29
บทที่ 3 การพิมพปริญญานิพนธ เพื่อใหปริญญานิพนธมีรูปแบบเดียวกัน เปนระเบียบเรียบรอย สวยงาม และถูกตองตาม หลักการเขียนปริญญานิพนธ นักศึกษาจะตองปฏิบัติตามหลักการตางๆในคูมือปริญญานิพนธเลมนีอยางเครงครัด คูมือการพิมพปริญญานิพนธนี้กลาวถึง การพิมพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ตัวพิมพ กระดาษที่ใชพิมพ ระยะขอบกระดาษ ตัวอักษรและขนาดตัวอักษร การลําดับหนาและตําแหนงหนา การยอหนา การตัดคําและการจัดขอความ การแบงบทและหัวขอในบท การตั้งชื่อ ตาราง รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ และการตั้งชื่อสมการตามลําดับ 3.1 การพิมพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร การพิมพปริญญานิพนธเลมนี้ใหใชการพิมพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เชน Mircrosoft word pages LibreOffice writer หรืออื่นๆที่สามารถตั้งคาตัวพิมพ กระดาษที่ใชพิมพ ระยะขอบกระดาษ ตัวอักษรและขนาดตัวอักษร การลําดับหนาและตําแหนงหนา การยอหนา การตัดคําและการจัด ขอความ ไดตามที่กําหนด 3.2 ตัวพิมพ ใชเครื่องพิมพเลเซอร (Leser printer) คุณภาพพิมพตองแบบ Letter Quality ตัวอักษรที่ใช พิมพตองเปนสีดํา คมชัด สะดวกแกการอาน และใชตัวพิมพแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม 3.3 กระดาษที่ใชพิมพ ใหใชกระดาษขาวไมมีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 ชนิด ไมนอยกวา 70 gram ใหใชเพียงหนา เดียว 3.4 ระยะขอบกระดาษ ใหเวนระยะขอบกระดาษดานบนหรือหัวกระดาษไว 3.81 ซม. เวนระยะขอบดานซายหรือขอบ ในสันปกไว 3.81 ซม. (ระยะขอบดานซายนี้ไดรวมระยะเพื่อการเย็บเลมหนังสือไวแลว) เวนระยะขอบ ดานขวาหรือขอบนอกไว 2.54 ซม. และเวนระยะจากขอบทายกระดาษเทากับ 2.54 ซม.

บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

บทที่ 3

การพิมพปริญญานิพนธ

เพื่อใหปริญญานิพนธมีรูปแบบเดียวกัน เปนระเบียบเรียบรอย สวยงาม และถูกตองตาม

หลักการเขียนปริญญานิพนธ นักศึกษาจะตองปฏิบัติตามหลักการตางๆในคูมือปริญญานิพนธเลมนี้

อยางเครงครัด คูมือการพิมพปริญญานิพนธนี้กลาวถึง การพิมพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ตัวพิมพ

กระดาษที่ใชพิมพ ระยะขอบกระดาษ ตัวอักษรและขนาดตัวอักษร การลําดับหนาและตําแหนงหนา

การยอหนา การตัดคําและการจัดขอความ การแบงบทและหัวขอในบท การตั้งชื่อ ตาราง รูปภาพ

แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ และการตั้งชื่อสมการตามลําดับ

3.1 การพิมพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร

การพิมพปริญญานิพนธเลมนี้ใหใชการพิมพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เชน Mircrosoft word

pages LibreOffice writer หรืออื่นๆที่สามารถตั้งคาตัวพิมพ กระดาษที่ใชพิมพ ระยะขอบกระดาษ

ตัวอักษรและขนาดตัวอักษร การลําดับหนาและตําแหนงหนา การยอหนา การตัดคําและการจัด

ขอความ ไดตามท่ีกําหนด

3.2 ตัวพิมพ

ใชเครื่องพิมพเลเซอร (Leser printer) คุณภาพพิมพตองแบบ Letter Quality ตัวอักษรที่ใช

พิมพตองเปนสีดํา คมชัด สะดวกแกการอาน และใชตัวพิมพแบบเดียวกันตลอดท้ังเลม

3.3 กระดาษที่ใชพิมพ

ใหใชกระดาษขาวไมมีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 ชนิด ไมนอยกวา 70 gram ใหใชเพียงหนา

เดียว

3.4 ระยะขอบกระดาษ

ใหเวนระยะขอบกระดาษดานบนหรือหัวกระดาษไว 3.81 ซม. เวนระยะขอบดานซายหรือขอบ

ในสันปกไว 3.81 ซม. (ระยะขอบดานซายนี้ไดรวมระยะเพ่ือการเย็บเลมหนังสือไวแลว) เวนระยะขอบ

ดานขวาหรือขอบนอกไว 2.54 ซม. และเวนระยะจากขอบทายกระดาษเทากับ 2.54 ซม.

Page 2: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.5 ตัวอักษรและขนาดตัวอักษร

ใหพิมพขอความภาษาไทยดวยแบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวธรรมดา และ

พิมพขอความภาษาอังกฤษดวยแบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวธรรมดา ในสวนการ

พิมพคําบรรยายในรูปภาพ แผนที่ แผนภาพ กราฟ ฯลฯ สามารถใชขนาดตัวอักษรที่เล็กกวาที่กําหนด

แตตองสามารถเห็นรายละเอียดไดครบถวนดวยสายตาปกติ

ตั้งยอหนาในโปรแกรม Mircrosoft word เปนแบบกระจายแบบไทย และตั้งระยะหางบรรทัด

เปน 1 บรรทัด

3.6 การลําดับหนาและตําแหนงเลขหนา

3.6.1 การลําดับเลขหนาสวนนําทั้งหมด ใชใชตัวอักษรเรียงตามพยัญชนะในภาษาไทย คือ ก

ข ค... ในตําแหนงดายบนขวาของหนา แบบอักษรใหใชแบบเดียวกับที่ใชในสวนเนื้อหาโดยเริ่ม

นับตั้งแต ปกในภาษาไทยและไมตองพิมพตัวอักษรลําดับหนาของปกในภาษาไทย ปกในภาษาอังกฤษ

หนาอนุมัติ สารบัญหนาแรก สารบัญตารางหนาแรก (ถามี) สารบัญภาพหนาแรก (ถามี) แตใหนับ

จํานวนหนารวมไปดวย

3.6.2 การลําดับหนาของสวนเนื้อความ ใหใชตัวเลข 1 2 3 ... เรียงตามลําดับในตําแหนง

ดานบนขวาของหนา แบบตัวอักษรใหใชแบบเดียวกับที่ใชในสวนเนื้อความ และไมพิมพเลขหนาของ

หนาแรกของบททุกบท หนาแรกของรายการอางอิง หนาแรกของแตละภาคผนวก และประวัติผูเขียน

แตใหนับจํานวนหนารวมไปดวย กําหนดใหตั้งเปนแบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt

3.7 การยอหนา

ควรยอหนาทุกครั้งเม่ือข้ึนยอหนาใหม โดยใหยอหนาเปน 1 ซม. จากขอบดานซายของกั้นหนา

3.8 การตัดคําและการจัดขอความ

3.8.1 ควรจัดรูปแบบของเนื้อหาในแตละยอหนาในรูปแบบกระจายแบบไทย และไมควรตัดคํา

ระหวางบรรทัด ถาพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้นๆ ใหยกคํานั้นทั้งคําไปพิมพในบรรทัดถัดไป ไม

ควรตัดทายของคําไปพิมพบรรทัดใหม ถาจําเปนตองตัดคําระหวางบรรทัดใหใชเครื่องหมายยัติภังค

“-” ใสไวที่ทายคําสวนแรกซึ่งแสดงอยูคนละบรรทัดกับสวนหลัง

3.8.2 ในกรณีท่ีมีบรรทัดสุดทายของยอหนาสุดทายลนไปหนาถัดไป ใหตัดบรรทัดของยอหนา

สุดทายนี้อยางนอยสองบรรทัดไปพิมพไวในหนาถัดไป

3.8.3 ในกรณีท่ีตองพิมพยอหนาสุดทายใกลกับบริเวณกั้นกลาง ยอหนานั้นจะตองมีอยางนอย

2 บรรทัด สวนบรรทัดที่เหลือใหพิมพในหนาถัดไป

Page 3: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.8.4 การเวนระยะการพิมพ (Spacing)

1) เวนระยะพิมพบรรทัดหนึ่งชวงบรรทัดพิมพเดี่ยว ยกเวนที่กําหนดเปนอยางอ่ืน

2) เวนหนึ่งชวงตัวอักษรหลังเครื่องหมายจุลภาค (comma) “,” และเครื่องหมาย

อัฒภาค (Semicolon) “;”

3) เวนสองชวงตัวอักษรหลังเครื่องหมายมหัพภาค (Full stop) เครื่องหมายทวิภาค

หรือ จุดคู (colon) เครื่องหมายปรัศนี (question mark) และเครื่องหมายอัศเจรีย (exclamation

mark) ยกเวนกรณีหลังชื่อยอ (initial) ใหเวนหนึ่งชวงตัวอักษร

4) การเวนวรรคระหวางคําใหเวน 1 ตัวอักษรธรรมดา การเวนวรรคระหวางประโยคให

เวน 2 ตัวอักษรขนาดธรรมดา (อาจมากกวานีไ้ดเม่ือมีการจัดรูปแบบขอความแบบชิดขอบ)

5) นอกจากขอ 1-4 ใหดูตัวอยางการเวนระยะพิมพในหลักเกณฑการใชเครื่องหมาย

วรรคตอน และเครื่องหมายอ่ืนๆ ของราชบัณฑิตยสถาน

3.9 การแบงบทและหัวขอในบท

3.9.1 บท เมื่อเริ่มบทใหมจะตองขึ้นหนาใหมเสมอและมีเลขประจําบท (ใหใชเลขอารบิก) ให

พิมพคําวา “บทที”่ ไวตรงกลางสุดของหนากระดาษ แลวตามดวยเลขประจําบทเชน “บทที่ 1” สวน

“ชื่อบท” ใหพิมพไวตรงกลางหนากระดาษเชนกัน ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหแบงเปน 2-3

บรรทัด ตามความเหมาะสม โดยพิมพลงมาเปนลักษณะสามเหลี่ยมกลับหัว

3.9.2 หัวขอสําคัญ หมายถึง หัวขอที่ใชลําดับเรื่องในแตละบท ใหพิมพชิดกั้นหนาดวย

ตัวอักษรตัวหนา เชน บทที่ 1 หัวขอสําคัญดังนี้ ความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงค สมมุติฐาน

(ถาม)ี ขอบเขตของปริญญนิพนธ(ถาม)ี ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ และนิยามศัพท เปนตน ลําดับของ

หัวขอยอยจะมีเทาไรก็ไดแตควรจัดใหไมเกิน 5 ลําดับ การแบงเนื้อหาออกเปนหัวขอยอยจะมี

ประโยชนอยางยิ่งในเรื่องของหารจัดแบงเนื้อหาที่เกิดกอนหรือเปนพื้นฐานของหัวขอหลัง หัวขอยอย

จะประกอบดวยเนื้อความตั้งแต 1 ยอหนาขึ้นไป

การพิมพหัวขอสําคัญเปนภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคําแรกของทุกๆคําไวในหัวขอสําคัญ

เหลานี้ตองพิมพดวยตัวอักษรใหญเสมอ แตบุพบท สันธาน และคํานําหนานามไมตองพิมพดวย

ตัวอักษรใหญเวนแตบุพบท สันธาน และคํานําหนานามดังกลาวจะเปนคําแรกของหัวขอสําคัญ

3.10 ตาราง รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ

ตารางจะตองประกอบดวยลําดับที่ของตาราง (เฉพาะที่นํามาจากแหลงอื่น) โดยใชรูปแบบการ

อางอิงตอทายชื่อตาราง (ดูรายละเอียดการอางอิงในบทที่ 3) แตถาผูเขียนปริญญานิพนธเปนผูสราง

ขึ้นเองก็ไมตองระบุท่ีมา โดยปกติใหพิมพอยูหนาเดียวกันทั้งหมด

Page 4: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

กรณีท่ีตารางนั้นมีความยาวมากจนทําใหไมสามารถบรรจุในหนาเดียวได ใหพิมพสวนที่เหลือใน

หนาถัดไป แตตองมีขอความอยูอยางนอย 2 บรรทัด และใหพิมพหัวตาราง ลําดับที่ แลวตามดวยคํา

วา “(ตอ)” เชน ตารางที่ 1 (ตอ)

กรณีที่ขอความของตารางพิมพสิ้นสุดที่บรรทัดสุดทายพอดี และจําเปนตองอางอิงที่มาของ

ตารางในหนาถัดไป ใหยกเวนขอความบางสวนของตารางไปรวมไวในหนาถัดไปอยางนอย 2 บรรทัด

โดยปลอยใหมีที่วางหนาเดิม

ขนาดของตารางไมควรเกินกรอบของหนากระดาษปริญญานิพนธ โดยอาจวางตารางในแนวตั้ง

หรือแนวนอนใหหัวขอของตารางเขาหาสันปก สําหรับตารางขนาดใหญควรลดขนาดดวยเครื่องถาย

เอกสารหรือวิธีอื่นใดตามความเหมาะสม แตจะตองชัดเจนพอจะอานไดงาย ดวยสายตาปกต ิ

การตั้งชื่อตารางหรือรูปและหมายเลขกํากับใหปฏิบัติตามดังนี้

3.10.1 ขนาดอักษรที่ใชแสดงชื่อตารางหรือรูปภาพ หมายเลขกํากับใหใชขนาดและ

แบบอักษรเดียวกันกับที่ใชพิมพสวนขอความ

3.10.2 หมายเลขของรูปภาพ ตาราง จะตองตรงกับบทนั้นๆเชน ภาพที่ 3.4

หมายความวาเปนภาพปรากฏอยูในบทที่ 3 และเปนภาพที่ 4 และไมควรมีทศนิยมเกิน 1 จุด ถามี

ภาพยอยก็ใหกําหนด (ก) (ข) ...... ขึ้นตามหลัง เชน ภาพที่ 3.4 (ก) ภาพที่ 3.4 (ข) เปนตน ตอจาก

หมายเลขกํากับตารางหรือรูปภาพใหพิมพขอความบรรยายประกอบดวยวา เปนตารางแสดงอะไร

หรือเปนภาพแสดงอะไร

3.10.3 ถาเปนภาพ แผนภาพ แผนที่หรือแผนภูมิ ใหใชคําวา “ภาพที่” ถาใหแสดงใน

ลักษณะเปนตารางใหใชคําวาวา “ตารางที่” หลังคําวา “ภาพที่” หรือ “ตารางที่” ใหเวนวรรค 1

ตัวอักษรแลวตามดวยหมายเลขกํากับ หลังหมายเลขกํากับใหเวนวรรค 2 ตัวอักษร แลวตามดวย

ขอความบรรยาย ถาเปนรูป ตาราง แผนที่ แสดงอยูในสวนของภาคผนวก หลังคําวา “ตารางที่” หรือ

“ภาพที”่ ใหตามดวยอักษรยอ “ข.” หมายถึง ภาคผนวก ข เชน “ตารางที่ ค.1” หมายถึง ตารางที่ 1

ในภาคผนวก ค หรือ “ภาพที่ ก.2” หมายถึง ภาพที่ 2 ในภาคผนวก ก

3.10.4 ชื่อตารางใหพิมพชิดกั้นหนาและอยูสวนบนตารางแลวไมตองเวน 1 บรรทัด

ระหวางตารางกับชื่อตารางและชื่อภาพใหอยูกึ่งกลางหนาและอยูสวนลางของภาพแลวเวน 1 บรรทัด

ระหวางภาพกับชื่อภาพ ถาชื่อตารางกับชื่อภาพยาวเกิน 1 บรรทัด ใหตัดทอนขอความไปไวในบรรทัด

ที่สองและใหพิมพคําแรกตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อตารางหรือขอความบรรยายภาพ

3.10.5 ตาราง รูป แผนภาพ หรือแผนที่ ที่นํามาจากแหลงอื่นซึ่งผูเขียนไมไดสรางขึ้น

เอง เชน นํามาจากหนังสือ เอกสารของหนวยงานราชการ จะตองมีอางอิงที่มาทุกครั้ง ถาเปนตาราง

ใหแสดงที่มา (หรือหมายเหตุของตาราง) ไวที่มุมลางซายของตารางนั้นๆ โดยไมตองเวนบรรทัดจาก

Page 5: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตาราง ถาเปนภาพใหแสดงการอางอิงตอทายชื่อรูป โดยมีรูปแบบการอางอิงตามบทที่ 3 และการ

อางอิงนี้จะตองลงรายการในรายการอางอิงดวยดังแสดงในตัวอยาง

ภาพที่ 3.1 แสดงการทํางานของอุปกรณ

ตารางที่ 3.2 ...............................

ที่มา: ...............................

ภาพที่ 3.2 แสดง...........................

Page 6: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.11 การพิมพสมการ

การตั้งชื่อสมการใหปฏิบัติดังนี้

3.11.1 แบบอักษรที่ใชแสดงชื่อสมการและหมายเลขกํากับสมการ ใหปรับแบบอักษรที่

ลักษณะใกลเคียงและเหมาะสมกับสมการ

3.11.2 ชื่อสมการไมตองมีคําวา “สมการ” แตใหมีหมายเลขกํากับการแสดงตัวเลข 2

ตัวคั่นดวยจุดทศนิยม เชน สมการ (3-1) ตัวเลขแรกบอกบทที่สมการแสดงอยู และตัวเลขหลังบอก

ลําดับที่ของสมการวาเปนลําดับที่เทาไหรในบทที่ 3

� = ���

�� (3-1)

� = �

�และ� =

���

�� (3-2)

3.12 การอางอิงการแทรกเนื้อหา

สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตสุรินทร ไดใชการอางอิงเอกสารแบบแทรกในเนื้อหา ซึ่งเปนการระบุนามผูแตง และปที่พิมพ

ของเอกสารไวในเนื้อความหรือเนื้อเรื่อง อาจระบุไว ตอนตน หรือ ตอนทาย ของขอความโดยให

รายละเอียดของการลงรายการดังนี้

3.12.1 การอางอิงหนึ่งเรื่องที่มีผูแตง 1 คน

หากมีการอางอิงถึงเอกสารนั้นทั้งงานโดยรวม ใหระบุนามผูแตงและปที่พิมพแทรกไว

ในตําแหนงที่เหมาะสม กลาวคือ ถาระบุนามผูแตงไวในเนื้อความ ใหอางปที่พิมพไวในวงเล็บ หรือให

ระบุทั้ง นามผูแตง ปที่พิมพ และเลขหนา ของเอกสารในวงเล็บ ดังตัวอยาง

- Gates (1999: 3) กลาวถึงสํานักงานไรกระดาษ (Paperless office) นั้น เกิดจาก

เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Techology) ที่ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต และกระบวนการทาง

ธุรกิจ ซึ่งจะชวยใหพนักงานมีความยืดหยุน และมีโอกาสทํางานที่สรางสรรคไดมากกวา

- ผลการวิจัยดานความตองการซื้อสินคา และบริการผานระบบอินเตอรเน็ตในประเทศ

ไทยพบวา ปจจัยที่มีตอการตัดสินใจสวนใหญคือ ความปลอดภัยและความราเชื่อถือของวิธีการ

ชําระเงิน รองลงมา คือการแสดงราคาสินคา และบริการ (สิริกุล หอสถิตยกุล, 2542: 12)

Page 7: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.12.2 การอางอิงหนึ่งเรื่องที่มีผูแตง 2 คน

การอางอิงเอกสารที่มีผูแตง 2 คน ใหระบุผูแตง 2 คน และทุกครั้งที่มีการอางถึงใหใช

คําวา และ หรือ and เชื่อม นามผูแตง ระบุปที่พิมพ และเลขหนา ในตอนทายหรือในวงเล็บดัง

ตัวอยาง

3.12.3 การอางอิงเอกสารหนึ่งเรื่องท่ีมีแตง 3 คน

เมื่อมีการอางอิงเอกสารที่มีผูแตง 3 คน ครั้งแรก ใหระบุนามผูแตงทุกคนและเม่ืออาง

ถึงครั้งตอไปใหระบุนามผูแตงคนแรก ตามดวย et al. หรือ and other สําหรับภาษาอังกฤษ สวน

เอกสารภาษาไทยใหใช และคณะ หรือ และคนอื่นๆ ดังตัวอยาง

3.12.4 การอางอิงหนึ่งเรื่องที่มีผูแตงมากกวา 3 คน

ในการอางอิงที่มีผูแตงมากกวา 3 คนทุกครั้ง ใหระบุเฉพาะ นามผูแตงคนแรก พรอม

กับคําวา et al. หรือ and other สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษสวนเอกสารภาษาไทยใหใช และคณะ

หรือ และคนอื่นๆ ดังตัวอยาง

- คําอธิบายที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวางอีกลุมหนึ่งคือ ขออธิบายของ Lasswell

และ Kepland (1970: 36) ที่เสนอวาเปนแผนหรือโครงการที่ไดกําหนดขึ้น

- จากการวิเคราะหวิธีวิจัยที่ใชในวิทยานิพนธสาขาบรรณารักษศาสตร พบวา วิธีวิจัยเชิง

สํารวจมีผูนิยมใชกันแพรหลาย และคงจะเปนที่นิยมใชกันตอไป (Schlachter and Thomision,

1974: 18)

การอางครั้งแรก

- ภักดี รัตนผล แสวง โพธิ์ทอง และกมล ประจวบเหมาะ (2545: 30) ไดกลาวถึงการ

มอบอํานาจและการกระจายอํานาจ ของการปกครองทองถิ่นวา....

- Campell, Poss และ Casc (1989: 45) กลาววา นักวิจัยทุกคนตางตองการเรียนรูเรื่องราวทุกๆ

สิ่งรอบๆตัว และมีความพยายามที่จะวิเคราะหงานวิจัยที่ตีพิมพออกมาเผยแพร เพื่อศึกษาตอไป

การอางครั้งตอมา

- ภักดี รัตนผล และคณะ (2545: 53-54) กลาวสรุปไดดังนี.้..

- In some studies the writing is making from experience for ourselves…

(Campbell., 1989: 14)

Page 8: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.12.5 การอางเอกสารที่มีผูแตงเปนสถาบัน/นิติบุคคล

การอางเอกสารที่มีสถาบัน หรือองคนิติบุคคลเปนผูแตงแทรกในเนื้อหา ใหระบุ นามผู

แตงท่ีเปนสถาบัน ปที่พิมพ และเลขหนา ตามลําดับ การลงรายการชื่อผูแตงถาสถาบันนั้นเปน

หนวยงานของรัฐบาล อยางนอยตองเริ่มตนที่ระดับกรม ดังตัวอยาง

3.12.6 การอางเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผูแตงคนเดียวกัน

เมื่ออางเอกสารหลายเรื่องหรือหลายเลมที่เขียนโดยผูแตงคนเดียวกันแตปพิมพตางกัน

ใหระบุ นามผูแตงครั้งเดียว ระบุปท่ีพิมพ และเลขหนา ตามลําดับโดยใชเครื่องหมาย อัฒภาค (;)

คั่นระหวาง ดังตัวอยาง

- ปราณี คูเจริญไพศาล และคณะ (2542) ศึกษาเรื่องปจจัยการซื้อซ้ําในฐานะตัวบงชี้

ระดับความพึงพอใจของผูบริโภคในการซื้อสินคาประเภทอาหาร สรุปไดดังนี้

- Charles และคนอ่ืนๆ (1998: 22) ไดสรุปเพิ่มเติมวา ....

- In some studies the writing is making from experience for ourselves and

for other (Case et al., 1991: 14)

- (สมาคมการตลาดแหงประเทศไทย, 2545: 35-36)

- (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ศูนยพัฒนา-

ภาคเหนือ, 2545:25)

- (กรมการปกครอง, สํานักทะเบียนกลาง, 2545: ออนไลน)

- (ธนาคารแหงประเทศไทย, 2545: 46)

- (มหาวิทยาลัยเชียงใหม, คณะบริหารธุรกิจ, ภาควิชากาจัดการ, 2545: 19)

- (Chaing Mai University} Faculty of Business Administration, 2000: CD-

ROM)

- (นราศรี ไววาณย, 2518: 21; 2530: 36; 2545: 9)

- (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2538: 47; 2545:45)

- (Kotler, 2000: 96; 2003; 78)

- (Rosser, 1981: 2; 2001: 89)

Page 9: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.12.7 การอางเอกสารที่ไมปรากฏผูแตง

วิธีการอางถึงเอกสารที่ไมปรากฏผูแตง ผูแปล ผูรวบรวม หรือบรรณธิการ มีวิธีเขียน

ดังนี้

3.12.8 การอางถึงสวนหนึ่งของหนังสือรวมบทความ

การอางถึงสวนหนึ่งหรือบทหนึ่งของหนังสือประเภทรวมบทความ หรือหนังสือ 1 เลม

มีผลงานของผูเขียนหลายคน และมีผูรับผิดชอบในการรวบรวม หรือทําหนาที่บรรณาธิการใหระบุ

เฉพาะชื่อบทความ หรือสวนที่ตองการอางอิง ปที่พิมพ และเลขหนา

3.12.9 การอางเอกสารที่มีลักษณะพิเศษ

เอกสารที่มีลักษณะพิเศษ ไดแก โสตทัศนวัสดุ แฟมขอมูลคอมพิวเตอร แผนที่

รายการวิทยุ/โทรทัศน เปนตน มีหลักการลงรายการ คือ ใหระบุลักษณะพิเศษของเอกสารนั้น

- หากไมปรากฏชื่อผูแตง ใหลงช่ือเรื่อง ระบุปท่ีพิมพ และเลขหนา

(กฎหมายทรัพยสินทางปญญา, 2545: 65-67)

(Total Quality Mangment, 1997: 3)

- เอกสารที่มีเฉพาะชื่อบรรณธิการ/ผูแปล/ผูรวบรวม ใหระบุช่ือผูทําหนาที่นั้น ปที่

พิมพ และเลขหนา

(สีดา สอนศรี, บรรณธิการ, 2544: 93)

(อมราวดี, ผูแปล, 2541: 85)

(Derkime, ed., 1989: 98)

- บทวิจารณใหระบุชื่อผูวิจารณ ปที่พิมพ และเลขหนา

(บุญรักษ บุญญะเขตมาลา, 2545: 56)

(Kennette, 1999: 63)

- (ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท, 2544: 45)

- (วุฒิพงศ พงศสุวรรณ, 2545: 65)

Page 10: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.12.10 การเขียนอางอิงถึงตาราง (Table) หรือ รูปภาพ (Figures) การนําตารางหรือรูปภาพ

มาอางอิงโดยการพิมพซ้ํา หรือดัดแปลง ใหระบุการไดรับอนุญาตใหนํามาพิมพซ้ําหรือดัดแปลงจาก

เจาของหรือผูถือลิขสิทธิ์ไวที่ดานลางของตาราง หรือรูปภาพ ดังนี้

กลาวโดยสรุปแลวการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหารูปแบบตางๆขางตน จะใหประโยชนในดาน

อางอิงแหลงที่มาของขอมูล และเปนการอางถึงงานที่สนับสนุนเกี่ยวของกับงานเขียนในเชิงวิชาการ

ดังนั้น เมื่อเรียบเรียงเนื้อหางานเขียนเสร็จสมบูรณ เอกสารและแหลงขอมูลตางๆที่นํามาเขียนอางอิง

จะถูกนํามาเรียงลําดับอักษรหลักพจนานุกรม และรวบรวมเปน รายการอางอิง (References) หรือ

บรรณนุกรม (Bibliography) ไวในตอนทายของตัวเลมโดยมีรูปแบบการลงรายการ ที่แตกตางกันไป

ตามประเภทของสิ่งพิมพ

3.13 การพิมพบรรณนุกรม (Bibliography)

หลักเกณฑการพิมพบรรณานุกรมมีขอกําหนดดังนี้

3.13.1 การพิมพบรรณานุกรมใหอยูตอจากสวนเนื้อหา และกอนภาคผนวกใหพิมพคําวา

“บรรณานุกรม” กลางกระดาษ โดยเวนขอบบกระดาษพิมพเชนเดียวกับการเริ่มบทใหม และใหเวน

- (มหาวิทยาลัยเชียงใหม, คณะบริหารธุรกิจ, 2546: สไลด)

- (ปฏิรูปการเมืองไทย, 2545: วีดีทัศน)

- (กรมพัฒนาธุรกิจการคา, สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคา, 2546: แฟมขอมูลคอมพิวเตอร)

- (ศูนยวิจัยกสิกรไทย, 2546: ออนไลน)

- (Bank of Thailand, 2003: online)

รูปแบบรูปภาพและตารางท่ีมาจากหนังสือ

ที่มา:/ชื่อผูแตง,/ปที่พิมพ:/เลขหนา

ที่มา: ขจร สุขพานิช, 2544: 52

รูปแบบรูปภาพและตารางท่ีมาจากขอมูลออนไลนบนอินเตอรเน็ต

ที่มา:/ชื่อผูเขียน,/ปที่เผยแพร,/เดือน/วันที่

ที่มา: สุรศักดิ์ สงวนพงษ, 2553, มกราคม 15

Page 11: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ระยะหางจากชื่อบรรณานุกรม 1 บรรทัด จึงเริ่มพิมพบรรทัดแรกของแตละรายการของเอกสารที่ใช

อางอิง

3.13.2 ใหเรียงเอกสารที่ใชอางอิงทั้งหมดไวดวย โดยเรียงลําดับตามอักษรตัวแรกของรายการที่

อางอิง โดยยึดวิธีการเรียงลําดับตามแบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปริญญานิพนธที่เขียน

ดวยภาษาไทย ใหเรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาไทยไวกอน แลวจึงตามดวยรายการ

บรรณานุกรมภาษาองักฤษ

3.13.3 การพิมพแตละรายการที่อางอิง ใหพิมพชิดกรอบกระดาษดานซายมือ หากมีขอความที่

จะตองพิมพตอจากบรรทัดแรกใหพิมพบรรทัดตอไปโดยยอหนาเวนระยะ 1.5 เซนติเมตร

3.13.4 กรณีการอางอิงหนังสือหลายเลมที่มีผูแตงเปนชื่อเดียวกัน ใหเขียนเฉพาะเลมแรก

ตอๆไป ใหขีดเสนยาว 1.5 เซนติเมตร แลวตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และใหเรียงลําดับงาน

ของผูแตงคนเดียวกันตามลําดับของผลงาน หรือลําดับตัวอักษรของชื่อผลงาน

3.13.5 ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศ ใหพิมพชื่อสุกลดวยชื่อตนและชื่อกลาง (ถามี) เชน

Reynolds, F. E. Mullen, N. D. Red, K. P. Muttiko, M. Turabian, Kate L. เปนตน

3.13.6 ถาผูแตงเปนคนไทย ใหพิมพชื่อตนกอนแลวตามดวยนามสกุล ถาเขียนเอกสาร

ภาษาตางประเทศใหใชนามสกุลกอนแลวตามดวยชื่อตน ในกรณีที่ผูแตงชาวไทยมีฐานันดรศักดิ์

บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ใหพิมพชื่อตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (.) และฐานันดรหรือบรรดาศักดิ์ตาม

ดวยเครื่องหมายมหัพภาค (.) เชน ธรรมศักดิ์มนตรี, เจาพระยา, วิจิตรวาทการ, หลวง. เปนตน

3.13.7 ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานิพนธ ฯลฯ ใหเนนขอความโดยเลือกพิมพดวย ตัวหนา

(Bold) หรือขีดเสนใต (Under Line) หรือ ตัวเอน (Italic) ตามความเหมาะสม แตใหเปนแบบเดียว

ตลอดทั้งเลม

3.13.8 การเวนระยะในการพิมพหลังเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี้

1) หลังเครื่องหมายมหัพภาค (.Period) เวน 2 ระยะ

2) หลังเครื่องหมายจุลภาค (, Comma) เวน 1 ระยะ

3) หนาและหลังเครื่องหมายอัฒภาค (; Semi-colon) เวน 1 ระยะ

4) หนาและหลังเครื่องหมายมหัพภาคคู (: Colons) เวน 1 ระยะ

3.14 การลงรายการบรรณานุกรมหรือเอกสารอางอิงทายเลม

การเขียนรายการอางอิงในสวนทายนี้ ไมวาในเนื้อหาขอความผูวิจัยไดอางจากเอกสารตางๆมี

หลักเกณฑในการลงรายการจําแนกตามประเภทของเอกสารคือหนังสือ บทความที่พิมพเผยแพร บท

วิจารณ วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารอัดสําเนา และเอกสารที่ไมไดตีพิมพ อื่นๆ ตลอดจนการ

สัมภาษณ ซึ่งมีตัวอยางการลงรายการดังนี้

Page 12: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.14.1 หนังสือ

กุณฑลี เวชสาร. (2545). การวิจัยการตลาด. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

เกษียร เตชะพีระ. (2542). ชาวศิวิไลซ : เศรษฐกิจการเมืองใตเงาไอเอ็มเอฟ. กรุงเทพฯ: มูลนิธ ิ

โกมลคิมทอง.

Cateora, Philip R. and Graham, John. (2002). International Marketing. 3rd ed.

Boston: McGraw-Hill.

3.14.2 วารสาร

วิกุล แพทยพาณิชย. (2545). “ธุรกิจแฟรนไชส.” เนชั่นสุดสัปดาห 4, 8(15-21 สิงหาคม): 8-11.

Wittman, Donald. (2002). “Parties as unity maximaizers.” American Political

Science Review 8, 3 (September): 18-28.

3.14.3 หนังสือพิมพ

สุทธิชัย หยุน. (2545). “บทบาทของสื่อมวลชนกับสังคมไทย.” ผูจัดการรายวัน (11 กันยายน): 12

3.14.4 วิทยานิพนธ

ชื่อผูแตง.//(ปที่พิมพ).//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ://สํานักพิมพ หรือผูรับผิดชอบ

การพิมพ.

ชื่อผูเขียนบทความ.//(ป).//“ชื่อบทความ.”//ชื่อวารสาร//ปที,่/ฉบับที/่(วัน เดือน):/เลขหนา.

ชื่อผูเขียนบทความ.//(ป).//“ชื่อบทความ.”//ชื่อหนังสือพิมพ//ปที,่/ฉบับที/่(วัน เดือน):/เลข

หนา.

ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ.//(ปที่พิมพ).//ชื่อวิทยานิพนธ.//ระดับวิทยานิพนธหรือการคนควา

แบบอิสระ//ชื่อสาขา//ชื่อมหาวิทยาลัย.

Page 13: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

วิชัย ศิริอุทยานนท. (2545). ปจจัยสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอหัวใจของผูมีอํานาจซื้อใน

การซื้อกระเบื้องเคลือบดินเผามุงหลังคา ของวัดในจังหวัดเชียงใหม. การคนควาแบบ

อิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สิทธิชัย จึงสกุลรุจิเวช. (2543). การพัฒนาเครือขายอินทราเน็ต: กรณีศึกษาธนาคารกสิกรไทย

จํากัด(มหาชน). การคนควาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม

3.14.5 การสัมภาษณ

ทักษิณ ชินวัตร. นายกรัฐมนตร.ี (2545). สัมภาษณ. 17 สิงหาคม.

ปรีติยาธร เทวกุล, ม.ร.ว. ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย. (2545). สัมภาษณ. 21 เมษายน.

Polsby, Nelson W. Associate Director, Institute of Southeast Asia Study, Comell

University. Interview. 5 June 2002.

สื่อไมตีพิมพ ไดแก โสตทัศนวัสดุประเภท ฟมลภาพยนตร สไลด เทปบันทึกเสียง ฟมลสตริป

ภาพยนตร รายการวิทยุ รายการโทรทัศน วีดีทัศน และแฟมขอมูลคอมพิวเตอร รวมถึงแหงขอมูลใน

อินเตอรเน็ต เปนตน มีรูปแบบการลงรายการแตกตางกันดังรายละเอียด ดังตอไปนี้

3.14.6 สื่อโสตทัศนวัสดุ เชน ซีดี-รอม เทปตลับ วีดิทัศน

สํานักงานสถิติแหงชาติ. (2544). สมุดสถิติรายปประเทศไทย บรรพ 47 2543. [ซีดี-รอม].

กรุงเทพฯ: สํานักงานสถิติแหงชาติ.

Langrod, Georges. (1989). Problems of Freedom and Behavior Modification.

[VideoRecording]. Washington, DC: American Psychological Association.

ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ.//(ปที่พิมพ).//ชื่อวิทยานิพนธ.//ระดับวิทยานิพนธหรือการคนควา

แบบอิสระ//ชื่อสาขา//ชื่อมหาวิทยาลัย.

ชื่อผูผลิต/หรือชื่อบุคคลที่พูด.//(ปที่ผลิต).//ชื่อเรื่อง.//[ประเภทของโสตทัศนวัสด]ุ.//สถานที ่

ผลิต:/หนวยงานที่ผลิตหรือเผยแพร

Page 14: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

3.14.7 ฐานขอมูลออนไลนจากอินเตอรเน็ต (World Wide Web)

“คําแถลงนโยบายรัฐบาลของคณะรัฐมนตรี พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี.”

(2543). [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา

http://www.mof.go.th/social/mof_newgov_policy.htm (26 กุมภาพันธ 2544).

มหาวิยาลัยเชียงใหม. คณะบริหารธุรกิจ. (2545). “รายงานประจําป 2544.” [ระบบออนไลน].

แหลงที่มา http://www.ba.cmu.ac.th/annualreport/index.html

“Cell of the Immune System.” (2002). [Online]. Available http://www.Ingress.com

(12 April 2003).

3.15 การพิมพภาคผนวก

การพิมพภาคผนวกใหพิมพในหนาถัดไปจากภาคเอกสารอางอิง/บรรณานุกรม ถาภาคผนวกมี

ภาคเดียวไมไดแบงออกเปนเปนหลายภาคใหใชเปน “ภาคผนวก ก” โดยพิมพอยูกลางหนากระดาษ

บรรทัดตอมาพิมพชื่อของภาคผนวกโดยเวนจากบรรทัดบน 1 บรรทัดถาภาคผนวกมีหลายภาคใหใช

เปนภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ ตามลําดับ ใหขึ้นหนาใหมเมื่อขึ้นภาคผนวกใหม

3.16 การทําสําเนา

การทําสําเนาใหใชวิธีอัดสําเนาโรเนียว ถายเอกสาร พิมพออฟเซทหรือวิธีอื่นๆ ที่ใหความ

ชัดเจนและถูกตองเชนเดียวกับตนฉบับ ปริญญานิพนธ/โครงการเฉพาะบุคคลทุกเลมที่เสนอสาขาวิชา

ระบบสารสนเทศ ตองมีลายมือชื่อจริงดวยปากกาหมึกซึมสีดําของคณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ

(ในใบรับรองปริญญานิพนธ) ประธาน กรรมการ และอาจารยที่ปรึกษาปริญญานิพนธ (ใบบทคัดยอ)

ชื่อผูเขียน หรือหนวยงานผูรับผิดชอบ.//ปที่บันทึกขอมูล.//“ชื่อเรื่องหรือชื่อบทความ.”

[ระบบออนไลน].//แหลงที่มา ชื่อท่ีอยูของอินเตอรเน็ต//(วัน เดือน ปที่สืบคน)

Page 15: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยางการเวนขอบกระดาษ

3.81 ซม. 2.54

ซม.

3.81 ซม. 2.54 ซม

2.54 ซม.

ขอบดานบนของกระดาษ A4

เลขหนา

หัวกระดาษ

ขอบดานซายของกระดาษ A4

กั้นหนา

ขอบดานลางของกระดาษ A4 ทายกระดาษ

Page 16: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

2.54 ซม.

2.65 ซม.

ชื่อปริญญานิพนธ/โครงการเฉพาะบุคคลภาษาไทย

ชื่อปริญญานิพนธ/โครงการเฉพาะบุคคลภาษาอังกฤษ

กีรติ รักดี

ขจรศักดิ์ เกิดวันดี

คมสัน บุสบา

ปริญญานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร

คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

พ.ศ.2557

ลิขสทิธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

2.54 ซม.

ตัวอยางปกนอก

เวน 2 บรรทัด

TH Sarabun PSK 16 pt

TH Sarabun PSK

20 pt หนา

จัดใหมีระยะหาง กอน-หลัง ช่ือ

ผูทําปริญญานิพนธและโครงการเฉพาะ

บุคคลเทาๆกัน

1.ใหเรียงลําดับชื่อผูทําปริญญานิพนธ

ตามลําดับตัวอักษรไทย

2.ใหจัดตัวอักษรตัวแรกของชื่อและ

นามสกุลรวมกันยาวที่สุดไวกึ่งกลางแลวใช

ตําแหนงของตัวอักษรตัวแรกเปนเกณฑใน

การตั้งแท็บยอหนาเพื่อท่ีจะใชพิมพชื่อ

ผูเขียนที่เหลือ โดยใช TH Sarabun PSK

18 pt ตัวหนา

ชื่อและนามสกลุเวนระยะ

2 ตัวอักษร

ปวส.ใช โครงการเฉพาะบุคคล

ปวส. ใชประกาศนียบตัร

วิชาชีพชั้นสูง

ปที่ปริญญานิพนธเสรจ็สมบูรณ

สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

Page 17: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ชื่อปริญญานิพนธ/โครงการเฉพาะบุคคลภาษาไทย

กีรติ รักด ี

ขจรศักดิ์ เกิดวันดี

คมสัน บุสบา

ปริญญานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร

คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

พ.ศ.2557

ลิขสิทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

ตัวอยางปกใน

TH sarabun PSK

16 pt

1.ใหเรียงลําดับชื่อผูทําปริญญานิพนธ

ตามลําดับตัวอักษรไทย

2.ใหจัดตัวอักษรตัวแรกของชื่อและ

นามสกุลรวมกันยาวที่สุดไวกึ่งกลางแลวใช

ตําแหนงของตัวอักษรตัวแรกเปนเกณฑใน

การตั้งแท็บยอหนาเพื่อท่ีจะใชพิมพชื่อ

ผูเขียนที่เหลือ โดยใช TH Sarabun PSK

18 pt ตัวหนา

2.54 ซม.

Page 18: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ชื่อปริญญานิพนธ/โครงการเฉพาะบุคคลภาษาอังกฤษ

Keratee Rukdee

Kajonsak Kerdwandee

Komson Budsaba

A Report Submitted in Partail Fulfillment of the Requirements for

the Degree of Bachelor of Business Administration Information System

Faculty of Mangment

Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus

2014

Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus

Page 19: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

2.22 ซม.

ใบรับรองปริญญานิพนธ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร 12 pt

เรื่อง//………………………………………………………………….

โดย//คํานําหนา+ชื่อ+นามสกุล

//คํานําหนา+ชื่อ+นามสกุล

12 pt 12 pt

ไดรับการอนุมัติใหเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร 12 pt

คณะกรรมการการสอบปริญญานิพนธ 12 pt

…………………………………………………ประธานกรรมการ ...........................................................กรรมการ

(อาจารย+ชื่อ+นามสกลุ) (อาจารย+ชื่อ+นามสกลุ)

14 pt 14 pt

..........................................................กรรมการ ...........................................................กรรมการ

(อาจารย+ชื่อ+นามสกลุ) (อาจารย+ชื่อ+นามสกลุ) 12 pt.

......................................................................

(อาจารย+ชื่อ+นามสกลุ)

หัวหนาสาขาระบบสารสนเทศ 12 pt

........................................................................

(คํานําหนา+ชื่อ+นามสกลุ)

ดํารงตําแหนง

วัน/เดือน/ป ท่ีปริญญานิพนธเสร็จสมบูรณ

TH Sarabun PSK

18 pt ตัวหนา

TH Sarabun PSK

18 pt ตัวหนา

TH Sarabun PSK

16 pt ตัวหนา

ตัวอยางใบรับรองปริญญานิพนธ

Page 20: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยางบทคัดยอ

ชื่อ กีรติ รักดี

ขจรศักดิ์ เกิดวันดี

คมสัน บุสบา

ชื่อปริญญานิพนธ ……………………………………….

สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

อาจารยที่ปรึกษา อาจารย+ชื่อ+นามสกุล

อาจารย+ชื่อ+นามสกุล

ปที่ปริญญานิพนธสําเร็จ พ.ศ.2557

บทคัดยอ

ปริญญานิพนธครั้งนี้มีจุดประสงค เพื่อ.............................................................................

................................................................................................................................................................

.............................................................................................

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

....................................................................................

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

....................................................................................

(ปริญญานิพนธมจีํานวนทั้งสิ้น........หนา)

_____________________________________ประธานกรรมการที่ปรึกษาปริญญานิพนธ

ปวส.ใช คอมพิวเตอรธุรกิจ

TH Sarabun 18 pt ตัวหนา เวน 2 บรรทัด

เวน 1 บรรทัด

Tap 4 ซม.

Page 21: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยาง Abstract

Project Title ………………………………………..

Processed by Keratee Rukdee

Kajonsak Kerdwandee

Komson Budsaba

Year 2014

Department Information System

Advisor (ชื่ออาจารยที่ปรึกษา)

Abstract

…………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(Total………page)

________________________________________________________________________ Chairperson

Page 22: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยาง

กิตติกรรมประกาศ

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

กีรติ รักดี

ขจรศักดิ์ เกิดวันดี

คมสัน บุสบา

เวนวรรค 1 บรรทดั

เวนวรรค 2 บรรทดั

พิมพช่ือนามสกุลผูเขียนใหชิด แลวใชอักษรตัว

แรกเปนเกณฑในการตั้งแท็บยอหนาในการ

พิมพช่ือของผูเขียนท่ีเหลือ

Page 23: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

สารบัญ เวน 1 บรรทัด

**** หนา บทคัดยอ ค กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง (ถาม)ี ช สารบัญภาพ (ถาม)ี ซ

บทท่ี 1 ชื่อบท

1.1 หัวขอสําคัญ 1.2 หัวขอสําคัญ 1.3 หัวขอสําคัญ

บทท่ี 2 ชื่อบท 2.1 หัวขอสําคัญ 2.2 หัวขอสําคัญ 2.3 หัวขอสําคัญ

บทท่ี 3 ชื่อบท 3.1 หัวขอสําคัญ 3.2 หัวขอสําคัญ 3.3 หัวขอสําคัญ

บทท่ี 4 ชื่อบท 4.1 หัวขอสําคัญ 4.2 หัวขอสําคัญ 4.3 หัวขอสําคัญ

บทท่ี 5 ชื่อบท 5.1 หัวขอสําคัญ 5.2 หัวขอสําคัญ 5.3 หัวขอสําคัญ

บรรณานุกรม ภาคผนวก

ภาคผนวก ก (ถามี) ภาคผนวก ข (ถามี)

ประวัติผูเขียน..................

ความกวางของแถวตั้งเทากับความกวาง

ของเครื่องหมายดอกจันของอักษรแบบ

TH SarabunPSK 16 pt จํานวนสี่ดอก

นั่นคือ ****

กวางเทากับ ***

เลขหนาชิดขอบขวา

สรางตารางดังตัวอยางเมื่อพิมพสารบัญเสร็จเรียบรอยแลวใหทําการซอนตาราง

Page 24: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยาง

สารบัญตาราง เวน 1 บรรทัด

ตารางที ่ หนา 1.1 2 1.2 2 1.3 3 2.1 4 2.2 5 2.3 6 3.1 7 3.2 8 3.3 9 ก.1 101 ก.2 104 ก.3 106 ข.1 107 ข.2 108 ข.3 109

สรางตารางดังตัวอยางเมื่อพิมพสารบัญเสร็จเรียบรอยแลวใหทําการ

ซอนตาราง

Page 25: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยาง

สารบัญภาพ เวน 1 บรรทัด

ภาพที ่ หนา 1.1 2 1.2 2 1.3 3 2.1 4 2.2 5 2.3 6 3.1 7 3.2 8 3.3 9 ก.1 101 ก.2 104 ก.3 106 ข.1 107 ข.2 108 ข.3 109

สรางตารางดังตัวอยางเมื่อพิมพสารบัญเสร็จเรียบรอยแลวใหทําการซอน

ตาราง

Page 26: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยางสวนเนื้อความ

บทท่ี 1

บทนํา /

/

1.1 หลักการและเหตุผล

(เนื้อหา)........................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

/

1.2 วัตถุประสงค

1.2.1 เพื่อ...........

1.2.2 เพื่อ...........

/

1.3 ขอบเขต

1.3.1 ออกแบบและสราง..............

1) ..........................................................

(1) ....................................................

/

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.4.1 …………………………….

จัดกลาง ที่ระยะ 5.08 ซม. ขนาด 20 pt ตัวหนา

เวน 5.08 ซม. จาก

ขอบกระดาษ (เฉพาะ

บทท่ี)

1 ซม.

เวนบรรทัดขนาด 16 pt 2 บรรทัด

1 ซม.

เลขลําดับ 1 ซม.

เลขลําดับ 2 ซม.

เลขลําดับ 2.75 ซม.

Page 27: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

บรรณานุกรม

เวน 1 บรรทัด 16 pt

ขจร สุขพานิช. 2519. ฐานันดรไพร. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน., 2519. บทความวิชาการดาน

เศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง

ประเทศไทย

College bornd senlors, 1979. Princeton, NJ: College Board Publications.

Elliott, H., 1985. Public personel administration: A value perspective. Reston, VA:

Reston Publishilg

1.27 ซม.

เรียงพยัญชนะ ก-ฮ และ A-Z

Page 28: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยางภาคผนวก

ภาคผนวก

Page 29: บทที่ 3 การพิมพ ปริญญานิพนธfmt.surin.rmuti.ac.th/research/research/download/templet.pdf · 3.8.4 การเว นระยะการพิมพ

ตัวอยาง

ประวัติผูเขียน

ชื่อ-นามสกุล นาย/นางสาว

วัน-เดือน-ป 8 กุมภาพันธ 2519

ที่อยู 111 หมู 1 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร 32000

ประวัติการศึกษา ปวส. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

ป.ตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

Tap ที่ 4 ซม.

2 นิ้ว