15
เฉลย : วิชาคณิตศาสตร์ 1.กาหนดให้ fx = 3 , <3 2 2 2 3 1, 3 ข้อใดถูกต้อง . f(x)ต่อเนื่องทีx= 3 และ lim 3 =0 . f(x)ต่อเนื่องทีx= 3 และ lim 3 หาค่าไม่ได้ . f(x) ไม่ต่อเนื่องทีx= 3 และ lim 3 =0 . f(x) ไม่ต่อเนื่องทีx= 3 และ lim 3 หาค่าไม่ได้ เฉลย ข้อ ง. f(x) ไม่ต่อเนื่องทีx= 3 และ lim 3 หาค่าไม่ได้ จาก f(3) = (3) 2 2(3) 2 3(3) 1 = 1-1 = 0 lim 3 = lim 3 3 หาค่าไม่ได้ (3 เช่น 2.999) lim 3 + = lim 3 + 2 2 2 3 1=1 1=0 lim 3 หาค่าไม่ได้ ดังนั้น f(x) ไม่ต่อเนื่องทีx = 3 และ lim 3 3 หาค่าไม่ได้ 2. กาหนดให้ f(x)= 18x 2 8x 6 และ g(x) = (x 2 +1)(3x -2) จงหา lim ( ) "( ) เมื่อ a เป็นค่าคงทีใดๆ (คาใบ้ : ให้คูณกระจาย g(x) ก่อนนะ) .2 .1 .0 . หาค่าไม่ได้ เฉลย ข้อ ก. 2

เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

เฉลย: วิชาคณิตศาสตร์

1.ก าหนดให้

f x = 𝑥 − 3, 𝑥 < 3

𝑥2

2𝑥2−3𝑥− 1, 𝑥 ≥ 3

ข้อใดถูกต้อง

ก. f(x)ต่อเน่ืองที่ x= 3 และ lim𝑥→3− 𝑓 𝑥 = 0

ข . f(x)ต่อเน่ืองที่ x= 3 และ lim𝑥→3− 𝑓 𝑥 หาค่าไม่ได้

ค . f(x) ไม่ต่อเน่ืองที่ x= 3 และ lim𝑥→3− 𝑓 𝑥 = 0

ง . f(x) ไม่ต่อเน่ืองที่ x= 3 และ lim𝑥→3− 𝑓 𝑥 หาค่าไม่ได้

เฉลย ข้อ ง. f(x) ไม่ต่อเน่ืองที่ x= 3 และ lim𝑥→3− 𝑓 𝑥 หาค่าไม่ได้

จาก f(3) =(3)2

2(3)2−3(3)– 1 = 1-1 = 0

lim𝑥→3− 𝑓 𝑥 = lim𝑥→3− 𝑥 − 3 หาค่าไม่ได้ (𝑥 → 3−เช่น 2.999)

lim𝑥→3+ 𝑓 𝑥 = lim𝑥→3+𝑥2

2𝑥2−3𝑥− 1 = 1 − 1 = 0

∴ lim𝑥→3 𝑓 𝑥 หาค่าไม่ได้

ดังนั้น f(x) ไม่ต่อเน่ืองที่ x = 3 และ lim𝑥→3− 𝑥 − 3 หาค่าไม่ได้

2. ก าหนดให้ f(x)= 18x2 – 8x – 6 และ g(x) = (x2+1)(3x -2) จงหา lim𝑥→𝑎𝑓′(𝑥)

𝑔"(𝑥) เมื่อ a เป็นค่าคงที่

ใดๆ

(ค าใบ้ : ให้คูณกระจาย g(x) ก่อนนะ)

ก .2 ข .1 ค .0 ง. หาค่าไม่ได้

เฉลย ข้อ ก. 2

Page 2: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

จาก f(x) = 18x2-8x-6 f ’(x) = 36x - 8

จาก g(x) = (x2+1)(3x-2) = 3x3 - 2x2 + 3x - 2 g’(x) = 9x2 – 4x+3

g”(x) = 18x – 4

∴ lim𝑥→𝑎𝑓′(𝑥)

𝑔"(𝑥) = lim𝑥→𝑎

36x − 8

18x – 4

= lim𝑥→𝑎2(18x – 4)

18x – 4

= lim𝑥→𝑎 2 = 2

3.จงหาค่าของ (3𝑥2

100

1

0−

2𝑥

10) 𝑑𝑥+ (

3𝑥2

100

2

1−

2𝑥

10) 𝑑𝑥+ (

3𝑥2

100

3

2−

2𝑥

10) 𝑑𝑥 + … +

(3𝑥2

100

10

9−

2𝑥

10) 𝑑𝑥

ก .0 ข .100 ค .110 ง.120

เฉลย ข้อ ก. 0

จากสมบัติ f(x)c

a𝑑𝑥 = f(x)

b

a𝑑𝑥 + f(x)

c

b𝑑𝑥เมื่อ a<b< c

จากโจทย์ (3𝑥2

100

1

0−

2𝑥

10) 𝑑𝑥+ (

3𝑥2

100

2

1−

2𝑥

10) 𝑑𝑥+ (

3𝑥2

100

3

2−

2𝑥

10) 𝑑𝑥 + … +

(3𝑥2

100

10

9−

2𝑥

10) 𝑑𝑥

= (3𝑥2

100

10

0−

2𝑥

10) 𝑑𝑥

= (𝑥3

100−

𝑥2

10) 𝑥=10

𝑥=0 = 10 – 10 = 0

4.จงหาพื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥3จาก x = -2 ถึงx = 4

ก.60 ข .64 ค .68 ง.72

เฉลย ข้อ ค. 68

A1

A2

Page 3: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

เน่ืองจากพื้นที่มีทั้งส่วนที่อยู่เหนือแกน x และอยู่ใต้แกน x จึงแบ่งพื้นที่เป็น A1และ A2

A1อยู่ใต้แกน x จะได้

A1 = - f(x)b

a𝑑𝑥= - 𝑥30

−2𝑑𝑥 = -

𝑥4

4 𝑥=0

𝑥=−2 = -( 0 -

24

4) = 4 ตารางหน่วย

A2อยู่เหนือแกน x จะได้

A2 = f(x)b

a𝑑𝑥 =

𝑥4

4 𝑥=4

𝑥=0 =

43

4− 0 = 43= 64 ตารางหน่วย

ดังนั้นพื้นที่รวมทั้งหมดคือ 4 + 64 = 68

5.โรงงานย่านจันทบุรีแห่งหนึ่งผลิตอมยิ้ม 2 ชนิด จากสองวัตถุดิบ ได้แก่ วัตถุดิบAและB โดยอมยิ้มชนิดที่

หนึ่ง ใช้ปริมาณวัตถุดิบจาก A จ านวน3 หน่วย และจาก B จ านวน 1 หน่วย ส่วนอมยิ้มชนิดที่สอง ไม่ใช้

วัตถุดิบจาก A แต่ใช้วัตถุดิบจาก B จ านวน 1 หน่วย ซึ่งโรงงานนี้มีวัตถุดิบA ทั้งหมดจ านวน 6 หน่วย และมี

วัตถุดิบ B จ านวนทั้งหมด 5 หน่วย จงหาก าไรสูงสุดจากการขายอมยิ้มทั้งสองชนิด ( ก าหนดให้ สมการ

จุดประสงค์ P= 10x + 15y โดย x คือ จ านวนอมยิ้มชนิดที่1 และ y คือ จ านวนอมยิ้มชนิดที่ 2 )

ก .65 บาท ข .70 บาท ค .75 บาท ง.80 บาท

เฉลย ข้อ ค. 75 บาท

ก าหนด x คือ จ านวนอมยิ้มชนิดที่1 y คือ จ านวนอมยิ้มชนิดที่ 2

1.สมการจุดประสงค์ P = 10x+15y(จากโจทย์ )

วัตถุดิบ A ทั้งหมด 3x < 6

วัตถุดิบ B ทั้งหมด x+y< 5และ x,y> 0

2.เขียนกราฟ

Page 4: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

3.หาจุดมุม พิกัดCเกิดจาก2 เส้นตรง x=2 ,x+y = 5ได้พิกัด (2,3)

4.แทนค่าจุดมุมในสมการจุดประสงค์

P(0,0)= 0

P(2,0)= 10(2)+15(0) = 20

P(2,3)= 10(2)+15(3) = 65

P(0,5)= 10(0)+15(5) = 75

∴ก าไรสูงสุด = 75 บาท

6.ก าหนดตารางข้อมูลชุดหนึ่ง ดังน้ี

คะแนน ความถี่ 1-3 2 4-6 5 7-9 3

จากตาราง ก าหนดให้

A) ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 4-6 เท่ากับ a

B) ค่ากึ่งกลางของอันตรภาคชั้น 1-3 เท่ากับ b

C) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตารางนี้ มีค่าเท่ากับ c

จงหาค่าของ a + b – c + 0.3

ก .1 ข .2 ค .3 ง.4

เฉลย ข้อ ง. 4

a = ความถี่สะสมอันตรภาคชั้น 4-6 คือ 2+5 =7

b = ค่ากึ่งกลางอันตรภาคชั้น 1-3 คือ0.5+3.5

2= 2

c = ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 2 2 +5 5 +8(3)

10= 5.3 (ใช้ค่ากึ่งกลางอันตรภาคชั้นในการคิด)

Page 5: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

∴ a + b – c + 0.3 = 7 + 2 - 5.3 + 0.3 = 4

7.ข้อมูลชุดหน่ึงเรียงล าดับค่าจากน้อยไปมาก ดังนี้ 3 ,5 , x , 9 , y ถ้าพิสัย(Range) ของข้อมูล คือ 8, ค่าเฉลี่ย

เลขคณิตของข้อมูล(x) คือ 7 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) มีค่าเป็น 2.8 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้

A) xi − 7 5i=1 จะมีค่ามากที่สุด

B) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์(Q.D.) มีค่าอยู่ในระหว่างช่วง 2.0 – 5.0

C) สัมประสิทธิ์การแปรผัน มีค่าเป็น 0.04

ข้อความใดถูกต้องที่สุด

ก . มีข้อถูก 1 ข้อ ข.มีข้อถูก 2 ข้อ ค. ถูกทุกข้อง. ผิดทุกข้อ

เฉลย ข้อ ก. ข้อถูก 1 ข้อ

พิสัย = y -3= 8 ได้ y = 11

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 3+5+x+9+11

5= 7

จัดข้อมูลใหม่ได้ 3 5 7 9 11

A) xi − 7 5i=1 ต้องมีค่าน้อยที่สุด∴ A ผิด

B) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์(Q.D.) มีค่าอยู่ในระหว่างช่วง 2.0 – 5.0

ต าแหน่ง Q1= 1(5+1)

4 = 1.5 จากการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ Q1= 3+1 = 4

ต าแหน่งQ3= 3(5+1)

4 = 4.5 จากการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้Q3= 9+1= 10

∴Q.D. = Q3−Q1

2 =

10−4

2 = 3 ∴ B ถูก

C) สัมประสิทธิ์การแปรผัน มีค่าเป็น 0.04

สัมประสิทธิ์การแปรผัน = S.D.

x =

2.8

7 = 0.4 ∴ C ผิด

Page 6: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

8.ในการสอบQuiz ครั้งที่สี่ วิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนโรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกจ านวน 2000 คน ถ้า

คะแนนการสอบของนักเรียนเป็นแบบแจกแจงปกติ โดยที่น้องกิจสอบได้ 7 คะแนน และน้องเตยสอบได้ 12

คะแนน จงค านวณค่าตามเงื่อนไขต่อไปนี้ตามล าดับ เมื่อมัธยฐานและความแปรปรวนของคะแนนสอบของ

นักเรียนมีค่าเป็น 10 และ 4 คะแนน ตามล าดับ

A) จ านวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนมากกว่าน้องกิจแต่น้อยกว่าน้องเตย

B) คะแนนสอบของน้องเตยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่เท่าไร

ก าหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง Z

Z 0.5 0.75 1 1.5 พื้นที่ 0.2295 0.2734 0.3413 0.4332

ก .1549 คน ,8.413% ข.1549 คน ,84.13%

ค .1006 คน ,72.95%ง.1006 คน ,7.295%

เฉลย ข้อ ข. 1549คน ,84.13%

N = 2,000 คน

จากข้อมูลแจกแจงแบบปกติ ได้ 𝑥 = Med = Mode = 10

SD2 = 4 จะได้ว่า SD = 2

A) จาก𝑍𝑖 = 𝑥𝑖− 𝑥

𝑆𝐷 .จะได้ว่า Zกิจ =

7−10

2= - 1.5

Zเตย=12−10

2= 1

∴ 𝐴แรเงา = 0.4332 + 0.3413 = 0.7745

ดังนั้น จ านวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนมากกว่าน้องกิจแต่น้อยกว่าน้องเตย คือ 0.7745 *2000 =1549 คน

Page 7: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

B) 𝐴แรเงา = 0.5 + 0.3413 = 0.8413

ดังนั้น คะแนนสอบน้องเตยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ไทล์เท่ากับ 0.8413*100 = 84.13%

Page 8: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

เฉลย: วิชาฟิสิกส์

1. ตัวเหนี่ยวน าและตัวต้านทานต่ออนุกรมกัน และต่อกับแหล่งก าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่มี

𝑉 = 50 2 sin 1000𝑡วงจรมีค่าความต้านทาน 15 ค่าความเหนี่ยวน า 0.02 H กระแสไฟฟ้า

ของวงจรมีค่าเท่าใด

ก.) 1 A. ข .) 2A. ค.) 2 A. ง.) 2 2 A.

ค าตอบ ค .

วิธีท ำ

XL = ωL = 1000 0.02 = 20

𝑍 = 𝑅2 + 𝑋𝐿2 = 152 + 202 = 25

𝑉𝑟𝑚𝑠 = 𝐼𝑟𝑚𝑠 𝑍

50 2

2= 𝐼𝑟𝑚𝑠 (25)

𝐼𝑟𝑚𝑠 = 2𝐴.

2. จากรูป จงหากระแสรวมของวงจร

ก. Infinity

ข. 0 A.

ค. 0.5 A.

ง. 1 A.

Page 9: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

ค าตอบ ข .

กระแสรวมของวงจรมีค่าเท่ากับ 0 A. เน่ืองจากเป็นวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อต่อเข้ากับตัวเก็บ

ประจุจะเกิดการช็อตวงจร คือไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

3. ประตูน้ ากว้าง 10 เมตร มีระดับน้ าสูง 4 เมตร จงค านวณหาแรงดันของน้ าที่กระท าต่อประตูน้ี ก าหนด

ความหนาแน่นน้ า 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

ก. 6 × 105𝑁. ข. 5 × 105𝑁. ค. 3 × 105𝑁. ง.8 × 105𝑁.

ค าตอบง.

วิธีท ำ หาแรงดันน้ าเหนือเขื่อนตรง จาก

𝐹 = 1

2𝜌𝑔𝑙𝑕2

= 1

2× 103 × 10 × 10 × 42

= 8 × 105N.

4. ลวดโลหะยาว 4เมตร มีพื้นที่หน้าตัด 0.30 ตารางเซนติเมตร เมื่อใช้แรงดึง 15000 นิวตัน จะยืดออก 0.04

เซนติเมตร จงหาค่ามอดูลัสของยังของโลหะที่ท าเส้นลวดน้ี

ก. 5 × 1012𝑁/𝑚2 ข. 3 × 1012𝑁/𝑚2 ค . 4 × 1012𝑁/𝑚2 ง. 7 × 1012𝑁/𝑚2

ค าตอบ ก.

วิธีท ำหาค่ายังมอดูลัส จากสูตร Y = 𝐹𝐿

𝐴∆𝐿

= 15,000×4

0.3×10−4×0.04×10−2

= 5 × 1012𝑁/𝑚2

Page 10: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

5. ถ้าต้องการให้น้ าแข็งมวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ -5 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้ าที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส

ทั้งหมด จงหาว่าต้องใช้พลังงานความร้อนเท่าไหร่

ก าหนดให้ cน้ า = 4.18 kJ/kg-K cน้ าแข็ง= 2.10 kJ/kg=K Lน้ าแข็ง= 333 kJ/kg

ก. 1,339 kJ ข. 1,129 kJ ค. 1,100 kJ ง. 1,200 kJ

ค าตอบ ค.

วิธีท ำ

จะได้

Q = mcน้ าแข็งΔTน้ าแข็ง + mLน้ าแข็ง+ mcน้ าΔTน้ า

= (2) (2.10×103)(5) + (2)(333×103) + (2)(4.18×103)(50)

= 1.1 × 106 J = 1,100 kJ

6. ให้ความร้อนจ านวนหน่ึงแก่แก๊สฮีเลียมที่บรรจุในกระบอกสูบ เมื่อแก๊สขยายตัวภายใต้กระบวนการความ

ดันคงที่ จงหาว่าแก๊สใช้ความร้อนในการเพิ่มพลังงานภายในร้อยละเท่าใดของปริมาณความร้อนที่ได้รับ

ก. 60% ข. 50% ค. 40% ง. 70%

ค าตอบ ก.

วิธีท ำ ให้ความร้อน Q(+) แก๊สขยายตัว ΔW (+) มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ΔU (+)

จากกฎขอที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ จะได้ว่า

Q = ΔU + ΔW

= 3

2𝑃∆𝑉 + 𝑃∆𝑉

= 5

2𝑃∆𝑉 J

ระบบมีพลังงานภายในเพิ่มขึ้น

7ΔU = 3

2P∆VJ

น้ าแข็ง 2 kg

อุณหภูมิ -5 oC

น้ าแข็ง2 kg

อุณหภูมิ 0oC

น้ า 2 kg

อุณหภูมิ 0oC

น้ า 2 kg

อุณหภูมิ 50oC

Page 11: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

จะได้ 3

2𝑃∆𝑉

5

2𝑃∆𝑉

× 100= 60

7. ในการทดลองเร่ืองปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กตริก ใช้แสงความถี่ 0.8 x 1015 เฮิรตซ์ ท าให้มีอิเล็กตรอน

หลุดจากผิวโลหะด้วยพลังงานจลน์ 1.4 อิเล็กตรอนโวลต์จงหาว่าผิวโลหะที่มีฟังก์ชันงานมีค่าเท่าใด

(ก าหนดให้ ค่าคงที่ของพลังค์มีค่า เท่ากับ 6.6 x 10−34 J·s)

ก. 1.4 eV ข . 1.9 eV ค . 2.4eV ง . 2.9 eV

ค าตอบ ข.

วิธีท ำ 𝐸𝐾 = 𝑕𝑐

𝜆- 𝑊𝑓

1.4 = (6.6 𝑥10−34 )(0.8 𝑥1015 )

1.6 𝑥10−19 - 𝑊𝑓

1.4 = 3.3 - 𝑊𝑓

𝑊𝑓 = 3.3 – 1.4 = 1.9 eV

8. สารชนิดหน่ึงมีเวลาคร่ึงชีวิต 2,500 ปี ถ้าเร่ิมต้นมีสารนี้อยู่ 64 กรัม เวลาผ่านไปนานเท่าใด จึงท าให้สารน้ี

เหลืออยู่2 กรัมปี

ก. 7,500 ปี ข . 10,000 ปี ค . 12,500 ปี ง .15,000 ปี

ค าตอบ ค.

วิธีท ำ จาก N = 𝑁𝑜

2𝑛

2 = 64

2𝑛

2𝑛= 64

2 = 32

n = 5

จาก n = 𝑡

𝑇12

5 = 𝑡

2,500

t = 5 x 2,500 = 12,500 ปี

Page 12: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

เฉลย: วิชาเคมี

1. น้องโจโจ้ต้องการ ชุบขันสังกะสีด้วยทองค า โดยใช้สารละลาย AuNO3เป็น Electrolyte น้องโจโจ้จะต้องใช้อะไรเป็น Cathode และ Anode?

ก. ใช้ขันสังกะสีเป็น Anode ใช้ทองค าเป็น Cathode ข. ใช้ขันสังกะสี และทองค า เป็น Anode ค. ใช้ขันสังกะสีเป็น Cathode ใช้ทองค าเป็น Anode ง. ใช้ขันสังกะสี และทองค าเป็น Cathode

เฉลย ค. ใช้ขันสังกะสีเป็น Cathode ใช้ทองค าเป็น Anode หลักการชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า - สิ่งที่น ามาชุบไว้ด้าน Cathode เสมอ - โลหะที่น ามาชุบต้องไว้ด้าน Anode เสมอ - สารละลายที่ใช้ต้องเป็นชนิดเดียวกับโลหะที่ใช้ชุบ - ต้องเป็นไฟฟ้ากระแสตรง - ความเข้มข้นของสารละลายไม่มีการเลี่ยนแปลง

2. แม่ไอซ์ต้องการถลุงโลหะ X ออกจากสินแร่โดยสินแร่มีโลหะ U, V, W, X,Y และ Z โดยก าหนดค่าความสามารถในการ ออกซิไดซ์ คือ Z>Y>X>W>V>U ข้อใดถูกต้อง

ก. โลหะ U จะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ข. โลหะ Z จะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ค. สารเจือปนในสินแร่ ที่ถูกรีดิวซ์ยากกว่าโลหะ X จะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

เฉลย ข. โลหะ Z จะตกตะกอนอยู่ท่ีก้นภาชนะ ก. ผิด :: โลหะ U จะต้องเป็นไอออนปะปนอยู่ในสารละลาย เพราะมีค่า Eoสูงกว่าEoของ โลหะ X ข. ถูกต้อง :: เพราะ โลหะ Z มีค่า Eo ต่ ากว่า Eoของโลหะ X ซึ่งจึงตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ค. ผิด :: สารเจือปนในสินแร่ ที่ถูกรีดิวซ์ง่ายกว่าโลหะ X จะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ง. ผิด :: ข้อ ข. ถูกต้อง

3. สารประกอบในข้อใดที่มีโครงสร้างแบบวงชนิดไม่อิ่มตัว

ก. C5H10 ข. C4H8 ค. C5H8 ง. C7H14 เฉลย ค. C5H8

Page 13: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

วิธีการท าข้อนี้คือ ให้นับ H ที่หาย จากโจทย์จะเห็นว่าเป็นแบบวง แสดงว่า H หาย 2 ตัวและเป็นแบบไม่อิ่มตัวด้วย นั่นคือ H จะต้องหายเพิ่มขึ้นอีก ดังนั้นสารน้ี H จะต้องหายมากกว่า 2 ตัว ให้น้องๆพิจารณา: C5H10: H หาย 2 ตัว จากสูตรเต็ม (Alkane = CnH2n+2) C4H8: H หาย 2 ตัว เพราะเป็น CnH2n

C5H8 : H หาย 4 ตัว เพราเป็นCnH2n-2 C4H8 : H หาย 2 ตัว เพราะเป็นCnH2n

ดังนั้น ข้อ ค. H หายมากกว่า 2 ตัว จึงสรุปได้ว่า มีโครงสร้างแบบวงชนิดไม่อิ่มตัว 4. สารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งเป็นโซ่เปิด มีสูตรโมเลกุลดังนี้ C2H2ข้อใดกล่าวถูกต้อง

ก. เกิดปฏิกิริยาแทนที่, ฟอกจางสี Br2/CCl4 ได้เฉพาะที่มืดเท่านั้น ข. เกิดปฏิกิริยาการเติม, ฟอกจางสี Br2/CCl4 ได้เฉพาะที่มีแสงสว่างเท่านั้น ค. เกิดปฏิกิริยาแทนที่, ฟอกจางสีสารละลาย KMnO4ได้ ง. เกิดปฏิกิริยาการเติม, ฟอกจางสี Br2/CCl4 ได้ทั้งที่มืดและที่สว่าง

เฉลย ง. เกิดปฏิกิริยาการเติม, ฟอกจางสี Br2/CCl4 ได้ท้ังท่ีมืดและที่สว่าง จากโจทย์เป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว Alkyne (CnH2n-2) จึงเกิดปฏิกิริยาการเติม นอกจากนี้

Alkyne สามารถฟอกจางสี Br2/CCl4 ได้ทั้งที่มืดและที่สว่าง ดังตาราง ปฏิกิริยา สาร HC. Br2/CCl4 KMnO4

ที่สว่าง ที่มืด Alkane Alkene Alkyne

Aromatic 5. สาร ก ท าปฏิกิริยากับน้ า โดยมี H+ เป็นตัวเร่ง ได้ผลิตผลเป็นสาร ข และ ค ซึ่งสาร ข และ ค ท าปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมได้แก็สชนิดหน่ึง และสาร ค ท าปฏิกิริยากับเบสต่อไปได้อีก สาร ก ข และ ค คือสารใดตามล าดับ

ก. สาร ก = Ester สาร ข = Alcohol สาร ค = Carboxylic acid ข. สาร ก = Alcohol สาร ข = Carboxylic acid สาร ค = Ester ค. สาร ก = Alkane สาร ข = Carboxylic acid สาร ค = Ester ง. สาร ก = Alcohol สาร ข = Amide สาร ค = Carboxylic acid

เฉลย ก. สาร ก = Ester สาร ข = Alcohol สาร ค = Carboxylic acid

Page 14: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

เน่ืองจากสาร ก. ท าปฏิกิริยากับน้ าโดยมีกรดเป็นตัวเร่ง ได้สาร ข. และ ค. ซึ่งสาร ข. และ ค. ท าปฏิกิริยากับโซเดียม ได้ก๊าซไฮโดรเจน แล้ว ค. ท ากับเบสได้อีก ดังนั้น ค. จึงเป็นสาร Carboxylic acid เพราะมีสมบัติเป็นกรดจึงท ากับเบสได้ ข. เป็น Alcohol เพราะท าปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมได้ และ ก. เป็น Ester ที่ท าปฏิกิริยา Hydrolysis 6. ข้อใดต่อไปนี้ผิด

ก. เอมีนสามารถท าปฎิกิริยากับกรดได้ ข. การละลายน้ าของแอลกอฮอล์ จะดีขึ้นที่คาร์บอนอะตอมมากๆ ค. สารประกอบที่มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ที่คาร์บอนอะตอมมากๆ จะมีกลิ่นหอม ง. สารเอสเทอร์ยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลกันด้วยแรงแวนเดอร์วาวล์

เฉลย ข. การละลายน้ าของแอลกอฮอล์ จะดีขึ้นท่ีคาร์บอนอะตอมมากๆ ก.) เน่ืองจากเอมีนมีสมบัติเป็นเบส จึงสามารถท าปฎิกิริยากับกรดได้ จึงเป็นข้อที่ถูก ข.) ผิดเพราะที่คาร์บอนอะตอมมากๆ การละลายน้ าจะแย่ลง เนื่องจากส่วนที่ไม่มีขั้วจากหมู่แอลคิลมีมากขึ้น ค.) สารที่มีคาร์บอกซาลดีไฮด์เป็นองค์ประกอบ คือแอลดีไฮด์ ซึ่งเมื่อเป็นคาร์บอนอะตอมมากๆ จะมีกลิ่นหอม จึงเป็นข้อที่ถูก ง.) สารประกอบเอสเทอร์เป็นสารประกอบ ไม่มีขั้ว จึงยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงแวนเดอร์วาลส์

7. น้ ามันเบนซินที่มีค่าออกเทนเท่ากับ 90 หมายความว่าน้ ามันชนิดนั้นมีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่มีองค์ประกอบอย่างไร

ก.ไอโซออกเทน 90% และเฮปเทน 10% โดยมวล ข.ไอโซออกเทน 10% และเฮปเทน 90% โดยมวล ค.ไอโซออกเทน 90% และเตตระเอทิลเลต 10% โดยมวล ง.เฮปเทน 90% และเตตระเอทิลเลต 10% โดยมวล

เฉลย ก.ไอโซออกเทน 90% และเฮปเทน 10% โดยมวล น้ ามันเบนซินที่มีค่าออกเทนเท่ากับ 90 หมายความว่าน้ ามันชนิดนั้นมีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับ

เชื้อเพลิงที่มีไอโซออกเทน 90% และเฮปเทน 10% โดยมวลเป็นองค์ประกอบ

Page 15: เฉลย วิชาคณิตศาสตร์vichakan.nisit.ku.ac.th/download/ontour20/Quiz 04 Solutions.pdfเฉลย: วิชาคณิตศาสตร์ 1.ก

8.ข้อใดมีผลการทดสอบที่ไม่ถูกต้อง

สารทีใ่ช้ทดสอบ สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกซ์ ก. แป้ง สีน้ าเงิน สารละลายสีฟ้าใส ข. แป้งต้มกับน้ าตาล สีน้ าเงิน ตะกอนสีแดงอิฐ ค. แป้งที่หมักด้วยข้าวหมาก สีน้ าเงิน ตะกอนสีแดงอิฐ ง. แป้งที่ต้มกับกรด สีน้ าตาลแดง ตะกอนสีแดงอิฐ

เฉลย ค.แป้งท่ีหมักด้วยข้าวหมาก สีน้ าเงิน ตะกอนสีแดงอิฐ

เพราะว่า ถ้าแป้งถูกไฮโดรไลส์ด้วยกรด น้ าลาย ยีสต์ (แป้งข้าวหมาก) จะได้น้ าตาลโมเลกุลเด่ียวซึ่ง

ไม่สามารถเปลี่ยนสีสารละลาย I2 เป็นสีน้ าเงินได้