืบพันธของสิ่งมีชีวิต การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การรับรูและการตอบสนองตอ

สิ่งเราของสิ่งมีชีวิต ระบบตอมไรทอ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและ จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรู

ไปใชประโยชน

ตัวช้ีวัด

1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับ การเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิต protozoa

2. รวมอภิปรายเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีของสัตวไมมีกระดูกสันหลังท่ีไมมีโครงรางแข็ง สัตวไมมีกระดูกสันหลังท่ีมีโครง

รางแข็ง

3. ศึกษาและอธิบายเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีของสัตวมีกระดูกสันหลัง

4. มีความรูความเขาใจการเคลื่อนไหวของพืช

5. มีความรูความเขาใจประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาและการจัดการ การใชประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุตางถ่ินท่ีสงผลกระทบตอระบบนิเวศ ปญหาอุณหภูมิของโลก

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1-5

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

5

2.สภาพจริง 20 คะแนน 1-5

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1-4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 1-5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. การเคลื่อนท่ีของ Protozoa

2. การเคลื่อนท่ีของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

3. การเคลื่อนท่ีของสัตวมีกระดูกสันหลัง และของคน

4. การเคลื่อนไหวในพืช

2. สอบปลายภาค (Final Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

2. การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาและการจัดการ

3. ชนิดพันธุตางถ่ินท่ีสงผลกระทบตอระบบนิเวศ

4. ปญหาอุณหภูมิของโลก

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- โครงการตําราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมูลนิธิ สอวน. ชีววิทยา

- เอกสารประกอบการเรียนชีววิทยา ม.5พสพ. โรงเรียนเซนตคาเบรียล

- Campbell, N. A. and Reece, J. B. Biology 7thed. Pearson Education, Inc. Publishing as Benjamin

Cumming, San Francisco.

Course Outline and Evaluation and Assessment

Course Title : English IE. 2 (Reading) Course Code: EN33205

Instructors : 1. Mr Charinwit Seedanont 2. Mr Noppadol Chuencharoensuk

Class Level : Secondary 5 psp Semester 2 Academic year 2017

2 periods/ week 40 periods/semester (Class 5/9)

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

English Reading under the subject code EN33205 is of the basis that will challenge students’

abilities in dealing with English Test of Proficiency. This aims to ameliorate students’ skills in all aspects

when struggling with either familiar or unfamiliar matters, acquired online and in printed medias.

The in – class activities are to help students undergo those actual tests through discussion. Their

tasks of certain quantities are suggested to be completed on their own, for the discussion may take time

and be beneficial to the skill development.

Note that all in-class and extra exercises are to motivate the students’ honesty, responsibility,

discipline, attempt, and their inquisitive mind in learning. To achieve, they need to have precise work,

self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude towards learning

English.

Basic Standard of Learning :

Component : Standard :

F 1 Language for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret what

has been heard and read from various types of

media, and ability to express opinions with

proper reasoning.

F 2 Language and Culture F2.2 Appreciation of similarities and differences

between language and culture of native and

Thai speakers, and capacity for accurate and

appropriate use of language.

F 3 Language and Relationship with Other

Learning Areas

F3.1 Usage of foreign languages to link knowledge

with other learning areas, as foundation for

Component : Standard :

further development and to seek knowledge and

widen one’s world view.

F 4 Language and Relationship with

Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various

situations in school, community and society.

F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for

further education, livelihood and exchange of

learning with the world community.

Indicators :

F1.1.2 Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles

of reading.

F1.1.4 Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to and

reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justification and examples

for illustration.

F2.2.2 Compare the differences/similarities between the festivals, celebrations and traditions of native

speakers and those of Thai.

F3.1.1 Research/search for, make records, summarizes and express opinions about the data related to

other learning areas, and present then through speaking and writing.

F4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom, school,

community and society.

F4.2.1 Disseminate/ convey to the public data and news about the school, community and the local

area/ the nation in foreign languages

Evaluation and Assessment

During the course Indicators (Mid-term) Final

examination

Indicators

(Final examination)

Communication

10 marks

F1.1.2, F1.1.4

30 marks

F1.1.2, F1.1.4

Authentic

20 marks

F2.2.2 F2.2.2

Performance test

30 marks

F3.1.1 F3.1.1

Portfolio

10 marks

F4.1.1, F4.2.1 F4.1.1, F4.2.1

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Critical thinking skill remains the essential key to tackle all contents available in the course.

Cartoon strips, impressive quotes, and everyday – life articles are main matters for the test.

However, there are parts to be tested on their coherences and their responsibilities: cloze tests

and semantics.

2. Final Examination (30 marks)

The assessment aims to evaluate the progress of students’ critical thinking skill through matters

discussed in class – identical or unseen. There are cartoon strips, quotes, some excerpts of

literary works, articles in magazines, and also their vocabulary acquisition. -

References :

1. English Tests of Proficiency Compilation I

2. IELTS Language Practice by M. Vince & A. French

3. English by Newspaper by T. Fredrickson & P. Vedel

4. Active Skills for Reading 3 by Anderson

5. Highlight of Reading and Writing 6 by L. Kesornkam & S. Suwannaaksorn

6. Pragmatics by G. Yule

7. Concentrate of Critical Reading 6A by W. Rangabtook & S. Porsattayarak

8. Total English Upper Intermediate: Student’s Book by R. Acklam & A. Crace

9. Mastery by G.Valcourt & L.Wells

10.Interactions2: Reading by P.Heartmann & E.Kirn

Course Outline and Evaluation and Assessment

Course Title : English IE. 2 (Reading) Course Code: EN33206

Instructors : 1. Mr Charinwit Seedanont 2. Mr Noppadol Chuencharoensuk

Class Level : Secondary 5 psp Semester 2 Academic year 2017

2 periods/ week 40 periods/semester (Class 5/9)

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

EN32206 is designed to ease up students’ practical skills in applying their English Reading skills for

their higher education.

To do so, students are required to do some research as to validate their statements made at the

very beginning of the semester. It is required that there be evaluative skill beyond information thought

related to supporting their research.

Note that all in-class and extra exercises are to motivate the students’ honesty, responsibility,

discipline, attempt, and their inquisitive mind in learning. To achieve, they need to have precise work,

self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude towards learning

English.

Basic Standard of Learning :

Component : Standard :

F 1 Language for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret what

has been heard and read from various types of

media, and ability to express opinions with

proper reasoning.

F 2 Language and Culture F2.2 Appreciation of similarities and differences

between language and culture of native and

Thai speakers, and capacity for accurate and

appropriate use of language.

F 3 Language and Relationship with Other

Learning Areas

F3.1 Usage of foreign languages to link knowledge

with other learning areas, as foundation for

further development and to seek knowledge and

Component : Standard :

widen one’s world view.

F 4 Language and Relationship with

Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various

situations in school, community and society.

F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for

further education, livelihood and exchange of

learning with the world community.

Indicators :

F1.1.2 Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles

of reading.

F1.1.4 Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to and

reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justification and examples

for illustration.

F2.2.2 Compare the differences/similarities between the festivals, celebrations and traditions of native

speakers and those of Thai.

F3.1.1 Research/search for, make records, summarizes and express opinions about the data related to

other learning areas, and present then through speaking and writing.

F4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom, school,

community and society.

F4.2.1 Disseminate/ convey to the public data and news about the school, community and the local

area/ the nation in foreign languages

Evaluation and Assessment

During the course Indicators (Mid-term) Final

examination

Indicators

(Final examination)

Communication

10 marks

F1.1.2, F1.1.4

30 marks

F1.1.2, F1.1.4

Authentic

20 marks

F2.2.2 F2.2.2

Performance test

30 marks

F3.1.1 F3.1.1

Portfolio

10 marks

F4.1.1, F4.2.1 F4.1.1, F4.2.1

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Written examination on the progress of students’ research.

2. Final Examination (30 marks)

Written examination concerning the success or failure of their reports.

References :

1. Reading for Higher Education by C. Seedanont

Remarks :

Reference 1 is a supplementary textbook composed by the current responsible teacher, C.

Seedanont, which aims to develop the critical thinking skill through reading various types of texts.

ช่ือ .......................................................................... นามสกลุ................................................................. เลขที ่......................... ห้อง ม.6/..........................

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท 33106 ครูผูสอน ม.นิมิตร กิตติบริรักษ ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 , ม.5 พสพ. ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จาํนวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะหเก่ียวกับโครงสรางของการแสดงเหตุผล ภาษาท่ีใชในการแสดงเหตุผล วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

เหตุและผล การอนุมานเหตุและผลท่ีสัมพันธ โครงสรางการแสดงทรรศนะ ความแตกตางระหวางทรรศนะของบุคคล ประเภท

ของทรรศนะ ลักษณะของภาษาท่ีใชแสดงทรรศนะ ปจจัยท่ีสงเสริมการแสดงทรรศนะ การประเมินคาทรรศนะ โครงสรางของ

การโตแยง หัวขอและเนื้อหาของการโตแยง กระบวนการโตแยง การวินิจฉัยเพ่ือตัดสินขอโตแยง ขอควรระวังในการโตแยง ความ

ตองการพ้ืนฐานของมนุษยกับการโนมนาวใจ ลักษณะภาษาและการพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ แนวทางการพัฒนา

ความสามารถการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา การเขียนเรียงความเก่ียวกับโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ การ

ใชภาษาใหงดงามโดยการเลือกสรรคํา การเรียบเรียงคํา คุณคาและความหมายของสํานวนไทยการอานวรรณคดี ศึกษาวรรณคดี

เรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา เรื่องสามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ เรื่องขัตติยพันธกรณี

โดยใชกระบวนการฝกฝนทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การสืบเสาะหาความรู การสืบคน

ขอมูล การคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาเรื่องท่ีอาน

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใช

ประโยชนในชีวิตประจําวัน มีนิสัยรักการอาน รักความเปนไทย ซ่ือสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ

และเห็นคุณคาการใชภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ

สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 8, 9 มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิฅ และมีนิสัยรักการอาน ตัวช้ีวัดท่ี 1 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 2 ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีอานในทุกๆดานอยางมีเหตุผล ตัวช้ีวัดท่ี 4 คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอาน และประเมินคาเพ่ือนําความรู ความคิดไปตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต ตัวช้ีวัดท่ี 5 วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงกับเรื่องท่ีอานและเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล

ตัวช้ีวัดท่ี 8 สังเคราะหความรูจาการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูตางๆมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ตัวช้ีวัดท่ี 9 มีมารยาทในการอาน

สาระท่ี 2 การเขียน

มาตรฐานการเรียนรู ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆไดตรงตามจุดประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตองมีขอมูลและ

สาระสําคัญชัดเจน

ตัวช้ีวัดท่ี 8 มีมารยาทในการเขียน

สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐานการเรียนรู ท 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 5

มาตรฐานท่ี ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก

ในโอกาสตางๆอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวช้ีวัดท่ี 1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู

ตัวช้ีวัดท่ี 5 พูดในโอกาสตางๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหม

สาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 4

มาตรฐานท่ี ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา

ตัวช้ีวัดท่ี 2 ใชคํา กลุมคําสรางประโยคตรงตามจุดประสงค

ตัวช้ีวัดท่ี 4 แตงบทรอยกรอง

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรรกรรม

มาตรฐานการเรียนรู ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5

มาตรฐานท่ี ท 5.1 เขาใจ แสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยางเห็นคุณคาและซาบซ้ึง และ

นํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 1 วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเบื้องตน

ตัวช้ีวัดท่ี 2 วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของ

สังคมในอดีต

ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใช

ในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 4 สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 5 รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบานและอธิบายภูมิปญญาทางภาษา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1.การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

30 คะแนน

มฐ. ท 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 6

มฐ. ท 2.1

ตัวชีว้ัดท่ี 1

มฐ. ท 4.1

ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 ,2 ,3, 4

2.สภาพจริง 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 8

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 5

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 5

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วีดท่ี 1

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 3, 4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

- ขุนชางขุนแผน

- ขัตติยพันธกรณี

-จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

- ความงามของภาษา -โวหารภาพพจน และการสรรคํา

- ความสัมพันธระหวางกับ

ความคิด

-บทบาทของภาษาในการพัฒนาความคิด

-วิธีคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคา และวิธีคิดแกปญหา

- เหตุผลกับภาษา

-โครงสรางของการแสดงเหตุผล

-การใชภาษาในการแสดงเหตุผล

-วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

- สํานวนไทย -ความหมายและการใชสํานวนไทย

-การวิเคราะหค

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทท่ี รายละเอียด

- สามกก

- จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

-ประเภทของฉันท

- การใชภาษาแสดงทรรศนะ

- โครงสรางและประเภทของทรรศนะ

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การวิเคราะหภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การใชภาษาในการโตแยง

- โครงสรางของการโตแยง

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการโตแยง

- กระบวนการโตแยงและการวินิจฉัยเพ่ือตัดสิน

การโตแยง

- การใชภาษาเพ่ือโนมนาวใจ

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการโนมนาว

- กลวิธีในการโนมนาวใจ

- การพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ

- การอธิบาย การบรรยาย

และการพรรณนา

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- จุดมุงหมาของการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- การวิเคราะหการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- วรรณคดีวิจักษ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- ภาษาเพ่ือพัฒนาการคิด ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- เว็บไซต http://www.google.co.th

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน (O-NET) รหัส ค 33106

ครูผูสอน 1. มิสอรนิภา ไทยแท 2. มิสพัชราวดี สายทองแท ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี มัธยมศึกษาปที 6/1-9 และ 5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ..........

คําอธิบายรายวิชา ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ สถิติและการวิเคราะหขอมูล การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม

การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล และการวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ลําดับและอนุกรมจํากัด ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต

ความนาจะเปน แผนภาพตนไม กฎการนับเบื้องตน แซมเปลสเปซ เหตุการณและความนาจะเปน

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดย ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใชเหตุผล

การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการ

เรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยาสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางาน อยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 : พีชคณิต มาตรฐานท่ี ค.4.1 : อธิบายและวิเคราะหแบบรูป(pattern)ความสัมพันธและฟงกชันตางๆ ตัวชี้วัด 4. เขาใจความหมายของลําดับและหาพจนท่ัวไปของลําดับจํากัด

5. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต หาพจนตางๆของลําดับเลขคณิตและ ลําดับเรขาคณิตและการนําไปใชได

มาตรฐานท่ี ค.4.2: ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร ( mathematic model) อ่ืนๆ แทนสถานการณตางๆตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช ตัวชี้วัด 6. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก ของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิตโดยใชสูตรและนําไปใชได

สาระท่ี 5. : การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐานท่ี ค. 5.1 : เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวชี้วัด 1. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงายๆ

2. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงแบนมาตรฐานและเปอรเซ็นไทลของขอมูล

3. เลือกใชคากลางท่ีเหมาะสมกับขอมูลและวัตถุประสงค มาตรฐานท่ี ค.5.2 : ใชวิธีการทางสถิติและความรูเก่ียวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล ตัวชี้วัด 1. นําผลท่ีไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชคาดการณท่ีกําหนดให 2. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณและนําผลไปใชคาดการณท่ี กําหนดได มาตรฐานท่ี 5.3 : ใชความรูเก่ียวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา ตัวชี้วัด 1. ใชขอมูลขาวสารและคาเฉลี่ยชวยในการตัดสินใจ 2. ใชความรูเก่ียวกับความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา

สาระท่ี 6. : ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการ นําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วัด 2. ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

3. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตองและชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอ่ืนๆ

6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

30 คะแนน

ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

2.สภาพจริง 20 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test / Performance Assessment) 30 คะแนน รายละเอียดการสอบ บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห

1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล 1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน

บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต 2.2 ลําดับเรขาคณิต

2. สอบปลายภาค (Final-test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห 1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล

1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต

2.2 ลําดับเรขาคณิต 2.3 หาผลบวก n พจน 2.4 อนุกรมเลขคณิต

2.5 อนุกรมเรขาคณิต บทท่ี 3. ความนาจะเปน แผนภาพตนไม 3.1 แผนภาพตนไม

3.2 กฎการนับ 3.3 แซมเปลสเปซ 3.4 เหตุการณ

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐานคณิตศาสตรเลม 4.ของสถานบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนฯ 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต 3. ขอสอบ O – Net ยอนหลังเรื่อง สถิติ ลําดับและอนุกรม และความนาจะเปน

4. หนังสือคณิตศาสตรของทุกสํานักพิมพตางๆท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียนเชน สถิติและการวิเคราะหขอมูล ลําดับและอนุกรมจํากัด ความนาจะเปน แผนภาพตนไม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Science IE Code: SC33106 Instructors: 1. Master Phongtorn Kaewyongphang 2. Master Patawee Srisawet

3. Miss Siripen Tanpleng Foreigner: 1. Miss Shirley Aldeguer Class Level: Secondary 6 and 5/9 Semester 2 Academic Year 2017

3 periods/week 60 periods/semester 1.5 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others ...............

Course Description:

To investigate and explain nature and evolution of fixed stars such as constellations, energy of stars, classification of stars, life cycle of stars and measuring star distances by using parallax method. To investigate and define evolution of galaxies and the universe such as star systems and star cluster, type of galaxies, formation and expansion of the universes. To investigate and describe evolution of the solar system such as overview of the solar system model, formation of the solar system, inner planets and outer planets and other objects in the solar systems. To investigate and define about benefit in launching of satellites, the launching of space ships, and space exploration by utilizing space ships and space stations.

Finally, the student will learn how to use the scientific process experiment, investigative process, and search for and accumulate data. To use discussion to create knowledge and develop the student’s thinking process, ability to understand more, ability to communicate from their learning, being capable of making decisions and finally, insight into the virtue of proper knowledge and applying it to one’s daily life, to have a scientific mind, moral, ethical and proper value.

The Learning Standard:

Strand Standard Astronomy and Space Standard Sc7.1:

Understanding of evolution of the stars, galaxies, the universe and the solar system; interrelationships and explain within the stars, galaxies, the universe, the solar system and their effects on living things on Earth; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge for useful purposes. (Indicators 1-3)

Strand Standard Standard Sc7.2:

Understanding of importance of launching of satellites, space ships space exploration by utilized for space exploration and natural resources for agriculture and communication; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge that could be ethically applied to life and the environment. (Indicators 4-6)

Indicators:

1. Search relevant information for and explain the constellation and evolution of fixed stars.

2. Search for relevant information and explain evolution of the galaxies and the expanding of the

universe.

3. Search for relevant information and explain formation and evolution of the solar system.

4. Search for relevant information and explain inner planets, outer planets and other objects in the

solar system.

5. Search for relevant information and explain the launching of satellites and benefits of satellites in

various respects.

6. Search for relevant information and explain the launching of space ships, space stations and

space explorations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

1. Communication 10 marks 1 - 6 30 marks 4 - 6

2. Authentic 20 marks

– Dictation 5 marks

– Presentation 10 marks

– Exercise and Assignments 5 marks

1 - 6

3. Performance test 30 marks 1 - 3

4. Portfolio 10 marks 1 - 6

Total 100 marks

Examinations

1. Performance Assessment (30 marks)

Unit 1: Stars, Galaxies and the Universe

- Constellations

- Energy of the stars

- Classification of stars and Life cycle of stars

- The Star systems

- Galaxies classifications

- Formation of the Universe: The Big Bang Theory, CMB dark matter and dark energy

Unit 2: The Solar Systems

- Models and formation of the solar system

2. Final Examination (30 marks)

Unit 2: The Solar Systems

- The inner planets outer planets in the Solar Systems

- Other objects in the Solar Systems

Unit 3: Observing and Exploring Space

- The launching of satellites and benefits of satellites

- Space ship space station and space explorations

References:

1. Text book and Hangouts

English Book: 1. My World of Earth Science (Astronomy)

2. Caroles Stott et al. Space from Earth to the Edge of the Universe, Dorling

Kindersley Limited, 2010.

(Link: http://en.bookfi.net/book/1371153)

Thai Book: ทวีศักดิ์ บุญบูชาไชย, หนังสือคูมือเตรียมสอบรายวิชาพ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร และ

อวกาศ ม. 4 – 6, สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา จํากัด.

2. The Internet and web sites

NASA : https://science.nasa.gov/science-news

สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) : https://www.narit.or.th/

สมาคมดาราศาสตรไทย (The Thai Astronomical Society): http://thaiastro.nectec.or.th/

ดาราศาสตร - LESA: ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร: http://www.lesa.biz/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Social Studies Code: SO 33111

Instructors: 1. Master Kreetha Tirawattayawat 2. Mr. Vijay Daneil

Class Level: Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods / semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description:

The Social Studies course of Secondary 6 in semester 2 will primarily focus on the important

events that affected and/or changed our 21st century world. Exploring this syllabus through various

aspects as enthusiastic learners will not only broaden students’ knowledge, but also enhance students’

analytical and critical skills in the current world situation. Topics include but are not limited to: Terrorism

and Globalized World, Global Warming and Climate Change, Migrations and Refugees, The Asian Financial

Crisis, Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy, and, the newest and most

important for all Thai citizens, Thailand 4.0. In this course, students must possess the ability to think

incisively, to handle problems in both micro and macro terms, be able to process information that may

seem to be unrelated and find the ties that connect them. Students are responsible for studying the

assigned topics both inside and outside of class and will be expected to engage in discussion,

presentation, and analytical writing assignments. In addition to that, students will be able to gain more

understanding of how these events frame the way of the world and the way of living of its citizens.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 4: The 21st Century World History Sub-Strand:

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees 4. The Asian Financial Crisis 5. Sustainable Development and Sufficiency

Economy Philosophy 6. Thailand 4.0

So.4.1: Understanding of the meaning and significance of historical times and periods; and ability to avail of historical methodology for systematic analysis of various events.

So.4.2: Understanding of development of mankind from the past to the present; realizing the importance of relationships and continuous change of events, and ability to analyse their effects.

Indicators: (Write the details in items)

Strand 4: History (The 21st Century World History)

So.4.1.1 Be aware of the importance of historical times and periods indicating changes in the

development of mankind

(1) Identify crucial events occurred in the 21st century world.

(2) Responsible for studying topics both inside and outside of class and be able to organize and

present information of assigned topics in a coherent manner.

So.4.1.2 Create new bodies of historical knowledge through systematic application of historical

methodology

(1) Use and apply historical, political, economic, and security concepts, terms and facts learnt to

new contexts and issues.

(2) Observe, collect and extract relevant information from both primary, if possible, and

secondary resources (literary, numerical, diagrammatic, pictorial, and graphical forms).

So.4.2.2 Analyse various important events affecting social, economic and political changes leading to the

present world

(1) Able to explain and give opinions on topics through examination, writing assignments, and

group presentations.

So.4.2.4 Analyse the world situation of 21st century

(1) Analyse and cohere crucial causes, consequences, and relations between events occurred in

the 21st century world applying historical, political, economic, and security concepts, terms

and facts.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks So.4.1.1 30 marks So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Authentic 20 marks So.4.1.2

So.4.2.2

Performance test 30

marks

So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Portfolio 10 marks So.4.2.2

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. The Asian Financial Crisis 2. Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy 3. Thailand 4.0

References:

Subject’s supplementary sheets, Contemporary Issues in the 21st Century (Saint Gabriel’s College, 2nd

Edition 2017).

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ศาสนา รหัส ส 33112

ครูผูสอน มิสนิศากร วงศสินธพ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-6/9 ภาคเรียนท่ี 2 /2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและวิเคราะหเก่ียวกับความสําคัญประวัติความเปนมา องคประกอบของศาสนาตางๆ ในเรื่อง ศาสดา หลักธรรม สาวก ผูสืบทอดศาสนา ศาสนพิธี และเปาหมายสูงสุดของชีวิตวิเคราะหและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ประกอบดวย ทุกข (ขันธ 5) สมุทัย (หลักกรรม ในเรื่อง นิยาม 5 และวิตก 3) นิโรธ (ภาวนา 4) มรรค (พระสัทธรรม 3 ปญญาวุฒิธรรม 4 พละ 5 อุบาสกธรรม 5) มงคล (สงเคราะหบุตร สงเคราะหภรรยาหรือสามี สันโดษ) พุทธศาสนสุภาษิต การสังคายนาพระไตรปฎก การปฏิบัติตนเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ การปฏิบัติตนเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม ศาสนพิธีเก่ียวกับพิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ หลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับวันสําคัญและเทศกาลสําคัญในพระพุทธศาสนา การเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ เปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม การพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาอันสงผลถึงการพัฒนาคน พัฒนาชาติและโลก ประวัติของศาสดาของศาสนาอ่ืนและหลักคําสอนพ้ืนฐาน

โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม ในการคิดวิเคราะหผลการเปลี่ยนแปลง ประเมิน เสนอแนะ สามารถสื่อสารและ ระบุสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางดานศาสนาท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน และนําเสนอองคความรูใหมอยางเปนระบบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปแกปญหาของตนเองและครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุขไมวาจะเปนบุคคลในศาสดาใด สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวน 6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ศาสนา มาตรฐาน ส. 1.1 เขาใจประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ โดยมี ศรัทธาท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข มาตรฐาน ส. 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฎิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี และธํารงพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีนับถือ ตัวช้ีวัด (รวม 6 ตัวช้ีวัด) ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 13 วิเคราะหหลักธรรมในกรอบพระพุทธศาสนา หรือหลักคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 15 วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก หรือคัมภีรของ ศาสนาท่ีตนนับถือและการเผยแผ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 21 วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และชักชวน สงเสริมสนับสนุนใหบุคคลอ่ืนเห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 1 ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดีตอสาวกสมาชิกในครอบครัวและคนรอบขาง ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 2 ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรม ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ

ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 4 วิเคราะหหลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวของกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ ของศาสนาท่ีตนนับถือ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัด ( ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัด ( ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน

ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ

13,21

ส.1.2 ตัวชี้วัดขอ 1

30 คะแนน

ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15

ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2,4

สภาพจริง 20 คะแนน

กลางภาค/ ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

2. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. ประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 13)

2. การปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี (ส.1.2ตัวชี้วัดขอ 1)

3. วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกัน (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 21)

3. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก (ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15)

2. ศาสนพิธี พิธีกรรมของแตละศาสนา (ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2)

3. วันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ (ส. 1.2 ตัวชี้วดัขอ 4)

หนังสือท่ีใชอางอิง และเอกสารประกอบการสอน

1. เอกสารใบงานความรูศาสนา

2. แบบฝกหัดศาสนา

3. ศาสนาโลก โดยธนู แกวโอภาส

4. ขอสอบเขามหาวิทยาลัย o-net สาระ ศาสนา

5. พระพุทธศาสนา ผศ.ดร.ธีระพงษ มีไธสง และคณะ

6. พระพุทธศาสนา4-6 โดยสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษา รหัส 33106 ครูผูสอน มิสฤทัยทิพย เอ่ียมสุเมธ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี …6/1-9..... ภาคเรียนท่ี …2…./2560

จาํนวน …1….. คาบ/สัปดาห ……20……. คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

1. ใสใจสุขภาพ การศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน โรคและการเจ็บปวยท่ีเกิดข้ึนจากพฤติกรรมสุขภาพ ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ การสรางศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณและความเครียดและวัยรุนกับการพัฒนางานสาธารณสุขชุมชน ชวยใหนักเรียนสามารถวิเคราะหสาเหตุของปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนและสังคม สามารถเลือกใชทักษะในการปองกันและแกไขปญหาท่ีอาจสงผลกระทบมาสูตนเองและสังคมและสามารถท่ีจะเขาไปมีสวนรวมในการวางแผนสรางเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนอยางมีประสิทธิภาพได

2. ชีวิตปลอดภัย การศึกษา ทําความเขาใจเก่ียวกับปญหาและการแกไขปญหาสารเสพติด กระบวนการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน อุบัติภัยกับการดําเนินชีวิตและอุบัติภัยในโรงเรียนและชุมชน ถือวาเปนความรูและทักษะเบื้องตนท่ีเปนปจจัยสําคัญอีกหนึ่งปจจัยท่ีชวยใหเราสามารถท่ีจะดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดดวยความปลอดภัยและมีสุขภาพท่ีดี

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …3…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ………3……..(ใสใจสุขภาพ) มาตรฐานท่ี พ 4.1 รู เขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน วิเคราะหสาเหตุของการเกิดโรคจากพฤติกรรมสุขภาพและเสนอแนะแนวทางในการสรางเสริมศักยภาพของตนเอง การจัดการอารมณและความเครียดตลอดจนการมีสวนรวมในการวางแผนสรางเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนได ตัวช้ีวัด 1 , 4 , 5 ตัวชี้วัด ท่ี 1 : วิเคราะหบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลท่ีมีตอการสรางเสริมสุขภาพและการ ปองกันโรคในชุมชน ตวัชี้วัด ท่ี 4 : วิเคราะหสาเหตุและเสนอแนวทางการปองกันการเจ็บปวยและการตายของคนไทย ตวัชี้วัด ท่ี 5 : วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …5…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……4……….. (ชีวิตปลอดภัย) มาตรฐานท่ี พ 5.1

รูและเขาใจผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด ตลอดจนการวางแผนเพ่ือกําหนดแนวทางการลดอุบัติเหตุและการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชนอยางถูกตองได

ตัวช้ีวัด 1 , 2 , 4 , 5 , 6 ตัวชี้วัด ท่ี 1 : มีสวนรวมในการปองกันความเสี่ยงตอการใชยาการใชสารเสพติดและความรุนแรง เพ่ือ สุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัด ท่ี 2 : วิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด

ตัวชี้วัด ท่ี 4 : วางแผนกําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัด ท่ี 5 : มีสวนรวมในการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัด ท่ี 6 : ใชทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณท่ีเสี่ยงตอสุขภาพและความรุนแรง

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

20

มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัด 1 , 4 , 5

มฐ.พ 5.1 ตัวช้ีวัด 1, 2, 4, 5, 6

2.สภาพจริง …30… คะแนน มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

4.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน มฐ.พ 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,4,5

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

รวมคะแนนท้ังหมด …100…….. คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน 2. โรคและการเจ็บปวยท่ีเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ 3. ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ 4. การสรางศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณและความเครียด รายละเอียดการสอบ 1. ใสใจสุขภาพ 2. ชีวิตปลอดภัย หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม 1. ใบงานความรู 2. หนังสือแบบเรียน 3. ขอมูล website ตางๆ

3. สอบปลายภาค ……20……… คะแนน

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (แบดมินตัน) รหัส พ33206 ครูผูสอน มาสเตอรกุศล ทองนอก ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .... มัธยมศึกษาปท่ี ....6/1-9 ภาคเรียนท่ี 2/2560 จาํนวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพ้ืนฐาน วิธีการเลนและประเภทการแขงขันกีฬาแบดมินตัน โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชื่อมโยง การฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบคน

เพ่ือใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงม่ันในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอผูอ่ืนและสังคม 3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนําหลักการแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ

กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. ออกกําลังกายและเลนกีฬาท่ีเหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของ

ทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปนแนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจําวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬา ดวยความมีน้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุก

โอกาส จนเปนบุคลิกภาพท่ีดี 4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

1. ความตั้งใจ 2. ความรับผิดชอบ 3. สนใจตอกระบวนการเรียนรู

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) (…30……… คะแนน) เกณฑการใหคะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด

1.การมีสวนรวมในการแขงขันกีฬา 2. การฝกซอม สนใจในการแขงขัน 3. ผลงานในการแขงขัน

3. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( ……30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การสง – เสิรฟลูก (15) - สงลูกสั้นหนามือ 5

- สงลูกสั้นหลังมือ 5

- สงลูกยาวหนามือ 5 - ทักษะการตีลูก - การตีลูกโยน 5

แบดมินตัน (15) การตีลูกดาด 5

จํานวนครั้ง / 1 นาที 5 4. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ทําใบงานเทคนิคทักษะชั้นสูง 10

1. ความถูกตองของขอมูล = 3 คะแนน 2. รูปแบบการนําเสนอของขอมูล และความคิด

สรางสรรค = 3 คะแนน 3. ความปราณีต สวยงาม สะอาด = 2 คะแนน 4. การสงงานตรงตามเวลาท่ีกําหนด = 2 คะแนน

คะแนนรวม 10

5. สอบปลายภาค ………20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การแขงขันแบดมินตัน - ทักษะการตีแบดมินตัน 5

- รูกฎ กติกา กีฬาแบดมินตัน 5

- มีน้ําใจนักกีฬา 4

- การใช – เก็บอุปกรณ 3

- ความรูท่ัวไปเก่ียวกับแบดมินตัน 3

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติมหนังสือแบบเรียน วพ แบดมินตัน

เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติม

จากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (ฟุตซอล) รหัส พ.33206

ครูผูสอน 1. มาสเตอร สงา จาระนัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ... มัธยมศึกษาปที่ 6/1-9 ภาคเรียนที่ 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สปัดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพื้นฐาน วิธีการเลนกีฬาฟุตซอลเปนทีมและการ

ทดสอบวายน้าํ

โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชือ่มโยง การฝกปฏิบตัิ กระบวนการกลุม และกระบวนการสบืคน

เพื่อใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงมั่นในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การ

ใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติที่ดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คํานึงถึงผล ที่เกิดตอผูอ่ืนและสังคม

3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด

4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนาํหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิา มี

น้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชืน่ชมในสนุทรียภาพของการกีฬา

1. ออกกําลังกายและเลนกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอยางสม่าํเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลด

ความเปนตัวตน คํานึงถึงผลที่เกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปน

แนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจาํวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬาดวยความมนี้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุกโอกาส จน

เปนบุคลิกภาพที่ด ี

4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชืน่ชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

คะแนนการส่ือสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจตอกระบวนการเรียนรู 5 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) หัวขอเรื่อง การรับสงบอล(10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดีมาก 9-10

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดี 7-8

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การพาบอลเคล่ือนท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองดีมาก 9-10

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองด ี 7-8

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การยิงประตูท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การยิงประตูไดถูกตองดีมาก 9-10

การยิงประตูไดถูกตองดี 7-8

การยิงประตูไดถูกตองปานกลาง 5-6

คะแนนสอบตามสภาพจริง 25+5 คะแนน หัวขอเรื่อง..................การเดาะบอล...............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 5

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด 5

หัวขอเรื่อง............การหยุดบอลและการครองบอล...... ( ..15 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 15

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด

หัวขอเรื่อง..................อาน คดิ วิเคราะห ( ..5 คะแนน)

คะแนนสอบแฟมสะสมงาน 10 คะแนน

หัวขอเรื่อง....................กฏกตกิา.............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ปฏิบัติตามกฏกติกาอยางถูกตอง 5

ตอบคําถามไดอยางถูกตอง 5

การประเมินปลายภาค (20 คะแนน)

หัวขอเรื่อง การเลนทีม (20 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การมีสวนรวมกับทีม 5

การแสดงออกถึงทักษะกีฬาฟุตซอล 5

การปฏิบัติตามกฏกติกาของการเลนกีฬาฟุตซอล 5

ความมีน้ําใจเปนนักกีฬา 5

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือแบบเรียน วพ ฟุตซอล เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติมจากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ (พ้ืนฐาน) รหัส ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรธนิตย เพียรมณีวงศ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .......... มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-9 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก และฝกปฏิบัติ การใชทัศน

ธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ การใชศัพททางทัศนศิลป การใชวัสดุอุปกรณและ

กระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป การสรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการ

ออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป การออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะกับโอกาสและสถานท่ี ศึกษาจุดมุงหมายของ

ศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิค และเนื้อหาในการสรางงาน การวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณ

ศิลปะ การสรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและสากลดวยการศึกษางานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ งานทัศนศิลปในรูปแบบ

ตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ศิลปนท่ีมีชื่อเสียง การประเมินคุณคา พัฒนาทักษะ และประยุกตใชกับกลุมสาระการ

เรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางความคิด

วิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย

มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10

มฐ. ศ 1.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 2, 3

รวม 13 ตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน

ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. วิเคราะหการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ

2. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลปโดยใชศัพททางทัศนศิลป

3. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออกทางทัศนศิลป

4. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุอุปกรณและกระบวนการท่ีสูงข้ึน ในการสรางงานทัศนศิลป

5. สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป

6. ออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะสมกับโอกาสและสถานท่ี

7. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุอุปกรณเทคนิคและเนื้อหา เพ่ือสรางสรรคงาน

ทัศนศิลป

8. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ

9. จัดกลุมงานทัศนศิลป เพ่ือสะทอนพัฒนาการ และความกาวหนาของตนเอง

10. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ สรางงานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปท่ีเปนม

รดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล

1. วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก

2. ระบุงานทัศนศิลปของของศิลปนท่ีมีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม

3. อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของ วัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 7 , 8

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

คะแนนเต็ม

.......20........

คะแนน

ศ 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 4 ,

5 , 7 , 9

2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 8 , 9

3.ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,7 , 8,10

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 10

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

การจดบันทึกทฤษฎีประวัติศาสตรศิลปะ = 5 คะแนน

ตรงเวลา = 1 คะแนน สรางสรรค= 2 คะแนน เรียบรอย สวยงาม = 2 คะแนน

การทดสอบยอยทฤษฎีประวัติศาสตรศิลปะ = 5 คะแนน

ความรูความเขาใจในงานประวัติศาสตรศิลปะยุคสมัยตางๆ

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( ……30……… คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

วาดภาพคนเหมือน / การตูนลอเลียน (ทักษะปฏิบัติ) = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

• แบบฝกหัดภาคทฤษฎี 1 ชุด = 5 คะแนน

ขอสอบจริยธรรม /อัตนัย = 5 คะแนน

3.การประเมินภาคปฎิบัติ (Performance Assessment) 30 คะแนน (งานปฏิบัต)ิ

การสรางสรรคผลงานประติมากรรม = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานภาพพิมพ = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานศิลปะไทย = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) = 10 คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

การเก็บรวบรวมผลงานครบถวนสมบูรณอยูในสภาพเรียบรอย

การปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง 5 คะแนน

การพัฒนา 3 คะแนน

การสงผลงาน 2 คะแนน

5. การประเมินปลายภาค ……20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

พ้ืนฐานความถนัดในงานทัศนศิลป

คุณคาและการนําไปใช= 10 คะแนน

ความคิดสรางสรรคความรูความเขาใจ = 5 คะแนน

ความประณีต สวยงาม และมีเอกภาพ = 5 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

องคประกอบศิลป (ชลูด นิ่มเสมอ) องคประกอบศิลป (ฉัตรชัย อรรถปกษ) Internet

Design for ENTRANCE / Decorative Arts guide book by grayman’s studio

โครงการติวความถนัดทางสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

Sketch Design For Entrance (นันทวัชร ชัยมโนนาถ)

โครงการสอนแลการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู ศิลปะ วิชาดนตรีไทย (ปพาทยมอญ) รหัส ศ 33105 - ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรชัยวัฒน คุณสมบัติ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2560

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ การใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย การใชศัพททางทัศนศิลป การ

เลือกใชวัสดุอุปกรณและเทคนิคของศิลปน การใชทักษะและเทคนิคท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป การจัดกลุมงาน

ทัศนศิลป การสรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและสากลดวยการศึกษางานของศิลปนท่ีตนเองชื่นชอบ วาดภาพระบายสีเปนภาพ

ลอเลียนหรือภาพการตูนเพ่ือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมในปจจุบัน รูปแบบงานทัศนศิลปตะวันออกและตะวันตก

อิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

บทเพลง วงดนตรี ประเภท รูปแบบวงดนตรีไทยและสากล สรางสรรคงานดนตรี อาน เขียน โนตดนตรีไทย-สากล

เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง เทคนิคการแสดงออกทางดนตรี คุณภาพของการแสดง การประพันธและการเลนดนตรี ความ

ซาบซ้ึงในงานดนตรีจากตางวัฒนธรรม งานวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ การผสมผสานการแสดงรูปแบบตางๆ ประเมินคุณคา

พัฒนทักษะ และประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทาง

ดนตรี เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาน เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันใน

การทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

มฐ. ศ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

ตัวช้ีวัด (ใหเขียนรายละเอียดเปนขอๆ)

มฐ. ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคาดนตรีถายทอด

ความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. เปรียบเทียบรปูแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของวง วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มฐ. ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีปพาทยมอญในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

มฐ. ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป วิเคราะห วิจารณ คุณคาทางนาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิด

อยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ

2. สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบ ท่ีชื่นชอบ

3. ใชความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป เปนคู และหมู

4. วิจารณการแสดงตามหลักนาฏศิลป และการละคร

5. วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลป และการละครท่ีตองการสื่อความหมาย ในการแสดง.

6. บรรยาย วิเคราะห อิทธิพลของ เครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ และสถานท่ีท่ีมีผลตอการแสดง

7. พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการ ประเมินการแสดง

8. วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหว ของผูคนในชีวิตประจําวันและนํามา ประยุกตใชในการแสดง

มฐ. ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตร็และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลปท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยสากล

1. เปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชใน โอกาสตาง ๆ

2. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิลปและการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ

3. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและ การละครไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

4. นําเสนอแนวคิดในการอนุรักษ นาฏศิลปไทย

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 / ศ 2.1.2 / ศ 2.1.3

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / ศ 3.1.1 ศ 3.1.2

ศ 3.1.4 / ศ 3.1.6 ศ 3.1.8

ศ 3.2.1

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / ศ 2.1.5 / ศ 2.2.1

ศ 2.2.2 / ศ 2.2.3 / ศ 3.1.3

ศ 2.2.4

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / ศ 2.2.5 / ศ 3.1.5

ศ 3.1.7 / ศ 3.2.2 / ศ 3.2.3

ศ 3.2.4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฏีดนตรีไทย

2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย

3. ดนตรีในวิถีชีวิต

4. ดุริยกวีดนตรีไทย

5. นาฏกรรมสยาม

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงท่ีกําหนดให (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

3.1 ความสําเร็จของช้ินงาน (20 คะแนน)

ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน2 ครั้งๆ ละ10คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o รายละเอียดตางๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน

o ความสะอาด / เปนระเบียบ 3 คะแนน

o ทัศนคติของนักเรียนตอการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน

3.2 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน)

ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย

4 ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

รายงาน เรื่อง “ศิลปนท่ีขาพเจาชื่นชอบ”

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก 5 คะแนน

o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน

o ตรงเวลา 2 คะแนน

การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. ดุริยางคศาสตรไทย (กรมศิลปากร)

2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล)

3. สารานุกรมศัพทดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต)

4. การละเลนของไทย มนตรี ตราโมท)

5. โลกใบนี้ดนตรีไทย (ขุนอิน โตสงา)

6. พัฒนาการดนตรีไทย : บาน – วัด – วัง (อนันต สบฤกษ)

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชาศิลปะ (ดนตรีสากล / พฐ ) รหัส ศ 33105 – ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรเอกสิทธิ์ จุลละครินทร

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ........... มัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปโดยใชความรูเร่ืองทัศนะธาตุและหลักการออกแบบ การสรางงาน

ทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ การผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงานทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถายทอดประสบการณและ

จินตนาการ การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อสื่อความหมายเปนเร่ืองราว ศึกษารูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเอง

และผูอ่ืนหรือของศิลปน การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคที่หลากหลาย ศึกษาอาชีพที่

เก่ียวของกับงานทัศนศิลป และทักษะที่จําเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ การเลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กําหนดข้ึนอยาง

เหมาะสม และนําไปใชในการจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคาของวัฒนธรรม ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุค

สมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล

องคประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิครองเพลง รอง-เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง แตงเพลงงาย ๆ ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัย

ตางๆ วิเคราะหวิจารณงานดนตรีของตนเองและผูอ่ืน อิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุม

สาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี

เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาณ เพื่อใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน รัก

ความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที ่(ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวขอเน้ือหาวิชา

1. สังคีตนยิมวาดวยดนตรีตะวนัตก

2. การปฏิบัติเคร่ืองดนตรีสากล และ การบรรเลงรวมวง

3. อิทธิพลดนตรีตอบุคคล/สังคม

4. การจัดการแสดงดนตรี

การบูรณาการรายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

� ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการสื่อสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติที่ดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบตัิ (30 คะแนน)

การบรรเลงรวมวง

เพลงที่ 1 : Let it be me

เพลงที่ 2 : Can ‘ t help falling in love

เพลงที่ 3 : Aura lee

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

เพลงที่ 1 : World Anthem

เพลงที่ 2 ; เดี่ยวเคร่ืองดนตรี เพลงเลือกตามถนัด

เกณฑการใหคะแนน

O เทคนิคการบรรเลง 10 คะแนน

O มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

O ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

3.1 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนสื่อความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o การใชภาษาไทย 2 คะแนน

3.2 การสอบกลางภาค (5 คะแนน)

ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย 4

ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

การเขียน “ บทความดนตรี “

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / ความคิดสรางสรรค 5 คะแนน

o การใชภาษาไทย / รูปแบบ 3 คะแนน

o ตรงเวลา 2 คะแนน

� การสอบปลายภาค 20 คะแนน

งานบูรณาการ และ ใบงานความรูทั่วไปเก่ียวกับดนตรี

เกณฑการใหคะแนน

o ความถูกตองของชิ้นงาน 20 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือ สังคีตนยิมดนตรีตะวันตก

2. The Guitar Mag. , Rhythm Section Mag. , Overdrive Music Mag.

3. เว็บไซดตางๆ ที่เก่ียวของกับดนตรี

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Illustration Design Code ง 33106

Instructors : Miss Nanattarak Aruntat

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text and Graphics into interesting presentations.

This course is designed teach the student basic graphics design. The program that will be used is

Adobe Illustrator. Adobe Illustrator is a program primarily used to create what is often called outline art.

Examples of outline art are a typical company logo, or a technical drawing, or the customized lettering

on virtually any commercial product. It is called outline art because you simply

Students will learn how to create and edit images and design, for example, create logos, graphics,

cartoons and fonts for the photo-realistic layouts of Adobe Photoshop, three dimensional and magazine

front covers. They will also study many techniques to design new pictures creatively and how to

incorporate their work into other document. They will be encouraged to work independently and as

they grow in confidence, use their own creative skills.

Students work through the course using your content or deliverable as part of the exercise. That

way, after the course, student will already have some or all of the project complete.

Standard:

Strand standard

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand standard

Strand 3 :Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper

perception of future career; technological application for occupational

development; endowment with morality and favorable attitude towards

occupations

Indicators :

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the

benefit of life, society and the environment, and sustainably mange technologies

through methodology of clean technologies.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects. O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making. O 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and

responsibility. O 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

O 4.1.3 Have experience in occupations in which they have aptitude and interest.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4, 5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2, 3)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

- Using Adobe Illustrator program to create assignment

Cartoon and Photo-realistic layout creation

Three Dimensional creation

Logo creation

2. Final Examination (20 Marks )

Topic / subject matter:

- Poster Creation

Creating Poster by using Adobe Illustrator

The concept of Poster

Poster process

References

Topic / Subject matter

- http://www.istylebox.com/illust%20tutorial1.html

- http://www.webthaidd.com/illustrator/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Digital Video Editing Code ง 33106

Instructors :Master Thanusak Thongman

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text, Audio, Graphics and Animation into interesting presentations.

And the course going help you to build software demonstrations and interactive

training/assessment simulations. Using a task-based approach, participants learn the key features of

Camtasia and apply best practices throughout the creation of an in-class project. Participants also learn

how to create, maintain and update projects.

This is the most efficient way to develop your own tutorials. Students work through the course

using your content or deliverable as part of the exercise. That way, after the course, you’ll already have

some or all of your project complete.

Standard:

Strand standards

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills

for various aspects and work processes, management, teamwork,

investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness

of the need to economise on the use of energy and the environment

for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and

creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial

to one’s life, society and the environment, and participation in

sustainable technological management

Strand 3 : Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences;

proper perception of future career; technological application for

occupational development; endowment with morality and favourable

attitude towards occupations

Indicators : (Write the details in items)

1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

1.1.3 Have management skills for work.

1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the benefit

of life, society and the environment, and sustainably mange technologies through

methodology of clean technologies.

3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. 3.1.7 Develop computer projects. 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making. 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and

responsibility. 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination

Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4,5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2)

Total 100 marks

Assessment

3. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

1. Video 1

2. Video 2

4. Final Examination (20 marks)

Topic / subject matter:

- Motivation Video

Create a motivation video by using images, audio, and messages.

References

Topic / Subject matter

1. http://edu.sg.ac.th/m6

2. http://www.nyvs.com/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Fundamental English (EIE.I) Code: อ. 33106

Instructors: 1. Master Nobhadol Chuencharoensuk

Class Level: Primary ....... Secondary 6/1-9 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester 1.0 unit of learning

Basic Subject Intensive Subject Others ………..

Course Description:

Study language skills, pronunciation, explanation, conclusion, analysis, synthesis, interpretation, comparison, main points and details. Also, studying writing using various phrases, agreement of subject and verb and finite and non-finite verbs through context and variety of media. Use language skills to communicate, and exchange news and information and express thoughts and opinions efficiently. Present news and information, concepts and opinions in various items through writing and speaking skills. Understand the relationship between the language and culture of native speakers and apply these understandings appropriately. Also, understand the similarities and differences in the culture and language of the native speakers and Thai and then, apply to use appropriately.

Students can use foreign language as a learning tool for higher studies, careers, and exchange knowledge with global society through analyzing English language structures, words, sentences and grammatical usages. Create knowledge using continuous communication through technology and various medias in and out of school. Employ knowledge and understandings about language and culture to apply in developing and managing for higher learning and profession.

Employ communication, analyze, solving problem, group work, explanations, cause-effect, question-answer, conceptual idea to search for knowledge through self-research to establish students to love studying. Also encouraging honesty, responsibilities, attempts and interests in learning together with practicing systematic working and emphasizing creative thinking as well as focusing on good attitude toward learning English language.

Basic Standard of Learning: (Example: Component 1 :……… Standard F. 1.1………)

Strand : Standard :

1. Language for Communication F. 1.2,1.3

2. Language and Culture F. 2.2

4. Language and Relationship with

community and the world.

F. 4.1

Strand : 1 Language for Communication Standard: F 1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions. Indicators: 1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately.

1.2.2 Choose and use requests and give instructions, clarifications and explanations fluently. 1.2.3 Speak and write to express needs and offer, accept and refuse to give help in simulated or real situations. 1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/issues/news and situations heard and read 1.2.5 Speak and write to describe their own feelings and opinions about various matters, activities, experiences and news/incidents with proper reasoning. Standard: F.1.3 Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing. Indicators: 1.3.1 Speak and write to present data themselves/experiences, news/incidents, matters and various issues of interest to society. 1.3.2 Speak and write to summarize the main idea/theme identified from analysis of matters, activities, news, incidents and situations in accordance with their interests.

1.3.3 Speak and write to express opinions about activities, experiences and incidents in the local area, society and the world, as well as provide justifications an examples for illustration. Strand : 2 Language and Culture Standard F 2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language. Indicator: 2.2.1 Explain/compare between the structures of sentences, texts, idioms, sayings, proverbs and poems in foreign language and Thai language. Strand: 3 Language and Relationship with Other Learning Areas Standard F 3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view. Indicator: 3.1.1 Research / search for, make records, summarize and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing. Strand: 4 Language and Relationship with Community and the World Standard: F 4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society. Indicator: 4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom, school, community and society.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators

(Mid-term)

Final

examination

Indicators

(Final examination)

Communication 10 marks 1.2.1, 1.2.3, 1.2.4

30 Marks

1.2.1, 1.2.2, 1.2.5, 2.2.1

Authentic 20

marks

1.3.1, 1.3.2, 1.3.3,

2.2.1,4.1.1

Performance test 30 marks 1.2.3, 1.2.4, 1.3.1

Portfolio 10 marks 3.1.1,

Total 100 marks

Details of Evaluation and Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment Details

- Phrases

2. Final Examination Details

- Finite and non-finite verbs - Subject & Verb Agreement

References : - Andrews, Barbara; Francis, Jeanie; A. Azar, Donald, Understanding and Using English Grammar,

Third Edition, Pearson Education Company, New York, U.S.A. 321 pages. - Grammar and Language Workbook, The McGraw-Hill Companies, Inc., 1976, Glencoe/McGraw-Hill,

Columbus, Ohio, USA.348 pages. - Harrison, Louis; Cushen Caroline, Hutchinson Susan, Achieve IELTS 2 English for International

Education, Marshall Cavendish Ltd. 2006 176 pages - Holt, Rinehart and Winston, Grammar, Usage, and Mechanics Language Skills Practice, Harcourt

Classroom Education Company, 409 pages - My World of English, Secondary 6; St. Gabriel’s Foundation; Orient Blackswan Private Limited,

New Delhi, India, 2016 259 pages

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู วิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม รหัส ค 33206

ครูผูสอน 1. มิสศจีกาญจน ศิรทรัพยไพสิฐ 2. มาสเตอรจักรพล สาใจ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ม.6/1-7 และ ม.5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาค จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและการฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้

เวกเตอรในสามมิติ เวกเตอร การบวกและการลบเวกเตอร การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร เวกเตอรในระบบ

แกนมุมฉาก ผลคูณเชิงสเกลาร ผลคูณเชิงเวกเตอร

จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน สมบัติเชิงพีชคณิตของจํานวนเชิงซอน กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน

จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงข้ัว สมการพหุนาม

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนํา

ประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค

รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี

วิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 6 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 3 เรขาคณิต

5. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับเวกเตอรในสามมิติ

6. หาผลบวกเวกเตอร ผลคูณเวกเตอรดวยสเกลารและผลคูณเชิงเวกเตอรได

7. หาขนาดและทิศทางของเวกเตอรท่ีกําหนดใหได

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัดท่ี 10. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับจํานวนเชิงซอน

11. นําสมบัติตางๆเก่ียวกับจํานวนเชิงซอน การดําเนินการไปใชแกปญหาได

12. นําความรูเรื่องจํานวนเชิงซอนไปแกสมการพหุนามตัวแปรเดียวท่ีมีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มดีกรีไมเกินสาม

และหารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอนเม่ือ n เปนจํานวนเต็มบวกได

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลาย

ภาค

ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

2.สภาพจริง 20 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน สาระท่ี 3 ตัวช้ีวัด 5-7

สาระท่ี 1 ตัวช้ีวัด 10-12

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. เวกเตอรในสามมิติ

1. การบวกและการลบเวกเตอร

2. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

4. ผลคูณเชิงสเกลาร

5. ผลคูณเชิงเวกเตอร

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. เวกเตอรในสามมิติ

1. การบวกและการลบเวกเตอร

2. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

4. ผลคูณเชิงสเกลาร

5. ผลคูณเชิงเวกเตอร

บทท่ี 2. จํานวนเชิงซอน

1. จํานวนจินตภาพ

2. การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเชิงซอน

3. การเทากันของจํานวนเชิงซอน

4. สังยุคของจํานวนเชิงซอน

5. คาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน

6. กราฟของจํานวนเชิงซอน

7. การเขียนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงข้ัว

8. การหารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอน

9. สมการพหุนาม

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม คณิตศาสตร เลม 1 และ 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป

ท่ี 5 ของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต

หนังสือคณิตศาสตรของสํานักพิมพตาง ๆ ท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียน

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม รหัส ท ๓๓๒๐๖

ครูผูสอน มิสรักตาภา ธนาวรรณิต

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี ๖/๖-๖/๙ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๐

จํานวน ๓ คาบ/สัปดาห ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๑.๕ หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...............................

คําอธิบายรายวิชา ฝกใชทักษะและกระบวนการทางภาษา พัฒนาการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด โดยอานขอความ เรื่องราว สื่อสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณ การอานตีความ แปลความ สรุปความ การอานคิดเชิงวิเคราะห ความคิดเชื่อมโยง และการอานประเมินคาจากบทความสารคดี อานระบุประเด็นท่ีสําคัญ และฝกการเขียนเรียงความเชิงสรางสรรค เขียนแสดงทรรศนะ เขียนประกาศ เขียนสะกดคํา วิเคราะหเรื่องท่ีฟงและดูสื่อสารสนเทศในรูปแบบตางๆ อยางมีวิจารณญาณ พูดแสดงความคิดเห็น พูดโนมนาวใจ และศึกษาหลักการใชภาษาเก่ียวกับระบบเสียงในภาษาไทย ชนิดของคํา การใชสํานวนไทย การใชสํานวนตางประเทศ คําพังเพย โวหารท่ีใชในการเขียน การใชคําผิดความหมาย ระดับภาษา คําราชาศัพท โครงสรางของเหตุและผล ชนิดของประโยค การเรียงลําดับบรรณนานุกรม และฉันทลักษณ วิเคราะหองคประกอบของวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น บทความ โดยหลักการวิจารณเบื้องตน พิจารณาเรื่องท่ีอาน เพ่ือประเมินคุณคาดานวรรณศิลป เนื้อหา และคุณคาทางสังคม และนําไปใชในชีวิตจริง โดยใชกระบวนการทักษะทางภาษา การใชเหตุผล การฝกปฏิบัติ สาระ /มาตรฐาน/ ตัวช้ีวัด มฐ. ท๑.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓,๕,๖ มฐ. ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๔

มฐ. ท ๓.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒ ,๓, ๖ มฐ . ท ๔.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓,,๘ มฐ. ท ๕.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓ สาระการอาน มาตรฐาน ท๑.๑ / ตัวชีว้ัดท่ี ๒,๓,๕,๖ ๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอาน ๓. วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีอานในทุก ๆ ดานอยางมีเหตุผล ๕. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน และ เสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล ๖. ตอบคําถามจากการอาน งานเขียนประเภทตาง ๆ ภายในเวลาท่ีกําหนด

สาระการเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ / ตวัชี้วดัท่ี ๑, ๒, ๔ ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค โดยใช ภาษาเรียบเรียงถูกตองมีขอมูลและ สาระสําคัญชัดเจน ๒ เขียนเรียงความ

๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตาง ๆ สาระการฟงและดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ / ตัวชี้วัดท่ี ๒ ,๓, ๖ ๒. วิเคราะห แนวคิด การใชภาษา และความนาเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟง และดูอยางมีเหตุผล ๓. ประเมินเรื่องท่ีฟง และดู แลวกําหนดแนวทางนําไปประยุกตใช ในการดําเนินชีวิต ๕. พูดในโอกาสตาง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหมดวยภาษาท่ีถูกตอง เหมาะสม สาระหลักและการใช

มาตรฐาน ท ๔.๑ / ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓,,๘ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ๒. ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตามวัตถุประสงค ๓. ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะและบุคคล รวมท้ังคําราชาศัพทอยางเหมาะสม สาระวรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ / ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓ ๒. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทาง ประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต ๓. วิเคราะห และประเมินคุณคา ดานวรรณศิลปของกวี และวรรณกรรมในฐานะท่ีเปนเอกทางวัฒนธรรม ของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัด (ปลายภาค)

การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ม ฐ. ท ๑.๑ ( ๖ )

ม ฐ. ท ๓.๑ (๕)

คะแนนเต็ม

๓๐ คะแนน

ม ฐ. ท ๑.๑ (๒.๓,๕,๖ )

ม ฐ. ท ๒.๑ (๑,๒,๔)

ม ฐ. ท ๓.๑ (๒,๓)

ม ฐ.ท ๔.๑ ( ๒,๓)

ม ฐ. ท ๕.๑ (๒-๓)

สภาพจริง ๒๐ คะแนน ม ฐ. ท ๒.๑ ( ๔ )

ม ฐ. ท ๓.๑ (๑ )

ม ฐ. ท ๔.๑ (๔)

กลางภาคปฏิบัต ิ๓๐คะแนน ม ฐ. ท๑.๑ ( ๒ ,๓,๖)

ม ฐ. ท ๒.๑ (๒,๔ )

ม ฐ..ท ๓.๑ (๒,๓)

ม ฐ. ท ๔.๑ (๑ ,๓)

ม ฐ. ท ๕.๑ (๒,๓)

แฟมสะสมงาน ๑๐ คะแนน ม ฐ. ท ๒.๑ (๑ )

รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน) อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนนสอบ ๖๐/๔๐ ๑. การสอบปฏิบัติ / กลางภาค (……๓๐…………… คะแนน) รายละเอียด

๑. อานขยายความ อานสรุปความ อานระบุประเด็น อานคิด วิเคราะห และการใชขอมูลจากการอานใหเปนประโยชน ๒. การอานตีความ แปลความ เขาใจความหมาย ๓. การเรียงลําดับความคิด ๔. ความคิดเชื่อมโยง ๕. ชนิดของคําไทย ๖. การอานและการเขียนสะกดคํา ๗. ระบบเสยีงภาษาไทย (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ) ๘. การใชคําผิดความหมาย ๙. การใชสํานวนไทย คําพังเพย ๑๐. ระดับภาษาและคําราชาศัพท ๑๑. ฉันทลักษณและคุณคาดานวรรณศิลป

๒. การสอบปลายภาค (๓๐ คะแนน) รายละเอียด ๑. อานคิดเชิงวิเคราะห ตีความ แปลความ สรุปความ ความคิดเชื่อมโยง วิเคราะห วิจารณ และประเมินคา ๒. การเรียงลําดับบรรณานุกรม ๓. การเรียงลําดับขอความ ๔. ชนิดของประโยค ๕. โวหารท่ีใชในการเขียน ๖. การใชสํานวนตางประเทศ ๗. การอานและการเขียนสะกดคํา ๘. โครงสรางของเหตุและผล ๙. การโนมนาวใจและการโตแยง ๑๐. ประโยคกะทัดรัด ประโยคกํากวม และประโยคฟุมเฟอย ๑๑. ฉันทลักษณและองคประกอบของงานประพันธ (คุณคาทางดานสังคมและวัฒนธรรม)

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสืออางอิง และเอกสารประกอบการสอน

๑. หลกัและการใชภาษาไทย ๒. หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม.ปลาย

๓. แนวขอสอบ O-NET / ๙ วิชาสามัญ /GAT ๔. หนังสือคูมือภาษาไทย

หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม. ปลาย

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ฯ วิชา เหตุการณปจจุบันองคความรูทางสังคมศึกษา รหัส ส 33206

ครูผูสอน มาสเตอรเอนก ทองหลอ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 / 6 - 9 ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จาํนวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาเรื่องการอยูรวมกันในสังคม ท่ีมีความเชื่อมสัมพันธกัน มีความแตกตางกันอยางหลากหลาย เพ่ือชวยใหสามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม โดยเปนการสรุปองคความรูทางสังคมศึกษาท่ีนักเรียนไดเรียนมาท้ังหมด ซ่ึงกําหนดสาระตางๆไว ดังนี้

ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ การนําหลักธรรมคําสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยูรวมกันอยางสันติสุข เปนผูกระทําความดี มีคานิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมท้ังบําเพ็ญประโยชนตอสังคมและสวนรวม

หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ลักษณะและความสําคัญ การเปนพลเมืองดี ความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม ความเชื่อ ปลูกฝงคานิยมดานประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

สิทธิ หนาท่ี เสรีภาพการดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก เศรษฐศาสตร การผลิต การแจกจาย และการบริโภคสินคาและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยาง

จํากัดอยางมีประสิทธิภาพ การดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ และการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในชีวิตประจําวัน

ประวัติศาสตร เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปจจุบัน ความสัมพันธและเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆผลกระทบท่ีเกิดจากเหตุการณสําคัญในอดีต ความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย แหลงอารยธรรมท่ีสําคัญของโลก

ภูมิศาสตร ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลงทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคตางๆ ของโลก การใชแผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร ความสัมพันธกันของสิ่งตางๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธของมนุษยกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนุษยสรางข้ึน การนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศ การ

อนุรักษสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 45 ตัวช้ีวัด )

สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส.1.1 ( ม.4 – 6 ) รูและเขาใจประวัติความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธา

ท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข ตัวช้ีวัด 2. วิเคราะหพระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษยผูฝกตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรู การกอตั้ง วิธีการสอนและการเผยแผ

พระพุทธศาสนาหรือวิเคราะหประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด

3. วิเคราะหพุทธประวัติดานการบริหาร และการธํารงรักษาศาสนาหรือวิเคราะหประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด 4. วิเคราะหขอปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด 7. วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตรหรือแนวคิดของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด

13. วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ 14. วิเคราะหขอคิดและแบบอยางการดําเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามท่ีกําหนด 15. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฏกหรือคัมภีรของศาสนาท่ีตนนับถือ และการเผยแผ

17. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอ่ืนๆ โดยสังเขป 21. วิเคราะหหลักธรรมสําคัญในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และชักชวน สงเสริมสนับสนุน ใหบุคคลอ่ืน เห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน

มาตรฐาน ส.1.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ ตัวช้ีวัด

1. ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดีตอสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบขาง 2. ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรมตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ 4. วิเคราะหหลักธรรม คติธรรม ท่ีเก่ียวเนื่องกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญของศาสนาท่ีตนนับถือ

และปฏิบัติตนไดถูกตอง

สาระท่ี 2 หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ส.2.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาท่ีของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมท่ีดีงาม และธํารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหและปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเก่ียวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก 2. วิเคราะหความสําคัญของโครงสรางทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

3. ปฏิบัติตนและมีสวนสนับสนุนใหผูอ่ืนประพฤติปฏิบัติเพ่ือเปนพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก 4. ประเมินสถานการณสิทธิมนษุยชนในประเทศไทยและเสนอแนวทางพัฒนา 5. วิเคราะหความจําเปนท่ีจะตองมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และอนุรักษวัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล

มาตรฐาน ส.2.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจระบอบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดม่ันศรัทธา และรักษาไวซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหปญหาการเมืองท่ีสําคัญในประเทศจากแหลงขอมูลตางๆ พรอมท้ังเสนอแนวทางแกไข 2. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองท่ีนําไปสูความเขาใจ และการประสานประโยชนรวมกันระหวางประเทศ

3. วิเคราะหความสําคัญ และความจําเปนท่ีตองธํารงรักษาไวซ่ึงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

4. เสนอแนวทางและมีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร

มาตรฐาน ส.3.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ

ตัวช้ีวัด 1. อภิปรายการกําหนดราคาและคาจางในระบบเศรษฐกิจ 2. ตระหนักถึงความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีตอเศรษฐกิจสังคมของประเทศ

3. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบสหกรณในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ มาตรฐาน ส.3.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความจําเปนของการรวมมือกันทาง

เศรษฐกิจในสังคมโลก ตัวช้ีวัด 1. อธิบายบทบาทของรัฐบาลเก่ียวกับนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

3. วิเคราะหผลดีผลเสียของความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร

มาตรฐาน ส.4.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ

ตัวช้ีวัด 1. ตระหนักถึงความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรท่ีแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ 2. สรางองคความรูใหมทางประวัติศาสตรโดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ

มาตรฐาน ส.4.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญ และสามารถวิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดข้ึน

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหอิทธิพลของอารยธรรมโบราณและการติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกท่ีมีผลตอพัฒนาการและ การเปลี่ยนแปลงของโลก

2. วิเคราะหเหตุการณสําคัญตาง ๆ ท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เขาสูโลกสมัยปจจุบัน

3. วิเคราะหผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย

4. วิเคราะหสถานการณของโลกในคริสตศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐาน ส.4.3 ( ม.4 – 6 ) เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหประเด็นสําคัญของประวัติศาสตรไทย 2. วิเคราะหความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริยตอชาติไทย

3. วิเคราะหปจจัยท่ีสงเสริมการสรางสรรคภูมิปญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ซ่ึงมีผลตอสังคมไทยในยุคปจจุบัน

4. วิเคราะหผลงานของบุคคลสําคัญ ท้ังชาวไทยและตางประเทศท่ีมีสวนสรางสรรควัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร

ไทย สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร

มาตรฐาน ส.5.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธของสรรพสิ่ง ซ่ึงมีผลตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผน

ที

และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด

1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

2. วิเคราะหอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร ซ่ึงทําใหเกิดปญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคตางๆ ของโลก

3. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ี ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางภูมิศาสตรในประเทศไทยและทวีปตางๆ

4. ประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกวาเปนผลมาจากการกระทําของมนุษยและหรือธรรมชาติ

มาตรฐาน ส.5.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมี สวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหสถานการณและวิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของประเทศไทยและโลก 2. ระบุมาตรการปองกันและแกไขปญหาบทบาทขององคกรและการประสานความรวมมือท้ังในประเทศและนอก

ประเทศ เก่ียวกับกฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภูมิภาคตางๆ ของโลก 4. อธิบายการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการสรางสรรควัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของทองถ่ินท้ังในประเทศไทย

และโลก 5. มีสวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนน

ปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1.การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.ส 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3 มฐ.ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

มฐ.ส 1.1 ตัวช้ีวัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 4.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4,5

2. สภาพจริง 20 คะแนน มฐ.ส 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3 มฐ.ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

3.กลางภาค 30 คะแนน มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

มฐ.ส 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3 มฐ.ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test ) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. เศรษฐศาสตร

(หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน , ระบบเศรษฐกิจ , ตลาดในระบบเศรษฐกิจ , ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง , สหกรณ , การเงิน การคลัง การธนาคาร , เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ , ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ)

2. สังคมวิทยา ( สังคมมนุษย , โครงสรางทางสังคม , สถาบันทางสังคม , การจัดระเบียบทางสังคม , การขัดเกลาทางสังคม , การเปลี่ยนแปลงในสังคม , ปญหาสังคมไทยและแนวทางการแกไขปญหาพรอมแนวทางพัฒนา , ความหมาย ความสําคัญ

และประเภทของวัฒนธรรม ,วัฒนธรรมไทย, พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก ) 3. นิติศาสตร (ความรูท่ัวไปเก่ียวกับกฎหมาย , ประเภทของกฎหมาย , กฎหมายแพงและพาณิชย , กฎหมายอาญา , กฎหมายท่ีควรรู ,

กฎหมายระหวางประเทศท่ีควรรู , สิทธิมนุษยชน) 4. รัฐศาสตร

(ความรูท่ัวไปเก่ียวกับรัฐ , การจัดระเบียบการปกครองภายในรัฐ , ระบอบการปกครองแบบตางๆ , รัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย , การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ , ความสัมพันธระหวางประเทศ , ปญหาการเมืองท่ีสําคัญของไทย)

รายละเอียดการสอบ 1. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

(ความรูท่ัวไปเก่ียวกับศาสนา , ศาสนาสากล , พระพุทธศาสนา , หลักคําสอนในพระพุทธศาสนา , วันสําคัญและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา , พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอยาง , คําแปลบทสวดมนต)

2. ประวัติศาสตร

(ประวัติศาสตรไทย , ประวัติศาสตรสากล) 3. ภูมิศาสตร (เครื่องมือทางภูมิศาสตร , ภูมิศาสตรกายภาพ , ทรัพยากรและการอนุรักษ , ภูมิศาสตรโลก , ภูมิศาสตรประเทศไทย)

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนท่ีครูผูสอนจัดทําข้ึน 2. หนังสือเรียนวิชาหนาท่ีพลเมือง ฯ ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 3. หนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

4. หนังสือเรียนวิชาเศรษฐศาสตร ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 5. หนังสือเรียนวิชาภูมิศาสตร ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 6. หนังสือเรียนวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ (เพ่ิมเติม) รหัส ศ 33206

ครูผูสอน มาสเตอรสันติ หาญจิตตระการ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6/6-7 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะหเรื่ององคประกอบในการออกแบบ display ท่ีใชในชีวิตประจําวัน รวมถึงการนําวัสดุท่ีมีอยูท่ัวไปมา

สรางสรรคใหเกิดผลิตภัณฑอีกรูปแบบ

การใชความรูทางทัศนธาตุ และหลักการออกแบบเบื้องตนในการใชสื่อความหมายในรูปแบบและเทคนิคตางๆ สามารถเลือกใชวัสดุ อุปกรณและเทคนิคข้ันตอนเพ่ือการแสดงออกทางทัศนศิลปรวมถึง การจัดองคประกอบศิลปะในงานออกแบบ ( Composition of Design ) เพ่ือการสรางสรรคงานองคประกอบศิลป โดยสามารถแสดงออกถึงแนวความคิด

และเทคนิคกระบวนการทํางานอยางเปนข้ันตอน โดยใชกระบวนการเรียนรูตามสภาพจริง ท่ีเนนศักยภาพของสมองซีกซายและขวา การเรียนรูในเชิงพหุปญญา มุง

ไปสูการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง เพ่ือการเรียนรูและพัฒนาตนเอง การวัดผล ติดตามและประเมินผลงานตาม

สภาพจริงจากศักยภาพของผูเรียนทุกดาน โดยวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสอดคลองกับหนวยการเรียนรู เพ่ือใหผูเรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยดานศิลปะ(มาตรฐานท่ี 8) ชื่นชม รวมกิจกรรมและมีผลงานดานศิลปะ

มีความรัก ความสนใจงานศิลปะ มีผลงานดานศิลปะและการวาดภาพท่ีตนเองภาคภูมิใจ สามารถวิพากษวิจารณงานศิลปได

มีความสนใจ ซาบซ้ึงและเห็นคุณคาในผลงานดานศิลปะ แสวงหาความรูและพัฒนาทักษะของตนเองในดานศิลปะอยางตอเนื่อง เขารวมกิจกรรมดานศิลปะตามความถนัดและความสนใจของตนเอง สามารถแสดงทักษะหรือความสามารถทางศิลปะตามความสามารถของตนเอง ใฝเรียนรู มีความวิริยะ อุตสาหะ มุงม่ันในการทํางาน มีวินัยและรับผิดชอบ มีจิต

สาธารณะ ตรงตอเวลา และรักษาความสะอาด สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 3, 4,10 รวม 4 ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 1. วิเคราะหการใชทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตางๆ

3. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออกทางทัศนศิลป 4. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณ และกระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสรางสรรคงานทัศนศิลป 10. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี

(ระหวางภาค)

คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การส่ือสาร......10........คะแนน มาตรฐานท่ี ศ 1.1

ตัวชี้วัดท่ี

1,3,4,10

คะแนนเต็ม

20

คะแนน

มาตรฐานท่ี ศ 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 1,3,4 สภาพจริง........30........คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ.....30....คะแนน

แฟมสะสมงาน....10...คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. การประเมินดวยการส่ือสารสวนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.พฤติกรรมในหองเรียน 5 การเอาใจใส ตั้งใจทํางานท่ีไดรับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 สงงานครบทุกชิ้น และสงตรงเวลาท่ีกําหนด

3.การตอบคําถามในเรื่องท่ีกําหนด 2 การมีสวนรวมในชั้นเรียนโดยการตอบคําถาม

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.สรางสรรคงานดานการออกแบบ display 10 ความคิดสรางสรรค

2. องคประกอบในการออกแบบ 10 คาน้ําหนักของสี

3. ทฤษฎีออกแบบ display 5 เนื้อหาและความรูเก่ียวกับงานออกแบบ display

*ครูผูสอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

4. จริยะ อานคิดวิเคราะห 5 ตอบปญหาเหตุการณจากโจทยโดยยึดหลักคุณธรรมและ

จริยธรรม *ครูผูสอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

คะแนนรวม 30

3. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. การจัดทําแฟมสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองท่ีชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น 2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวธิีการทํางานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การสงผลงาน 2 ความเรียบรอย ตรงตอเวลา

คะแนนรวม 10

4. การสอบปฏิบัติ ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. display design (idea sketch) 10 หลักการออกแบบและความคิดสรางสรรค

2. display design (development) 10 ความคิดสรางสรรคในการออกแบบและการลงสี

3. display design (Model) 10 ความสวยงามและความถูกตอง

คะแนนรวม 30

5. การสอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

การออกแบบ display เพ่ือรานคา 7 ความถูกตองตามหลักการออกแบบ

7 การระบายสี ไลน้ําหนักสี เรียบรอย สวยงาม

6 ความตั้งใจ สะอาด สงตรงเวลา

คะแนนรวม 20

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอน และหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- ขอสอบเขามหาวิทยาลัย // ความถนัดทางศิลปกรรม // องคประกอบศิลปะ

- นิตยสาร Art 4 D // นิตยสาร I-Design // นิตยสาร Fine Art และอ่ืนๆ

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู: ศิลปะ วิชา: ดนตรีไทย (เพ่ิมเติม) รหัส: ศ 33205 - 33206

ครูผูสอน : มิสสาวิตรี แจมใจ

ระดับช้ัน ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2560

จํานวน 2 คาบ / สัปดาห 40 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...........................

**************************************************************************************

คําอธิบายรายวิชา

เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจในการสรางสรรคผลงานดาน ดนตรี นําเสนอแนวคิดดานดนตรีและการแสดงท่ีสามารถ

นําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน การสื่อถึงเรื่องราวของงาน นําเสนอความคิดและขอมูล นําเสนอตัวอยางเพลงท่ีตนเองชื่น

ชอบและอภิปรายลักษณะเดนท่ีทําใหงานนั้นนาชื่นชม ปฏิบัติการออกแบบรูปภาพ สัญลักษณหรือกราฟกอ่ืนๆ บรรเลง

เครื่องดนตรีประกอบการรองเพลงดวยบทเพลงท่ีหลากหลายรูปแบบ ใชเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือ

เพลงท่ีฟง ใชทักษะการทํางานเปนกลุม ในกระบวนการ-ผลิตการแสดง ใชเกณฑงาย ๆ ท่ีกําหนดใหในการพิจารณา

คุณภาพการแสดงท่ีชม โดยเนนเรื่องการใชเสียง การแสดงทาและการเคลื่อนไหว มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด

การแกปญหา การใชทักษะชีวิตและการใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน

กษัตริย ใฝรูใฝเรียน อยูอยางพอเพียงมีความซ่ือสัตยสุจริต มุงมันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ ตอการสรางสรรคงาน

ทัศนศิลป ดนตรีและนาฏศิลป เห็นคุณคาและรักความเปนไทย

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก

ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

9. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

10. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและดนตรีสากล

11. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

12. อาน เขียน โนตดนตรีไทย ในอัตราจังหวะตางๆ

13. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

14. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

15. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

16. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

6. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

7. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

8. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

9. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

10. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนน

ปลายภาค

ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.3 / 2.1.7 / 2.2.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.6 / 2.2.5

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2 / 2.2.3

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.2.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา

5. การขับรอง-ปฏิบัติเครื่องดนตรี

a. ทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี, การขับรอง

b. เครื่องดนตรีตามความสนใจ

c. การขับรองเพลงไทย

6. ทฤษฎีดนตรีไทย

a. ทฤษฎีโนตไทย

b. วิเคราะหทฤษฏีดนตรี-นาฏศิลปไทย

c. อาน คิด วิเคราะห เขียนสื่อความ

7. การแสดง/นําเสนอผลงาน

a. การจัดทําแฟมสะสมผลงาน (Portfolio)

b. การบูรณาการ การเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic)

c. การสอบปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยรวมวง (Final)

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

ระหวางเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

2.1. ทักษะ, แบบฝกหัด การปฏิบัติเครื่องดนตรี เปนบทเพลงประเภทเพลงสําเนียงภาษาตางๆ

เกณฑการใหคะแนน

o ทักษะพ้ืนฐานการปฏิบัติเครื่องดนตรี 3 คะแนน

o แบบฝกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรี 2 คะแนน

2.2. การบรรเลงรายบุคคล ตามบทเพลงท่ีกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 15 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

2.3. การขับรองเพลงไทย ตามบทเพลงท่ีกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

o ขับรองตรงจังหวะ / ทํานองของเพลง 3 คะแนน

o ความไพเราะของการขับรอง 2 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

3.1. ความสําเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว

เกณฑการใหคะแนน

o รายละเอียด, ความสําเร็จของชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมาย 10 คะแนน

o ความสะอาด / เปนระเบียบ 5 คะแนน

o ทัศนคติของนักเรียนตอการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 5 คะแนน

3.2. การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม

จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

3.3. การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบทฤษฎีดนตรี ขอสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจํานวน 20 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

เลือกชิ้นงานตามหัวขอท่ีกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก 5 คะแนน

o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน

o การตรงตอเวลา 2 คะแนน

5. การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การนําเสนอผลงานดานดนตรี – การแสดง, การบรรเลงรวมวง ตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวใน

หลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนดนตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชาศิลปะ (ดนตรีสากล/เพ่ิมเติม) รหัส ศ33205 – ศ33206

ครูผูสอน มาสเตอรอชิตพล ทิณรัตน ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1-2/2560 จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอรดนตรีในยุคตาง ๆ สวนประกอบของคอมพิวเตอรดนตรี และ ระบบปฏิบัติการของ

เครื่องคอมพิวเตอร โปรแกรมดนตรี และ โปรแกรมเสริม (Plugins) รวมท้ังวิวัฒนาการท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน และ อนาคต การใชคอมพิวเตอรดนตรีเบื้องตน การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางดนตรีในการสรางผลงานดนตรี ศึกษาระบบ และ การบันทึกขอมูล MIDI และ Wave การใชโปรแกรมประเภท Sequencer การวิเคราะห การแกไขปรับปรุง

ขอมูลการใชโปรแกรมเสริม VST, VSTi วิเคราะหขบวนการผลิตผลงานดนตรีดวยคอมพิวเตอรในรูปแบบตาง ๆ เพ่ือนําไปสูการผลิตผลงานเพ่ือการนําเสนอ หรือ เผยแพระผลงานในรูปแบบของ Audio & Visual Media

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.2.3

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7 / 2.2.5 2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 /

2.2.2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3 / 2.1.8

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / 2.2.4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

• ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

มีอุปกรณและเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน

มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน

มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

บรรเลงบทเพลง นักเรียนบรรเลงบทเพลงตามท่ีกําหนดให เกณฑการใหคะแนน

บทเพลงตรงตามจังหวะ-ทํานอง ถูกตองแมนยํา............................. 20 คะแนน

บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณเพลง......................... 10 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

• การสอบบรรเลงเพลง (20 คะแนน)

นักเรียนเลือกบทเพลง หรือครูกําหนดบทเพลง

เกณฑการใหคะแนน

ความถูกตองในโนตและจังหวะ ....................................................... 10 คะแนน

เทคนิคการบรรเลงตามรูปแบบของบทเพลงท่ีบรรเลง......................... 5 คะแนน

ความตอเนื่องในการบรรเลงและทักษะการอานโนต.. ......................... 5 คะแนน

• การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความ จากบทความท่ีครูกําหนด พรอมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม

เกณฑการใหคะแนน

การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน

พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี)................................................ 2 คะแนน

• การสอบทฤษฎ ี(5 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

นักเรียนนําเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร ตามหัวขอท่ีครูกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน

ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน

ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน

• สอบปลายภาค 20 คะแนน

การสอบแสดงผลงานของนักเรียน Computer Music Recital โดยนักเรียนจะตองเปนผูสรางงานแสดงของนักเรียน

ข้ึนมาเอง และ จัดแสดงผลงานของนักเรียนในรูปแบบคอนเสิรต โดยจะประเมินจากการพัฒนาการในแตละสัปดาห และ

ผลงานการแสดง (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

- บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโนต ถูกตองและแมนยํา........................ 10 คะแนน

- บุคลิกภาพของผูสอบ.............................................................. 5 คะแนน

- มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาดนตรีเพ่ิมเติมระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : English IE2 Code อ33206

Instructor : M. Pongpol Suansri

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2/4 periods/week 40/80 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

A practical course that teaches the skills of extended reading for both academic purpose and

pleasure including such strategies as understanding facts and details, identifying negative facts, and

locating referents. Over the course of the semester, students will be exposed to a wide range of

advanced level reading passages and will become proficient in each one. Emphasis will be placed on

the reading skills necessary for university entrance examination.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand1: Language for communication F1.1 Understand the listening and speaking

process. Be able to understand a story from

listening and reading various media and apply this

understanding logically.

F1.2 Gain communication skills to exchange news and

information, express opinions by using the proper

technology and management for lifelong learning.

Strand2 : Language and culture

F2.2 Understand the similarities and differences in

the cultures and languages of native speakers and

Thais. Apply these understandings logically.

Strand3 : Language and its relationship to other

learning groups

F3.1 Use the foreign language to connect

knowledge with other learning groups. This is the

basis for opening up and developing students’

vision.

Indicators : (Write the details in items) 1. Observe instructions in manuals for various types of work, clarifications, explanations and descriptions heard and read. 2. Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles of reading. 3. Explain and write sentences and texts related to various forms of non-text information, as well as specify and write various forms of non-text information related to sentences and texts heard or read. 4. Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to and reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justifications and examples for illustration. 5. Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately. 6. Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/ issues/news and situations heard and read. 7. Analyse/discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais, and apply them appropriately. 8. Research/search for, make records, summarise and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

Communication 10 marks 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

30 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

Authentic 20 marks 1.1.1 1.1.2 1.1.3 1.1.4 2.2.1 2.2.2

Performance test 30 marks 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

Portfolio 10 marks 3.1.1

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

Reading skills to be assessed include Understanding facts and details, Identifying negative facts,

Locating referents, and Understanding vocabulary in context. Written reflection on the advanced level

reading passages whose marks will be determined by accuracy, correctness, and fluency of the language

will also be included.

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

Reading skills to be assessed include Making inferences, Determining purpose, and Recognizing

paraphrase and text organization.

ช่ือ .......................................................................... นามสกลุ................................................................. เลขที ่......................... ห้อง ม.6/..........................

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท 33106 ครูผูสอน ม.นิมิตร กิตติบริรักษ ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 , ม.5 พสพ. ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จาํนวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะหเก่ียวกับโครงสรางของการแสดงเหตุผล ภาษาท่ีใชในการแสดงเหตุผล วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

เหตุและผล การอนุมานเหตุและผลท่ีสัมพันธ โครงสรางการแสดงทรรศนะ ความแตกตางระหวางทรรศนะของบุคคล ประเภท

ของทรรศนะ ลักษณะของภาษาท่ีใชแสดงทรรศนะ ปจจัยท่ีสงเสริมการแสดงทรรศนะ การประเมินคาทรรศนะ โครงสรางของ

การโตแยง หัวขอและเนื้อหาของการโตแยง กระบวนการโตแยง การวินิจฉัยเพ่ือตัดสินขอโตแยง ขอควรระวังในการโตแยง ความ

ตองการพ้ืนฐานของมนุษยกับการโนมนาวใจ ลักษณะภาษาและการพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ แนวทางการพัฒนา

ความสามารถการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา การเขียนเรียงความเก่ียวกับโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ การ

ใชภาษาใหงดงามโดยการเลือกสรรคํา การเรียบเรียงคํา คุณคาและความหมายของสํานวนไทยการอานวรรณคดี ศึกษาวรรณคดี

เรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา เรื่องสามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ เรื่องขัตติยพันธกรณี

โดยใชกระบวนการฝกฝนทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การสืบเสาะหาความรู การสืบคน

ขอมูล การคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาเรื่องท่ีอาน

เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใช

ประโยชนในชีวิตประจําวัน มีนิสัยรักการอาน รักความเปนไทย ซ่ือสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ

และเห็นคุณคาการใชภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ

สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐานการเรียนรู ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 8, 9 มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิฅ และมีนิสัยรักการอาน ตัวช้ีวัดท่ี 1 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 2 ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอาน ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีอานในทุกๆดานอยางมีเหตุผล ตัวช้ีวัดท่ี 4 คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอาน และประเมินคาเพ่ือนําความรู ความคิดไปตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต ตัวช้ีวัดท่ี 5 วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงกับเรื่องท่ีอานและเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล

ตัวช้ีวัดท่ี 8 สังเคราะหความรูจาการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูตางๆมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ตัวช้ีวัดท่ี 9 มีมารยาทในการอาน

สาระท่ี 2 การเขียน

มาตรฐานการเรียนรู ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆไดตรงตามจุดประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตองมีขอมูลและ

สาระสําคัญชัดเจน

ตัวช้ีวัดท่ี 8 มีมารยาทในการเขียน

สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐานการเรียนรู ท 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 5

มาตรฐานท่ี ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก

ในโอกาสตางๆอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวช้ีวัดท่ี 1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู

ตัวช้ีวัดท่ี 5 พูดในโอกาสตางๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหม

สาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 4

มาตรฐานท่ี ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา

ตัวช้ีวัดท่ี 2 ใชคํา กลุมคําสรางประโยคตรงตามจุดประสงค

ตัวช้ีวัดท่ี 4 แตงบทรอยกรอง

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรรกรรม

มาตรฐานการเรียนรู ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5

มาตรฐานท่ี ท 5.1 เขาใจ แสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยางเห็นคุณคาและซาบซ้ึง และ

นํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 1 วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเบื้องตน

ตัวช้ีวัดท่ี 2 วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของ

สังคมในอดีต

ตัวช้ีวัดท่ี 3 วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใช

ในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 4 สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัดท่ี 5 รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบานและอธิบายภูมิปญญาทางภาษา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1.การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 8

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

30 คะแนน

มฐ. ท 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 6

มฐ. ท 2.1

ตัวชีว้ัดท่ี 1

มฐ. ท 4.1

ตัวชี้วัดท่ี 2

มฐ. ท 5.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 ,2 ,3, 4

2.สภาพจริง 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 8

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4, 5

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 4

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน มฐ. ท 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2, 3, 5

มฐ. ท 2.1 ตัวชี้วีดท่ี 1

มฐ. ท 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2

มฐ. ท 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 3, 4

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง รายละเอียด

- ขุนชางขุนแผน

- ขัตติยพันธกรณี

-จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

- ความงามของภาษา -โวหารภาพพจน และการสรรคํา

- ความสัมพันธระหวางกับ

ความคิด

-บทบาทของภาษาในการพัฒนาความคิด

-วิธีคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคา และวิธีคิดแกปญหา

- เหตุผลกับภาษา

-โครงสรางของการแสดงเหตุผล

-การใชภาษาในการแสดงเหตุผล

-วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน

- สํานวนไทย -ความหมายและการใชสํานวนไทย

-การวิเคราะหค

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทท่ี รายละเอียด

- สามกก

- จับใจความสําคัญ

-แปลความ สรุป และขยายความ

-วิเคราะหเรื่อง

-ประเมินคุณคาของเรื่อง

-ประเภทของฉันท

- การใชภาษาแสดงทรรศนะ

- โครงสรางและประเภทของทรรศนะ

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การวิเคราะหภาษาท่ีใชในการแสดงทรรศนะ

- การใชภาษาในการโตแยง

- โครงสรางของการโตแยง

- ลักษณะของภาษาท่ีใชในการโตแยง

- กระบวนการโตแยงและการวินิจฉัยเพ่ือตัดสิน

การโตแยง

- การใชภาษาเพ่ือโนมนาวใจ

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการโนมนาว

- กลวิธีในการโนมนาวใจ

- การพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ

- การอธิบาย การบรรยาย

และการพรรณนา

- ลักษณะภาษาท่ีใชในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- จุดมุงหมาของการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

- การวิเคราะหการใชภาษาในการอธิบาย บรรยาย และพรรณนา

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- วรรณคดีวิจักษ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- ภาษาเพ่ือพัฒนาการคิด ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

- เว็บไซต http://www.google.co.th

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน (O-NET) รหัส ค 33106

ครูผูสอน 1. มิสอรนิภา ไทยแท 2. มิสพัชราวดี สายทองแท ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี มัธยมศึกษาปที 6/1-9 และ 5/9 พสพ ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ..........

คําอธิบายรายวิชา ศึกษา/ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ สถิติและการวิเคราะหขอมูล การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม

การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล และการวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ลําดับและอนุกรมจํากัด ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต

ความนาจะเปน แผนภาพตนไม กฎการนับเบื้องตน แซมเปลสเปซ เหตุการณและความนาจะเปน

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดย ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใชเหตุผล

การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการ

เรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยาสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางาน อยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 : พีชคณิต มาตรฐานท่ี ค.4.1 : อธิบายและวิเคราะหแบบรูป(pattern)ความสัมพันธและฟงกชันตางๆ ตัวชี้วัด 4. เขาใจความหมายของลําดับและหาพจนท่ัวไปของลําดับจํากัด

5. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต หาพจนตางๆของลําดับเลขคณิตและ ลําดับเรขาคณิตและการนําไปใชได

มาตรฐานท่ี ค.4.2: ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร ( mathematic model) อ่ืนๆ แทนสถานการณตางๆตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช ตัวชี้วัด 6. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก ของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิตโดยใชสูตรและนําไปใชได

สาระท่ี 5. : การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐานท่ี ค. 5.1 : เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวชี้วัด 1. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงายๆ

2. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงแบนมาตรฐานและเปอรเซ็นไทลของขอมูล

3. เลือกใชคากลางท่ีเหมาะสมกับขอมูลและวัตถุประสงค มาตรฐานท่ี ค.5.2 : ใชวิธีการทางสถิติและความรูเก่ียวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล ตัวชี้วัด 1. นําผลท่ีไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชคาดการณท่ีกําหนดให 2. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณและนําผลไปใชคาดการณท่ี กําหนดได มาตรฐานท่ี 5.3 : ใชความรูเก่ียวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา ตัวชี้วัด 1. ใชขอมูลขาวสารและคาเฉลี่ยชวยในการตัดสินใจ 2. ใชความรูเก่ียวกับความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและการแกปญหา

สาระท่ี 6. : ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการ นําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วัด 2. ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

3. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตองและชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอ่ืนๆ

6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

30 คะแนน

ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

2.สภาพจริง 20 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 6 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ค 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4-5 ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3 ค 5.3 ตัวชี้วัดท่ี 1 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 2-6

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test / Performance Assessment) 30 คะแนน รายละเอียดการสอบ บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห

1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล 1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน

บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต 2.2 ลําดับเรขาคณิต

2. สอบปลายภาค (Final-test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 1. สถิติและการวิเคราะห 1.1 การวัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 1.2 การวัดตําแหนงท่ีของขอมูล

1.3 การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงแบนมาตรฐาน บทท่ี 2. ลําดับและอนุกรม 2.1 ลําดับเลขคณิต

2.2 ลําดับเรขาคณิต 2.3 หาผลบวก n พจน 2.4 อนุกรมเลขคณิต

2.5 อนุกรมเรขาคณิต บทท่ี 3. ความนาจะเปน แผนภาพตนไม 3.1 แผนภาพตนไม

3.2 กฎการนับ 3.3 แซมเปลสเปซ 3.4 เหตุการณ

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐานคณิตศาสตรเลม 4.ของสถานบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนฯ 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนผลิต 3. ขอสอบ O – Net ยอนหลังเรื่อง สถิติ ลําดับและอนุกรม และความนาจะเปน

4. หนังสือคณิตศาสตรของทุกสํานักพิมพตางๆท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเรื่องท่ีเรียนเชน สถิติและการวิเคราะหขอมูล ลําดับและอนุกรมจํากัด ความนาจะเปน แผนภาพตนไม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Science IE Code: SC33106 Instructors: 1. Master Phongtorn Kaewyongphang 2. Master Patawee Srisawet

3. Miss Siripen Tanpleng Foreigner: 1. Miss Shirley Aldeguer Class Level: Secondary 6 and 5/9 Semester 2 Academic Year 2017

3 periods/week 60 periods/semester 1.5 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others ...............

Course Description:

To investigate and explain nature and evolution of fixed stars such as constellations, energy of stars, classification of stars, life cycle of stars and measuring star distances by using parallax method. To investigate and define evolution of galaxies and the universe such as star systems and star cluster, type of galaxies, formation and expansion of the universes. To investigate and describe evolution of the solar system such as overview of the solar system model, formation of the solar system, inner planets and outer planets and other objects in the solar systems. To investigate and define about benefit in launching of satellites, the launching of space ships, and space exploration by utilizing space ships and space stations.

Finally, the student will learn how to use the scientific process experiment, investigative process, and search for and accumulate data. To use discussion to create knowledge and develop the student’s thinking process, ability to understand more, ability to communicate from their learning, being capable of making decisions and finally, insight into the virtue of proper knowledge and applying it to one’s daily life, to have a scientific mind, moral, ethical and proper value.

The Learning Standard:

Strand Standard Astronomy and Space Standard Sc7.1:

Understanding of evolution of the stars, galaxies, the universe and the solar system; interrelationships and explain within the stars, galaxies, the universe, the solar system and their effects on living things on Earth; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge for useful purposes. (Indicators 1-3)

Strand Standard Standard Sc7.2:

Understanding of importance of launching of satellites, space ships space exploration by utilized for space exploration and natural resources for agriculture and communication; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge that could be ethically applied to life and the environment. (Indicators 4-6)

Indicators:

1. Search relevant information for and explain the constellation and evolution of fixed stars.

2. Search for relevant information and explain evolution of the galaxies and the expanding of the

universe.

3. Search for relevant information and explain formation and evolution of the solar system.

4. Search for relevant information and explain inner planets, outer planets and other objects in the

solar system.

5. Search for relevant information and explain the launching of satellites and benefits of satellites in

various respects.

6. Search for relevant information and explain the launching of space ships, space stations and

space explorations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

1. Communication 10 marks 1 - 6 30 marks 4 - 6

2. Authentic 20 marks

– Dictation 5 marks

– Presentation 10 marks

– Exercise and Assignments 5 marks

1 - 6

3. Performance test 30 marks 1 - 3

4. Portfolio 10 marks 1 - 6

Total 100 marks

Examinations

1. Performance Assessment (30 marks)

Unit 1: Stars, Galaxies and the Universe

- Constellations

- Energy of the stars

- Classification of stars and Life cycle of stars

- The Star systems

- Galaxies classifications

- Formation of the Universe: The Big Bang Theory, CMB dark matter and dark energy

Unit 2: The Solar Systems

- Models and formation of the solar system

2. Final Examination (30 marks)

Unit 2: The Solar Systems

- The inner planets outer planets in the Solar Systems

- Other objects in the Solar Systems

Unit 3: Observing and Exploring Space

- The launching of satellites and benefits of satellites

- Space ship space station and space explorations

References:

1. Text book and Hangouts

English Book: 1. My World of Earth Science (Astronomy)

2. Caroles Stott et al. Space from Earth to the Edge of the Universe, Dorling

Kindersley Limited, 2010.

(Link: http://en.bookfi.net/book/1371153)

Thai Book: ทวีศักดิ์ บุญบูชาไชย, หนังสือคูมือเตรียมสอบรายวิชาพ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร และ

อวกาศ ม. 4 – 6, สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา จํากัด.

2. The Internet and web sites

NASA : https://science.nasa.gov/science-news

สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) : https://www.narit.or.th/

สมาคมดาราศาสตรไทย (The Thai Astronomical Society): http://thaiastro.nectec.or.th/

ดาราศาสตร - LESA: ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร: http://www.lesa.biz/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Social Studies Code: SO 33111

Instructors: 1. Master Kreetha Tirawattayawat 2. Mr. Vijay Daneil

Class Level: Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods / semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description:

The Social Studies course of Secondary 6 in semester 2 will primarily focus on the important

events that affected and/or changed our 21st century world. Exploring this syllabus through various

aspects as enthusiastic learners will not only broaden students’ knowledge, but also enhance students’

analytical and critical skills in the current world situation. Topics include but are not limited to: Terrorism

and Globalized World, Global Warming and Climate Change, Migrations and Refugees, The Asian Financial

Crisis, Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy, and, the newest and most

important for all Thai citizens, Thailand 4.0. In this course, students must possess the ability to think

incisively, to handle problems in both micro and macro terms, be able to process information that may

seem to be unrelated and find the ties that connect them. Students are responsible for studying the

assigned topics both inside and outside of class and will be expected to engage in discussion,

presentation, and analytical writing assignments. In addition to that, students will be able to gain more

understanding of how these events frame the way of the world and the way of living of its citizens.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 4: The 21st Century World History Sub-Strand:

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees 4. The Asian Financial Crisis 5. Sustainable Development and Sufficiency

Economy Philosophy 6. Thailand 4.0

So.4.1: Understanding of the meaning and significance of historical times and periods; and ability to avail of historical methodology for systematic analysis of various events.

So.4.2: Understanding of development of mankind from the past to the present; realizing the importance of relationships and continuous change of events, and ability to analyse their effects.

Indicators: (Write the details in items)

Strand 4: History (The 21st Century World History)

So.4.1.1 Be aware of the importance of historical times and periods indicating changes in the

development of mankind

(1) Identify crucial events occurred in the 21st century world.

(2) Responsible for studying topics both inside and outside of class and be able to organize and

present information of assigned topics in a coherent manner.

So.4.1.2 Create new bodies of historical knowledge through systematic application of historical

methodology

(1) Use and apply historical, political, economic, and security concepts, terms and facts learnt to

new contexts and issues.

(2) Observe, collect and extract relevant information from both primary, if possible, and

secondary resources (literary, numerical, diagrammatic, pictorial, and graphical forms).

So.4.2.2 Analyse various important events affecting social, economic and political changes leading to the

present world

(1) Able to explain and give opinions on topics through examination, writing assignments, and

group presentations.

So.4.2.4 Analyse the world situation of 21st century

(1) Analyse and cohere crucial causes, consequences, and relations between events occurred in

the 21st century world applying historical, political, economic, and security concepts, terms

and facts.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks So.4.1.1 30 marks So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Authentic 20 marks So.4.1.2

So.4.2.2

Performance test 30

marks

So.4.1.1

So.4.1.2

So.4.2.2

So.4.2.4

Portfolio 10 marks So.4.2.2

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. Terrorism and Globalized World 2. Global Warming and Climate Change 3. Migration and Refugees

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

• The 21st Century World History

1. The Asian Financial Crisis 2. Sustainable Development and Sufficiency Economy Philosophy 3. Thailand 4.0

References:

Subject’s supplementary sheets, Contemporary Issues in the 21st Century (Saint Gabriel’s College, 2nd

Edition 2017).

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ศาสนา รหัส ส 33112

ครูผูสอน มิสนิศากร วงศสินธพ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-6/9 ภาคเรียนท่ี 2 /2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและวิเคราะหเก่ียวกับความสําคัญประวัติความเปนมา องคประกอบของศาสนาตางๆ ในเรื่อง ศาสดา หลักธรรม สาวก ผูสืบทอดศาสนา ศาสนพิธี และเปาหมายสูงสุดของชีวิตวิเคราะหและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ประกอบดวย ทุกข (ขันธ 5) สมุทัย (หลักกรรม ในเรื่อง นิยาม 5 และวิตก 3) นิโรธ (ภาวนา 4) มรรค (พระสัทธรรม 3 ปญญาวุฒิธรรม 4 พละ 5 อุบาสกธรรม 5) มงคล (สงเคราะหบุตร สงเคราะหภรรยาหรือสามี สันโดษ) พุทธศาสนสุภาษิต การสังคายนาพระไตรปฎก การปฏิบัติตนเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ การปฏิบัติตนเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม ศาสนพิธีเก่ียวกับพิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ หลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับวันสําคัญและเทศกาลสําคัญในพระพุทธศาสนา การเปนชาวพุทธท่ีดีตอพระภิกษุ เปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและสังคม การพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาอันสงผลถึงการพัฒนาคน พัฒนาชาติและโลก ประวัติของศาสดาของศาสนาอ่ืนและหลักคําสอนพ้ืนฐาน

โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม ในการคิดวิเคราะหผลการเปลี่ยนแปลง ประเมิน เสนอแนะ สามารถสื่อสารและ ระบุสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางดานศาสนาท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน และนําเสนอองคความรูใหมอยางเปนระบบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปแกปญหาของตนเองและครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุขไมวาจะเปนบุคคลในศาสดาใด สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวน 6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ศาสนา มาตรฐาน ส. 1.1 เขาใจประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ โดยมี ศรัทธาท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข มาตรฐาน ส. 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฎิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี และธํารงพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีนับถือ ตัวช้ีวัด (รวม 6 ตัวช้ีวัด) ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 13 วิเคราะหหลักธรรมในกรอบพระพุทธศาสนา หรือหลักคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 15 วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก หรือคัมภีรของ ศาสนาท่ีตนนับถือและการเผยแผ ส. 1.1 ตัวชีว้ัดขอ 21 วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และชักชวน สงเสริมสนับสนุนใหบุคคลอ่ืนเห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 1 ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดีตอสาวกสมาชิกในครอบครัวและคนรอบขาง ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 2 ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรม ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ

ส. 1.2 ตัวชีว้ัดขอ 4 วิเคราะหหลักธรรม คติธรรมท่ีเก่ียวของกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ ของศาสนาท่ีตนนับถือ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัด ( ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัด ( ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน

ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ

13,21

ส.1.2 ตัวชี้วัดขอ 1

30 คะแนน

ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15

ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2,4

สภาพจริง 20 คะแนน

กลางภาค/ ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

2. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. ประวัติ ความสําคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนๆท่ีตนนับถือ (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 13)

2. การปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี (ส.1.2ตัวชี้วัดขอ 1)

3. วิเคราะหหลักธรรมในการอยูรวมกัน (ส.1.1 ตัวชี้วัดขอ 21)

3. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฎก (ส. 1.1 ตัวชี้วัดขอ 15)

2. ศาสนพิธี พิธีกรรมของแตละศาสนา (ส. 1.2 ตัวชี้วัดขอ 2)

3. วันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญ (ส. 1.2 ตัวชี้วดัขอ 4)

หนังสือท่ีใชอางอิง และเอกสารประกอบการสอน

1. เอกสารใบงานความรูศาสนา

2. แบบฝกหัดศาสนา

3. ศาสนาโลก โดยธนู แกวโอภาส

4. ขอสอบเขามหาวิทยาลัย o-net สาระ ศาสนา

5. พระพุทธศาสนา ผศ.ดร.ธีระพงษ มีไธสง และคณะ

6. พระพุทธศาสนา4-6 โดยสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษา รหัส 33106 ครูผูสอน มิสฤทัยทิพย เอ่ียมสุเมธ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี …6/1-9..... ภาคเรียนท่ี …2…./2560

จาํนวน …1….. คาบ/สัปดาห ……20……. คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

1. ใสใจสุขภาพ การศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน โรคและการเจ็บปวยท่ีเกิดข้ึนจากพฤติกรรมสุขภาพ ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ การสรางศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณและความเครียดและวัยรุนกับการพัฒนางานสาธารณสุขชุมชน ชวยใหนักเรียนสามารถวิเคราะหสาเหตุของปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนและสังคม สามารถเลือกใชทักษะในการปองกันและแกไขปญหาท่ีอาจสงผลกระทบมาสูตนเองและสังคมและสามารถท่ีจะเขาไปมีสวนรวมในการวางแผนสรางเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนอยางมีประสิทธิภาพได

2. ชีวิตปลอดภัย การศึกษา ทําความเขาใจเก่ียวกับปญหาและการแกไขปญหาสารเสพติด กระบวนการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน อุบัติภัยกับการดําเนินชีวิตและอุบัติภัยในโรงเรียนและชุมชน ถือวาเปนความรูและทักษะเบื้องตนท่ีเปนปจจัยสําคัญอีกหนึ่งปจจัยท่ีชวยใหเราสามารถท่ีจะดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดดวยความปลอดภัยและมีสุขภาพท่ีดี

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …3…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ………3……..(ใสใจสุขภาพ) มาตรฐานท่ี พ 4.1 รู เขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน วิเคราะหสาเหตุของการเกิดโรคจากพฤติกรรมสุขภาพและเสนอแนะแนวทางในการสรางเสริมศักยภาพของตนเอง การจัดการอารมณและความเครียดตลอดจนการมีสวนรวมในการวางแผนสรางเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนได ตัวช้ีวัด 1 , 4 , 5 ตัวชี้วัด ท่ี 1 : วิเคราะหบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลท่ีมีตอการสรางเสริมสุขภาพและการ ปองกันโรคในชุมชน ตวัชี้วัด ท่ี 4 : วิเคราะหสาเหตุและเสนอแนวทางการปองกันการเจ็บปวยและการตายของคนไทย ตวัชี้วัด ท่ี 5 : วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …5…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……4……….. (ชีวิตปลอดภัย) มาตรฐานท่ี พ 5.1

รูและเขาใจผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด ตลอดจนการวางแผนเพ่ือกําหนดแนวทางการลดอุบัติเหตุและการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชนอยางถูกตองได

ตัวช้ีวัด 1 , 2 , 4 , 5 , 6 ตัวชี้วัด ท่ี 1 : มีสวนรวมในการปองกันความเสี่ยงตอการใชยาการใชสารเสพติดและความรุนแรง เพ่ือ สุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัด ท่ี 2 : วิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด

ตัวชี้วัด ท่ี 4 : วางแผนกําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัด ท่ี 5 : มีสวนรวมในการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัด ท่ี 6 : ใชทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณท่ีเสี่ยงตอสุขภาพและความรุนแรง

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

20

มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัด 1 , 4 , 5

มฐ.พ 5.1 ตัวช้ีวัด 1, 2, 4, 5, 6

2.สภาพจริง …30… คะแนน มฐ.พ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

4.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน มฐ.พ 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,4,5

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

รวมคะแนนท้ังหมด …100…….. คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน 2. โรคและการเจ็บปวยท่ีเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ 3. ปญหาสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ 4. การสรางศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณและความเครียด รายละเอียดการสอบ 1. ใสใจสุขภาพ 2. ชีวิตปลอดภัย หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม 1. ใบงานความรู 2. หนังสือแบบเรียน 3. ขอมูล website ตางๆ

3. สอบปลายภาค ……20……… คะแนน

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (แบดมินตัน) รหัส พ33206 ครูผูสอน มาสเตอรกุศล ทองนอก ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .... มัธยมศึกษาปท่ี ....6/1-9 ภาคเรียนท่ี 2/2560 จาํนวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพ้ืนฐาน วิธีการเลนและประเภทการแขงขันกีฬาแบดมินตัน โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชื่อมโยง การฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบคน

เพ่ือใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงม่ันในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอผูอ่ืนและสังคม 3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนําหลักการแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ

กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. ออกกําลังกายและเลนกีฬาท่ีเหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของ

ทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปนแนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจําวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬา ดวยความมีน้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุก

โอกาส จนเปนบุคลิกภาพท่ีดี 4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

1. ความตั้งใจ 2. ความรับผิดชอบ 3. สนใจตอกระบวนการเรียนรู

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) (…30……… คะแนน) เกณฑการใหคะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด

1.การมีสวนรวมในการแขงขันกีฬา 2. การฝกซอม สนใจในการแขงขัน 3. ผลงานในการแขงขัน

3. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( ……30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การสง – เสิรฟลูก (15) - สงลูกสั้นหนามือ 5

- สงลูกสั้นหลังมือ 5

- สงลูกยาวหนามือ 5 - ทักษะการตีลูก - การตีลูกโยน 5

แบดมินตัน (15) การตีลูกดาด 5

จํานวนครั้ง / 1 นาที 5 4. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ทําใบงานเทคนิคทักษะชั้นสูง 10

1. ความถูกตองของขอมูล = 3 คะแนน 2. รูปแบบการนําเสนอของขอมูล และความคิด

สรางสรรค = 3 คะแนน 3. ความปราณีต สวยงาม สะอาด = 2 คะแนน 4. การสงงานตรงตามเวลาท่ีกําหนด = 2 คะแนน

คะแนนรวม 10

5. สอบปลายภาค ………20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

- การแขงขันแบดมินตัน - ทักษะการตีแบดมินตัน 5

- รูกฎ กติกา กีฬาแบดมินตัน 5

- มีน้ําใจนักกีฬา 4

- การใช – เก็บอุปกรณ 3

- ความรูท่ัวไปเก่ียวกับแบดมินตัน 3

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติมหนังสือแบบเรียน วพ แบดมินตัน

เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติม

จากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (ฟุตซอล) รหัส พ.33206

ครูผูสอน 1. มาสเตอร สงา จาระนัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ... มัธยมศึกษาปที่ 6/1-9 ภาคเรียนที่ 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สปัดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประวัติกฎกติกา ทักษะพื้นฐาน วิธีการเลนกีฬาฟุตซอลเปนทีมและการ

ทดสอบวายน้าํ

โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชือ่มโยง การฝกปฏิบตัิ กระบวนการกลุม และกระบวนการสบืคน

เพื่อใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงมั่นในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การ

ใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติที่ดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5

พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

รวม 9 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา

2. ใชความสามารถของตน เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คํานึงถึงผล ที่เกิดตอผูอ่ืนและสังคม

3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย 1 ชนิด

4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนาํหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิา มี

น้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชืน่ชมในสนุทรียภาพของการกีฬา

1. ออกกําลังกายและเลนกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอยางสม่าํเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลด

ความเปนตัวตน คํานึงถึงผลที่เกิดตอสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุปเปน

แนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจาํวันอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลนและการแขงขันกีฬาดวยความมนี้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุกโอกาส จน

เปนบุคลิกภาพที่ด ี

4. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชืน่ชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

คะแนนการส่ือสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจตอกระบวนการเรียนรู 5 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) หัวขอเรื่อง การรับสงบอล(10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดีมาก 9-10

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองดี 7-8

การรับและสงบอลดวยขางเทาดานในไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การพาบอลเคล่ือนท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองดีมาก 9-10

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองด ี 7-8

การพาบอลเคลื่อนท่ีไดถูกตองปานกลาง 5-6

หัวขอเรื่อง การยิงประตูท่ี (10 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การยิงประตูไดถูกตองดีมาก 9-10

การยิงประตูไดถูกตองดี 7-8

การยิงประตูไดถูกตองปานกลาง 5-6

คะแนนสอบตามสภาพจริง 25+5 คะแนน หัวขอเรื่อง..................การเดาะบอล...............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 5

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด 5

หัวขอเรื่อง............การหยุดบอลและการครองบอล...... ( ..15 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ทักษะความถูกตอง 15

จํานวนครั้งตามท่ีกําหนด

หัวขอเรื่อง..................อาน คดิ วิเคราะห ( ..5 คะแนน)

คะแนนสอบแฟมสะสมงาน 10 คะแนน

หัวขอเรื่อง....................กฏกตกิา.............( ..10 คะแนน)......................

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

ปฏิบัติตามกฏกติกาอยางถูกตอง 5

ตอบคําถามไดอยางถูกตอง 5

การประเมินปลายภาค (20 คะแนน)

หัวขอเรื่อง การเลนทีม (20 คะแนน)

พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน

การมีสวนรวมกับทีม 5

การแสดงออกถึงทักษะกีฬาฟุตซอล 5

การปฏิบัติตามกฏกติกาของการเลนกีฬาฟุตซอล 5

ความมีน้ําใจเปนนักกีฬา 5

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือแบบเรียน วพ ฟุตซอล เอกสาร แบบฝกหัด แผนภาพ หนังสือคนควาเพ่ิมเติมจากอินเตอรเน็ต หองสมุด

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ (พ้ืนฐาน) รหัส ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรธนิตย เพียรมณีวงศ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี .......... มัธยมศึกษาปท่ี 6/1-9 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก และฝกปฏิบัติ การใชทัศน

ธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ การใชศัพททางทัศนศิลป การใชวัสดุอุปกรณและ

กระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป การสรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการ

ออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป การออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะกับโอกาสและสถานท่ี ศึกษาจุดมุงหมายของ

ศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิค และเนื้อหาในการสรางงาน การวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณ

ศิลปะ การสรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและสากลดวยการศึกษางานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ งานทัศนศิลปในรูปแบบ

ตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ศิลปนท่ีมีชื่อเสียง การประเมินคุณคา พัฒนาทักษะ และประยุกตใชกับกลุมสาระการ

เรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางความคิด

วิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย

มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10

มฐ. ศ 1.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 2, 3

รวม 13 ตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน

ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. วิเคราะหการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ

2. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลปโดยใชศัพททางทัศนศิลป

3. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออกทางทัศนศิลป

4. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุอุปกรณและกระบวนการท่ีสูงข้ึน ในการสรางงานทัศนศิลป

5. สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป

6. ออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะสมกับโอกาสและสถานท่ี

7. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุอุปกรณเทคนิคและเนื้อหา เพ่ือสรางสรรคงาน

ทัศนศิลป

8. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ

9. จัดกลุมงานทัศนศิลป เพ่ือสะทอนพัฒนาการ และความกาวหนาของตนเอง

10. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ สรางงานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปท่ีเปนม

รดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล

1. วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก

2. ระบุงานทัศนศิลปของของศิลปนท่ีมีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม

3. อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของ วัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 7 , 8

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

คะแนนเต็ม

.......20........

คะแนน

ศ 1.1

ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 4 ,

5 , 7 , 9

2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 8 , 9

3.ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,7 , 8,10

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 10

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (……10….. คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

การจดบันทึกทฤษฎีประวัติศาสตรศิลปะ = 5 คะแนน

ตรงเวลา = 1 คะแนน สรางสรรค= 2 คะแนน เรียบรอย สวยงาม = 2 คะแนน

การทดสอบยอยทฤษฎีประวัติศาสตรศิลปะ = 5 คะแนน

ความรูความเขาใจในงานประวัติศาสตรศิลปะยุคสมัยตางๆ

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( ……30……… คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

วาดภาพคนเหมือน / การตูนลอเลียน (ทักษะปฏิบัติ) = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

• แบบฝกหัดภาคทฤษฎี 1 ชุด = 5 คะแนน

ขอสอบจริยธรรม /อัตนัย = 5 คะแนน

3.การประเมินภาคปฎิบัติ (Performance Assessment) 30 คะแนน (งานปฏิบัต)ิ

การสรางสรรคผลงานประติมากรรม = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานภาพพิมพ = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

การสรางสรรคผลงานศิลปะไทย = 10 คะแนน

สวยงาม , สรางสรรค = 5 คะแนน ทักษะฝมือ= 3 คะแนน นําเสนอ , ตรงเวลา = 2 คะแนน

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) = 10 คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

การเก็บรวบรวมผลงานครบถวนสมบูรณอยูในสภาพเรียบรอย

การปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง 5 คะแนน

การพัฒนา 3 คะแนน

การสงผลงาน 2 คะแนน

5. การประเมินปลายภาค ……20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

พ้ืนฐานความถนัดในงานทัศนศิลป

คุณคาและการนําไปใช= 10 คะแนน

ความคิดสรางสรรคความรูความเขาใจ = 5 คะแนน

ความประณีต สวยงาม และมีเอกภาพ = 5 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

องคประกอบศิลป (ชลูด นิ่มเสมอ) องคประกอบศิลป (ฉัตรชัย อรรถปกษ) Internet

Design for ENTRANCE / Decorative Arts guide book by grayman’s studio

โครงการติวความถนัดทางสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

Sketch Design For Entrance (นันทวัชร ชัยมโนนาถ)

โครงการสอนแลการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู ศิลปะ วิชาดนตรีไทย (ปพาทยมอญ) รหัส ศ 33105 - ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรชัยวัฒน คุณสมบัติ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2560

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ การใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย การใชศัพททางทัศนศิลป การ

เลือกใชวัสดุอุปกรณและเทคนิคของศิลปน การใชทักษะและเทคนิคท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป การจัดกลุมงาน

ทัศนศิลป การสรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและสากลดวยการศึกษางานของศิลปนท่ีตนเองชื่นชอบ วาดภาพระบายสีเปนภาพ

ลอเลียนหรือภาพการตูนเพ่ือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมในปจจุบัน รูปแบบงานทัศนศิลปตะวันออกและตะวันตก

อิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

บทเพลง วงดนตรี ประเภท รูปแบบวงดนตรีไทยและสากล สรางสรรคงานดนตรี อาน เขียน โนตดนตรีไทย-สากล

เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง เทคนิคการแสดงออกทางดนตรี คุณภาพของการแสดง การประพันธและการเลนดนตรี ความ

ซาบซ้ึงในงานดนตรีจากตางวัฒนธรรม งานวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ การผสมผสานการแสดงรูปแบบตางๆ ประเมินคุณคา

พัฒนทักษะ และประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทาง

ดนตรี เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาน เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันใน

การทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

มฐ. ศ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

ตัวช้ีวัด (ใหเขียนรายละเอียดเปนขอๆ)

มฐ. ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคาดนตรีถายทอด

ความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. เปรียบเทียบรปูแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของวง วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มฐ. ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีปพาทยมอญในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

มฐ. ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป วิเคราะห วิจารณ คุณคาทางนาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิด

อยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ

2. สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบ ท่ีชื่นชอบ

3. ใชความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป เปนคู และหมู

4. วิจารณการแสดงตามหลักนาฏศิลป และการละคร

5. วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลป และการละครท่ีตองการสื่อความหมาย ในการแสดง.

6. บรรยาย วิเคราะห อิทธิพลของ เครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ และสถานท่ีท่ีมีผลตอการแสดง

7. พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการ ประเมินการแสดง

8. วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหว ของผูคนในชีวิตประจําวันและนํามา ประยุกตใชในการแสดง

มฐ. ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตร็และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลปท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยสากล

1. เปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชใน โอกาสตาง ๆ

2. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิลปและการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ

3. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและ การละครไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

4. นําเสนอแนวคิดในการอนุรักษ นาฏศิลปไทย

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 / ศ 2.1.2 / ศ 2.1.3

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / ศ 3.1.1 ศ 3.1.2

ศ 3.1.4 / ศ 3.1.6 ศ 3.1.8

ศ 3.2.1

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / ศ 2.1.5 / ศ 2.2.1

ศ 2.2.2 / ศ 2.2.3 / ศ 3.1.3

ศ 2.2.4

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / ศ 2.2.5 / ศ 3.1.5

ศ 3.1.7 / ศ 3.2.2 / ศ 3.2.3

ศ 3.2.4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฏีดนตรีไทย

2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย

3. ดนตรีในวิถีชีวิต

4. ดุริยกวีดนตรีไทย

5. นาฏกรรมสยาม

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงท่ีกําหนดให (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

3.1 ความสําเร็จของช้ินงาน (20 คะแนน)

ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน2 ครั้งๆ ละ10คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o รายละเอียดตางๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน

o ความสะอาด / เปนระเบียบ 3 คะแนน

o ทัศนคติของนักเรียนตอการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน

3.2 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน)

ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย

4 ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

รายงาน เรื่อง “ศิลปนท่ีขาพเจาชื่นชอบ”

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก 5 คะแนน

o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน

o ตรงเวลา 2 คะแนน

การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. ดุริยางคศาสตรไทย (กรมศิลปากร)

2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล)

3. สารานุกรมศัพทดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต)

4. การละเลนของไทย มนตรี ตราโมท)

5. โลกใบนี้ดนตรีไทย (ขุนอิน โตสงา)

6. พัฒนาการดนตรีไทย : บาน – วัด – วัง (อนันต สบฤกษ)

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชาศิลปะ (ดนตรีสากล / พฐ ) รหัส ศ 33105 – ศ 33106

ครูผูสอน มาสเตอรเอกสิทธิ์ จุลละครินทร

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ ........... มัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปโดยใชความรูเร่ืองทัศนะธาตุและหลักการออกแบบ การสรางงาน

ทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ การผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงานทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถายทอดประสบการณและ

จินตนาการ การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อสื่อความหมายเปนเร่ืองราว ศึกษารูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเอง

และผูอ่ืนหรือของศิลปน การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคที่หลากหลาย ศึกษาอาชีพที่

เก่ียวของกับงานทัศนศิลป และทักษะที่จําเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ การเลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กําหนดข้ึนอยาง

เหมาะสม และนําไปใชในการจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคาของวัฒนธรรม ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุค

สมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล

องคประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิครองเพลง รอง-เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง แตงเพลงงาย ๆ ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัย

ตางๆ วิเคราะหวิจารณงานดนตรีของตนเองและผูอ่ืน อิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุม

สาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี

เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาณ เพื่อใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน รัก

ความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที ่(ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวขอเน้ือหาวิชา

1. สังคีตนยิมวาดวยดนตรีตะวนัตก

2. การปฏิบัติเคร่ืองดนตรีสากล และ การบรรเลงรวมวง

3. อิทธิพลดนตรีตอบุคคล/สังคม

4. การจัดการแสดงดนตรี

การบูรณาการรายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

� ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการสื่อสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติที่ดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบตัิ (30 คะแนน)

การบรรเลงรวมวง

เพลงที่ 1 : Let it be me

เพลงที่ 2 : Can ‘ t help falling in love

เพลงที่ 3 : Aura lee

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

เพลงที่ 1 : World Anthem

เพลงที่ 2 ; เดี่ยวเคร่ืองดนตรี เพลงเลือกตามถนัด

เกณฑการใหคะแนน

O เทคนิคการบรรเลง 10 คะแนน

O มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

O ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

3.1 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนสื่อความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o การใชภาษาไทย 2 คะแนน

3.2 การสอบกลางภาค (5 คะแนน)

ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย 4

ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

การเขียน “ บทความดนตรี “

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / ความคิดสรางสรรค 5 คะแนน

o การใชภาษาไทย / รูปแบบ 3 คะแนน

o ตรงเวลา 2 คะแนน

� การสอบปลายภาค 20 คะแนน

งานบูรณาการ และ ใบงานความรูทั่วไปเก่ียวกับดนตรี

เกณฑการใหคะแนน

o ความถูกตองของชิ้นงาน 20 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือ สังคีตนยิมดนตรีตะวันตก

2. The Guitar Mag. , Rhythm Section Mag. , Overdrive Music Mag.

3. เว็บไซดตางๆ ที่เก่ียวของกับดนตรี

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Illustration Design Code ง 33106

Instructors : Miss Nanattarak Aruntat

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text and Graphics into interesting presentations.

This course is designed teach the student basic graphics design. The program that will be used is

Adobe Illustrator. Adobe Illustrator is a program primarily used to create what is often called outline art.

Examples of outline art are a typical company logo, or a technical drawing, or the customized lettering

on virtually any commercial product. It is called outline art because you simply

Students will learn how to create and edit images and design, for example, create logos, graphics,

cartoons and fonts for the photo-realistic layouts of Adobe Photoshop, three dimensional and magazine

front covers. They will also study many techniques to design new pictures creatively and how to

incorporate their work into other document. They will be encouraged to work independently and as

they grow in confidence, use their own creative skills.

Students work through the course using your content or deliverable as part of the exercise. That

way, after the course, student will already have some or all of the project complete.

Standard:

Strand standard

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand standard

Strand 3 :Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper

perception of future career; technological application for occupational

development; endowment with morality and favorable attitude towards

occupations

Indicators :

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the

benefit of life, society and the environment, and sustainably mange technologies

through methodology of clean technologies.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects. O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making. O 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and

responsibility. O 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

O 4.1.3 Have experience in occupations in which they have aptitude and interest.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4, 5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2, 3)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

- Using Adobe Illustrator program to create assignment

Cartoon and Photo-realistic layout creation

Three Dimensional creation

Logo creation

2. Final Examination (20 Marks )

Topic / subject matter:

- Poster Creation

Creating Poster by using Adobe Illustrator

The concept of Poster

Poster process

References

Topic / Subject matter

- http://www.istylebox.com/illust%20tutorial1.html

- http://www.webthaidd.com/illustrator/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Digital Video Editing Code ง 33106

Instructors :Master Thanusak Thongman

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

Students learn to use multimedia software and properties of several media. Multimedia blends

computer illustrations, Text, Audio, Graphics and Animation into interesting presentations.

And the course going help you to build software demonstrations and interactive

training/assessment simulations. Using a task-based approach, participants learn the key features of

Camtasia and apply best practices throughout the creation of an in-class project. Participants also learn

how to create, maintain and update projects.

This is the most efficient way to develop your own tutorials. Students work through the course

using your content or deliverable as part of the exercise. That way, after the course, you’ll already have

some or all of your project complete.

Standard:

Strand standards

Strand 1 : Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills

for various aspects and work processes, management, teamwork,

investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness

of the need to economise on the use of energy and the environment

for one’s life and for family

Strand 2 : Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and

creation of objects and utensils or methodologies through creative

technological processes; selective utilisation of technologies beneficial

to one’s life, society and the environment, and participation in

sustainable technological management

Strand 3 : Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of

information technology processes in searching for data, communicating,

problem–solving, working and livelihood

Strand 4 : Occupation

Understanding and acquisition of necessary skills and experiences;

proper perception of future career; technological application for

occupational development; endowment with morality and favourable

attitude towards occupations

Indicators : (Write the details in items)

1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

1.1.3 Have management skills for work.

1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

2.1.3 Safely construct objects and utensils or methodologies in accord with the technological

process by conveying ideas through an image and models, leading to constructing work

pieces or conveying concepts of the methodology through models, and reporting on

results by using or presenting achievements.

2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

2.1.5 Analyze and choose to creatively apply technologies suitable to daily life for the benefit

of life, society and the environment, and sustainably mange technologies through

methodology of clean technologies.

3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. 3.1.7 Develop computer projects. 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making. 3.1.12 Use computers to facilitate creation of work pieces or projects with awareness and

responsibility. 4.1.2 Choose and apply technologies appropriate to the occupations.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination

Indicators

Communication 10 marks 1.1(2)

3.1(9)

20

Marks

1.1(3, 4)

2.1(3)

3.1(5, 7, 8, 10, 12) Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(3, 4,5)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10, 12)

Performance test 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4)

3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

4.1(2)

Total 100 marks

Assessment

3. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter:

1. Video 1

2. Video 2

4. Final Examination (20 marks)

Topic / subject matter:

- Motivation Video

Create a motivation video by using images, audio, and messages.

References

Topic / Subject matter

1. http://edu.sg.ac.th/m6

2. http://www.nyvs.com/

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Fundamental English (EIE.I) Code: อ. 33106

Instructors: 1. Master Nobhadol Chuencharoensuk

Class Level: Primary ....... Secondary 6/1-9 Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week 40 periods/semester 1.0 unit of learning

Basic Subject Intensive Subject Others ………..

Course Description:

Study language skills, pronunciation, explanation, conclusion, analysis, synthesis, interpretation, comparison, main points and details. Also, studying writing using various phrases, agreement of subject and verb and finite and non-finite verbs through context and variety of media. Use language skills to communicate, and exchange news and information and express thoughts and opinions efficiently. Present news and information, concepts and opinions in various items through writing and speaking skills. Understand the relationship between the language and culture of native speakers and apply these understandings appropriately. Also, understand the similarities and differences in the culture and language of the native speakers and Thai and then, apply to use appropriately.

Students can use foreign language as a learning tool for higher studies, careers, and exchange knowledge with global society through analyzing English language structures, words, sentences and grammatical usages. Create knowledge using continuous communication through technology and various medias in and out of school. Employ knowledge and understandings about language and culture to apply in developing and managing for higher learning and profession.

Employ communication, analyze, solving problem, group work, explanations, cause-effect, question-answer, conceptual idea to search for knowledge through self-research to establish students to love studying. Also encouraging honesty, responsibilities, attempts and interests in learning together with practicing systematic working and emphasizing creative thinking as well as focusing on good attitude toward learning English language.

Basic Standard of Learning: (Example: Component 1 :……… Standard F. 1.1………)

Strand : Standard :

1. Language for Communication F. 1.2,1.3

2. Language and Culture F. 2.2

4. Language and Relationship with

community and the world.

F. 4.1

Strand : 1 Language for Communication Standard: F 1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions. Indicators: 1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately.

1.2.2 Choose and use requests and give instructions, clarifications and explanations fluently. 1.2.3 Speak and write to express needs and offer, accept and refuse to give help in simulated or real situations. 1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/issues/news and situations heard and read 1.2.5 Speak and write to describe their own feelings and opinions about various matters, activities, experiences and news/incidents with proper reasoning. Standard: F.1.3 Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing. Indicators: 1.3.1 Speak and write to present data themselves/experiences, news/incidents, matters and various issues of interest to society. 1.3.2 Speak and write to summarize the main idea/theme identified from analysis of matters, activities, news, incidents and situations in accordance with their interests.

1.3.3 Speak and write to express opinions about activities, experiences and incidents in the local area, society and the world, as well as provide justifications an examples for illustration. Strand : 2 Language and Culture Standard F 2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language. Indicator: 2.2.1 Explain/compare between the structures of sentences, texts, idioms, sayings, proverbs and poems in foreign language and Thai language. Strand: 3 Language and Relationship with Other Learning Areas Standard F 3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view. Indicator: 3.1.1 Research / search for, make records, summarize and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing. Strand: 4 Language and Relationship with Community and the World Standard: F 4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society. Indicator: 4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom, school, community and society.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators

(Mid-term)

Final

examination

Indicators

(Final examination)

Communication 10 marks 1.2.1, 1.2.3, 1.2.4

30 Marks

1.2.1, 1.2.2, 1.2.5, 2.2.1

Authentic 20

marks

1.3.1, 1.3.2, 1.3.3,

2.2.1,4.1.1

Performance test 30 marks 1.2.3, 1.2.4, 1.3.1

Portfolio 10 marks 3.1.1,

Total 100 marks

Details of Evaluation and Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment Details

- Phrases

2. Final Examination Details

- Finite and non-finite verbs - Subject & Verb Agreement

References : - Andrews, Barbara; Francis, Jeanie; A. Azar, Donald, Understanding and Using English Grammar,

Third Edition, Pearson Education Company, New York, U.S.A. 321 pages. - Grammar and Language Workbook, The McGraw-Hill Companies, Inc., 1976, Glencoe/McGraw-Hill,

Columbus, Ohio, USA.348 pages. - Harrison, Louis; Cushen Caroline, Hutchinson Susan, Achieve IELTS 2 English for International

Education, Marshall Cavendish Ltd. 2006 176 pages - Holt, Rinehart and Winston, Grammar, Usage, and Mechanics Language Skills Practice, Harcourt

Classroom Education Company, 409 pages - My World of English, Secondary 6; St. Gabriel’s Foundation; Orient Blackswan Private Limited,

New Delhi, India, 2016 259 pages

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม รหัส ท ๓๓๒๐๖

ครูผูสอน มิสรักตาภา ธนาวรรณิต

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี ๖/๖-๖/๙ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๐

จํานวน ๓ คาบ/สัปดาห ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๑.๕ หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...............................

คําอธิบายรายวิชา ฝกใชทักษะและกระบวนการทางภาษา พัฒนาการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด โดยอานขอความ เรื่องราว สื่อสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณ การอานตีความ แปลความ สรุปความ การอานคิดเชิงวิเคราะห ความคิดเชื่อมโยง และการอานประเมินคาจากบทความสารคดี อานระบุประเด็นท่ีสําคัญ และฝกการเขียนเรียงความเชิงสรางสรรค เขียนแสดงทรรศนะ เขียนประกาศ เขียนสะกดคํา วิเคราะหเรื่องท่ีฟงและดูสื่อสารสนเทศในรูปแบบตางๆ อยางมีวิจารณญาณ พูดแสดงความคิดเห็น พูดโนมนาวใจ และศึกษาหลกัการใชภาษาเก่ียวกับระบบเสียงในภาษาไทย ชนิดของคํา การใชสํานวนไทย การใชสํานวนตางประเทศ คําพังเพย โวหารท่ีใชในการเขียน การใชคําผิดความหมาย ระดับภาษา คําราชาศัพท โครงสรางของเหตุและผล ชนิดของประโยค การเรียงลําดับบรรณนานุกรม และฉันทลักษณ วิเคราะหองคประกอบของวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น บทความ โดยหลักการวิจารณเบื้องตน พิจารณาเรื่องท่ีอาน เพ่ือประเมินคุณคาดานวรรณศิลป เนื้อหา และคุณคาทางสังคม และนําไปใชในชีวิตจริง โดยใชกระบวนการทักษะทางภาษา การใชเหตุผล การฝกปฏิบัติ สาระ /มาตรฐาน/ ตัวช้ีวัด มฐ. ท๑.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓,๕,๖ มฐ. ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๔

มฐ. ท ๓.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒ ,๓, ๖ มฐ . ท ๔.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓,,๘ มฐ. ท ๕.๑ ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓ สาระการอาน มาตรฐาน ท๑.๑ / ตัวชีว้ัดท่ี ๒,๓,๕,๖ ๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอาน ๓. วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีอานในทุก ๆ ดานอยางมีเหตุผล ๕. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน และ เสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล ๖. ตอบคําถามจากการอาน งานเขียนประเภทตาง ๆ ภายในเวลาท่ีกําหนด

สาระการเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ / ตวัชี้วดัท่ี ๑, ๒, ๔ ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค โดยใช ภาษาเรียบเรียงถูกตองมีขอมูลและ สาระสําคัญชัดเจน ๒ เขียนเรียงความ

๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตาง ๆ สาระการฟงและดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ / ตัวชี้วัดท่ี ๒ ,๓, ๖ ๒. วิเคราะห แนวคิด การใชภาษา และความนาเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟง และดูอยางมีเหตุผล ๓. ประเมินเรื่องท่ีฟง และดู แลวกําหนดแนวทางนําไปประยุกตใช ในการดําเนินชีวิต ๕. พูดในโอกาสตาง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหมดวยภาษาท่ีถูกตอง เหมาะสม สาระหลักและการใช

มาตรฐาน ท ๔.๑ / ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓,,๘ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ๒. ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตามวัตถุประสงค ๓. ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะและบุคคล รวมท้ังคําราชาศัพทอยางเหมาะสม สาระวรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ / ตัวชี้วัดท่ี ๒,๓ ๒. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทาง ประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต ๓. วิเคราะห และประเมินคุณคา ดานวรรณศิลปของกวี และวรรณกรรมในฐานะท่ีเปนเอกทางวัฒนธรรม ของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัด (ปลายภาค)

การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ม ฐ. ท ๑.๑ ( ๖ )

ม ฐ. ท ๓.๑ (๕)

คะแนนเต็ม

๓๐ คะแนน

ม ฐ. ท ๑.๑ (๒.๓,๕,๖ )

ม ฐ. ท ๒.๑ (๑,๒,๔)

ม ฐ. ท ๓.๑ (๒,๓)

ม ฐ.ท ๔.๑ ( ๒,๓)

ม ฐ. ท ๕.๑ (๒-๓)

สภาพจริง ๒๐ คะแนน ม ฐ. ท ๒.๑ ( ๔ )

ม ฐ. ท ๓.๑ (๑ )

ม ฐ. ท ๔.๑ (๔)

กลางภาคปฏิบัติ ๓๐คะแนน ม ฐ. ท๑.๑ ( ๒ ,๓,๖)

ม ฐ. ท ๒.๑ (๒,๔ )

ม ฐ..ท ๓.๑ (๒,๓)

ม ฐ. ท ๔.๑ (๑ ,๓)

ม ฐ. ท ๕.๑ (๒,๓)

แฟมสะสมงาน ๑๐ คะแนน ม ฐ. ท ๒.๑ (๑ )

รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน) อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนนสอบ ๖๐/๔๐ ๑. การสอบปฏิบัติ / กลางภาค (……๓๐…………… คะแนน) รายละเอียด

๑. อานขยายความ อานสรุปความ อานระบุประเด็น อานคิด วิเคราะห และการใชขอมูลจากการอานใหเปนประโยชน ๒. การอานตีความ แปลความ เขาใจความหมาย ๓. การเรียงลําดับความคิด ๔. ความคิดเชื่อมโยง ๕. ชนิดของคําไทย ๖. การอานและการเขียนสะกดคํา ๗. ระบบเสยีงภาษาไทย (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ) ๘. การใชคําผิดความหมาย ๙. การใชสํานวนไทย คําพังเพย ๑๐. ระดับภาษาและคําราชาศัพท ๑๑. ฉันทลักษณและคุณคาดานวรรณศิลป

๒. การสอบปลายภาค (๓๐ คะแนน) รายละเอียด ๑. อานคิดเชิงวิเคราะห ตีความ แปลความ สรุปความ ความคิดเชื่อมโยง วิเคราะห วิจารณ และประเมินคา ๒. การเรียงลําดับบรรณานุกรม ๓. การเรียงลําดับขอความ ๔. ชนิดของประโยค ๕. โวหารท่ีใชในการเขียน ๖. การใชสํานวนตางประเทศ ๗. การอานและการเขียนสะกดคํา ๘. โครงสรางของเหตุและผล ๙. การโนมนาวใจและการโตแยง ๑๐. ประโยคกะทัดรัด ประโยคกํากวม และประโยคฟุมเฟอย ๑๑. ฉันทลักษณและองคประกอบของงานประพันธ (คุณคาทางดานสังคมและวัฒนธรรม)

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสืออางอิง และเอกสารประกอบการสอน

๑. หลักและการใชภาษาไทย ๒. หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม.ปลาย

๓. แนวขอสอบ O-NET / ๙ วิชาสามัญ /GAT ๔. หนังสือคูมือภาษาไทย

หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม. ปลาย

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ฯ วิชา เหตุการณปจจุบันองคความรูทางสังคมศึกษา รหัส ส 33206

ครูผูสอน มาสเตอรเอนก ทองหลอ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 6 / 6 - 9 ภาคเรียนท่ี 2 / 2560 จาํนวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาเรื่องการอยูรวมกันในสังคม ท่ีมีความเชื่อมสัมพันธกัน มีความแตกตางกันอยางหลากหลาย เพ่ือชวยใหสามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม โดยเปนการสรุปองคความรูทางสังคมศึกษาท่ีนักเรียนไดเรียนมาท้ังหมด ซ่ึงกําหนดสาระตางๆไว ดังนี้

ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ การนําหลักธรรมคําสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยูรวมกันอยางสันติสุข เปนผูกระทําความดี มีคานิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมท้ังบําเพ็ญประโยชนตอสังคมและสวนรวม

หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ลักษณะและความสําคัญ การเปนพลเมืองดี ความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม ความเชื่อ ปลูกฝงคานิยมดานประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

สิทธิ หนาท่ี เสรีภาพการดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก เศรษฐศาสตร การผลิต การแจกจาย และการบริโภคสินคาและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยาง

จํากัดอยางมีประสิทธิภาพ การดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ และการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในชีวิตประจําวัน

ประวัติศาสตร เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปจจุบัน ความสัมพันธและเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆผลกระทบท่ีเกิดจากเหตุการณสําคัญในอดีต ความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย แหลงอารยธรรมท่ีสําคัญของโลก

ภูมิศาสตร ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลงทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคตางๆ ของโลก การใชแผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร ความสัมพันธกันของสิ่งตางๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธของมนุษยกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนุษยสรางข้ึน การนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศ การ

อนุรักษสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 45 ตัวช้ีวัด )

สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส.1.1 ( ม.4 – 6 ) รูและเขาใจประวัติความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธา

ท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข ตัวช้ีวัด 2. วิเคราะหพระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษยผูฝกตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรู การกอตั้ง วิธีการสอนและการเผยแผ

พระพุทธศาสนาหรือวิเคราะหประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด

3. วิเคราะหพุทธประวัติดานการบริหาร และการธํารงรักษาศาสนาหรือวิเคราะหประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด 4. วิเคราะหขอปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด 7. วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตรหรือแนวคิดของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด

13. วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ 14. วิเคราะหขอคิดและแบบอยางการดําเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามท่ีกําหนด 15. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนาพระไตรปฏกหรือคัมภีรของศาสนาท่ีตนนับถือ และการเผยแผ

17. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอ่ืนๆ โดยสังเขป 21. วิเคราะหหลักธรรมสําคัญในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และชักชวน สงเสริมสนับสนุน ใหบุคคลอ่ืน เห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน

มาตรฐาน ส.1.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ ตัวช้ีวัด

1. ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดีตอสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบขาง 2. ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรมตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ 4. วิเคราะหหลักธรรม คติธรรม ท่ีเก่ียวเนื่องกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสําคัญของศาสนาท่ีตนนับถือ

และปฏิบัติตนไดถูกตอง

สาระท่ี 2 หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ส.2.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาท่ีของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมท่ีดีงาม และธํารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหและปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเก่ียวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก 2. วิเคราะหความสําคัญของโครงสรางทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

3. ปฏิบัติตนและมีสวนสนับสนุนใหผูอ่ืนประพฤติปฏิบัติเพ่ือเปนพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก 4. ประเมินสถานการณสิทธิมนษุยชนในประเทศไทยและเสนอแนวทางพัฒนา 5. วิเคราะหความจําเปนท่ีจะตองมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และอนุรักษวัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล

มาตรฐาน ส.2.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจระบอบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดม่ันศรัทธา และรักษาไวซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหปญหาการเมืองท่ีสําคัญในประเทศจากแหลงขอมูลตางๆ พรอมท้ังเสนอแนวทางแกไข 2. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองท่ีนําไปสูความเขาใจ และการประสานประโยชนรวมกันระหวางประเทศ

3. วิเคราะหความสําคัญ และความจําเปนท่ีตองธํารงรักษาไวซ่ึงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

4. เสนอแนวทางและมีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร

มาตรฐาน ส.3.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ

ตัวช้ีวัด 1. อภิปรายการกําหนดราคาและคาจางในระบบเศรษฐกิจ 2. ตระหนักถึงความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีตอเศรษฐกิจสังคมของประเทศ

3. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบสหกรณในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ มาตรฐาน ส.3.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความจําเปนของการรวมมือกันทาง

เศรษฐกิจในสังคมโลก ตัวช้ีวัด 1. อธิบายบทบาทของรัฐบาลเก่ียวกับนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

3. วิเคราะหผลดีผลเสียของความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร

มาตรฐาน ส.4.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ

ตัวช้ีวัด 1. ตระหนักถึงความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรท่ีแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ 2. สรางองคความรูใหมทางประวัติศาสตรโดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ

มาตรฐาน ส.4.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญ และสามารถวิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดข้ึน

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหอิทธิพลของอารยธรรมโบราณและการติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกท่ีมีผลตอพัฒนาการและ การเปลี่ยนแปลงของโลก

2. วิเคราะหเหตุการณสําคัญตาง ๆ ท่ีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เขาสูโลกสมัยปจจุบัน

3. วิเคราะหผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย

4. วิเคราะหสถานการณของโลกในคริสตศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐาน ส.4.3 ( ม.4 – 6 ) เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหประเด็นสําคัญของประวัติศาสตรไทย 2. วิเคราะหความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริยตอชาติไทย

3. วิเคราะหปจจัยท่ีสงเสริมการสรางสรรคภูมิปญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ซ่ึงมีผลตอสังคมไทยในยุคปจจุบัน

4. วิเคราะหผลงานของบุคคลสําคัญ ท้ังชาวไทยและตางประเทศท่ีมีสวนสรางสรรควัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร

ไทย สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร

มาตรฐาน ส.5.1 ( ม.4 – 6 ) เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธของสรรพสิ่ง ซ่ึงมีผลตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผน

ที

และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด

1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

2. วิเคราะหอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร ซ่ึงทําใหเกิดปญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคตางๆ ของโลก

3. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ี ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางภูมิศาสตรในประเทศไทยและทวีปตางๆ

4. ประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกวาเปนผลมาจากการกระทําของมนุษยและหรือธรรมชาติ

มาตรฐาน ส.5.2 ( ม.4 – 6 ) เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมี สวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหสถานการณและวิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของประเทศไทยและโลก 2. ระบุมาตรการปองกันและแกไขปญหาบทบาทขององคกรและการประสานความรวมมือท้ังในประเทศและนอก

ประเทศ เก่ียวกับกฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภูมิภาคตางๆ ของโลก 4. อธิบายการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการสรางสรรควัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของทองถ่ินท้ังในประเทศไทย

และโลก 5. มีสวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนน

ปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1.การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.ส 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3 มฐ.ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

มฐ.ส 1.1 ตัวช้ีวัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 4.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1,2,3,4,5

2. สภาพจริง 20 คะแนน มฐ.ส 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3 มฐ.ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

3.กลางภาค 30 คะแนน มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

มฐ.ส 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2,3,4,7,13,14,15,17,21 มฐ.ส 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,4 มฐ.ส 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5 มฐ.ส 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3 มฐ.ส 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,3 มฐ.ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2 มฐ.ส 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4 มฐ.ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4,5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test ) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. เศรษฐศาสตร

(หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน , ระบบเศรษฐกิจ , ตลาดในระบบเศรษฐกิจ , ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง , สหกรณ , การเงิน การคลัง การธนาคาร , เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ , ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ)

2. สังคมวิทยา ( สังคมมนุษย , โครงสรางทางสังคม , สถาบันทางสังคม , การจัดระเบียบทางสังคม , การขัดเกลาทางสังคม , การเปลี่ยนแปลงในสังคม , ปญหาสังคมไทยและแนวทางการแกไขปญหาพรอมแนวทางพัฒนา , ความหมาย ความสําคัญ

และประเภทของวัฒนธรรม ,วัฒนธรรมไทย, พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก ) 3. นิติศาสตร (ความรูท่ัวไปเก่ียวกับกฎหมาย , ประเภทของกฎหมาย , กฎหมายแพงและพาณิชย , กฎหมายอาญา , กฎหมายท่ีควรรู ,

กฎหมายระหวางประเทศท่ีควรรู , สิทธิมนุษยชน) 4. รัฐศาสตร

(ความรูท่ัวไปเก่ียวกับรัฐ , การจัดระเบียบการปกครองภายในรัฐ , ระบอบการปกครองแบบตางๆ , รัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย , การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ , ความสัมพันธระหวางประเทศ , ปญหาการเมืองท่ีสําคัญของไทย)

รายละเอียดการสอบ 1. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

(ความรูท่ัวไปเก่ียวกับศาสนา , ศาสนาสากล , พระพุทธศาสนา , หลักคําสอนในพระพุทธศาสนา , วันสําคัญและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา , พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอยาง , คําแปลบทสวดมนต)

2. ประวัติศาสตร

(ประวัติศาสตรไทย , ประวัติศาสตรสากล) 3. ภูมิศาสตร (เครื่องมือทางภูมิศาสตร , ภูมิศาสตรกายภาพ , ทรัพยากรและการอนุรักษ , ภูมิศาสตรโลก , ภูมิศาสตรประเทศไทย)

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนท่ีครูผูสอนจัดทําข้ึน 2. หนังสือเรียนวิชาหนาท่ีพลเมือง ฯ ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 3. หนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

4. หนังสือเรียนวิชาเศรษฐศาสตร ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 5. หนังสือเรียนวิชาภูมิศาสตร ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 6. หนังสือเรียนวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ม.4 -6 สํานักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาจีน รหัส จ. 33206

ครูผูสอน มาสเตอรจุลธัช อัครธราดล

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 5 คาบ/สัปดาห 100 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 3 หนวยการเรียน

วิชาสาระ เพ่ิมเติม

คําอธิบายรายวิชา

ฟง พูด อาน และเขียน คําชี้แจง คําบรรยาย คําแนะนํา เขาใจโครงสรางท่ีของไวยากรณจีนท่ีเปนโครงสรางหลัก

ฝกแปลขอความจากจีนเปนไทยและไทยเปนจีนไดถูกตองตามความหมาย ฝกการโตตอบท่ีเปนบทสนทนาภาษาจีนไดอยาง

คลองแคลว ตลอดจนเขาใจภาษาทาทางในการสื่อสารไดเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ บนพ้ืนฐานของความเขาใจวัฒนธรรม

ทางภาษา มีความสนใจตอการศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมในดานภาษาจีน และรูจักการนําภาษาจีนไปใชใหเกิดประโยชนตอการ

คนควาหาความรูท่ีเก่ียวกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการส่ือสาร

มาตรฐาน ต 1.1 เขาใจและตีความเรื่องท่ีฟงและอานจากสื่อประเภทตาง ๆ และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล

มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็นอยางมี

ประสิทธิภาพ

มาตรฐาน ต 1.3 นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ โดยการพูดและการเขียน

สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับ

กาลเทศะ

มาตรฐาน ต 2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับภาษาและ

วัฒนธรรมไทยและนํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม

ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ต.1.1

ตัวชี้วัดท่ี 2 ระบุสัทอักษรพินอิน อานออกเสียงและประสมเสียงตามหลักการออกเสียง

ตัวชี้วัดท่ี 3 บอกความหมายของคํา กลุมคํา ประโยค หรือขอความสั้นๆ ตามท่ีฟงหรืออานจากสื่อในรูปแบบตาง ๆ

ตัวชี้วัดท่ี 4 ตอบคําถาม จับใจความสําคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็นจากการฟงหรืออานประโยค บทสนทนา หรือ

นิทาน

มาตรฐาน ต.1.2

ตัวชี้วัดท่ี 1 สนทนาหรือเขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล

ตัวชี้วัดท่ี 4 พูดและเขียน เพ่ือขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีฟง

และอาน

มาตรฐาน ต 1.3

ตัวชี้วัดท่ี 1 พูดหรือเขียนใหขอมูลเก่ียวกับตนเอง เพ่ือน สิ่งแวดลอม และเรื่องใกลตัว

ตัวชี้วัดท่ี 3 พูดและเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องใกลตัว พรอมใหเหตุผลสั้นๆ ประกอบ

มาตรฐาน ต.2.1

ตัวชี้วัดท่ี 2 บอกชื่อ/คําศัพท และตอบคําถามเก่ียวกับเทศกาล วันสําคัญ งานฉลอง และชีวิตความเปนอยูของจีน

ตัวชี้วัดท่ี 4 ตอบคําถาม จับใจความสําคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็นจากการฟงหรืออานประโยค บทสนทนา หรือ

นิทาน

มาตรฐาน ต.2.2

ตัวชี้วัดท่ี 1 บอกความแตกตางระหวางการออกเสียงตัวอักษร คํา วลี การใชเครื่องหมายวรรคตอน และการลําดับคํา

ตามโครงสรางประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดท่ี

(ระหวางภาค)

คะแนนปลายภาค มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดท่ี

(ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน 1.1 / 2, 3 30 คะแนน มาตรฐาน 1.1 / 2, 3, 4

มาตรฐาน 1.2 / 1, 4

มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

มาตรฐาน 2.2 / 1

2.สภาพจริง 20 คะแนน มาตรฐาน 1.2 / 1, 4

มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน มาตรฐาน 1.2 / 1, 4

มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน 1.3 / 1, 3

มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. 成语故事

2. 我看见了飞碟

3. 好人难当

รายละเอียดการสอบ

1. HSK ระดับ 3-4

2. HSK ระดับ 初中

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

汉语阶梯快速阅读(第一级),李禄兴、幺书君,北京大学出版社,

2005。

HSK 考前强化(语法),苗东霞,北京语言大学出版社,2005

HSK 60 天强化:汉语水平考试模拟习题集(初、中等),李永硕,北京大

学出版社,2005。

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาเยอรมัน 5 รหัส ย 33206

ครูผูสอน สุทธินีย สุดประเสริฐ ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2/2560 จํานวน 5 คาบ/สัปดาห จํานวน 3 หนวยการเรยีน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธบิายรายวิชา วิชาภาษาเยอรมันระดับกลางสําหรับเยาวชนท่ีพัฒนาตอเนื่องมาจากระดับตน ผูเรียนจะไดรับการพัฒนาทักษะการ

สื่อสารภาษาเยอรมันท่ีนําเสนอผานสถานการณตัวอยาง ไดแก การถามคําถามโดยออม บรรยายสภาพอากาศจากแผนท่ี

พยากรณอากาศ การสัมภาษณเก่ียวกับชีวิตสวนตัวของเพ่ือนรวมชั้น ฯลฯ

ผูเรียนจะไดรับการฝกทักษะการสื่อสารผานการ พูด ฟง อาน เขียน ในชั้นเรียน ไดแก ศึกษาการถามคําถามโดยออม (indirekte Frage) ศึกษาการใชกริยาท่ีใชคู กับคําบุพบท (Verben mit Präpositionen) ศึกษาโครงสรางของประโยค

(Syntax: Zeit vor Ort) ศึกษาคําบุพบทท่ีตามดวย Dativ (seit, aus) ฯลฯ เม่ือเรียนจบรายวิชานี้แลว ผูเรียนจะสามารถสื่อสารเปนภาษาเยอรมันเพ่ือสามารถนําภาษาเยอรมันไปใชในสถานการณจริงหรือในชีวิตประจําวัน เชน พูดเก่ียวกับสภาพอากาศ พูดถึงสิ่งท่ีตัวเองสนใจ บอกเลาประโยคท่ีบงบอกท้ัง

ชวงเวลาและสถานท่ี บรรยายและนําเสนอผลงานของนักประดิษฐชาวเยอรมัน บอกเลาประโยคท่ีแสดงระยะเวลาหรือชวงเวลา พูดรายงานเก่ียวกับชีวิตของบุคคลอ่ืนได ฯลฯ

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 15 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการส่ือสาร

มาตรฐานท่ี ต 1.1 เขาใจและตีความเรื่องท่ีฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็น อยางมีเหตุผล มาตรฐานท่ี ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึก และความคิดเห็น

อยางมีประสิทธิภาพ

มาตรฐานท่ี ต 1.3 นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆ โดยการพูดและการเขียน สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐานท่ี ต 2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ

ตัวชี้วัด 1.1.1 ปฏิบัติตาม คําสั่ง คําขอรอง และคําแนะนํางายๆท่ีฟงหรืออาน 1.1.2 อานออกเสียงตัวอักษร สะกดคํา อานกลุมคํา ประโยค และขอความงายๆถูกตองตามหลักการอาน

1.1.3 เลือกและระบุภาพ สัญลักษณ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของคํา กลุมคํา ประโยค และขอความสั้นๆท่ีฟง

หรืออาน 1.1.4 บอกใจความสําคัญ และตอบคําถามจากการฟงและอานประโยค บทสนทนา และขอความสั้นๆ

1.2.1 พูด/เขียนโตตอบดวยคําสั้นๆงายๆในการแลกเปลี่ยนขอมูลเก่ียวกับตนเอง เรื่องตางๆใกลตัว และสถานการณใน ชีวิตประจําวัน 1.2.2 ใชคําสั่ง คําขอรอง คําขออนุญาต และใหคําแนะนํางายๆ

1.2.3 พูดและเขียนแสดงความตองการของตนเอง และขอความชวยเหลือในสถานการณงายๆ 1.2.4 พูดและเขียนเพ่ือขอและใหขอมูลเก่ียวกับ ตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเรื่องใกลตัว 1.2.5 พูดและเขียนแสดงความรูสึกของตนเองเก่ียวกับเรื่องตางๆใกลตัว กิจกรรมตางๆและประสบการณ

1.3.1 พูดและเขียนขอมูลเก่ียวกับตนเอง เพ่ือน กิจวัตรประจําวัน และเรื่องใกลตัว 1.3.2 พูดหรือเขียนภาพ แผนภูมิ และตารางแสดงขอมูลตางๆ เพ่ือสรุปใจความสําคัญจากเรื่องท่ีไดฟงหรืออาน

1.3.3 พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นงายๆเก่ียวกับเรื่องตางๆใกลตัว 2.1.1 ใชถอยคํา น้ําเสียง และกิริยาทาทางอยางสุภาพ เหมาะสมกับระดับบุคคล ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม

เยอรมัน 2.1.2 บอกชื่อและคําศัพทงายๆเก่ียวกับเทศกาล วันสําคัญ งานฉลอง และชีวิตความเปนอยูของชาวเยอรมัน 2.1.3 เขารวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันตามความสนใจ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1.1.1, 1.1.2, 1.2.2, 1.3.3, 2.1.1

30 คะแนน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 1.2.1, 1.2.2, 1.2.3, 1.2.4,

1.2.5, 1.3.1, 1.3.2, 1.3.3, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3

2.สภาพจริง 20 คะแนน 1.1.2, 1.2.4, 1.3.2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 1.2.1, 1.2.2,

1.2.3, 1.2.4, 1.2.5, 1.3.1, 1.3.2, 1.3.3, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 1.1.3, 1.1.4, 1.2.1,

1.2.4, 1.3.1, 2.1.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ รายละเอียดการสอบ

Beste

Freunde:

Lektion 34-35 Leseverständnis, Kommunikation, Wortschatz und Grammatik การอาน การใชภาษาเพ่ือการสื่อสาร คําศัพท และไวยากรณ Grammatik Intensivtrainer:

-Indirekte W-Fragen Wortschatz und Grammatik (คําศัพท และไวยากรณ) -Nebensatz mit ob -Temporale Nebensätze mit

(während, seit(dem), nachdem)

Beste Freunde: Lektion 36 Leseverständnis, Kommunikation, Wortschatz und Grammatik การอาน การใชภาษาเพ่ือการสื่อสาร คําศัพท และไวยากรณ

Grammatik Intensivtrainer: -Vergangenheit: Plusquamperfekt Wortschatz und Grammatik (คําศัพท และไวยากรณ)

- Das Passiv - Futur I - zweiteilige Konjunktionen

- Präpositionen mit Genitiv - Wortbildung

หนังสืออางอิง/ ประกอบการสอน Georgiakaki, Manuela et al. (2015) : Beste Freunde A2.2 Kursbuch. München : Hueber Verlag. Georgiakaki, Manuela et al. (2015) : Beste Freunde A2.2 Arbeitsbuch. München : Hueber Verlag.

Hauser Cornelia et. al (2010) : Grammatik Intensivtrainer B1. Berlin und München : Langenscheidt Verlag.

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test/Performance Assessment) 30 คะแนน

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาญ่ีปุน 6 รหัส ญ33206

ครูผูสอน 1. ดร.วรวุฒ ิจิราสมบัติ 2. มาสเตอรศักดิธัช จันทรประดับ

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 6 คาบ/สัปดาห 120 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 3 หนวยการเรียน

คําอธิบายรายวิชา

วิชาภาษาญี่ปุน 6 (ญ33206) มุงเนนใหผูเรียนสามารถใชภาษาญี่ปุนในการสื่อสารผานบทสนทนาเบื้องตนใน

ชีวิตประจําวันได เชน อธิบายเก่ียวกับเรื่องท่ีเดือดรอนหรือเรื่องท่ีรูสึกแย บอกกลาวขอโทษหรือแสดงความเสียใจในความ

ผิดพลาดของตนเอง ใหคําแนะนําหรือเสนอความชวยเหลือเม่ือเห็นผูอ่ืนทําผิดพลาดหรือมีเรื่องเดือดรอน บอกเลาขอมูลและ

เรื่องราวเก่ียวกับงานเทศกาล ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ความเปนมาของสิ่งตางๆ บอกเลาเก่ียวกับ

ความทรงจําในวัยเด็ก เขาใจขอมูลท่ีใชภาษาสุภาพพ้ืนฐานท่ีใชกันท่ัวไปตามระดับบุคคลไดอยางเหมาะสม กลาวสุนทรพจน

แสดงความรูสึกขอบคุณในโอกาสตางๆดวยคํากลาวสั้นๆ ระดับพ้ืนฐานได นอกจากนั้นผูเรียนจะไดเรียนรูวัฒนธรรมของชาว

ญี่ปุน รวมไปถึงมารยาทในการเขาสังคมตอเจาของภาษาอีกดวย

ผูเรียนจะไดฝกทักษะ ฟง พูด อาน เขียน จากแบบฝกหัดและบทสนทนาทายบทเรียน อีกท้ังยังไดรับการฝกฝนการ

ใชภาษา ทาทาง น้ําเสียง ของแตละบทสนทนาเพ่ือแสดงความรูสึกในการสื่อสารไดอยางถูกตอง

เม่ือเรียนจบรายวิชานี้แลว ผูเรียนจะสามารถสื่อสารภาษาญี่ปุนเบื้องตนในชีวิตประจําวัน อานและคันจิประมาณ

350ตัว

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 21 ตัวช้ีวัด )

สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการส่ือสาร

มาตรฐาน ต 1.1 เขาใจและตีความเรื่องท่ีฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล

มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็น

อยางมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน ต 1.3 นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆโดยการพูดและการเขียน

สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษาและวัฒนธรรมของภาษาตางประเทศท่ีเรียน และนําไปใชไดอยาง

เหมาะสมกับกาลเทศะ

มาตรฐาน ต 2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของภาษาตางประเทศท่ีเรียน

และวัฒนธรรมของไทย และนําไปใชอยางถูกตองและเหมาะสม

สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน

มาตรฐาน ต 3.1 ใชภาษาตางประเทศท่ีเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนและเปนพ้ืนฐานใน

การพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน

สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนโลก

มาตรฐาน ต 4.1 ใชภาษาตางประเทศท่ีเรียนในสถานการณตางๆ ท้ังในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม

มาตรฐาน ต 4.2 ใชภาษาตางประเทศท่ีเรียนเปนเครื่องมือพ้ืนฐานในการศึกษาตอการประกอบอาชีพ และการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก

ตัวช้ีวัด

1.1.1 ปฏิบัติตามคําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบาย และคําบรรยายท่ีฟงและอาน

1.1.2 อานออกเสียงขอความ ประกาศ โฆษนา บทรอยกรอง และนิทานถูกตองตามหลักการอาน

1.1.3 อธิบายและเขียนประโยคขอความใหสัมพันธกับสื่อท่ีไมใชความเรียง รูปแบบตางๆ ท่ีอาน รวมท้ังระบุและเขียนสื่อท่ี

ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆใหสัมพันธกับประโยคและขอความท่ีฟงหรืออาน

1.1.4 จับใจความสําคัญวิเคราะหความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็น จากการฟง และอานบทอาน บท

สนทนา นิทานงายๆ และเรื่องเลาพรอมท้ังใหเหตุผลและยกตัวอยาประกอบ

1.2.1 สนทนาและเขียนขอมูลเก่ียวกับตนเอง เรื่องตางๆใกลตัว ประสบการณ สถานการณ ขาว/เหตุการณ ประเด็นท่ีอยูใน

ความสนใจของสังคม และสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม

1.2.2 เลือกและใชคําขอรอง คําแนะนํา คําขออนุญาต คําชี้แจง คําอธิบาย ไดอยางคลองแคลว

1.2.3 พูดและเขียนแสดงความตองการ ขอและเสนอใหความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธใหความชวยเหลือใน

สถานการณจําลองหรือสถานการณจริงอยางเหมาะสม

1.2.4 พูดและเขียนเพ่ือขอและใหขอมูลบรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับเรื่อง/ประเด็น/ขาว/

เหตุการณท่ีฟงและอานอยางเหมาะสม

1.2.5 พูดและเขียนบรรยายความรูสึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองเก่ียวกับเรื่องตางๆกิจกรรม ประสบการณขาว/

เหตุการณ อยางมีเหตุผล

1.3.1 พูดและเขียนนําเสนอขอมูลเก่ียวกับตนเอง ประสบการณ ขาว/เหตุการณ เรื่องและประเด็นตางๆ ท่ีอยูในความสนใจ

ของสังคม

1.3.2 พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ แกนสาระท่ีไดจากการวิเคราะหเรื่องกิจกรรม ขาว เหตุการณ และสถานการณท่ีอยู

ในความสนใจของสังคม

1.3.3 พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณท้ังในทองถ่ิน สังคม และโลก พรอม

ท้ังใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ

2.1.1 เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาส สถานท่ี ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม

ของญี่ปุน

2.1.2 อธิบายหรืออภิปรายวิถีชีวิตความคิด ความเชื่อและท่ีมาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของญี่ปุน

2.1.3 เขารวม แนะนํา และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของญี่ปุนอยางเหมาะสม

2.2.1 อธิบายและเปรียบเทียบความแตกตางระหวางโครงสรางประโยคขอความ สํานวน และบทกลอนของภาษาญี่ปุนและ

ภาษาไทย

2.2.2 วิเคราะหและอภิปรายความเหมือนและความแตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของญี่ปุนกับของไทย

และนําไปใชอยางมีเหตุผล

3.1.1 คนควา สืบคน บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับขอมูลท่ีเก่ียวของกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนจากแหลง

เรียนรูตางๆและนําเสนอดวยการพูดและการเขียน

4.1.1 ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริงหรือสถานการณจําลองท่ีเกิดข้ึนในหองเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

4.2.1 ใชภาษาญ่ีปุนในการสืบคน คนควา รวบรวม วิเคราะห และสรุปความรูหรือขอมูลจากสื่อและแหลงเรียนรูตางๆใน

การศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ

4.2.2 เผยแพรหรือประชาสัมพันธ ขอมูล ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน ทองถ่ิน หรือประเทศเปนภาษาญี่ปุน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวาง

ภาค

ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร

…10… คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,1.2.1,1.2.

2,1.2.3,1.2.4,1.2.5,2.1.1,2.1.2,3.

1.1,4.1.1,4.2.2

30 1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,1.2.

3,1.2.4,1.2.5,1.3.1,1.3.2,1.

3.3,2.2.1,2.2.2,3.1.1

2.สภาพจริง …20…

คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,2.1.3,4.2.

2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ

…30… คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,1.2.3,1.2.

4,1.2.5,1.3.1,1.3.2,1.3.3,2.2.1,2.

2.2,3.1.1

4.แฟมสะสมงาน 10

คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

だい26か たいへんな一日

~ぶんぽう

➊ คํากรยิารูปถูกกระทํา 1

➋ ~のに。

➌ V ばよかった/ Ⅴ なければよかった

➍ การใช て/でแสดงเหตุผล。

➎ ADJすぎる/Ⅴますすぎる

➏ Ⅴ てしまう

➐ Ⅴ ましょうか

~ことば ท้ังหมด

~かんじ

全、部、犬、苦、太、重、軽、引、台

~ミニじょうほう แผนดินไหว

だい27か 祭り

~ぶんぽう

➊ คํากริยารูปถูกกระทํา 2

➋ Ⅴ1(ⅤDIC/Ⅴた)時、Ⅴ2

➌ だろう/でしょう

➍ วัสดでุ

➎ N しか V ない

~ことば ท้ังหมด

~かんじ

屋、鳥、低、首、代、晴、駅、草

~ミニじょうほう เทศกาลของญี่ปุน

รายละเอียดการสอบ

だい28か 子どもの時の思い出

~ぶんぽう

➊ คํากริยารูปใหกระทํา

~ことば ท้ังหมด

~かんじ

野、菜、困、立、林、牛、村

~ミニじょうほう

お風呂

だい29か 送別会

~ぶんぽう

➊ ภาษาสุภาพ(けいご)

➋ คํากริยารูปยกยองและถอมตัว

➌ การใชお~/ご~

➍ ภาษาสุภาพของ V てください

➎ V てくださって、ありがとうございました。

~ことば ท้ังหมด

~かんじ

申、皆、様、最、礼

~ミニじょうほう พิธีสําเร็จการศึกษา

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

ตําราเรียน อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ 6 ฉบับปรับปรงุ

แบบฝกหัด อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ 5+6 ฉบับปรับปรงุ

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ (สหศิลป) รหัส ศ 33206 ครูผูสอน 1. มาสเตอรชัยวัฒน ชนะกานนท 2. มาสเตอรธนิตย เพียรมณีวงศ ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 /2560

จํานวน 6 คาบ/สปัดาห 120 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 3.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ สหศิลป คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห และฝกปฏิบัติ การใชวัสดุอุปกรณและกระบวนการท่ีสูงข้ึน การใชศัพททางศิลปะการสรางงานทัศนศิลป การจัดองคประกอบศิลป การวาดภาพประกอบเรื่องโดยเนนหลักการวาดเสน (drawing) และการวาดเสนสรางสรรค การสรางงานศิลปะท่ีมีลักษณะความรูความเขาใจในองคประกอบศิลป ตามข้ันตอนพ้ืนฐานท่ีสําคัญตอการเรียนรูศิลปะ ศึกษาทฤษฏีทางงานทัศนศิลปท่ัวไป รูจักวิเคราะห วิจารณงานทัศนศิลป ตามหลักการโดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ สูการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะ ชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสาตามความเหมาะสมในความสามารถของตนเองอยางมีคุณคา และเกิดประโยชนตอสังคม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน…7….ตัวช้ีวัด) สาระท่ี …1 ทัศนศิลป … มฐ. .ศ 1.1 …. ตัวช้ีวัดท่ี ……3 , 4 , 7 , 8 , 9,10……….

มฐ. ศ 1.2 …. ตัวช้ีวัดท่ี ……2 ตัวช้ีวัด มฐ. ศ 1.1 3. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออกทางทัศนศิลป 4. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุอุปกรณและกระบวนการท่ีสูงข้ึน ในการสรางงานทัศนศิลป 7. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุอุปกรณเทคนิคและเนื้อหา เพ่ือสรางสรรคงานทัศนศิลป 8. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลปโดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ 9. จัดกลุมงานทัศนศิลป เพ่ือสะทอนพัฒนาการ และความกาวหนาของตนเอง 10. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ สรางงานของศิลปนท่ีตนชื่นชอบ ตัวช้ีวัด มฐ. ศ 1.2

2. ระบุงานทัศนศิลปของของศิลปนท่ีมีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค) 1. การสื่อสาร .....10...... คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 7, 8, 9

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 2

คะแนนเต็ม 20

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4 , 7 , 10 2.สภาพจริง.......30.........คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3, 4 , 10

3.กลางภาค/ปฏิบัติ... 30....คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4 , 8 , 10 4.แฟมสะสมงาน.... 10.....คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 8

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. การประเมินดวยการส่ือสารสวนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.พฤติกรรมในหองเรยีน/ทักษะ 5 การเอาใจใส ตั้งใจทํางานท่ีไดรับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ/ตรงตอเวลา 3 สงงานครบทุกชิ้น และสงตรงเวลาท่ีกําหนด

3.ความสมบูรณของผลงาน 2 ความสะอาดเรียบรอย

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน เกณฑการใหคะแนน

1. วาดภาพหุนนิ่งสีน้ํา (ผลไม) เขียนถูกตองตามโจทยท่ีกําหนด

หลักการใชท่ีถูกวิธีและเสนอผลงานท่ีถูกตอง

เทคนิคและวิธีท่ีสรางสรรค

2. วาดภาพหุนนิ่งสีน้ํา (ดอกไม)

3. วาดภาพคนเต็มตัว

4. วาดวาดเสนสรางสรรค

5. ขอสอบทฤษฎีกลางภาค / ปรนัย 15 ขอ เนื้อหาตามหลักทฤษฎีทัศนศิลปและเพ่ือเตรียมความพรอมสอบเขา

มหาวิทยาลัย *ครูผูสอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

6. จริยะ อานคิดวิเคราะห ตอบปญหาเหตุการณจากโจทยโดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม

*ครูผูสอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

คะแนนรวม 30 คะแนน

3. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. การจัดทําแฟมสะสมงาน 5 การเก็บรวบรวมผลงานครบถวนสมบูรณอยูในสภาพเรียบรอย

2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวธิีการทํางานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การสงผลงาน 2 ความเรียบรอย ตรงตอเวลา

คะแนนรวม 10

4. การสอบปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน เกณฑการใหคะแนน

1. สอบปฏิบัติสีน้ํา ถูกตองตามหลักการ สะอาด สวยงาม

เทคนิคและวิธีท่ีสรางสรรค 2. องคประกอบสีน้ํา

3. องคประกอบศิลปและการสรางสรรค

4. Drawing figure

5. ทฤษฎีการวิเคราะห วิจารณผลงาน

ทัศนศิลป

คะแนนรวม 30 คะแนน

5. การสอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน เกณฑการใหคะแนน

• สอบปฏิบัติ เขียนภาพหุนนิ่งสีน้ํา การจัดองคประกอบของภาพ

เทคนิคท่ีใชในการเขียนภาพสีน้ํา

• Drawing figure

• องคประกอบศิลปสรางสรรค

โครงสราง สัดสวน/แนวความคิด เนื้อหา

ความสมบูรณของผลงาน

การนําเสนอ ตรงตอเวลา

คะแนนรวม 20 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอน และหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

ขอสอบเขามหาวิทยาลัย // ความถนัดทางศิลปกรรม // องคประกอบศิลปะ

นิตยสาร Art 4 D // นิตยสาร I-Design // นิตยสาร Fine Art และอ่ืนๆ

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สหศิลป ดนตรี และ การแสดง รหัส ศ32205 – ศ32206 ครูผูสอน 1. ม.อชิตพล ทิณรัตน 2. มิสสาวิตรี แจมใจ 3. ม.ชรินทร ทรงศิริวรกุล

4. ม.ปฐมวัส ธรรมชาติ 5. ม.เลิศศักดิ์ รักสุจริต 6. ม.คทาหัสต นวลพลกรัง

7. มิสอัศมาร หมัดเหย็บ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ….... มัธยมศึกษาปท่ี 6/9 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2560 จํานวน 6 คาบ/สัปดาห 120 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 3 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ สหศิลปดนตรี คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ ระบบการบันทึกโนตสากล จังหวะ การจําแนกของจังหวะตางๆ ประเภทของบันไดเสียง การ

อานโนต การเลื่อนระดับเสียงในอัตราจังหวะผสม การฟงและเปลงเสียงของข้ันคูเสียงคอรด การเขียนโนตดนตรี การปฏิบัติ

เครื่องดนตรีตามความถนัด การฝกไลบันไดเสียง เทคนิคการจับคอรด การถายทอดอารมณการขับรองประสานเสียง การ

เทียบเสียงกับเครื่องดนตรี การแสดงปฏิบัติรวมวงเล็ก

โครงสรางทํานองเพลงไทย การบรรเลงฆองวงใหญ การดูแลรักษาเครื่องดนตรี การปฏิบัติเครื่องดนตรีเดี่ยว การ

บรรเลงรวมวงปพาทย เครื่องสาย และมโหรี โดยยึดเกณฑมาตรฐานสาขาวิชาและวิชาชีพดนตรีไทย

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลย ี

สรางความคิดวิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานดนตรี ชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รัก

ความเปนไทย

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดก

ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3 / 2.1.7 / 2.2.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.6 / 2.2.5

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2 / 2.2.3

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.2.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา

หนวยท่ี 1 ทฤษฎีดนตรีสากล (รูปแบบ และ การวิเคราะห)

หนวยท่ี 2 ทักษะการอาน การเขียนโนต และ การฟงเสียงดนตรี

หนวยท่ี 3 การพัฒนาวิชาชีพ

หนวยท่ี 4 คอมพิวเตอรดนตรี

หนวยท่ี 5 ปฏิบัติเครื่องมือเอก

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

• ระหวางเรียน 80 คะแนน

• การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

มีอุปกรณและเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน

มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน

มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

• การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลง / ขับรอง ในรูปแบบรวมวง / เด่ียว ตามแบบฝกหัดท่ีกําหนดให (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

บทเพลงตรงตามจังหวะ-ทํานอง ถูกตองแมนยํา............................. 20 คะแนน

บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณเพลง......................... 10 คะแนน

• การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

• ความสําเร็จของช้ินงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว ในรูปแบบการแสดง

ดนตรี / นาฏศิลป (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 2 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

ความถูกตอง ....................................................... 10 คะแนน

เทคนิค ............................................................... 5 คะแนน

ความตอเนื่อง ........................... ......................... 5 คะแนน

• การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความ จากบทความท่ีครูกําหนด พรอมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน

พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี)................................................ 2 คะแนน

• การสอบทฤษฎ ี(5 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

• การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

นักเรียนนําเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร ตามหัวขอท่ีครูกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน

ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน

ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน

• สอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

- บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโนต ถูกตองและแมนยํา........................ 10 คะแนน

- บุคลิกภาพของผูสอบ.............................................................. 5 คะแนน

- มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. ดุริยางคศาสตรไทย (กรมศิลปากร)

2. สารานุกรมศัพทดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต)

3. โนตเพลงไทย (กรมศิลปากร)

4. ทฤษฎีดนตรี (ศาสตราจารย ดร.ณัชชา พันธุเจริญ)

5. 333 Reading Exercise (Zoltán Kodály)

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : English IE2 Code อ33206

Instructor : M. Pongpol Suansri

Class Level : Secondary 6 Semester 2 Academic year 2017

2/4 periods/week 40/80 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

A practical course that teaches the skills of extended reading for both academic purpose and

pleasure including such strategies as understanding facts and details, identifying negative facts, and

locating referents. Over the course of the semester, students will be exposed to a wide range of

advanced level reading passages and will become proficient in each one. Emphasis will be placed on

the reading skills necessary for university entrance examination.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand1: Language for communication F1.1 Understand the listening and speaking

process. Be able to understand a story from

listening and reading various media and apply this

understanding logically.

F1.2 Gain communication skills to exchange news and

information, express opinions by using the proper

technology and management for lifelong learning.

Strand2 : Language and culture

F2.2 Understand the similarities and differences in

the cultures and languages of native speakers and

Thais. Apply these understandings logically.

Strand3 : Language and its relationship to other

learning groups

F3.1 Use the foreign language to connect

knowledge with other learning groups. This is the

basis for opening up and developing students’

vision.

Indicators : (Write the details in items) 1. Observe instructions in manuals for various types of work, clarifications, explanations and descriptions heard and read. 2. Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles of reading. 3. Explain and write sentences and texts related to various forms of non-text information, as well as specify and write various forms of non-text information related to sentences and texts heard or read. 4. Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to and reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justifications and examples for illustration. 5. Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately. 6. Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/ issues/news and situations heard and read. 7. Analyse/discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais, and apply them appropriately. 8. Research/search for, make records, summarise and express opinions about the data related to other learning areas, and present them through speaking and writing.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

Communication 10 marks 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

30 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

Authentic 20 marks 1.1.1 1.1.2 1.1.3 1.1.4 2.2.1 2.2.2

Performance test 30 marks 1.2.1 1.2.3 1.2.4 1.2.5

Portfolio 10 marks 3.1.1

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

Reading skills to be assessed include Understanding facts and details, Identifying negative facts,

Locating referents, and Understanding vocabulary in context. Written reflection on the advanced level

reading passages whose marks will be determined by accuracy, correctness, and fluency of the language

will also be included.

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

Reading skills to be assessed include Making inferences, Determining purpose, and Recognizing

paraphrase and text organization.