51
บทที1 บทนํา ความหมายและประเภทของบทนิพนธ บทนิพนธ หมายถึง บทนิพนธที่เปนผลจากการศึกษาคนควาอยางมีระบบที่นํามาเรียบ เรียงแลวเขียนดวยลายมือที่อานงาย พิมพตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาไดกําหนดไว อยางมีแบบแผน บทนิพนธแบงไดเปน 4 ประเภท คือ 1. รายงาน (Report) คือ ผลงานการเรียบเรียงจากการศึกษาคนควาในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งตามที่ผูสอนกําหนดให หรือผูเรียนเลือกเรื่องเองตามความสนใจ รายงานอาจทําเปนรายบุคคลหรือ เปนกลุมก็ไดขึ้นอยูกับขอตกลงระหวางผูสอนและผูเรียน สวนความยาวของรายงานขึ้นอยูกับขอบเขต ของเรื่องและเวลาที่กําหนดในการศึกษาคนควา ซึ่งปกติจะกําหนดระยะเวลาศึกษาคนควา และเรียบ เรียงต่ํากวา 1 ภาคเรียน 2. ภาคนิพนธ (Term Paper) คือ ผลงานการเรียบเรียงจากการศึกษาคนควาในเรื่อง ใดเรื่องหนึ่งเชนเดียวกับรายงาน แตมีความกวางขวางและลึกซึ้งกวารายงาน ปกติจะกําหนด ระยะเวลา ในการศึกษาคนควาและเรียบเรียง 1 ภาคเรียน 3. การศึกษาคนควาอิสระ (Independent Study) และการศึกษาปญหาพิเศษ (Study Problem) หมายถึง บทนิพนธ กรณีศึกษา สิ่งประดิษฐ หรือการวิเคราะหพัฒนาระบบงานที่ใช วิธีการวิจัย ที่นักศึกษาในระดับปริญญาตรีสายวิทยาศาสตรบางสาขาวิชาที่ตองการใหนักศึกษาใน หลักสูตรนั้น ไดศึกษาเรียนรูถึงวิธีการศึกษาปญหาพิเศษ (Study Problem) ซึ่งเปนการฝกใหนักศึกษา สามารถนําความรูดังกลาวไปเปนพื้นฐานในการทําวิจัยตอไปได จึงบรรจุวิชาปญหาพิเศษนี้ไวในหลักสูตร ดวย และระดับบัณฑิตศึกษา แผน แตละคนจะตองทําเพื่อเปนงานสวนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา โดยทั่วไปในการศึกษาคนควาอิสระ และการศึกษาปญหาพิเศษ มีเนื้อหา สาระที่แสดงความริเริ่มของนักศึกษา โดยมีขอบขาย ปริมาณ คุณภาพ และความลึกซึ้งของเนื้อหาสูง กวาภาคนิพนธแตนอยกวาวิทยานิพนธ 4. วิทยานิพนธ (Thesis or Dissertation) หมายถึง บทนิพนธที่ใชกระบวนการวิจัยทีแสดงถึงความริเริ่มในการประมวลความรู และสรางองคความรูใหม ที่นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา แผน (2) ซึ่งแตละคนจะตองทํา นับเปนงานสําคัญยิ่งสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโท และปริญญาเอก โดยทั่วไปวิทยานิพนธ เปนผลงานวิชาการที่มีเนื้อหาสาระ ที่แสดงถึงความริเริ่มของ นักศึกษา โดยมีขอบขาย ปริมาณ คุณภาพมาตรฐาน และความลึกซึ้งของเนื้อหาสาระสูงกวาการศึกษา คนควาอิสระ การศึกษาปญหาพิเศษ และภาคนิพนธ

บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

บทที่ 1 บทนํา

ความหมายและประเภทของบทนิพนธ

บทนิพนธ หมายถึง บทนพินธท่ีเปนผลจากการศึกษาคนควาอยางมีระบบท่ีนาํมาเรียบ เรียงแลวเขียนดวยลายมือท่ีอานงาย พิมพตามรูปแบบท่ีมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาไดกําหนดไว

อยางมีแบบแผน บทนิพนธแบงไดเปน 4 ประเภท คือ 1. รายงาน (Report) คือ ผลงานการเรียบเรียงจากการศึกษาคนควาในเร่ืองใดเร่ือง

หนึ่งตามท่ีผูสอนกําหนดให หรือผูเรียนเลือกเร่ืองเองตามความสนใจ รายงานอาจทําเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมก็ไดข้ึนอยูกับขอตกลงระหวางผูสอนและผูเรียน สวนความยาวของรายงานข้ึนอยูกับขอบเขตของเร่ืองและเวลาท่ีกําหนดในการศึกษาคนควา ซึ่งปกติจะกําหนดระยะเวลาศึกษาคนควา และเรียบเรียงต่ํากวา 1 ภาคเรียน

2. ภาคนิพนธ (Term Paper) คือ ผลงานการเรียบเรียงจากการศึกษาคนควาในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งเชนเดียวกับรายงาน แตมีความกวางขวางและลึกซึ้งกวารายงาน ปกติจะกําหนด ระยะเวลาในการศึกษาคนควาและเรียบเรียง 1 ภาคเรียน

3. การศึกษาคนควาอิสระ (Independent Study) และการศึกษาปญหาพิเศษ (Study Problem) หมายถึง บทนิพนธ กรณีศึกษา ส่ิงประดิษฐ หรือการวิเคราะหพัฒนาระบบงานท่ีใช วิธีการวิจัย ท่ีนักศึกษาในระดับปริญญาตรีสายวิทยาศาสตรบางสาขาวิชาท่ีตองการใหนักศึกษาใน

หลักสูตรนั้น ๆ ไดศึกษาเรียนรูถึงวิธีการศึกษาปญหาพิเศษ (Study Problem) ซึ่งเปนการฝกใหนักศึกษา

สามารถนําความรูดังกลาวไปเปนพ้ืนฐานในการทําวิจัยตอไปได จึงบรรจุวิชาปญหาพิเศษนีไ้วในหลกัสูตร

ดวย และระดับบัณฑิตศึกษา แผน ข แตละคนจะตองทําเพ่ือเปนงานสวนหนึ่งของการศึกษาตาม

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา โดยทั่วไปในการศึกษาคนควาอิสระ และการศึกษาปญหาพิเศษ มีเนื้อหาสาระท่ีแสดงความริเร่ิมของนักศึกษา โดยมีขอบขาย ปริมาณ คุณภาพ และความลึกซึ้งของเนื้อหาสูงกวาภาคนิพนธแตนอยกวาวิทยานิพนธ

4. วิทยานิพนธ (Thesis or Dissertation) หมายถึง บทนิพนธท่ีใชกระบวนการวจิัยท่ีแสดงถึงความริเร่ิมในการประมวลความรู และสรางองคความรูใหม ท่ีนักศึกษาในระดบับณัฑติศึกษา แผน ก(2) ซึ่งแตละคนจะตองทํา นับเปนงานสําคัญย่ิงสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโท และปริญญาเอก โดยทั่วไปวิทยานิพนธ เปนผลงานวชิาการที่มีเนื้อหาสาระ ท่ีแสดงถึงความริเร่ิมของนักศึกษา โดยมีขอบขาย ปริมาณ คุณภาพมาตรฐาน และความลึกซึ้งของเนื้อหาสาระสูงกวาการศึกษา คนควาอิสระ การศึกษาปญหาพิเศษ และภาคนิพนธ

Page 2: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

2

รูปแบบของรายงาน ภาคนพินธ การศึกษาคนควาอิสระ การศึกษาปญหาพิเศษ และ

วิทยานิพนธ สวนใหญจะเหมือนกัน มีแตกตางกันบางเล็กนอยในสวนปลีกยอย เชน วิทยานิพนธจะตองมีบางสวนเพ่ิมข้ึนซึ่งไมจําเปนตองมีในรายงาน และภาคนิพนธ ดังนั้น ในหนังสือคูมือการเขียนรายงาน ภาคนิพนธ และวิทยานิพนธ ของคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา มหาวิทยาลัยแมโจ จึงใชคําวา “บทนิพนธ” แทนงานท้ังส่ีประเภทนั้นรวมกัน การเขียนคูมือเลมนี้จะเนนทางดานการศึกษา

ปญหาพิเศษ เพ่ือใชเปนเอกสารคูมือ และรูปแบบของการเขียนปญหาพิเศษของหลักสูตรระดบัปริญญา

ตรีสาขาวิชาการประมง คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา มหาวิทยาลัยแมโจ ใหเปนไป

ในแนวทางเดยีวกัน

ความสําคัญของการศึกษาปญหาพิเศษ

การศึกษาระดบัปริญญาตรีควรเปนไปเพ่ือการสรางสรรค พัฒนาวิทยาการหรือองค

ความรูทางวิชาการ การศึกปญหาพิเศษเปนเอกสารท่ีแสดงใหเห็นถึงความเปนบณัฑิต โดยจะตอง

แสดงใหเห็นวานักศึกษาสามารถระบุและแกปญหาท่ีนาสนใจและมีคณุคา การท่ีจะบรรลุเปาหมาย

ดังกลาวไดนัน้ นักศึกษาจะตองช้ีแจงปญหาอยางชัดเจน มีหลักฐานยืนยันในทางวิชาการ ตรวจเอกสาร

อยางถ่ีถวน รอบคอบ และแสดงใหเห็นวาปญหานั้นนาสนใจ และควรคาแกการศึกษา

การศึกษาปญหาพิเศษ วิทยานิพนธ การคนควาอิสระ เปนการฝกใหนักศึกษาไดเรียนรู

การดําเนินงานวิจัยรวมถึงข้ันตอน และองคประกอบท่ีถูกตองตามหลักการศึกษา การเอาใจใสและตั้งใจ

ในการทาํปญหาพิเศษจะชวยสงเสริมใหนักศึกษามีความใฝรู พัฒนาความสามารถในการคนควาหา

ความรูเพ่ิมเตมิดวยตัวเอง ความสามารถในการวางแผนการทํางานอยางเปนระบบ การแกปญหา

ความสามารถในการวิเคราะห และวิจารณเชิงสรางสรรคความสามารถในการเขียน ความสามารถเชิง

ภาษา รวมไปจนถึงความสามารถในการทํางานรวมกับผูอ่ืนดวย ลักษณะของปญหาพิเศษที่มีคุณภาพ

การศึกษาปญหาพิเศษประกอบดวยสมมติฐานท่ีนักศึกษาตองการพิสูจน การแสดงผล

จากการวิเคราะหขอมูลอยางมีระบบเพ่ือประกอบการพสูิจนสมมติฐานน้ัน และเปนการศึกษาเชิงวิชาการ

เพ่ือสรางสรรคองคความรูหรือใหความเขาใจท่ีชัดเจนข้ึน ปญหาพิเศษท่ีมีคุณภาพควรมีลักษณะ ดังนี ้ 1. เนื้อหาชัดเจน ตรงประเด็น มีรายละเอียดท่ีเหมาะสม 2. ตองใชภาษาเขียนท่ีถูกตอง รัดกุม เนื่องจากปญหาพิเศษเปนเอกสารวชิาการ

Page 3: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

3

3. มีความสมดุลในสวนประกอบตาง ๆ สวนเนื้อความควรเปนสวนท่ีมีความยาวมาก

ท่ีสุด และบทสรุปควรกระชับ 4. มีจํานวนหนาท่ีเหมาะสม แสดงความสามารถในการใชภาษากะทัดรัด ภาคผนวกไม

ควรมีความยาวมากกวาสวนเนื้อหาของปญหาพิเศษ 5. มีรูปเลมท่ีแข็งแรง แสดงออกถึงความประณีต เอาใจใสในการทํางาน การเตรียมตัวทําปญหาพิเศษ

กอนลงมือทําหรือศึกษาปญหาพิเศษ นกัศึกษาตองเลือกอาจารยและคณะกรรมการที่

ปรึกษาปญหาพิเศษ โดยตระหนักวาจะเปนผูท่ีชวยเหลือใหคําแนะนําในการทํา การเขียน และยังอาจ

ชวยใหคําปรึกษาในการทําปญหาพิเศษ ตลอดจนสนับสนนุใหกําลังใจเม่ือนักศึกษาประสบปญหา

ดังนั้น นักศกึษาจึงควรเลือกบุคคลดังกลาวอยางรอบคอบ แมวานกัศึกษาจะสามารถขอเปล่ียนอาจารย

ท่ีปรึกษาไดหากเกิดปญหาข้ึนในภายหลงั แตในบางคร้ังอาจทําใหทุกฝายท่ีเก่ียวของเกิดความอดึอัดใจ เม่ือเลือกอาจารยท่ีปรึกษาแลว นักศึกษาอาจเร่ิมเขียนปญหาพิเศษดวยการเตรียมเคา

โครงอยางคราว ๆ รวบรวมขอมูล รายการของหัวขอตาง ๆ ท่ีตองการจะศึกษา แลวระบุประเดน็สําคญั

ของเนื้อหาในแตละหัวขอนัน้ หลังจากนั้นจึงนาํไปปรึกษากับอาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือตัดหัวขอท่ีไมจําเปน

ออกไปหรือเพ่ิมเติมหัวขอท่ีควรจะมี เขียนโครงรางปญหาพิเศษใหสมบูรณ ช้ีแจงใหเห็นถึงความสําคญั

และคุณคาของงานท่ีจะศึกษา ตลอดจนวิธีการที่ใชศึกษาอยางละเอียด อธิบายแผนการวิจัยโดย

ระบุงบประมาณและระยะเวลาท่ีจะตองใชตลอดการวิจัย การเขียนปญหาพิเศษเปนข้ันตอนท่ีใชเวลาพอสมควร แมวางานวิจัยและการวิเคราะห

ขอมูลจะเสร็จส้ินแลวก็ตาม นักศึกษาควรจัดเวลาอยางนอยหนึ่งภาคการศึกษาในการเขียนปญหาพิเศษ

ใหมีคุณภาพ เนื่องจากตองอาศัยเวลาในการจัดระเบียบขอมูล ผลการทดลอง และเหตุผลโตแยงหรือ

สนับสนนุ รวมถึงการแกไขขอผิดพลาดหรือจุดออนตาง ๆ ซึ่งอาจมีการแกไขหลายคร้ัง ประกอบกับ

อาจารยท่ีปรึกษาอาจใชเวลานานในการตรวจรางกอนจะสงคืนใหนักศกึษาเพ่ือแกไข ดังนั้น จึงควรให

เวลาในการเขียนปญหาพิเศษอยางพอเพียง นักศึกษาพึงระลึกไวเสมอวาการทํางานอยางเรงรีบจะทําให

เกิดผลสืบเนื่องท่ีไมตองการตามมา นักศึกษาอาจเร่ิมตนดวยการเขียนสวนใดสวนหนึ่งของปญหาพิเศษท่ีนกัศึกษามีความรู

ความเขาใจมากท่ีสุดกอน โดยปรับปรุงจากเนื้อหาในโครงรางปญหาพิเศษใหมีความสมบูรณ จดัลําดับ

รางท่ียกแตละคร้ังใหชัดเจนเพ่ือความสะดวกและรวดเร็วในการตรวจสอบ หากมีภาพ แผนภมิู หรือ

ตาราง ตองกลาวนําแลวจึงนําเสนอ (อาจวาดดวยมือในรางแรก ๆ เพ่ือความสะดวกรวดเร็ว) และ

ตามดวยการอธิบาย พยายามรักษาถอยคําท่ีใหใชเปนไปในทํานองเดียวกัน เขียนอยางชัดเจน ไม

กํากวม เปนความจริง เสนอแนะขอแนะนําท่ีมีประโยชนสําหรับการทํางานตอ ๆ ไป และเม่ือเขียนจบ

บทสุดทาย ควรยอนกลับไปทบทวนปรับปรุงตั้งแตบทแรก

Page 4: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

4

ในการเขียนปญหาพิเศษควรตระหนักถึงผูอานอยูเสมอ ไมควรทําใหผูอานตองเสียเวลา

จับประเดน็สําคัญท่ีนักศึกษาตองการนําเสนอ ควรระลึกไววาปญหาพิเศษเปนงานเขียนทางวิชาการ มี

วัตถุประสงคเพ่ือตอบปญหาสําคญับางประการ หลีกเล่ียงการแสดงความคดิเปนโดยปราศจากเหตุผล

สนับสนนุหรือเอกสารอางอิงท่ีเหมาะสม ปญหาพิเศษควรแสดงใหเห็นวานักศึกษาไดระบุและแกปญหา

หรือตอบคาํถามท่ีมีคุณคาและยังไมมีคําตอบมากอน โครงรางปญหาพิเศษ

โครงรางปญหาพิเศษเปนส่ิงสําคัญท่ีจะชวยใหการดําเนนิงานใหเปนไปตามข้ันตอน

อยางราบร่ืน สามารถควบคุมการทํางานและปองกันหรือแกไขปญหาไดทัน โครงรางปญหาพิเศษตอง

ระบุถึงปญหาในการวิจัยความสําคญัและขอบเขตของปญหา วัตถุประสงคและประโยชนของงานวิจัย

การตรวจเอกสาร วิธีการและอุปกรณท่ีสําคัญในการวิจัย เวลา และงบประมาณท่ีจําเปน โดยมีช่ือเร่ือง

และเอกสารอางอิงท่ีเหมาะสม เม่ือแนใจวาศกึษาคนควาจนเขาใจและม่ันใจวาจะสามารถดําเนินการวิจัยจนสําเร็จได

จึงเร่ิมเขียนโครงรางปญหาพิเศษ โดยอาจเร่ิมจากการศึกษาผลงานวิจัยท่ีผานมาท่ีใกลเคียงกับหัวขอ

ปญหาพิเศษ เขียนเนนประเด็นไปท่ีงานวิจัยของนักศึกษา โดยพิจารณาใหงานวิจัยมีเนื้อหาท่ีเปน

ประโยชน พยายามใหสวนตรวจเอกสารมีความสมบรูณ พิจารณาเลือกวิธีการและสถานท่ีวิจัยอยาง

รอบคอบ และควรปรึกษาอาจารยท่ีปรึกษา โครงรางปญหาพิเศษท่ีทําข้ึนอยางละเอียดและรัดกุมจะชวย

ไดมากเมื่อถึงข้ันตอนการเขียนปญหาพิเศษ ความรับผิดชอบของนักศึกษา

นักศึกษาตองตระหนักวา ตนเองเปนผูรับผิดชอบอยางเต็มท่ีในการทีจ่ะเขียนปญหา

พิเศษใหมีคณุภาพ โดยมีอาจารยท่ีปรึกษาเปนผูชวยเหลือ ดังนั้นนักศกึษาจึงตองปฏิบัตดิังนี ้ 1. ตองรับผดิชอบในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษใหเหมาะสมกับงานวิจยั ท่ีเลือกทํา 2. ตองมีความรูความเขาใจในเร่ืองท่ีเลือกทําปญหาพิเศษอยางพอเพียง 3. ตองศึกษาและเขาใจในบทบาทของอาจารยท่ีปรึกษา 4. ควรรักษาความสัมพันธในการทํางานท่ีดีกับอาจารยท่ีปรึกษา 5. ควรเขาพบอาจารยท่ีปรึกษาตามกําหนดเวลานัด และขอคําแนะนําเม่ือมีปญหา และควรเขาพบอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษอยางสมํ่าเสมอ 6. ควรรับฟงคําแนะนาํตักเตือนจากอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ 7. ตองรับผดิชอบ เอาใจใส และมีความซื่อสัตยตองานท่ีทํา

Page 5: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

5

8. ตองระบท่ีุมาของขอเท็จจริง แนวความคิด หรือผลงานของผูอ่ืนท่ีนักศึกษา นาํมาใช

9. ตองดูแล สังเกต และวิเคราะหปญหา และไมรีรอท่ีจะขอความชวยเหลือจาก อาจารยท่ีปรึกษาเม่ือจําเปน 10. ควรศึกษากฎระเบียบ และตดิตามประกาศของมหาวิทยาลัยอยางสมํ่าเสมอ บทบาทของอาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ

นอกจากอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษจะมีหนาท่ีความรับผิดชอบ และมีคณุสมบัติ

ตามที่กําหนดในคูมืออาจารยท่ีปรึกษาของมหาวิทยาลัยแมโจแลว ยังควรจะเปนผูท่ีมีความรับผดิชอบสูง

มีความรู ความสามารถ ความชํานาญ และมีประสบการณในสาขาวิชานัน้ ๆ เปนนักวิชาการที่มี

วิสัยทัศนกวางไกลและใฝรู มีความจริงใจและตั้งใจท่ีจะสรางบัณฑิตท่ีมีความรูความสามารถในวิทยาการ

พรอมกับมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณดวย อาจารยท่ีปรึกษาและอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ เปนคนสําคัญท่ีจะชวยใหนักศกึษา

ดําเนนิงานไดอยางราบร่ืน เนื่องจากเปนผูท่ีใหคาํแนะนําใหความชวยเหลือ และมีหนาท่ีรับผดิชอบใน

การชวยใหนักศึกษาสรางสรรคงานท่ีมีคุณภาพดวยการเขาไปมีบทบาท ดังนี ้ 1. ใหคําแนะนําในการทําปญหาพิเศษ โดยชวยเหลือในการเลือกหัวขอ การเขียนโครง

ราง การดาํเนนิการวิจัย การประเมินผล และการเขียนปญหาพิเศษ 2. สงเสริมใหนักศึกษาเลือกหัวขอวิทยานิพนธท่ีมีความสนใจรวมกัน และเปนเร่ืองท่ี

อาจารยท่ีปรึกษามีความชํานาญหรือตองการเรียนรูอยางย่ิง โดยตองแนใจวานักศึกษามีพ้ืนฐานความรูท่ี

เพียงพอ มีวิธีการและการแกปญหาท่ีเหมาะสมและเปนไปได แนะนาํแหลงขอมูลและเอกสารอางอิง

รวมถึงงานวิจัยท่ีเก่ียวของท่ีกําลังดําเนินการอยู 3. ทําความเขาใจใหชัดเจนกับนักศึกษาในเร่ืองหัวขอโครงการวิจัย วัตถุประสงค และ

ข้ันตอนดําเนนิการ การรวบรวม และวิเคราะหขอมูล กระตุนใหนักศึกษาตระหนักวาจะตองเปน

ผูรับผดิชอบในการทําปญหาพิเศษใหสําเร็จดวยตนเอง 4. ใหเวลาแกนักศึกษาอยางเต็มท่ี ควรจัดตารางเวลาใหนักศึกษาเขาพบอยางสมํ่าเสมอ

และใหความสําคัญตอการเขาพบของนักศกึษาในแตละคร้ัง อาจทําบันทึกชวยจําถึงเร่ืองท่ีนักศึกษามา

ปรึกษา และใหคําแนะนาํ วิเคราะห วิจารณในการสรางสรรค 5. หม่ันตรวจสอบและประเมินความกาวหนาในการทํางานของนักศึกษามองเห็นปญหา

และแกปญหาทันทีท่ีเกิดข้ึน 6. เอาใจใสและรับผิดชอบในคุณภาพของปญหาพิเศษ ตรวจรางปญหาพิเศษ และคืน

ใหแกนักศึกษาใหตรงตามกําหนด

Page 6: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

6

7. พยายามสรางความสัมพันธท่ีเปดเผย มีความจริงใจใหกับนักศึกษาเสมือนผูรวมงาน

คํานึงถึงความตองการของนักศึกษาท้ังในระยะส้ันและระยะยาว ชวยสงเสริมจุดเดนและกําจดัจุดดอย

ของนักศึกษา 8. กระตุนใหนักศึกษามีความเห็นถึงความสําคัญ และหลักการของการทําวิจัย และการ

บริหารเวลา ใหคําแนะนาํเพ่ือใหนกัศึกษารูจักใชเทคนิควิธีการอยางถูกตอง และปฏิบัตตินเปน

แบบอยางของนักวิจัยท่ีด ี 9. ควรจัดใหนักศึกษาไดมีการพบปะพูดคุยกับอาจารยท่ีปรึกษาและกรรมการที่ปรึกษารวมอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอ และสนบัสนนุใหนักศึกษาปรึกษาอาจารยทานอ่ืน เพ่ือนนักศึกษา หรือ

เพ่ือรวมงานวิจัย เพ่ือใหไดมุมมองท่ีหลากหลาย 10. กระตุนใหนักศึกษารูจกัทํางานกับผูอ่ืน ใฝรู เคารพ และตระหนักในสิทธิและ

หนาท่ีของตนเองและผูอ่ืน 11. สงเสริมใหนักศึกษามีสวนรวมในสังคมนักวิจัยท่ีกวางกวาระดบัมหาวิทยาลัย เชน

การแนะนํานักศึกษาใหรูจักกับผูรวมงาน สนบัสนนุใหนักศึกษาไดเขารวมประชุม สัมมนา และ

สนับสนนุใหนกัศึกษาเขียนโครงการวิจัยเพ่ือขอทุนจากแหลงทุนตาง ๆ และชวยเหลือนักศึกษาในการ

หาแหลงทุนเพ่ือการวิจัยเม่ือมีโอกาส

Page 7: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

7

บทที่ 2 การตั้งหัวขอและขั้นตอนการทาํปญหาพิเศษ

การต้ังหัวขอปญหาพิเศษ

หัวขอปญหาพิเศษเปนส่ิงสําคัญในการคนหาเอกสารของผูวิจัย ควรเลือกใชคําอยาง

ระมัดระวังเพ่ือใหแสดงถึงเร่ืองท่ีจะทําไดอยางถูกตอง ตรงประเด็น อาจตั้งหัวขอจากปญหาท่ีนาสนใจ

ในวิชาท่ีนักศกึษาเช่ียวชาญ ประเด็นปญหาในทางปฏิบัติหรือปญหาท่ีถกเถียงกันอยู หรือการขยาย

ขอบเขต รายละเอียด หรือการเปล่ียนแนวทางบางอยางจากเอกสารวิจัยท่ีมีอยูเดิม การตั้งหัวขอปญหา

พิเศษควรคาํนึงถึงความถนดัและความเช่ียวชาญของนักศึกษา ความสําคัญและความเปนประโยชนของ

เร่ือง ความเปนไปไดในการสืบคนขอมูล เอกสารหลักฐาน วิธีการวิจัย เวลาและทุนทรัพย และ

จะตองเปนเร่ืองท่ีไมซ้ํากับท่ีมีอยูแลว

ลักษณะของหัวขอปญหาพิเศษที่ด ี 1. สอดคลองกับเนื้อเร่ือง มีคําสําคัญอยูในหัวขอ 2. มีความหมายชัดเจนพอท่ีจะช้ีใหเห็นแนวทางของการศึกษาวิจัย 3. กะทัดรัด ชัดเจน รัดกุม ไมยาวเกินไปโดยไมจาํเปน และไมส้ันเกินไปจนขาด ความเฉพาะเจาะจง อาจจํากัดขอบเขตของเร่ืองโดยเนนเฉพาะตอนหนึ่งของ สาขาวิชา ใชการกําหนดชวงเวลา หรือการกําหนดทางภูมิศาสตร 4. ความหมายในภาษาไทยตองตรงกับในภาษาอังกฤษ 5. ไมจาํเปนตองเปนประโยคท่ีสมบูรณ แตควรเขียนใหอานงาย และเรียงลําดับใหได ความหมายท่ีถูกตอง 6. ควรใชคําเต็ม หลีกเล่ียงการใชคํายอ ตัวยอ สูตร ช่ือเฉพาะ ฯลฯ ข้ันตอนการทําปญหาพิเศษ

1. วางแผนการวิจัย 1.1 กําหนดหัวขอเร่ืองท่ีนักศึกษาสนใจ มีความนาสนใจในเชิงวิชาการ มีความ

เปนไปไดในทางปฏิบตัิ และเหมาะสมกับเวลาและงบประมาณ 1.2 วิเคราะหปญหาใหเกิดความชัดเจน กําหนดหัวเร่ืองและคําถามยอย เพ่ือ

กําหนดแนวทางในการคนควาและรวบรวมขอมูล 1.3 ตรวจเอกสารเพ่ือศึกษาขอมูลและผลงานวิจัยท่ีผานมา เพ่ือสรางพ้ืนฐานใน

การตั้งสมมตฐิานการวิจัย

Page 8: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

8

2. เขียนโครงรางการวิจัยโดยกําหนดวิธีการและเคร่ืองมือสําหรับการวิจัยปรับปรุงหัวขอ

ยอยใหสมบูรณข้ึน คํานวณงบประมาณท่ีจําเปนตองการวิจัยโดยแสดงรายละเอียด เหตผุลประกอบ

รวมถึงระบุแหลงทุน และจํานวนเงิน 3. ดําเนินการวิจัยตามแผนการท่ีวางไวอยางรอบคอบ รัดกุม ปฏิบัติการอยางสมํ่าเสมอ

และจดบันทึกเม่ือสังเกตพบความผดิปกต ิ 4. รวบรวมและจัดระเบียบขอมูลและเอกสารท่ีไดจากการวิจัย ตรวจสอบความถูกตอง

ของขอมูลดวยความรอบคอบ 5. วิเคราะหขอมูล และแปลความหมายผลการทดลอง ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ

จะตองกระทําอยางถูกตองตามหลักการทางวิชาการ หากไมแนใจควรปรึกษาอาจารยท่ีสามารถให

คําแนะนาํไดอยางถูกตอง 6. การเสนอผลการวิจัย ใหนําเสนอโดยการเขียนผลการวิจัยอยางกระชับชัดเจนตรง

จุดมุงหมาย ควรใชภาษาท่ีเขาใจไดงายหลีกเล่ียงการใชภาษาพูด (หากไมแนใจใหใชตามพจนานุกรม

ฉบับราชบัณฑติยสถานเปนหลัก โดยเฉพาะเร่ืองตัวสะกด ศพัททางวชิาการ และคําท่ีมาจาก

ภาษาตางประเทศ) ไมควรใชคํายอโดยไมจําเปน ไมกลาวเกินความจริง ไมลําเอียง มีเอกสารอางอิง

อยางถูกตอง และตองตรวจทานงานเขียนดวยความละเอียดรอบคอบ อยาลืมวาตองใหเวลาในการ

เขียนและการแกไข (ซึ่งอาจมีหลายคร้ัง) อยางเพียงพอเพ่ือใหไดงานท่ีมีคุณภาพ ปญหาที่พบบอยในการเขียนปญหาพิเศษของนักศึกษา

1. นักศึกษาไมไดศึกษาขอกําหนดในการเขียนปญหาพิเศษ และระเบยีบปฏิบตัิของ

มหาวิทยาลัยอยางละเอียด 2. นักศึกษาขาดการคนควาเพ่ิมเติมในเร่ืองการเขียนและการใชภาษาอยางถูกตอง

และเหมาะสม 3. นักศึกษาไมไดติดตอกับอาจารยท่ีปรึกษาอยางสมํ่าเสมอทําใหเกิดความเรงรีบ และ

งานขาดคุณภาพ 4. ช่ือเร่ืองปญหาพิเศษขาดความชัดเจน ยาวเกินไป ช่ือภาษาไทยไมสอดคลองกันกับ

ช่ือภาษาอังกฤษ บางคร้ังมีคําท่ีไมไดเปนสวนสําคัญในเนื้อหา 5. บทคดัยอดอยคุณภาพ ไมครอบคลุมวัตถุประสงค ขอบเขตและวิธีการวิจัย

ผลการวิจัย และขอเสนอแนะ บางคร้ังขาดความชัดเจน และยาวโดยไมจาํเปน 6. การเรียบเรียงสวนตรวจเอกสารไมสามารถเนนใหเห็นถึงความสําคัญของงานท่ีทํา

หรือแสดงใหเห็นวาไดพิจารณาอยางเหมาะสมแลว ขอความกระทอนกระแทนเนือ่งจากนักศึกษาใชวิธี

“ตัดแปะ” ขอความจากเอกสารอื่น จึงอานเขาใจยาก ไมตรงประเด็น และยืดยาวเกินความจาํเปน และ

ท่ีสําคัญคือเปนการกระทําท่ีผิดจรรยาบรรณ และละเมิดกฎหมายลิขสิทธิ์

Page 9: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

9

7. ปญหาพิเศษขาดความกระชับ ไมแสดงถึงความสามารถในการสังเคราะห และ

วิเคราะหปญหา ขาดความคิดริเร่ิม มีความยาวเกิดจาํเปน และบางครั้งขาดความสมดุลของ

สวนประกอบของเนื้อหา 8. การวิเคราะหผลการทดลองทางสถิติขาดความชัดเจน แมนยํา บางคร้ังไมคํานึงถึง

ความถูกตองตามหลักวิชาการ หรือใชขอมูลอยางลําเอียง ไมตรงไปตรงมา และมักนําเสนอสวนท่ีไม

จําเปน ทําใหหลักฐานท่ีจะสนับสนนุผลการทดลองนั้นออน ขาดความนาเช่ือถือ 9. การเสนอผลการทดลองไมเหมาะสม ใชรูปภาพ แผนภูมิ หรือตารางไมเหมาะสม

สอดคลองกับขอมูลท่ีตองการนําเสนอ หรือใชโดยไมมีความจําเปน 10. สวนของการสรุปผลการทดลอง วิจารณ เสนอแนะ กลายเปนการเขียนผลการ

ทดลองซ้ํา 11. การอางอิงเอกสารในรายงานเอกสารอางอิงทายบทไมตรงกับท่ีปรากฏในเนื้อหา

การคัดลอกงานของผูอ่ืนมาแตมิไดอางถึง การอางอิงเอกสารสองทอดโดยไมพยายามหาเอกสารท่ีเปน

แหลงขอมูลตนเร่ือง 12. นักศึกษาไมไดใหเวลาในการเขียนและแกไขปญหาพิเศษอยางเพียงพอ ตอเม่ือจะ

พนกําหนดของระยะเวลาในการศึกษาตามกฎระเบียบของทางมหาวิทยาลัย จึงเกิดความเรงรีบท่ีจะตอง

ทําใหเสร็จ ทําใหปญหาพิเศษดอยคุณภาพ

Page 10: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

10

บทที่ 3 การเขียนโครงรางปญหาพิเศษ

การเขียนโครงรางปญหาพิเศษ (Study Problem) เปนขอกําหนดของมหาวิทยาลัย ท่ี

นักศึกษาจะตองช้ีแจงถึงโครงรางของงาน และแนวคิดประกอบเหตุผลในการศึกษาปญหาพิเศษเพ่ือ

เสนอตอคณะกรรมการและอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ หรืออาจารยผูท่ีไดรับมอบหมายเพ่ือให

ยอมรับหรืออนุมัติ และสนบัสนุนใหทําการวิจัยตอไป การเขียนโครงรางปญหาพิเศษ ประกอบดวย

หัวขอยอยตางๆ ดังนี ้ สวนที่ 1 ความสําคัญของปญหา

ในสวนนี้เปนสวนท่ีผูวิจัยจะช้ีใหเห็นวา ผูวิจัยตองการทําเร่ืองนั้นทําไม ทําเพ่ืออะไร

ทําแลวจะไดประโยชนอยางไร สวนที่ 2 วตัถุประสงคของการวิจัย

เปนการบอกจดุหมายที่เดนชัดของการวิจัยวา ผูวิจัยสนใจท่ีจะศึกษาในประเด็นใดบาง

ซึ่งถาผูวิจัยมีเร่ืองท่ีตองการศึกษาหลายประเด็น ควรเขียนจัดลําดับเปนขอๆ เรียงตามลําดบัความ

สําคัญกอนหลัง และทุกขอควรพิจารณาใหสอดคลองไปในทิศทางเดยีวกันกับช่ือเร่ืองท่ีจะทําการวิจัย สวนที่ 3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

เปนการบอกคณุคาในทางวิชาการในการนาํไปใช องคกร สังคม วงการวิชาการ หรือ

หนวยงานใดบางท่ีจะไดรับประโยชนจากการวิจัยเร่ืองนี้ สวนที่ 4 การตรวจเอกสาร

เปนการทบทวนผลงานวิจัยหรือขอเขียนท่ีเปนแนวคิด หรือทฤษฎีท่ีเก่ียวของ หรือ

เร่ืองท่ีผูวิจัยคิดจะทําในคร้ังนี้ เพ่ือช้ีใหเห็นวาผูวิจัยมีความรอบรูและทันตอเหตุการณท่ีเก่ียวของกับ

เร่ืองท่ีตนสนใจจะศึกษามากนอยเพียงใด โดยเขียนสรุปผลงานท่ีเก่ียวของวาใคร ทําเร่ืองอะไร ทําท่ี

ไหน ทําอยางไร และไดผลโดยสรุปอยางไรบาง

Page 11: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

11

สวนที่ 5 กรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย (ถามี)

เปนการนาํเสนอแนวคดิรวบยอดเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะทําการวิจัยในรูปแบบขอเขียน

แผนภาพ หรือแบบจําลอง พรอมท้ังขอสมมติฐานท่ีผูวิจัยไดกําหนดข้ึนไวลวงหนาเพ่ือเปนแนวทาง

สําคัญในการเก็บและวิเคราะหขอมูล สวนที่ 6 วธีิการดําเนินการวิจัย

เปนสวนท่ีจะบอกวางานวิจยัช้ินนั้นสามารถบรรลุถึงวัตถุประสงคไดอยางไร โดยในสวน

นี้จะใหขอมูลรายละเอียดเกีย่วกับ

6.1 ขอมูลที่ตองการใชในการวิจัย ผูวิจัยควรระบใุหชัดเจนวาขอมูลท่ีจะนํามาใชในการวิจัยนั้นเปนขอมูลประเภทใด เปน

ขอมูลปฐมภูมิท่ีไดจากการสาํรวจ หรือเปนขอมูลท่ีไดจากเอกสาร หรือมีท้ังสองประเภท หากเปน

ขอมูลปฐมภูมิท่ีเก็บจากตัวอยางควรบอกขนาดของตัวอยางและวิธีการสุมตัวอยางดวย เพราะผูพิจารณา

โครงการวิจัยจะไดพิจารณาควบคูไปกับการตั้งงบประมาณ และหากเปนขอมูลท่ีไดจากเอกสารควรจะ

บอกแหลงท่ีมาของขอมูลดวย

6.2 วิธีการรวบรวมขอมูล ผูวิจัยควรระบใุหชัดเจนในโครงรางปญหาพิเศษวา ใชเทคนคิอยางไรในการเก็บ

รวบรวมขอมูล เชน การบันทึกขอมูล วิธีการสัมภาษณ ใชแบบสอบถาม ใชแบบสอบถามโดยสงทาง

ไปรษณีย การสัมภาษณแบบเจาะลึก วิธสัีงเกตการณ หรือใชหลาย ๆ แบบผสมกัน

6.3 วิธีการวิเคราะหขอมูล ในสวนนี้ผูวิจยัจะตองระบุวา มีวิธีการวิเคราะหขอมูลท่ีไดมาอยางไรจึงจะบรรลุ

วัตถุประสงคหรือประเด็นปญหาท่ีตั้งเอาไว โดยเขียนอธิบายถึงเคร่ืองมือท่ีใชวาในการวิเคราะหแบบใด

เปนการพรรณนาความหมาย หรือใชแบบจําลองอะไรในการวิเคราะห มีตัวแปรอะไรบาง ฯลฯ สวนที่ 7 ระยะเวลาในการวิจัย

เปนการบอกระยะเวลาดาํเนนิงานตั้งแตตนจนเสร็จส้ินการวิจัย อาจแสดงเปนตาราง

แสดงการวางแผนโดยแยกตามข้ันตอนการวิจัยแตละข้ันวา ข้ันตอนนั้น ๆ ใชเวลาเทาไร โดยระบุเวลา

ท่ีเร่ิมตนจนถึงชวงเวลาท่ีคาดวาจะเสร็จส้ิน

Page 12: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

12

สวนที่ 8 งบประมาณที่ใช

ในเขียนเสนองบประมาณทีต่องการเพ่ือดาํเนินการวิจัยนั้น ใหเขียนแยกสวนของ

คาใชจายออกเปนหมวดตาง ๆ ตามความเหมาะสม เชน คาวัสด ุ อุปกรณ คาพาหนะเดินทาง ฯลฯ

Page 13: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

13

บทที่ 4 สวนประกอบของปญหาพิเศษ

การเขียนปญหาพิเศษท่ีจดัวาเปนสากล และนิยมใชกันท่ัวไปประกอบดวยสวนตาง ๆ

ท่ีสําคัญมีอยู 5 สวนดวยกัน คือ สวนนํา เนื้อความ เอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม ภาคผนวก

และประวัติผูวิจัย ตามลําดบั สวนที่ 1 สวนนํา เปนสวนแรกของปญหาพิเศษ ประกอบดวย สวนยอยตาง ๆ ท่ีผูวิจยัควรจัดเรียง

ตามลาํดบัดังนี้ 1.1 ปก (Cover) ปกหนาเปนสวนท่ีจะระบุช่ือเร่ือง ช่ือผูวิจัย รหัสประจําตัวนักศึกษา สาขาวิชาท่ีเรียน

หนวยงานระดบัคณะ และมหาวิทยาลัยท่ีสังกัด และรวมถึงปท่ีพิมพรายงานปญหาพิเศษ หรืองานวิจัย

สวนปกหลังไมมีขอความใด ๆ

1.2 หนาปกใน (Title page) มีรูปแบบคลาย ๆ กับปกหนา ประกอบดวย ช่ือเร่ืองท่ีทําการวิจัย ช่ือผูวิจัย

หนวยงานหรือองคกรท่ีเปนเจาของปญหาพิเศษ

1.3 บทคัดยอ (Abstract) สําหรับปญหาพิเศษท่ีเขียนเปนภาษาไทยจะมีบทคดัยอภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

บทคัดยอเปนรายละเอียดขอเขียนท่ีสรุปความเกี่ยวกับการวิจัยนั้นอยางส้ันและยอท่ีสุดเทาท่ีจะทําได

โดยระบุถึงประเด็นท่ีวิจัย วิธีวิจัย ขอมูล และขอคนพบเพียงยอ ๆ เทานั้น

1.4 คํานํา (Preface) เปนการกลาวโดยยอถึงท่ีมาของการทําวิจัย มูลเหตุจูงใจ จดุมุงหมาย และขอบเขต

ของงานวิจัย และประโยชนท่ีจะนําผลการวิจัยนั้นไปใช

1.5 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) เปนขอความท่ีผูวิจัยแถลงความในใจเก่ียวกับการวิจัยนัน้ ตลอดจนแสดงขอความการ

ใหเกียรติ หรือขอบคุณผูท่ีมีสวนสนับสนนุทางการเงิน และในดานอ่ืน ๆ จนทําใหงานวิจัยนั้นสําเร็จผล

ตามความมุงหมายไดดวยด ี

Page 14: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

14

อยางไรก็ตาม ในกรณีท่ีคาํนําและกิตติกรรมประกาศไมยาวมากนัก ก็อาจรวมความท้ัง

สองประเด็นไวในหัวขอเดียวและในหนาเดียวก็ได

1.6 สารบัญ (Table of contents) เปนรายการแสดงบท หรือตอน หรือหัวขอตาง ๆ ท่ีเขียนไวในปญหาพิเศษ หัวขอ

นั้นอาจประกอบดวยหัวขอหลักและหัวขอยอย ๆ พรอมดวยการแสดงเลขหนาท่ีหัวขอปรากฏอยู

1.7 สารบัญตาราง (List of tables) เปนรายการแสดงขอมูลท่ีไดนาํเสนอเปนภาพตางๆ ภาพเหลานั้นอาจแสดงในรูปแบบ

ตางๆ กันก็ได เชน แผนท่ี แผนภูมิ ภาพถาย ภาพวาด เปนตน โดยมีเลขหนาท่ีภาพนัน้ปรากฏอยู สวนที่ 2 เน้ือความ เปนสวนท่ีมีความสําคญัท่ีสุดของปญหาพิเศษ เปนสวนท่ีจะบอกรายละเอียดทุก

ข้ันตอนในการทําวิจัย ตั้งแตเร่ิมแรกจนเสร็จส้ิน โดยทั่วไปแลวมีสาระสําคัญ ๆ แยกเปนบทเรียง

ตามลาํดบั ดงันี้ บทที่ 1 บทนํา ประกอบดวย

- ความสําคัญของปญหา อธบิายถึงเหตุผลและความเปนมาท่ีทําใหเลือกหัวขอนั้น ๆ

มาทําการวิจัย - วัตถุประสงคของการวิจัย เปนประเดน็ปญหาท่ีตองการคนหาคําตอบในงานวิจัย

เร่ืองนั้น - ขอบเขตของการวิจัย เปนสวนท่ีระบุขอบเขตของการทําวิจัยวาครอบคลุมอะไรบาง

อาทิเชน ขอบเขตของประชากร ขอบเขตของเวลาท่ีทําการศึกษา เปนตน

บทที่ 2 การตรวจเอกสาร ประกอบดวย - แนวคดิ ทฤษฎี อันเปนท่ีมาของกรอบความคิดในการทํางานวิจัย - ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ - สรุปกรอบแนวคิดในการทํางานวิจัย - สมมติฐานการวิจัย เปนการคาดเดาคําตอบไวลวงหนา อยางมีเหตุผลทางทฤษฎี

Page 15: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

15

บทที่ 3 วิธีการวิจัย หรือ อุปกรณและวิธีการ

ในสายสังคม ประกอบดวย - แหลงท่ีมาของขอมูลท่ีใชในการวิจัย โดยระบุใหชัดเจนถึงแหลงท่ีมาของขอมูลวา

เปนขอมูลทุตยิภูมิ หรือปฐมภูมิ - วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ควรระบุใหชัดเจน หากผูวิจัยใชขอมูลปฐมภูมิ จะตอง

ระบุถึงประชากรในการวิจัย มีการคดัเลือกตัวอยาง วิธีการ ขนาดของตัวอยาง

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล เชน การสัมภาษณ หรือใชแบบสอบถาม หรือโดยการ

สังเกตการณ ฯลฯ - การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเปนขบวนการท่ีประกอบดวยหลาย ๆ

วิธีการ ตั้งแตการจดัรูปขอมูล การประมาณคาขอมูลอยางงาย ๆ เทคนคิทาง

สถิติท่ีใชในการทดสอบหรือพิสูจนสมมติฐานของการวิจยั การสรางตารางและ

แผนภูมิเพ่ือวิเคราะหและนําเสนอขอมูลและการตีความหมายขอมูล

ในสายวิทยาศาสตร ประกอบดวย - อุปกรณ เปนสวนท่ีกลาวถึงเฉพาะท่ีสําคัญ และจําเปนสําหรับการวิจัย ในบาง

กรณีอาจบรรยายรายละเอียดตางๆ ของอุปกรณประกอบมาดวย - วิธีการ เปนสวนท่ีกลาวถึงวิธีดําเนินการวิจัย เชน แผนการวิจัย เปนตน หาก

เปนวิธีการที่มีผูเสนอแนะไวแลว ใหอางอิงเอกสารท่ีไดบรรยายวิธีการนั้น และ

อาจบรรยายรายละเอียดของวิธกีารนั้นไวในภาคผนวก

บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิจารณ

ผลการวิจัย เปนหัวใจของการเขียนปญหาพิเศษ เนื่องจากเปนการบอกส่ิงท่ีคนพบ เพ่ือใหผูอานไดรับทราบ การเขียนควรเรียงตามลําดับ และครบถวนตามวตัถุประสงคท่ีไดกําหนดไว

เชน ถามีวัตถุประสงค 3 ขอ ก็ควรมีผลการวิจัย 3 ตอน ผลการวิจัยนี้อาจเขียนในลักษณะคํา

บรรยายลวนหรือมีตาราง มีภาพประกอบคําบรรยายดวยก็ไดตามความเหมาะสม และท่ีสําคญัคือควร

จะมีการแปลผลหรืออภิปรายผลหรือตีความส่ิงท่ีคนพบใหผูอานไดเขาใจดวย

สวนการวิจารณ เปนการเปรียบเทียบผลการทดลองกับทฤษฎีหรืองานวิจัยอ่ืนวา มี

ความสอดคลองหรือแตกตางกันอยางไร ดวยเหตใุด

Page 16: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

16

บทที่ 5 สรุปและขอเสนอแนะ เปนการสรุปยอถึงการดําเนนิการวิจัยตั้งแตตนจนจบ โดยเนนเฉพาะประเดน็ท่ีสําคัญ

โดยจะตองเขียนเฉพาะขอเสนอแนะท่ีไดมาจากผลการศึกษาเทานัน้ และขอเสนอแนะท่ีดีควรเปน

ขอเสนอท่ีเปนไปไดในทางปฏิบัติ ผูวิจัยอาจเขียนขอเสนอแนะเพ่ิมเติมในสวนท่ีตองการแนะนําใหมี

การศึกษาเพ่ิมเติม สวนที่ 3 เอกสารอางอิง หรือบรรณานุกรม

การอางอิงในปญหาพิเศษน้ัน เกิดข้ึนเม่ือผูวิจัยไดศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสารหรือ

แหลงท่ีมาตางๆ และตองการกลาวอางอิงแหลงของขอมูลใหผูอานไดทราบ เพ่ือใหเกิดประโยชนตอ

ผูอานท่ีจะไดคนควาตอไป และยังเปนการใหเกียรติเจาของผลงานท่ีนํามากลาวอางอิงถึงดวย สวนที่ 4 ภาคผนวก

เปนสวนท่ีใหรายละเอียดตาง ๆ ท่ีไมอาจนําเสนอเอาไวในสวนของเนื้อหา แตผูวิจัย

เห็นวาอาจจะเปนประโยชนตอผูอานได ส่ิงท่ีมักจะใสอยูในภาคผนวก มักเปนรายละเอียดเพิม่เติมใน

เร่ืองตาง ๆ ดังนี ้4.1 รายละเอียดเกี่ยวกับหลักฐานยืนยันการดําเนนิงาน เชน แบบสอบถาม แบบ

สัมภาษณ แบบทดสอบ จดหมายขอความรวมมือ เปนตน 4.2 ตารางที่มีรายละเอียดมาก ๆ แผนภาพ ผังโครงสราง หรืออ่ืน ๆ ท่ีมีขนาดใหญ

หรือมีความยาวมากจนไมเหมาะท่ีจะนาํเสนอในเนื้อเร่ือง 4.3 รายละเอียดเกี่ยวกับข้ันตอนการคํานวณตางๆ ตัวอยางการคิดคํานวณ

รายละเอียดของผลการวิเคราะห ฯลฯ 4.4 ขอมูลหรือหลักฐานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของกับงานวิจัยตามความเหมาะสม เชน

ขอบังคับ กฎหมาย มาตรฐาน ฯลฯ 4.5 รายละเอียดเกี่ยวกับวิธกีารแยกสาร วิธีการวิเคราะห วิธีการคาํนวณ สวนที่ 5 ประวัติผูวิจัย

เปนส่ิงท่ีจะทําใหผูอานไดทราบถึงประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ผลงานท่ีทํามา

และผลงานทางวิชาการที่เคยตีพิมพ เชน ตํารา หรือบทความท่ีลงวารสารทางวิชาการ โดยทั่วไปจะอยู

ทายสุดของปญหาพิเศษ

Page 17: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

17

บทที่ 5 หลักเกณฑและรูปแบบการพิมพ

การกําหนดหลักเกณฑและรูปแบบในการจัดพิมพปญหาพิเศษนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือ

ใหปญหาพิเศษมีรูปแบบท่ีเปนมาตรฐานเดียวกัน นักศึกษาจะตองรับผดิชอบในการศึกษา ทําความ

เขาใจ และตรวจทานแกไขใหถูกตองตามหลักเกณฑ รูปแบบการเขียน และการพิมพปญหาพิเศษ ตามที่

มหาวิทยาลัยกําหนด จนกระท่ังเขียนไดถูกตองตามรูปแบบท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด และเลือกผูพิมพท่ีชํานาญ รูรูปแบบการพิมพของมหาวิทยาลัยเปนอยางด ี รวมท้ังเลือกผูอัดสําเนา หรือถายเอกสารท่ีมีความชํานาญ สามารถผลิตผลงานไดอยางถูกตอง สะอาด และสวยงาม

หลักเกณฑและรูปแบบการพิมพปญหาพิเศษ มี 2 สวน คือ หลักเกณฑท่ัวไป และ หลักเกณฑเฉพาะสวนประกอบแตละสวน ซึ่งจะไดกลาวถึงอยางละเอียดในหัวขอตอ ๆ ไป หลักเกณฑทั่วไป

หลักเกณฑท่ัวไป เปนขอกําหนดท่ีใชกับการทําปญหาพิเศษท้ังฉบบั เปนหลักเกณฑอันดบัแรกท่ีตองคํานึงถึง มีดังนี ้

วัสดุที่ใช

1. ใชวัสดุท่ีมีคุณภาพ มีความประณีต สะอาด และชัดเจน 2. ปกนอกใชกระดาษอารตปกแข็งไมนอยกวา 180 แกรม 3. กระดาษท่ีใชพิมพ อัดสําเนาหรือถายเอกสาร ใชกระดาษคุณภาพดีสีขาว เหมือนกันทุกแผน มีขนาด “A4” และเปนกระดาษชนิดไมต่ํากวา 80 แกรม ตอตารางเมตร และพิมพหนาเดียว

ตัวอักษร

1. ปกหนาพิมพดวยตัวอักษรสีดํา แบบ Angasna UPC ขนาดไมต่าํกวา 18 พอยด 2. ภายในเลมพิมพดวยอักษรสีดํา ชัดเจน ไมมีรอยขูดลบขีดฆา ไมเพ่ิมเติมสีสันลวดลาย 3. การจาหนา พิมพดวยตวัอักษรชนิดตวัหนา (bold) ขนาด 18 พอยดฺ 4. หัวขอสําคญั ใหพิมพดวยอักษรชนิดตวัหนาไดตามความเหมาะสมและความจาํเปน

Page 18: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

18

5. ตัวอักษรทีใ่ชพิมพขอความปญหาพิเศษท้ังหมดตองเปนตัวอักษรแบบ Angsana UPC การพรรณนาพิมพดวยตัวอักษรชนิดธรรมดา (normal) ขนาด 16 พอยด ไมเนนขอความในการพรรณนาดวยตัวหนาหรือตวัเอน ถามีช่ือวิทยาศาสตรใหพิมพตามหลักสากล

6. คําศัพทภาษาอังกฤษ 6.1 คาํศัพทในเนื้อหาใชตัวพิมพเล็ก 6.2 หัวขอเร่ือง ช่ือเฉพาะ ช่ือคน ใหพิมพอักษรตัวแรกของคาํดวยตัวพิมพใหญ การเวนขอบกระดาษ

เวนริมขอบกระดาษท้ังส่ีดานโดยไมตองตีกรอบ ดังนี ้ เวนจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว เวนจากริมกระดาษดานลาง 1 นิ้ว เวนจากริมกระดาษซายมือ 1.5 นิ้ว เวนจากริมกระดาษขวามือ 1 นิ้ว (ดูในตัวอยาง) การกําหนดเลขหนา

1. เรียงสวนประกอบของปญหาพิเศษใหถูกตองตามหลักเกณฑเร่ืองสวนประกอบของ

ปญหาพิเศษท่ีไดกลาวมาแลว 2. พิมพเลขหนาท่ีมุมขวาดานบนหางจากริมกระดาษดานบน 1 นิ้ว และดานขวา 1 นิ้ว 3. สวนนาํ (preliminaries) เร่ิมนับหนาตั้งแตหนาปกในเปนตนไป โดยหนาปกในไม

ตองพิมพเลขหนา กําหนดเลขหนาดวยตวัเลขอาราบิกในเคร่ืองหมายวงเล็บ เชน (3) (4) (5) 4. สวนเนื้อความ (text) เร่ิมกําหนดเลขหนาดวยเลขอาราบิก ตั้งแตหนาแรกของ

เนื้อความเปนตนไปจนจบเลม โดยไมตองมีหนาแทรก 5. ในการพิมพตามแนวนอน ใหพิมพหมายเลขหนาไวในตําแหนงเดียวกันกับหนา

อ่ืน ๆ

การเวนระยะพิมพ

1. การเวนระยะระหวางบรรทัด ใหดตูามตัวอยาง 2. การยอหนา ใหเวนระยะจากกรอบหนากระดาษดานซายประมาณ 1 นิ้ว 3. การเวนระยะหลังเคร่ืองหมายวรรคตอน

Page 19: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

19

3.1 ไมตองเวนระยะกอนการใชเคร่ืองหมายวรรคตอน 3.2 เคร่ืองหมายมหัพภาค ( . ) ท่ีใชกับคํายอไมตองเวนระยะ

การพิมพสวนตาง ๆ

สวนนํา (Preliminaries) 1. ปก (Cover)

1.1 ปกหนา ประกอบดวยขอความตามลําดบัดังนี ้1.1.1 ช่ือเร่ือง ปญหาพิเศษภาษาไทยพมิพช่ือเร่ืองภาษาไทย ปญหาพิเศษ

ภาษาอังกฤษพิมพช่ือเร่ืองภาษาอังกฤษใชตัวพิมพใหญท้ังหมด ถามีช่ือวิทยาศาสตรใหพิมพตามหลัก

สากล วางไวก่ึงกลางบรรทัด ใหบรรทัดแรกหางจากริมปกดานบน 2 นิ้ว หางจากริมปกดานซายและ

ดานขวาไมต่ํากวา 1.5 นิ้ว ถาช่ือเร่ืองมีความยาวมากกวา 1 บรรทัด ใหพิมพเปนรูปหนาจั่วกลับ 1.1.2 ช่ือ – สกุล ของผูเขียนปญหาพิเศษไมตองมีคํานําหนาช่ือ หรือมีก็

ได ยกเวนบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ ์ ยศ สมณศักดิ ์ และคาํนาํหนาช่ือนักบวชในศาสนาอ่ืน 1.1.3 ช่ือปริญญา และสาขาวิชา 1.1.4 ช่ือมหาวิทยาลัย 1.1.5 พิมพปท่ีสําเร็จการศึกษา 1.2 ปกหลัง ไมตองพิมพขอความใด ๆ

2. หนาปกใน ประกอบดวย 2.1 ช่ือเร่ือง และช่ือผูเขียนปญหาพิเศษในรูปแบบเดียวกันกับปกหนา 2.2 พิมพขอความตอไปนี้ลงในสวนลางของหนาปกใน โดยใหบรรทัดสุดทายอยู

หางจากริมกระดาษดานลาง 1 นิ้ว ขอความท่ีตองพิมพ

ไดพิจารณาเหน็ชอบโดย ...................................................... อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ (....................................................) วันท่ี.......เดือน................พ.ศ..........

(ดูในตัวอยาง )

Page 20: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

20

3. บทคัดยอ (Abstract)

3.1 พิมพบทคัดยอท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไมวาปญหาพิเศษฉบบันัน้ได

จัดทําเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ 3.2 บทคัดยอแตละสวนมีความยาวไมเกิน 2 หนากระดาษตามการพิมพปกต ิ 3.3 สวนบนในหนาแรกของบทคัดยอภาษาไทยประกอบดวย 3.3.1 ช่ือเร่ืองปญหาพิเศษ หางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว 3.3.2 ช่ือ-สกุลของผูเขียนพรอมคํานาํหนานาม 3.3.3 ช่ือปริญญา สาขาวิชา 3.3.4 ช่ืออาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ 3.3.5 เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพคําวา บทคัดยอ หรือ ABSTRACT ไว กลางบรรทัด 3.3.6 จากคําวา บทคดัยอ หรือ ABSTRACT ไวกลางบรรทัด แลวพิมพ

เนื้อหาของบทคัดยอ

4. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)

4.1 ใหจาหนาปญหาพิเศษภาษาไทยดวยคําวา กิตติกรรมประกาศ พิมพไวกลาง

บรรทัดบนสุด หางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว 4.2 พิมพขอความแสดงความขอบคุณหางจากจาหนา โดยเวนวาง 1 บรรทัด 4.3 เม่ือจบขอความแสดงความขอบคุณ เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพช่ือ-สกุล

ของผูเขียน 4.4 พิมพเดือน ปท่ีสําเร็จการศึกษาไวใตช่ือ-สกุลของผูเขียน

5. สารบัญ (Table of contents)

5.1 พิมพคําวา สารบญั หรือ TABLE OF CONTENTS จาหนาไวกลางบรรทดั

บนสุด หางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว ถาสารบญัมีความยาวมากกวา 1 หนา สารบญัหนา

ถัดไปไมตองจาหนา 5.2 จากจาหนา เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพคําวา หนา หรือ Page ชิดกรอบหนากระดาษดานขวาหางจากริมกระดาษ 1 นิ้ว 5.3 พิมพคําวา บทท่ี บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผูวิจยัอยูก่ึงกลางของ

หนากระดาษบรรทัดบนสุด อยูหางขอบกระดาษ 1.5 นิว้ ใหช่ือบทอยูหางจากเลขบท 2 ชวงตัวอักษร

Page 21: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

21

5.4 รายการหัวขอภายในบท และหัวขอภายในภาคผนวกใหอยูในตาํแหนง

เดียวกัน 5.5 การพิมพเลขหนาใหอยูชิดกรอบหนากระดาษดานขวา 6. สารบัญตาราง (List of tables)

6.1 พิมพคําวา สารบญัตาราง หรือ LIST OF TABLES จาหนาไวกลางบรรทัด

บนสุด หางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว ถาสารบญัตารางมีความยาวมากกวา 1 หนา สารบัญ

ตารางหนาถัดไปไมตองจาหนา 6.2 จากจาหนา เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพคําวา ตาราง หรือ Table ชิดกรอบหนากระดาษดานซายหางจากริมกระดาษ 1.5 นิ้ว และพิมพคําวา หนา หรือ Page ชิดกรอบหนาหนากระดาษดานขวาหางจากริมกระดาษ 1 นิ้ว 6.3 พิมพเลขท่ีตารางใหอยูในชวงของคําวาตาราง ตามดวยช่ือตาราง หรือ

คําอธบิาย ตามลําดบัท่ีไดจดัเรียงไวในปญหาพิเศษ 6.4 การพิมพเลขหนาใหอยูชิดกรอบหนากระดาษดานขวา 7. สารบัญภาพ (List of figures)

7.1 พิมพคําวา สารบญัภาพ หรือ LIST OF FIGURES จาหนาไวกลางบรรทัดบนสุด หางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว ถาสารบญัภาพมีความยาวมากกวา 1 หนา สารบัญ

ภาพหนาถัดไปไมตองจาหนา 7.2 จากจาหนา เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพคําวา ภาพ หรือ Figure ชิดกรอบหนากระดาษดานซายหางจากริมกระดาษ 1.5 นิ้ว และพิมพคาํวา หนา หรือ Page ชิดกรอบหนากระดาษดานขวาหางจากริมกระดาษ 1 นิ้ว 7.3 พิมพเลขท่ีภาพใหอยูในชวงกลางของคําวา ภาพ ตามดวยช่ือภาพ หรือคําอธบิาย ตามลําดบัท่ีไดจดัเรียงไวในปญหาพิเศษ 7.4 การพิมพเลขหนาใหอยูชิดกรอบหนากระดาษดานขวา 8. คําอธิบายอักษรยอ และสัญลักษณ (Abbreviations and symbols)

8.1 พิมพคําวา อักษรยอ หรือ ABBREVIATIONS สัญลักษณ หรือ SYMBOLS อักษรยอและสัญลักษณ ABBREVIATIONS AND SYMBOLS แลวแตกรณี ไวกลาง

บรรทัดบนสุด หางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว

Page 22: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

22

8.2 จากจาหนา เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพรายการอักษรยอและ/หรือ

สัญลักษณ พรอมคําอธบิาย

สวนเนื้อความ (Text)

1. การแบงบท

1.1 ปญหาพิเศษจะแบงออกเปนบทหรือตอนตามความเหมาะสมและความจาํเปน 1.2 แตละบทข้ึนหนาแรกดวยการจาหนาอยูบรรทัดบนสุดหางจากริมกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว ในปญหาพิเศษภาษาไทยจะตองจาหนาแรกของบทดวยคําวา บทท่ี เลขบท และพิมพช่ือ บทเปนภาษาอังกฤษดวยตวัพิมพใหญในบรรทัดถัดมา 1.3 ใตช่ือบทเวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพเนื้อความ 2. การแบงหัวขอ

นอกจากการแบงเนื้อหาออกเปนบทแลว ในแตละบทมีการแบงหัวขออกเปนหัวขอระดับ

ตาง ๆ ไดตามความเหมาะสมและความจาํเปน ดังนี ้ 2.1 หัวขอหลัก พิมพกลางบรรทัด ถาหัวขอมีความยาวเกิน 1 บรรทัด ใหบรรทัดแรก

อยูหางจากริมกระดาษดานซายและขวาไมต่ํากวา 1 นิ้ว และใหพิมพเปนรูปหนาจั่วกลับ 2.2 หัวขอรองหรือหัวขอขาง พิมพชิดกรอบหนากระดาษดานซาย 2.3 หัวขอยอย พิมพหัวขอยอยหางจากกรอบหนากระดาษดานซาย 8 อักษร การแบง

หัวขอยอยทําได 2 แบบ ใหเลือกใชแบบใดแบบหนึ่ง และใชแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม กลาวคือ - แบบใชตัวเลขและจุดทศนิยม - แบบใชตัวเลขและอักษร 3. ตารางและภาพ (Tables and figures)

3.1 ควรพิมพตารางหรือวางภาพตอจากขอความที่กลาวถึง ถามีเนื้อท่ีไมเพียงพอท่ีจะ

นําเสนอในหนานั้นใหพิมพขอความอื่นตอจากขอความดงักลาวไปจนหมดหนากระดาษแลวจึงพิมพ

ตารางหรือวางภาพในหนาถัดไป 3.2 พิมพคําอธบิายตารางไวบนตาราง สวนคําอธบิายภาพใหพิมพไวใตภาพ โดย 3.2.1 พิมพคําวา ตาราง หรือ Table ภาพ หรือ Figure ชิดกรอบหนากระดานดานซายแลวพิมพเลขหมายประจําตารางหรือภาพโดยเวนระยะหางออกไป 2 ชวงตัวอักษร

Page 23: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

23

3.2.2 การกําหนดเลขประจําตารางหรือเลขประจําภาพ ใหเรียงตามลําดบั

ตอเนื่องกันไปทั้งเลม 3.2.3 พิมพช่ือหรือคําอธิบายดวยขอความท่ีกะทัดรัด และมีความหมายชัดเจน 3.3 การตีเสนในตาราง 3.3.1 ใชเสนคูสําหรับเสนแนวนอนเม่ือเร่ิมตนตารางและเม่ือส้ินสุดตาราง และ

เสนแนวนอนเสนอ่ืน ๆ ใหใชเสนเดี่ยว 3.3. 2 ไมควรขีดเสนแบงสดมภหรือเสนแนวดิ่ง 3.4 ตารางหรือภาพควรมีขนาดไมเกินกรอบหนากระดาษ 3.4.1 ถาตารางหรือภาพมีขนาดใหญสามารถลดขนาดลงไดโดยการใชตัวอักษร

ขนาดเล็ก หรือถายเอกสารแบบยอสวน หรือวิธีอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม 3.4.2 ถาตารางหรือภาพมีขนาดกวางกวากรอบหนากระดาษ ใหแยกไวหนาหนึ่ง

ตางหากแลววางตารางหรือภาพตามแนวนอน โดยใหสวนบนของตารางหรือภาพหันไปทางซายมือ

สวนเลขหนาใหพิมพในตาํแหนงเดียวกับหนาอ่ืน ๆ 3.4.3 ถาตารางมีความยาวมากกวา 1 หนากระดาษ สามารถพิมพตอในหนาถัดไป

ได โดยพิมพคําวา ตาราง หรือ Table หมายเลขประจําตาราง พิมพคําวา ตอ หรือ continued ไวในเคร่ืองหมายวงเล็บตอจากเลขหมายประจําตาราง ใหหัวตารางมีรูปแบบเหมือนกันทุกหนา 3.5 ถามีหมายเหตุของตารางใหพิมพไวใตตาราง ถามีหมายเหตุของภาพใหพิมพไวใต

คําอธบิายภาพ โดยใหคาํวา หมายเหตุ อยูชิดกรอบหนากระดาษดานซาย 3.6 ถามีท่ีมาของตารางหรือภาพ ใหพิมพไวใตตารางหรือภาพ และพิมพไวใตหมายเหต ุ

(ถามี) โดยพิมพคําวา ท่ีมา : เวนระยะ 2 ชวงตัวอักษร แลวระบุแหลงท่ีมา 4. เชิงอรรถเสริมความ (Content footnote)

4.1 ใชหมายเลขกํากับเชิงอรรถใหเรียงตามลําดับไปอยางตอเนื่องตลอดท้ังเลม 4.2 ใหใชตัวเลขกํากับขอความและกํากับเชิงอรรถแบบตัวยกอยูสูงกวาขอความปกติ ไม

ตองพิมพเคร่ืองหมายใดๆ ไวหนาหรือหลังตัวเลข 4.3 พิมพหมายเลขไวทายขอความที่ตองการทําเชิงอรรถ หมายเลขท่ีใชตองเหมือนกับ

หมายเลขท่ีกํากับเชิงอรรถ 4.4 ถาตองการทําเชิงอรรถเสริมขอความที่เปนอัญพจน ใหพิมพหมายเลขไวหลัง

เคร่ืองหมายอัญประกาศปด 4.5 ตีเสนคั่นระหวางเนื้อหากับเชิงอรรถ ยาวประมาณ 1 ใน 3 ของบรรทัด 4.6 ขอความท่ีตองการอธิบายเสริมความและเชิงอรรถตองอยูในหนาเดียวกัน โดยให

เชิงอรรถอยูสวนลางสุดในกรอบหนากระดาษ และเชิงอรรถตองจบลงในหนาเดียวกับขอความ

Page 24: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

24

บรรณานุกรม (Bibliography)

1. พิมพจาหนาดวยคําวา บรรณานุกรม ในปญหาพิเศษภาษาไทย สวนในปญหา

พิเศษภาษาอังกฤษ ใชคาํวา BIBLIOGRAPHY ไวกลางบรรทัดบนสุดใหหางจากริมกระดาษดานบน

1.5 นิ้ว 2. จากจาหนา เวนวาง 1 บรรทัด แลวเร่ิมพิมพบรรทัดแรกของรายการ

บรรณานุกรม 3. ตัวอักษรตวัแรกของบรรณานุกรมแตละรายการอยูชิดกรอบหนากระดาษ ดาน

ซายมือ ถาบรรณานุกรมรายการใดมีความยาวเกิน 1 บรรทัด ใหพิมพอักษรตัวแรกของบรรทัดตอๆ

ไปหางจากกรอบหนากระดาษดานซายมือ 8 ชวงตัวอักษร 4. การพิมพบรรณานุกรมใหยึดหลักเกณฑการเวนระยะหลังเคร่ืองหมายวรรคตอน

ตามทีไ่ดกําหนดไวในตัวอยาง เปนสําคัญ โดยที่ขอความในบรรณานุกรมไมจาํเปนตองชิดกรอบ

หนากระดาษดานขวาท้ังหมด 5. เรียงบรรณานุกรมตามลําดบัอักษรของคําแรกของบรรณานุกรมตามแบบ

พจนานุกรม ไมตองพิมพเลขลําดับท่ีของบรรณานุกรม 6. ปญหาพิเศษภาษาไทยใหเรียงภาษาไทยข้ึนกอนภาษาอังกฤษ สวนปญหาพิเศษ

ภาษาอังกฤษใหเรียงบรรณานุกรมภาษาอังกฤษข้ึนกอนภาษาไทย การเขียนบรรณานุกรมของหนังสือประเภทตาง ๆ

การเขียนบรรณานุกรมของหนังสือประเภทตาง ๆ ใหลงรายละเอียดตามหลักเกณฑท่ีไดกลาวไว ดงันี้

1. หนังสือที่มีผูแตงคนเดียว ใหใชรูปแบบ ดังตวัอยาง แบบที ่ 1 จารุวรรณ ธรรมวัตร. วิเคราะหภูมิปญญาอีสาน. พิมพคร้ังท่ี 2. อุบลราชธานี : โรงพิมพศิริธรรม

ออฟเซ็ท, 2541. Stebbing, Lionel. Quality Assurance : The Route to Efficiency and Competitiveness.

3rd ed. New York : Ellis Horwood, 1993. แบบที ่ 2 สิปปนนท เกตุทัต. 2539. การศึกษาไทยยุคโลกาภิวัตน. กรุงเทพฯ : ธนาคารกสิกรไทย.

Page 25: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

25

Bayber, J. 1960. The Process of Education New York : Vintage. แบบที ่ 3 สมนึก ภัททิยธน.ี (2537). การประเมินผลและการสรางแบบทดสอบ. พิมพคร้ังท่ี 4. กาฬสินธุ : ประสานการพิมพ. Bowes, G.H. (1981). Theories of Learning. 5th ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall.

2. หนังสือที่มีผูแตงสองคน ใหใช “และ” หรือ “and” เช่ือมระหวางช่ือผูแตง

ท้ังสอง ดังตวัอยาง แบบที ่ 1 เดือน สินธุพันธประทุม และสํานวน หิรัญวงษ. CU Writer ศึกษาดวยตนเอง เวอรช่ัน 1.52

และ 1.6. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536. Robinson, Arthur and Mary G. Linden. Clinical Genetics Handbook.

2nd ed. Boston : Blackell Scientific, 1993.

แบบที ่ 2 ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2536. เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพคร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ.

Anderson, R.D. and H. Pratl. 1995. Local Leadership for Science Education Reform. Iowa : Kendall/Hunt.

แบบที่ 3

อบรม สินภบิาล และชาญชัย ศรีไสยเพชร. (2523). การประถมศึกษา 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. Le Dourx, J.E. and W. Hirst. (1990). Mind and Brain : Dialogues in Cognates

Neuroscience. Cambridge : Cambridge University Press.

Page 26: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

26

3. หนังสือที่มีผูแตง 3 คน ใหใชจุลภาคคั่นระหวางช่ือผูแตงคนแรกและช่ือผูแตงคนท่ีสองและใช “และ” หรือ “and” เช่ือมระหวางช่ือผูแตงคนท่ี 2 กับผูแตงคนท่ี 3 ดังตัวอยาง

แบบที ่ 1 พิชัย สีหโสภณ, ธัญลักษณ ทองงาม และรักบุญ คงสําราญ. Microsoft Work เวอรช่ัน 2 สําหรับ

วินโดวส. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน, 2536. Abeles, Frederick B., Page W. Morgan and Mikal E. Saltveit, Jr. Ethylene in Plant Biology.

2nd ed. San Diego : Academic Press, 1992.

แบบที ่ 2 อํารุง จันทวานิช, ภาณุรัตน รัตยาภาส และเจษฏ อนรรฆมงคล. 2529. การพัฒนาระบบสาร

สนเทศตามโครงการการศึกษาความตองการและการจัดระบบสารสนเทศเพ่ือการ

วางแผนและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี. Mix, M.C., P. Farber and K.I. King. 1996. Biology : The Network of Life. New York :

Harper Collins College Publishers.

แบบที่ 3 เสาวภา พรศิริพงษ, พรทิพย อุศุภรัตน และเพ็ญนภา ทรัพยเจริญ. (2539). การศึกษาภูมิปญญา

หมอพ้ืนบานไทย พอใหญเคน ลาวงศ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสหธรรมมิก. Margnlis, L.K., K. Schwartz and M. Dolan. (1994). The Illustrated Five Kingdoms : A Guide

to the Diversity of Life on Earth. New York : Harper Collins. 4. หนังสือที่มีผูแตงมากกวา 3 คน ใหลงช่ือผูแตงคนแรกแลวใชคําวา “และ คนอ่ืน ๆ” หรือ “และคณะ” สําหรับหนังสือภาษาไทย และใชคําวา and others สําหรับหนังสือภาษาอังกฤษ ดังตัวอยาง

แบบที ่1 ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห และคนอ่ืน ๆ. ความรูพ้ืนฐานทางศาสนา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2536. Hart, David and others. Trees : Benjamin Perkins. London : Grange, 1991.

Page 27: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

27

แบบที ่2 อภิรมย ณ นคร และคนอ่ืน ๆ. 2521. การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง. Albert, B.D. and others. 1994. Molecular Biology of the Cell. 3rd ed. New York : Garland. แบบที ่3 ศิริวรรณ เสรีรัตน และคนอื่นๆ. (2535). การบริหารการตลาดยุคใหม. กรุงเทพฯ : ธีระฟลมและไซเท็กซ. Griffiths, A.J.F. and others. (1993). An Introduction to Genetic Analysis. New York :

Freeman.

5. หนังสือที่ผูแตงใชนามแฝง ถานามจริงเปนท่ีรูจักท่ัวไปแลว ใหใชนามจริงและบอก นามแฝงไวดวย ถาหากไมทราบนามจริงใหถือนามแฝงเปนช่ือผูแตงและใหวงเล็บคําวา “นามแฝง” หรือ (pseudo) ตอจากช่ือนามแฝง โดยมีโครงสราง 3 แบบเชนกัน และขอเสนอตัวอยางแบบท่ี 1 เพียงแบบเดียว ดงัตัวอยาง

ศรีฟา มหาวรรณ, ม.ล. ไมออน. ศรีฟา ลดาวัลย(นามแฝง). กรุงเทพฯ : ดอกหญา, 2534. Clemens, Samuel Langhorne. Tom Sawyer Abroad and Tom Sawyer Detective. Mark Twain

(pseudo.). New York : Dell, 1965. 6. หนังสือที่ออกในนามขององคการหรือหนวยงานตาง ๆ ถาไมปรากฏช่ือผูแตงใหใช

ช่ือหนวยงานหรือองคการนั้น ๆ เปนผูแตง โดยมีโครงสราง 3 แบบเชนกัน และขอเสนอตัวอยางแบบท่ี 1 เพียงแบบเดียว ดังตัวอยาง กรมการศึกษานอกโรงเรียน. สมเด็จครูแหงปวงชน. กรุงเทพฯ : ฝายพัฒนาส่ือและนวัตกรรม กอง

พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กรมการศกึษานอกโรงเรียน, 2535. Unesco. Adolescence Education Physical Aspect Module One. Bangkok : Unesco, 1991.

Page 28: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

28

7. หนังสือแปล ใหลงช่ือผูแตง ช่ือเร่ืองท่ีแปลแลว สวนช่ือผูแปล ใหลงไวหลังช่ือเร่ือง โดยมีโครงสราง 3 แบบเชนกัน และขอเสนอตัวอยางแบบท่ี 1 เพียงแบบเดียว ดังตัวอยาง

นิวเบิล, เดวิด และโรเบิรท แคนนอน. เทคนิคการสอนครบวงจร. แปลโดย สุนทร โคตรบรรเทา.

กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน, 2535. Kireev, V. Physical Chemistry. Translated by G. Peck and F. Leib. 2nd ed. Moscow :

Mir, 1979.

8. หนังสือที่ไมปรากฏสถานที่พิมพและปที่พิมพ ไมปรากฏสถานท่ีพิมพใหใชอักษรยอ ม.ป.ท. หรือ S.l สวนไมปรากฏปท่ีพิมพใหใชอักษรยอ ม.ป.ป. หรือ n.d.

9. หนังสือที่ไมปรากฏเลขกํากับหนา ใหใชคําวา ไมมีเลขหนา หรือ ใชคําวา “unpaged” ในบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ

10. บรรณานุกรมที่มีช่ือผูแตงซ้ํากัน ใหลงช่ือผูแตงเฉพาะบรรณานุกรมช้ินแรกสวนช้ินตอ ๆ มาใหใชวิธีขีดเสนตรงความยาวเทากับ 1.5 เซนติเมตร โดยเร่ิมจากขอบซายของหนา หลังจากนั้นใหใสเคร่ืองหมายมหัพภาคเหมือนการลงช่ือผูแตงตามปกต ิเสนดังกลาวนี้ควรอยูระดับก่ึงกลางของตัวอักษรที่พิมพในบรรทัดนัน้ ๆ ดังตัวอยาง

อนุมานราชธน, พระยา. ขอคิดเร่ืองภาษาไทยบางประการ. (แถบบันทึกเสียง). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร, ม.ป.ป.

___________ . วัฒนธรรม. โดย เสฐียรโกเศศ (นามแฝง). กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, 2515.

11. ผูแตงคนเดียวกันมีวัสดุอางอิงที่พิมพปเดียวกันหลายช้ิน และผูเขียนไดนํามา อางอิงมากกวา 1 ช้ิน ในกรณีเชนนี้จําเปนตองทําใหการอางอิงแทรกในเนื้อหาช้ีไดชัดวาเปนวัสดช้ิุนใด โดยเติมอักษร ก ข ค ... หรือ A B C ... ลงตอทายปพิมพของวัสดุนั้นโดยใหลง ก ข ค หรือ A B C ตามการจัดเรียงลําดับในบรรณานุกรมกอน แลวจึงนําตวัอักษรนั้น ๆ มาระบตุอทายในการอางอิงแทรกในเนื้อหา โดยเวนระยะ 2 เคาะ และใสเคร่ืองหมายจุดทายตัวอักษร ดังตัวอยาง บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบ้ืองตน. มหาสารคาม : ภาควิชาพ้ืนฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2539 ก.

Page 29: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

29

__________ . วิธีการทางสถิติสําหรับการวิจัย. เลม 1. มหาสารคาม : ภาควิชาพ้ืนฐานการศกึษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2539 ข.

Marek, E.A. “They Misunderstand, But They’ ll Pass,” The Science Teacher. 53(10) : December, 1986 A. __________ . “Understandings and Misunderstandings of Biology Concepts,” The American Biology Teacher. 48(1) : 37-40 ; January, 1986 B. ตัวอยางบรรณานุกรมเว็บไซต

1.2.1 เว็บไซตท่ัวไป (General Web Site) เปนเว็บไซตท่ีมีช่ือองคกร หรือแสดงสัญลักษณอยางชัดเจน เชน หนวยงานของรัฐ บริษัท องคกรอิสระ หรือสถาบันการศึกษา เปนตน เปนเว็บไซตท่ีพบมากในอินเทอรเน็ต ดังตัวอยาง Laux, Lila. “Designing Accessible Web Page and Web Applications,” Internetworking. (2) :

Accessiblity-Designing. March 6, 1999. <http://www.sandia.gov/itg/newsletter/ mar99/ accessibility_lila.html> May 1, 1999.

“IconEdit Pro V6.02,” IconEdit Pro V6.02 32Bit. n.d. <http:// www.fh.sbg.ac. at/~hhhwiehof/ english/icon32.htm> August 1, 1999. “The CDS-ISIS User Forum,” CDS-ISIS User Forum – Home Page. May 23, 1999.

<http://www.bib.wau.nl/isis/> May 24, 1999.

1.2.2 เว็บไซตสวนบุคคล (Personal Web Site) เปนเว็บไซตอิสระท่ีเสนอ ขอมูลสวนตัว

ของเจาของงาน ซึ่งมักใชช่ือบุคคลเปนช่ือไซต และอาจไมตั้งอยูภายในเว็บไซตขององคกร ท่ีสังกัด ดังตัวอยาง Pellegrino, Joseph. Homepage. September 24, 1997. <http://www.english.eku.edu/

pellegri/personal.htm> November 7, 1997. 1.2.3 หนังสือ (Book) หมายถึงการนําเอาหนังสือท่ีเคยพิมพแลวท้ังเลมมาจัดทําเปนแฟมขอมูลเผยแพรแบบ WWW ใหลงบรรณานุกรมตามรูปแบบเดิมแลวเพ่ิม URL และวันท่ีสืบคน ดังตัวอยาง

Page 30: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

30

Darwin, Charles. The Voyage of the Beagle. London : Project Gutenberg, 1845.

<ftp://uiarchive.cso.uiuc.edu/pub/etext/gutenberg/etext97/vbgle10.txt> October 10, 1997.

1.2.4 บทความในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส (Electronic Journal หรือ E journal) เปนการนาํเสนอบทความหรือเนื้อหาคลายกับวารสารทีเ่ปนส่ิงพิมพ แตอยูในรูปแบบของ WWW มีช่ือวารสาร ปท่ี ฉบบัท่ี และวัน เดือน ป ท่ีเผยแพรชัดเจน หากบทความปรากฏใน เว็บเพจท่ีใชรูปแบบการแบงจอภาพเปนสวน ๆ (Frame) ใหใชรูปแบบ ดังตัวอยาง Browning, Tonya. “Embedded Visuals : Student Design in Web Space,” A Journal for

Teachers of Writing in Webbed Environments. 3(1) ; 1997. <http://english.ttu.edu/kairos/2.1/ features/browning/index.html> October 21, 1997.

1.2.5 บทความในรูปแบบของนิตยสารอิเล็กทรอนิกส (Electronic Magazine หรือ

Ezine) เปนนติยสารที่เผยแพรในรูปแบบ WWW มีช่ือนิตยสาร และอาจมี ปท่ี ฉบับท่ีดวย มีวัน

เดือน ป ท่ีเผยแพรชัดเจน ดังตัวอยาง Myhvold, Nathan. “Confession of a Cybershaman,” Slate. June 12, 1997.

<http://www.slate.com/ criticalMass/97-06-12/criticalMass.asp> October 19, 1997. Bush, George. “Princicles of Ethical Conduct for Government Officers and Employees,”

Executive Order. (12674) ; April 12, 1989. <http://www.usoge.gov/exorders /eo12674.html> October 30, 1997.

2. อีเมล (Email Message) 2.1 ขอมูลท่ีใชในการเขียนบรรณานุกรม มีดังนี ้

2.1.1 ช่ือผูสง (ถาปรากฏ) 2.1.2 Email Address

2.1.3 ช่ือเร่ือง (Subject) ท่ีใชในการสงจดหมาย 2.1.4 วัน เดือน ป ท่ีสง

Page 31: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

31

2.2 รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรม ใชรูปแบบดังนี ้ ช่ือผูสง.//<Email Address>//ช่ือเร่ือง.//วัน เดือน ป ท่ีสง. ดังตัวอยาง Franke, Normane. <[email protected]> Soundapp 2.0.2. April 29, 1996. Robinette, Danny. <[email protected]> Epiphany Project. April 30, 1996. 3. กระดานสนทนา (Web Discussion Forum Posting)

3.1 ขอมูลท่ีใชในการเขียนบรรณานุกรม มีดงันี้ 3.1.1 ช่ือผูเขียน (ถาปรากฏ) 3.1.2 Email Address ของผูเขียน 3.1.3 ช่ือเร่ือง (Subject) ท่ีสงเผยแพร 3.1.4 วัน เดือน ป ท่ีเร่ิมเผยแพร

3.1.5 หากเปนการสงตอ (Reply) ใหใชคําวา Reply หรือ สงตอ และบอกช่ือ ผูสงมา 3.1.6 URL ใหลงเคร่ืองหมายการเวนวรรค และอักษรตัวเล็กใหญตามท่ีใชในการ ตดิตอ 3.1.7 วัน เดือน ป ท่ีสืบคน

3.2 รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรม ใชรูปแบบดังนี ้ ช่ือผูเขียน.//<Email Address>//ช่ือเร่ือง.//วัน เดือน ป ท่ีเผยแพร.//สงตอ “ช่ือเว็บไซตท่ีรับ,” โดย ช่ือผูสงตอ.//<URL>//วัน เดือน ป ท่ีสืบคน. ดังตัวอยาง Laliberte, Daniel. <[email protected]> HyperNews Instructions. May 23, 1996.

<http://unionncsa.uiuc.edu/HyperNews/get/hypernews/instructions.html> May 24, 1996. Saffran, Art. <[email protected]> It’s Not That Hard. January 5, 1996. reply to

“HyperNews Instructions,” by Daniel La Liberte. <http://www.hypernews. org/HyperNews/get/ hypernews/instructions.html> May 24, 1996.

Page 32: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

32

ภาคผนวก (Appendix)

1. พิมพขอความวา ภาคผนวก หรือ APPENDIX ไวก่ึงกลางหนากระดาษเปนสวนนําของภาคผนวก 2. ถาภาคผนวกแบงออกเปนหลายเร่ือง ใหพิมพขอความวา ภาคผนวก หรือ APPENDIX ไวกลางหนากระดาษเปนสวนนําของภาคผนวก ใหแยกภาคผนวกแตละเร่ืองออกจากกันแตละเรื่องมี

กระดาษแบงตอน พิมพขอความวา ภาคผนวก หรือ APPENDIX แลวตามดวยอักษร ก ข ค ง... หรือ A B C D… เวนวาง 1 บรรทัด แลวพิมพช่ือเร่ืองของภาคผนวกนั้น ๆ

ประวัติผูวิจัย (Curriculum vitae)

1. พิมพจาหนาดวยขอความวา ประวัติผูวิจัย หรือ CURRICULUM VITAE หรือ VITA 2. พิมพประวัติยอของผูวิจัยหรือผูเขียนในหัวขอตาง ๆ ดังนี ้

ภาษาไทย ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล : ระบุช่ือและนามสกุลพรอมคํานาํหนาช่ือ เกิดเม่ือ : ระบุ วันที เดือน ป ประวัติการศึกษา : ระบุป วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา และจังหวัดท่ี

สถาบันการศึกษาตั้งอยู ประวัติการทํางาน : ระบุป ตาํแหนง ช่ือหนวยงาน สังกัดของหนวยงาน จังหวัดท่ีหนวยงานตั้งอยู

ภาษาอังกฤษ

VITA

NAME : ระบุช่ือและนามสกุลพรอมคํานาํหนาช่ือ DATE OF BIRTH : ระบุ วันที เดือน ป EDUCATION : ระบุป วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา และจังหวัดท่ี

สถาบันการศกึษาตั้งอยู WORK EXPERIENCE : ระบุป ตาํแหนง ช่ือหนวยงาน สังกัดของหนวยงาน จังหวัดท่ีหนวยงานตั้งอยู

Page 33: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

33

โครงรางปญหาพิเศษ

เรื่อง

ความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงกตอนสัตวในบอเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย ที่มีการเพ่ิมจํานวนอยางรวดเร็วของยูกลีนา (Euglena sanguinea Ehrenberg)

Biodiversity of zooplankton in commercial fish ponds

Which Euglena sanguinea Ehrenberg bloom

โดย

นายเอกพงษ กองแกว รหัส 47110470

คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า

มหาวิทยาลัยแมโจ ปการศึกษา 2550

ตัวอยาง-ปกหนา(สีเหลือง)

Page 34: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

34

โครงรางปญหาพิเศษ

เรื่อง

ความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงกตอนสัตวในบอเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย ที่มีการเพ่ิมจํานวนอยางรวดเร็วของยูกลีนา (Euglena sanguinea Ehrenberg)

Biodiversity of zooplankton in commercial fish ponds

Which Euglena sanguinea Ehrenberg bloom

โดย

นายเอกพงษ กองแกว รหัส 47110470

ไดรับการพิจารณาแลว และเห็นชอบใหดําเนนิการตามโครงรางปญหาพิเศษนี้ได ........................................................ อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ (ผูชวยศาสตราจารยอภนิันท สุวรรณรักษ) วันท่ี.......เดือน.............พ.ศ........

ตัวอยาง-ปกใน

Page 35: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

35

สารบัญ

หนา

คํานาํ วัตถุประสงค การตรวจเอกสาร เวลาและสถานท่ี อุปกรณและวิธีดาํเนินงาน บรรณานุกรม

ตัวอยาง-สารบัญ

Page 36: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

36

ปญหาพิเศษ

เรื่อง

การศึกษาฤทธ์ิของสารสกัดสมุนไพรไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Vibrio sp. และ Aeromonas hydrophila

SCREENING OF THAI TRADITIONAL HERBS AGAINST PATHOGENIC

VIBRIO SP. AND AEROMONAS HYDROPHIL

โดย นายฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ

รหัส 47110413 สาขาวิชาชีววิทยาการประมง

คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแมโจ ปการศึกษา 2550

ตัวอยาง-ปกหนา(สีฟา)

Page 37: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

37

ปญหาพิเศษ

เรื่อง

การศึกษาฤทธ์ิของสารสกัดสมุนไพรไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Vibrio sp. และ Aeromonas hydrophila

SCREENING OF THAI TRADITIONAL HERBS AGAINST PATHOGENIC

VIBRIO SP. AND AEROMONAS HYDROPHIL

โดย นายฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ

รหัส 47110413 สาขาวิชาชีววิทยาการประมง

ปญหาพิเศษน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า

มหาวิทยาลัยแมโจ ปการศึกษา 2550

ตัวอยาง-ปกใน 1

Page 38: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

38

การศึกษาฤทธ์ิของสารสกัดสมุนไพรไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Vibrio sp. และ Aeromonas hydrophila

SCREENING OF THAI TRADITIONAL HERBS AGAINST PATHOGENIC

VIBRIO SP. AND AEROMONAS HYDROPHIL

ไดพิจารณาและเห็นชอบโดย .................................................... อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ (อาจารย ดร.จิราพร โรจนทินกร) วันท่ี.......เดือน.............พ.ศ........

ตัวอยาง-ปกใน 2

Page 39: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

39

ช่ือเร่ือง : การศึกษาประสิทธภิาพของสารสกัดจากสมุนไพรไทยในการยับย้ังเช้ือแบคทีเรีย

Vibrio sp. และ Aeromonas hydrophila ในปลานิล (Oreochremis niloticus) ช่ือผูเขียน : นายฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ ช่ือปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการประมง อาจารยที่ปรึกษา : อาจารย ดร.จิราพร โรจนทินกร

บทคัดยอ

ศึกษาประสิทธิภาพและความเปนพิษของสารสกัดหยาบสมุนไพรไทย 3 ชนิด ไดแก สะระแหน

สาบเสือ และจาสาบเสือ ในการยับย้ังเช้ือแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila, Vibrio parahemolyticus และ V.harveyi วิเคราะหคาความเขมขนต่ําสุด(MIC/MBC) ของสารสกัดสมุนไพรในการยับย้ังฆาเช้ือ(MIC/MBC) โดยวิธี broth dilution ผลพบวาเช้ือ A. hydrophila พบวา สะระแหนวิธท่ีี 2 มีประสิทธิภาพ

สูงสุด โดยมคีา MIC = 45 μl/ml MBC = 75 μl/ml และจาสาบเสือวิธีท่ี 1 มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยมีคา

MIC = 6 μl/ml MBC = 9 μl/ml ตามลําดบั เช้ือ V. parahaemolyticus พบวา จาสาบเสือวิธีท่ี 1 มี

ประสิทธิภาพสูงสุดโดยมีคา MIC = 45 μl/ml MBC = 45 μl/ml และสาบเสือวิธีท่ี 1 และวิธท่ีี 2 มี

ประสิทธิภาพต่ําสุดมีคา MIC = 15 μl/ml MBC = 30 μl/ml เช้ือ V. harveyi พบวาจาสาบเสือวิธท่ีี 1 มี ประสิทธิภาพสูงสุดโดยมีคา MIC = 75 μl/ml. MBC = 75 μl/ml และสาบเสือวิธีท่ี 1 มีประสิทธิภาพต่ําสุดมีคา MIC = 18 μl/ml MBC = 18 μl/ml จากนัน้นําสมุนไพรมาทําการทดสอบความเปนพิษตามวิธีของ J.B. Sprague(1969) โดยหาความเขมขนของสารสกัดสมุนไพรท่ีทําใหลูกปลานิลตายคร่ึงหนึ่ง

ภายใน 96 ช่ัวโมง LC50 96 hr ผลพบวา สารสกัดสะระแหน วิธีท่ี 2 มีคา LC50 96 hr ท่ีความเขมขนเทากับ 21 ml/l สารสกัดจาสาบเสือ วิธท่ีี 1 มีคา LC50 96 hr ท่ีความเขมขนเทากับ 6 ml/l สารสกัดจาสาบเสือ วิธีท่ี 2 มีคา LC50 96 hr ท่ีความเขมขนเทากับ 18 ml/l

คําสําคัญ : การยับย้ังเช้ือแบคทีเรีย , Aeromonas hydrophila , Vibrio parahaemolyticus และ Vibrio harveyi , ปลานลิ

ตัวอยาง-บทคัดยอ

Page 40: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

40

กิตติกรรมประกาศ

ขาพเจาขอขอบพระคุณ อาจารย ดร. .................... .......................... ซึ่งไดกรุณารับเปน

อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษใหแกขาพเจา และไดใหคําแนะนาํในการวางแผนการดําเนินงานทดลอง

ตลอดจนชวยสนับสนนุวัสดอุุปกรณสําหรับใชในการดาํเนินงาน จนกระท่ังงานทดลองคร้ังนี้สําเร็จลุลวง

ไปดวยดี และชวยตรวจสอบแกไขจนกระท่ังสําเร็จออกมาเปนรูปเลมปญหาพิเศษอยางสมบูรณ ขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร. .................... ..................................ท่ีเปนกําลังใจ

และคอยชวยเหลือในดาน

.....................................................................................................................ดวยดีตลอดมา ขอขอบคุณ.........................................ท่ีใหความชวยเหลือในการเก็บขอมูลและใหกําลังใจในการทํา

ปญหาพิเศษคร้ังนี้ และขอขอบคุณ...............................................................ท่ีใหคําแนะนําตลอดจน...................................ท่ีมีสวนชวยเหลือในการทําปญหาพิเศษคร้ังนี้ใหสําเร็จลุลวงไปดวยด ี นอกจากนี้ ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ................................... ............................ท่ีได

สนับสนนุทุนทรัพยในการศึกษาเลาเรียนมาโดยตลอด และขอขอบคุณทุกๆ คนในครอบครัวท่ีคอย

เปนกําลังใจใหตลอดระยะเวลาในการศึกษา ฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ

ธนัวาคม 2550

ตัวอยาง- กิตติกรรมประกาศ

Page 41: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

41

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทท่ี 1 บทนํา ความสําคญัของปญหา วัตถุประสงคของการศึกษา ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพทท่ัวไป

บทท่ี 2 การตรวจเอกสาร ผลการศึกษา แนวความคิดทางทฤษฎีท่ีเก่ียวของ แบบจําลองและกรอบแนวคิดรวบยอด สมมติฐานในการวิจัย (ถามี)

บทท่ี 3 วิธีการวิจัย สถานท่ีดําเนินการวิจัย ประชากรและการสุมตัวอยาง เคร่ืองมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล ระเบียบวิธกีารดําเนินการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

บทท่ี 4 ผลการวิจัยและวิจารณผลการศกึษา ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการศึกษาทางการตลาด

ตัวอยาง-สารบัญ

Page 42: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

42

บทท่ี 5 สรุปและขอเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป

บรรณานุกรม

ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ หรือ วิธกีารวิเคราะหขอมูล ภาคผนวก ข ประวัตผิูวิจัย

Page 43: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

43

สารบัญตาราง

ตาราง หนา 1 การจดัจําแนกแพลงกตอนโดยยึดขนาดของแพลงกตอน 4 2 ลักษณะการกินอาหารของแพลงกตอนสัตวท่ัวไป 6 3 เปรียบเทียบรูปแบบของแพลงกตอนสัตว 3 กลุมหลัก 7 4 คาเฉล่ียของคุณภาพน้ําทางกายภาพและทางเคมีในบอเล้ียงปลาเชิงพาณิชย 28 ท่ีมีการเพ่ิมจํานวนอยางรวดเร็วของยูกลีนา (Euglena sanguinea Ehrenberg) 5 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางความหลากหลายทางชีวภาพของ 32

แพลงกตอนสัตวกับปจจัยคุณภาพน้ํา 6 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางความหลากหลายทางชีวภาพของ 34

แพลงกตอนสัตวกับปริมาณของยูกลีนา(Euglena sanguinea Ehrenberg) 7 คาเฉล่ียชนดิและปริมาณของแพลงกตอนสัตวแตละชวงในบอเล้ียงปลา 36

เชิงพาณิชยท่ีมีการเพ่ิมจํานวนอยางรวดเร็วของยูกลีนา(Euglena sanguinea Ehrenberg) ตลอด 24 ช่ัวโมง

8 คาเฉล่ียของคุณภาพน้ําแตละชวงเวลาในบอเล้ียงปลาเชิงพาณิชยท่ีมีการเพ่ิม 38 จํานวนอยางรวดเร็วของยูกลีนา (Euglena sanguinea Ehrenberg) ตลอด 24 ช่ัวโมง

9 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางความหลากหลายทางชีวภาพของ 40 แพลงกตอนสัตวกับปจจัยคุณภาพน้ํา ตลอด 24 ช่ัวโมง

10 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางความหลากหลายทางชีวภาพของ 42 แพลงกตอนสัตวกับปริมาณของยูกลีนา (Euglena sanguinea Ehrenberg)

ตลอด 24 ช่ัวโมง

ตัวอยาง-สารบัญ

Page 44: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

44

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 1 ลักษณะของเช้ือ Aeromonas hydrophila 30 2 ลักษณะของเช้ือ Vibrio harveyi 34 3 ลักษณะของเช้ือ Vibrio parahaemolyticus 42 4 ลักษณะของเช้ือ Vibrio parahaemolyticus 46 5 สะระแหน (Mentha cordifolia) 50 6 สาบเสือ (Eupotorium odortum) 54

ตัวอยาง-สารบัญภาพ

Page 45: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

45

ริมกระดาษขนาด A4

ตัวอยาง - การเวนขอบกระดาษ

1.5 "

ระยะกรอบหนากระดาษสําหรับพิมพ (ไมตองขีดเสนตีกรอบ)

1 "

เลขหนา 1 "

1.5

"

1 "

1 "

Page 46: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

46

แบบ ป. 1

คํารองเสนอหัวขอปญหาพิเศษ และขอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแมโจ

ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว............................................................................รหัส............................ นักศึกษาชั้นปท่ี............สาขาวิชา....................................................คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา มีความประสงคจะขออนุญาตทําปญหาพิเศษในหัวขอเร่ือง................................................................................

..............................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................

โดยมี.........................................................................................................เปนอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ โดยขาพเจาไดปฏิบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยแมโจ วาดวยการศึกษาวิชาปญหาพิเศษ พ.ศ. 2541 แลว จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

(ลงชื่อ)........................................................................ (.....................................................................)

.................../......................./................... 1. ไดแนะนําใหนักศึกษาทําการศึกษาปญหาพิเศษ 3. ( ) เหน็ชอบ ( ) ไมเห็นชอบ

ในหัวขอเร่ืองขางตน (ลงชื่อ).................................................... (ลงชื่อ)........................................................... (...................................................) (..........................................................) อาจารยท่ีปรึกษา ประธานหลักสูตร

............/.................../............... ............/.................../.............. 2. เห็นชอบหัวขอ และรับเปนอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ (ลงชื่อ)............................................................. (............................................................) อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ ............/................./................

ตัวอยาง – แบบ ป.1

Page 47: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

47

ป. 2 คํารองเสนอโครงรางปญหาพิเศษ เพ่ือลงทะเบียนเรียน

คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแมโจ ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว.............................................................รหัส......................................... นักศึกษาชั้นปท่ี................สาขาวิชา...............................................คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา มหาวิทยาลัยแมโจ มีความประสงคจะขออนุญาตทําปญหาพิเศษในภาคเรียนท่ี.........................................ประจําปการศึกษา.............................ในหัวขอเร่ือง.................................................................................................. ..............................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................. บัดนี้ไดจัดทําโครงรางปญหาพิเศษ (ฉบับหนาปกสีเหลืองออน) เสร็จเรียบรอยแลว และนํามาแสดงพรอมกันนี้ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

(ลงชื่อ)..........................................................

(.........................................................) .............../.................../.................

ไดพิจารณาโครงรางปญหาพิเศษแลว อนุมัติใหลงทะเบียนได

(ลงชื่อ).............................................................. (............................................................) อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ ............/................./...............

ตัวอยาง – แบบ ป.2

Page 48: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

48

ป.3

คํารองขอเปล่ียนหัวขอช่ือปญหาพิเศษ และ/หรือ อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแมโจ

ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว..................................................รหัสประจําตัว............................

นักศึกษาชั้นปท่ี............สาขาวิชา..................................................คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา

มหาวิทยาลัยแมโจ ไดเคยย่ืนคํารองลงทะเบียนเรียนเม่ือภาคเรียนท่ี...................ปการศึกษา.............................

รวมระยะเวลาที่ทํามาแลว......................ป..............เดือน มีอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษเดิมชื่อ ..............................................................................................................................................................

มีความประสงคจะขอเปลี่ยนหัวขอเร่ืองปญหาพิเศษเปนเร่ือง................................................... ............................................................................................................................................................. มีอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษใหมชื่อ......................................................................................................... ดวยเหตุผล............................................................................................................................................. พรอมนี้ไดแนบโครงรางปญหาพิเศษหัวขอเร่ืองใหม (ฉบับหนาปกสีเหลืองออน) มาดวยแลว

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา (ลงชื่อ)................................................................. (...............................................................) ............../......................./.............. 1. อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษเดิม ( ) เห็นชอบ ( ) ไมเห็นชอบ

(ลงชื่อ).......................................................... (.......................................................) .........../............../.............

2. อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษใหม ( ) เห็นชอบ ( ) ไมเห็นชอบ

(ลงชื่อ).......................................................... (.....................................................) ............/.............../.............

ตัวอยาง – แบบ ป.3

Page 49: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

49

บรรณานุกรม

กองบริการการศึกษา. 2542. คูมืออาจารยที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยแมโจ. เชียงใหม : นพบุรีการ พิมพ.

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บณัฑิตวิทยาลัย งานมาตรฐานการศึกษา หนวยมาตรฐานวิทยานิพนธและ เผยแพร. 2544. “คูมือการพิมพวิทยานิพนธ”. [ระบบออนไลน] แหลงท่ีมา http//www.grad.chula.ac.th/ คูมือการพิมพวิทยานิพนธ.exe (5 เมษายน 2545)

เฉลิมพล แซมเพชร. 2527. หลักการเขียนรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธทางวิทยาศาสตร. เชียงใหม : ทาแพการพิมพ. ชินวุธ สุนทรสีมะ. 2541. หลักและวิธีการทําวิทยานิพนธ รายงานประจําภาคและเอกสารวิจัย.

พิมพคร้ังท่ี 6 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. เทียนฉาย กีระนันท. 2537. สังคมศาสตรวิจัย. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ.์ 2536. คูมือการวิจัย การเขียนรายงาน การวิจัยและวิทยานิพนธ. พิมพคร้ังท่ี 5. นครปฐม : คณะสังคมศาสตรและมนษุยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. ประจักษ กือเจริญ. 2533. รูปแบบการเขียนปริญญานิพนธ. มหาสารคาม : ภาควิชา บรรณารักษศาสตรและสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. ประสิทธิ ์ กาพยกลอน. 2518. การเขยีนภาคปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ปรีชา ชางขวญัยืน. 2542. เทคนิคการเขียนและผลิตตํารา. พิมพคร้ังท่ี 2 กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย. 2527. คูมือวิทยานิพนธ สายวิทยาศาสตรสังคม. กรุงเทพฯ : บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

_________________. 2534. คูมือวิทยานิพนธ สายวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

มหาวิทยาลัยเชียงใหม บัณฑิตวิทยาลัย. 2541. คูมือการเขียนวิทยานิพนธ. เชียงใหม : บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

มหาวิทยาลัยธรุกิจบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย. 2539. คูมือการทํารายงาน ภาคนิพนธ วิทยานิพนธ. กรุงเทพฯ : บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบณัฑติ.

Page 50: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

50

มหาวิทยาลัยนเรศวร บัณฑิตวิทยาลัย. 2541. คูมือการจัดทําวิทยานิพนธ. พิมพคร้ังที่ 2. พิษณุโลก : บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม บัณฑิตวิทยาลัย. 2540. คูมือการเขียนบทนิพนธ. บณัฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บัณฑติวิทยาลัย. 2534. คูมือการเขียนบทนิพนธ (รายงาน ภาค

นิพนธ และปริญญานิพนธ). พิมพคร้ังท่ี 6. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. มหาวิทยาลัยมหิดล บัณฑติวิทยาลัย. 2541. ขอกําหนดวิทยานิพนธ. กรุงเทพฯ : บัณฑติวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล. มหาวิทยาลัยแมโจ บัณฑติวิทยาลัย. 2541. คูมือการเขียนวิทยานิพนธ สายสังคมศาสตร.

เชียงใหม : บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมโจ. _______________ . ม.ป.ป. คูมือการเขยีนวิทยานิพนธ สายวิทยาศาสตร. เชียงใหม : บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมโจ. มหาวิทยาลัยแมโจ สํานักหอสมุด. 2544. หองสมุดและสารสนเทศเพ่ือการคนควา. เชียงใหม :

สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแมโจ. มหาวิทยาลัยแมโจ บณัฑิตวิทยาลัย. 2546. คูมือการเขียนวิทยานิพนธ. เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยแมโจ.

สมพงศ เกษมสิน. 2524. ขอแนะนําในการเขียนรายงาน ภาคนิพนธ และวิทยาศาสตร. พิมพคร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ.

สายทอง มโนมัยอุดม และลัดดา รุงวิสัย. 2543. การลงรายการอางอิงและบรรณานุกรม. เชียงใหม : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนษุยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

อดุลย วิริยเวชกุล (บรรณาธิการ). 2541. คูมือการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา. กรุงเทพฯ : เจริญดีการพิมพ.

อนันต ศรีโสภาฬ. 2527. หลักการวิจัยเบ้ืองตน. พิมพคร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. Colwell, C. Carter and Jame H. Knok. 1974. The Complete Term Paper. Reston,

Virginia : Prentice-Hall. Hamp-Lyons, L. and K.B. Courter. 1984. Research Matters. Massachusetts : Newbury

House Publishers. Lawrence, D.H. 1991. A World of Poetry. 3rd ed. Selected by Michael Rosen.

London : Kingfisher.

Page 51: บทที่ 1 บทนํา - Maejo Universityบทท 1 บทน า ความหมายและประเภทของบทน พนธ บทน พนธ หมายถ

51

Librero, F. 1985. How to Write a Thesis Proposal : Some Practical Guideline. Laguna : University of Philippines at Los Banos College.

Manelere, C. 1986. Thai Traditional Games & Sport. Bangkok : The Office of the National Culture Commission. Ministry of Education.

Paxson, W.C. 1985. เขยีนเอกสาร/รายงาน อยางมืออาชีพ แปลจาก Write It Now! โดย ชัญญา ชยากร. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน. Swales, J.M. and C.B. Feak. 1994. Academic Writing for Graduate Students.

Michigan : University of Michigan Press. Turabian, Kate L. 1972. A Manual for Writers of Term Papers, Theses, and

Dissertations. Chicago : The University of Chicago Press.