21
7-1 หน่วยที7 องค์ประกอบภายในของความรับผิดทางละเมิด อาจารย์วรนารี สิงห์โต

หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-1

หน่วยที่7

องค์ประกอบภายในของความรับผิดทางละเมิด

อาจารย์วรนารีสิงห์โต

Page 2: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-2

7.1.2 ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย “ประมาท

เลินเล่อ”

7.2.1 ความ หมาย ของ “ความ รับ ผิด เด็ด ขาด

(Strict Liability)”

7.2.2 ความ สัมพันธ์ ระหว่าง ความ รับ ผิด เด็ด ขาด

และ การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ

องค์ ประกอบ

ภายใน ของ

ความ รับ ผิด

ทาง ละเมิด

7.1 การก ระ ทำ โดย

จงใจ หรือ ประมาท

เลินเล่อ

7.2 ความ รับ ผิด

เด็ด ขาด

(Strict Liability)

7.1.1 ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย “จงใจ”

แผนผังแนวคิดหน่วยที่7

Page 3: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-3

หน่วยที่7

องค์ประกอบภายในของความรับผิดทางละเมิด

เค้าโครงเนื้อหาตอน ที่ 7.1 การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ

7.1.1 ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย “จงใจ”

7.1.2 ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ”

ตอน ที่ 7.2 ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability)

7.2.1 ความ หมาย ของ “ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability)”

7.2.2 ความ สัมพันธ์ ระหว่าง ความ รับ ผิด เด็ด ขาด และ การก ระ ทำ โดย จงใจหรือ ประมาท

เลินเล่อ

แนวคิด1. มาตรา 420 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ กำหนด ว่า ผู้ ใด จงใจ หรือ ประมาท

เลินเล่อ ทำ ต่อ บุคคล อื่น โดย ผิด กฎหมาย ให้ เขา เสีย หาย ถึงแก่ ชีวิต ก็ ดี แก่ ร่างกาย ก็ ดี

อนามัย ก็ ดี เสรีภาพ ก็ ดี ทรัพย์สิน หรือ สิทธิ อย่าง หนึ่ง อย่าง ใด ก็ ดี ท่าน ว่า ผู้ นั้น ทำ ละเมิด

จำ ต้อง ใช้ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ นั้น ซึ่ง ใน ที่ นี้ จะ กล่าว ถึง เฉพาะ องค์ ประกอบ ภายใน

ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด โดย บุคคล จะ รับ ผิด ทาง ละเมิด เมื่อ กระทำ โดย จงใจ หรือ

ประมาท เลินเล่อ ซึ่ง ทฤษฎี ความ รับ ผิด อาจ แบ่ง ประเภท ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด ได้ เป็น

2 ประเภท คือ

(ก) ความ รับ ผิด ที่ ต้องการ ความ ผิด (Subjective Responsibility) เป็น กรณี ที่ ผู้ กระทำ

จะ มี ความ รับ ผิด เพื่อ ละเมิด ต่อเมื่อ มี ความ ผิด ของ ผู้ กระทำ ละเมิด (Fault) คือ มี

ความ จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ อย่าง ใด อย่าง หนึ่ง เมื่อ ประกอบ กับ องค์ ประ กอ บอื่นๆ

อันเป็น ละเมิด แล้ว ผู้ กระทำ ละเมิด จึง จะ ต้อง รับ ผิด

(ข) ความ รับ ผิด ที่ ไม่ ต้องการ ความ ผิด (Objective Responsibility) เป็น กรณ ีที่ ผู้ กระทำ

ม ีความ รบั ผดิ โดย ไม ่ตอ้ง พจิารณา วา่ ผู ้กระทำ ม ีความ จงใจ หรอื ประมาท เลนิเลอ่ หรอื ไม ่

บาง ครั้ง เรียก ความ รับ ผิด ประเภท นี้ ว่า ความ รับ ผิด ตาม ข้อ สันนิษฐาน ของ กฎหมาย

ตาม ทฤษฎี ข้อ สันนิษฐาน ความ ผิด (Theory of Presumed Fault)

Page 4: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-4

2. ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) มี ลักษณะ คล้าย กับ ทฤษฎีข้อ สันนิษฐาน

ความ ผิด (Theory of Presumed Fault) เนื่องจาก เป็น แนวคิด เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด ทาง

แพ่ง ของ ผู้ ที่ ก่อ ให้ เกิด ความ เสีย หาย โดย ไม่ ต้อง พิจารณา ความ ผิด หรือ เจตนา ภายใน จิตใจ

ที่ แสดงออก มา ใน รูป ของ การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ แต่ จะ พิจารณา เพียง ว่า

ผู้ กระทำ จะ ต้อง รับ ผิด หาก การก ระ ทำ ดัง กล่าว มี ความ สัมพันธ์ กับ ผล เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา หน่วย ที่ 7 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

1. อธิบาย ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ ใน ฐานะ องค์ ประกอบ

ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด ได้

2. อธิบาย และ วิเคราะห์ เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) ได้

กิจกรรม1. กิจกรรม การ เรียน

1) ศึกษา แผนผัง แนวคิด หน่วย ที่ 7

2) อ่าน แผนการ สอน ประจำ หน่วย ที่ 7

3) ทำ แบบ ประเมิน ผล ตนเอง ก่อน เรียน หน่วย ที่ 7

4) ศึกษา เนื้อหา สาระ

5) ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

6) ตรวจ สอบ กิจกรรม จาก แนว ตอบ

7) ทำ แบบ ประเมิน ผล ตนเอง หลัง เรียน หน่วย ที่ 7

2. งาน ที่ กำหนด ให้ ทำ

1) ทำ แบบ ฝึกหัด ทุก ข้อ ที่ กำหนด ให้ ทำ

2) อ่าน เอกสาร เพิ่ม เติม จาก บรรณานุกรม

Page 5: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-5

แหล่งวิทยาการ1. สื่อ การ ศึกษา

1) แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 7

2) หนังสือ ประกอบ การ สอน

2.1) จิ๊ด เศรษฐ บุตร (2545) หลักกฎหมายแพ่งลักษณะละเมิด โครงการ ตำรา และ

เอกสาร ประกอบ การ สอน คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พิมพ์

ครั้ง ที่ 4 กรุงเทพมหานคร

2.2) ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ (2546) คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ลักษณะละเมิด สำนัก พิมพ์ นิติ บรรณาการ พิมพ์ ครั้ง ที่ 10 กรุงเทพมหานคร

2.3) ศนนั ทก์รณ ์โสตถ ิพนัธุ ์(2550) คำอธบิายกฎหมายลกัษณะละเมดิจดัการงาน

นอกสั่งลาภมิควรได้สำนัก พิมพ์ วิญญูชน กรุงเทพมหานคร

2.4) สุษม ศุภ นิตย์ (2551) คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย

ละเมิด สำนัก พิมพ์ นิติ บรรณ การ กรุงเทพมหานคร

2. หนังสือ ตาม ที่ อ้าง ไว้ ใน บรรณานุกรม

การประเมินผลการเรียน1. ประเมิน ผล จาก การ สัมมนา เสริม และ งาน ที่ กำหนด ให้ ทำ ใน แผน กิจกรรม

2. ประเมิน ผล จาก การ สอบไล่ ประจำ ภาค การ ศึกษา

Page 6: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-6

แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนวัตถุประสงค ์ เพื่อ ประเมิน ความ รู้ เดิม ใน การ เรียน รู้ ของ นักศึกษา เกี่ยว กับ เรื่อง “องค์ ประกอบ ภายใน ของ

ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด”

คำแนะนำ อ่าน คำถาม แล้ว เขียน คำ ตอบ ลง ใน ช่อง ว่าง นักศึกษา มี เวลา ทำ แบบ ประเมิน ชุด นี้ 30 นาที

1. จง อธิบาย ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย “จงใจ” และ การก ระ ทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ”

2. ท่าน เข้าใจ เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) อย่างไร โปรด อธิบาย

Page 7: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-7

ตอนที่7.1

การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 7.1 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่องที่ 7.1.1 ความหมายของการกระทำโดย “จงใจ”

เรื่องที่ 7.1.2 ความหมายของการกระทำโดย “ประมาทเลินเล่อ”

แนวคิด1. ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด ใน ฐานะ ความ รับ ผิด ทาง แพ่ง จะ มี ความ รับ ผิด ได้ ต้อง มี ความ ผิด

(Fault) ตาม หลัก ไม่มี ความ รับ ผิด โดย ไม่มี ความ ผิด (No Liability without Fault)

โดย ใน ส่วน ของ การ พิจารณา ความ ผิด (Fault) ต้อง พิจารณา จาก การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ

ประมาท เลินเล่อ อัน เป็น องค์ ประกอบ ภายใน ของ บุคคล

2. การก ระ ทำ โดย “จงใจ” นั้น ผู้ กระทำ ต้อง รู้ สำนึก ถึง ผล หรือ ความ เสีย หาย ที่ จะ เกิด จาก การ

ก ระ ทำ ของ ตน

3. กระทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ” ผู้ กระทำ ต้อง มิได้ จงใจ ให้ ผู้ อื่น เสีย หาย แต่ ไม่ ใช้ ความ

ระมัดระวัง ซึ่ง บุคคล ใน ภาวะ เช่น นั้น จัก ต้อง มี ตาม วิสัย และ พฤติการณ์

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 7.1 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

1. อธิบาย และ วิเคราะห์ การก ระ ทำ โดย “จงใจ” ได้

2. อธิบาย และ วิเคราะห์ การก ระ ทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ” ได้

Page 8: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-8

เรื่องที่7.1.1ความหมายของการกระทำโดย“จงใจ”

สาระสังเขปบุคคล ต้อง รับ ผิด ทาง ละเมิด ตาม มาตรา 420 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ เมื่อ กระทำ โดย

จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ ซึ่ง เป็นการ พิจารณา ใน ส่วน ของ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด

ศาสตราจารย์ จิต ติ ติง ศภัทิย์ ได้ อธิบาย ความ หมาย ของ คำ ว่า “จงใจ” หมาย ถึง รู้ สำนึก ถึง ผล หรือ ความ เสีย

หาย ที่ จะ เกิด จาก การก ระ ทำ ของ ตน ถ้า รู้ ว่า จะ เกิด ความ เสีย หาย แก่ เขา แล้ว ก็ เป็น จงใจ และ รอง ศาสตราจารย์

ดร.ศ นันท์ กรณ์ โสตถิ พันธุ์ ได้ อธิบาย ว่าการก ระ ทำ โดย “จงใจ” หมาย ถึง บุคคล ที่ ทำ ละเมิด นั้น มุ่ง หมาย ที่ จะ

ก่อ ความ เสีย หาย ให้ บุคคล อื่น ด้วย การก ระ ทำ ของ ตน ซึ่ง การ “รู้” ว่าทำให้ เขา เสีย หาย นั้น ศาสตราจารย์ เสนีย์

ปราโมช กล่าว ว่า อาจ เป็น ได้ ทั้ง มุ่ง หมาย ให้ เป็น เช่น นั้น (ประสงค์ ต่อ ผล) รวม ทั้ง คาด หมาย ได้ ว่า ผล เสีย หาย

นั้น จะ เกิด ขึ้น (เล็ง เห็น ผล)

ดัง นั้น อาจ กล่าว ได้ ว่า คำ ว่า “จงใจ” มี สอง ความ หมาย คือ ตั้งใจ ทำให้ คน อื่น เสีย หาย หรือ รู้ ว่า ทำให้

คน อื่น เสีย หาย ซึ่ง ใน กรณี หลัง อาจ หมายความ ว่า ไม่ ได้ ตั้งใจ ทำให้ คน อื่น เสีย หาย แต่ รู้ ว่าการ กระทำ ของ ตน จะ

ก่อ ความ เสีย หาย แก่ คน อื่น อนึ่ง แม้ว่า การก ระ ทำ โดย จงใจ จะ เป็น องค์ ประกอบ ภายใน ลักษณะ เดียว กับ การ

ก ระ ทำ โดย เจตนา ใน ทาง อาญา แต่ จงใจ ใน ทาง แพ่ง มี ความ แตก ต่าง จาก เจตนา ใน ทาง อาญา เนื่องจาก เจตนา

ใน ทาง อาญา นั้น กำหนด ไว้ สำหรับ ความ ผิด แต่ละ ประเภท แต่ ใน กรณี กระทำ ละเมิด แม้ ไม่ เจตนา แต่ รู้ ว่าการ

กระทำ นั้น อาจ ก่อ ความ เสีย หาย ให้ แก่ บุคคล อื่น ก็ เป็นการ กระทำ โดย จงใจ ใน ทาง แพ่ง แล้ว ดัง นั้น จงใจ ใน ทาง

แพ่ง จึง มี ความ หมายก ว้าง กว่า เจตนา ใน ทาง อาญา

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในหนังสือคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ลักษณะละเมิดโดยศาสตราจารย์ไพจิตรปุญญพันธุ์;และคำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด

จัดการงานนอกสั่งลาภมิควรได้โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์โสตถิพันธุ์)

กิจกรรม7.1.1

ท่านเข้าใจความหมายของการกระทำโดย “จงใจ” อย่างไร โปรดอธิบาย

Page 9: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-9

บันทึกคำตอบกิจกรรม7.1.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่7ตอนที่7.1กิจกรรม7.1.1)

Page 10: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-10

เรื่องที่7.1.2ความหมายของการกระทำโดย“ประมาทเลินเล่อ”

สาระสังเขปรอง ศาสตราจารย์ ดร.ศ นันท์ กรณ์ โสตถิ พันธุ์ ได้ อธิบาย ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย “ประมาท

เลินเล่อ” หมาย ถึง บุคคล ที่ ทำ ละเมิด นั้น มิได้ ตั้งใจ หรือ มุ่ง หมาย ให้ เขา เสีย หาย คือ มิได้ ตั้งใจ ต่อ ผล หรือ

ไม่ เล็ง เห็น ผล แต่ ทำ ไป โดย ขาด ความ ระมัดระวัง จึง อาจ กล่าว ได้ ว่า ความ เสีย หาย เกิด เพราะ ความ เลินเล่อ

กล่าว คือ ไม่ ใช้ ความ ระมัดระวัง ซึ่ง บุคคล ใน ภาวะ เช่น นั้น ต้อง มี ตาม วิสัย และ พฤติการณ์ หรือ อาจ พิจารณา

ความ ประมาท เลินเล่อ ออก เป็น สอง ด้าน คือ

1.ความประมาทเลินเล่อในด้านอัตวิสัย หมาย ถึง การก ระ ทำ โดย ไม่ รอบคอบ ไม่ เชี่ยวชาญ สะเพร่า

ซึ่ง เป็น ด้าน ที่ เกี่ยว กับ ตัว ผู้กระทำ โดยตรง

2.ความประมาทเลินเล่อในด้านภาวะวิสัย หมาย ถึง การ ไม่ เคารพ กฎหมาย กฎ เกณฑ์ ข้อ บังคับ

คำ สั่ง หรือ ระเบียบ

การ พิจารณา ความ ประมาท เลินเล่อ มิได้ พิจารณา เทียบ เคียง กับ วิญญูชน เนื่องจาก ใน เรื่อง ละเมิด

นั้น บุคคล ที่ ก่อ ให้ เกิด ความ เสีย หาย อาจ เป็น ผู้ เยาว์ ผู้ ไร้ ความ สามารถ ผู้ สูง อายุ ซึ่ง โดย หลัก ความ รู้ ความ คิด

สติ ปัญญา อาจ ต่ำ กว่า คน ระดับ ปาน กลาง หรือ วิญญูชน หรือ ผู้ ประกอบ วิชาชีพ อาจ มี ความ รู้ ความ คิด หรือ

สติ ปัญญา สูง กว่า วิญญูชน ทำให้ การ ใช้ วิญญูชน เป็น มาตรฐาน อาจ ไม่ เหมาะ สม แต่ จะ พิจารณา จาก มาตรฐาน

ของ บุคคล ใน ลักษณะ เดียวกัน ที่ อยู่ ใน ภาวะ เช่น นั้น ซึ่ง ต้อง มี ตาม วิสัย และ พฤติการณ์

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในหนังสือคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ลักษณะละเมิดโดยศาสตราจารย์ไพจิตรปุญญพันธุ์;และคำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด

จัดการงานนอกสั่งลาภมิควรได้โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์โสตถิพันธุ์)

กิจกรรม7.1.2

ท่านเข้าใจความหมายของการกระทำโดย “ประมาทเลินเล่อ” อย่างไร โปรดอธิบาย

Page 11: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-11

บันทึกคำตอบกิจกรรม7.1.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่7ตอนที่7.1กิจกรรม7.1.2)

Page 12: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-12

ตอนที่7.2

ความรับผิดเด็ดขาด(StrictLiability)

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 7.2 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่องที่ 7.2.1 ความหมายของ “ความรับผิดเด็ดขาด (Strict Liability)”

เรื่องที่ 7.2.2 ความสมัพนัธร์ะหวา่งความรบัผดิเดด็ขาดและการกระทำโดยจงใจหรอืประมาท

เลินเล่อ

แนวคิด1. ทฤษฎี ทาง กฎหมาย เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด ที่ สำคัญ มี อยู่ 4 ทฤษฎี ได้แก่

(ก) ทฤษฎี ความ รับ ผิด เพื่อ ความ เสีย หาย มี พื้น ฐาน มา จาก การ คุ้มครอง สิทธิ ของ บุคคล

ใน อัน ที่ จะ ไม่ ถูก ทำให้ เสีย หาย ทั้ง ใน ส่วน สิทธิ ทาง อาญา และ สิทธิ ทาง แพ่ง ความ

เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น ย่อม จะ ต้อง มี ผู้ ชดใช้ ความ เสีย หาย อนึ่ง แนวคิด เกี่ยว กับ ความ

รับ ผิด ทาง แพ่ง เป็น แนวคิด เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด ของ บุคคล ใน ยุค แรกๆ จึง ไม่ พิจารณา

ถึง ความ นึกคิด ภายใน จิตใจ ของ ผู้ กระทำ หรือการ ขาด ความ ระมัดระวัง ใน การก ระ ทำ

ของ ผู้กระทำ ความ สำคัญ ของ แนว ความ คิด นี้ มี อยู่ แต่ เพียง ว่า เมื่อ มี ความ เสีย หาย เกิด

ขึ้น แล้ว และ สามารถ ที่ จะ ทราบ ตัวผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ผู้ นั้น ก็ ต้อง รับ ผิด ใน ความ เสีย

หาย ที่ ตน ก่อ ขึ้น ทั้ง สิ้น

(ข) ทฤษฎี ความ ผิด (Theory of Fault) หรือ ความ รับ ผิด ที่ อยู่ บน พื้น ฐาน ของ ความ ผิด

(Liability Based on Fault) เป็น แนวคิด ที่ ได้ รับ การ พัฒนา ต่อ มา จาก ทฤษฎี ความ

รับ ผิด เพื่อ ความ เสีย หาย โดย สำนัก กฎหมาย ธรรมชาติ เห็น ว่า สิทธิ เสรีภาพ ใน ความ

เป็น ตัว ตน ของ มนุษย์ รวม ถึง ทรัพย์สิน ควร ได้ รับ การ ยอมรับ ดัง นั้น ใน การ ล่วง ละเมิด

ต่อ สิทธิ ของ บุคคล ควร จะ ได้ รับ การ พิสูจน์ อย่าง เป็น ธรรม ผู้ ที่ ได้ รับ การก ล่า วหา ว่า เป็น

ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย จะ ต้อง เป็น ผู้ ที่ ถูกพิสูจน์ แล้ว ว่า เป็น ผู้ มี “ความ ผิด” (Fault)

(ค) ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) เป็น ทฤษฎี ที่ พัฒนา ขึ้น ใน ยุค ปฏิวัติ

อุตสาหกรรม ช่วง ปลาย ศตวรรษ ที่ 19 โดย การ พิจารณา ความ รับ ผิด ของ ผู้ ก่อ ความ

เสีย หาย ไม่ จำ ต้อง พิจารณา ถึง ความ รู้สึก นึกคิด ภายใน ใจ ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ว่า มี

เจตนา (Intention) หรือ ไม่ อย่างไร ก็ตาม Saleilles ซึ่ง เป็น ผู้ ให้ กำเนิด ทฤษฎี รับ ภัย

(théorie du risque) เห็น ว่า บุคคล จะ ต้อง รับ ผิด โดย เด็ด ขาด เมื่อ ปรากฏ ว่า ความ

Page 13: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-13

เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น นั้น เป็น ผล อัน เนื่อง มา จาก การก ระ ทำ ของ ตน โดย ไม่ ต้อง พิจารณา

ว่า ผู้ นั้น จะ มี ความ ผิด หรือ ไม่ ซึ่ง มี แนวคิด เดียว กับ ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict

Liability) ดัง นั้น จึง อาจ ศึกษา ทฤษฎี รับ ภัย ซึ่ง อธิบาย ไว้ ตาม ตำรา ของ ศ.ดร. จิ๊ด

เศรษฐ บุตร เพิ่ม เติม ได้ นอกจาก นี้ ยัง มี นัก นิติศาสตร์ บาง ท่าน เรียก ชื่อ ทฤษฎี ความ

รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) แตก ต่าง กัน ออก ไป เช่น ทฤษฎี ความ รับ ผิด โดย

ไม่มี ความ ผิด (Liability without Fault) หรือ ทฤษฎี ความ รับ ผิด โดย สมบูรณ์

(Absolute Liability)

(ง) ทฤษฎี ข้อ สันนิษฐาน ความ ผิด (Theory of Presumed Fault) เป็น แนวคิด เกี่ยว กับ

ความ รับ ผิด ทาง แพ่ง ที่ กำหนด ให้ เกิด ข้อ สันนิษฐาน ความ ผิด (Presumed Fault) เพื่อ

ลด ภาระ ของ ผู้ เสีย หาย ใน การ พิสูจน์ “ความ ผิด” ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย เนื่องจาก

ความ นึกคิด ภายใน ใจ ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย เป็น เรื่อง ที่ ยาก จะ หยั่ง ทราบ หรือ พิสูจน์

ให ้เหน็ ได ้วา่ ม ีมุง่ หมาย ตอ่ ผล แหง่ ความ เสยี หาย นัน้ หรอื ขาด ความ ระมดัระวงั กฎหมาย

ถือว่า ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย มี ความ ผิด แต่ ก็ ถือว่า เป็น เพียง ข้อ สันนิษฐาน เท่านั้น ผู้ ก่อ

ความ เสีย หาย ยัง สามารถ ที่ จะ แสดง ให้ ประจักษ์ ได้ ว่า ตน มิได้ มี “ความ ผิด” กล่าว คือ

มิได้ มี ความ จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ นั่นเอง

2. ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) เป็น แนวคิด เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด ของ

ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย โดย ไม่ ต้อง พิจารณา ถึง เจตนา ภายใน จิตใจ ของ ผู้ กระทำ แต่ อย่าง ใด

คง แต ่พจิารณา เพยีง วา่ ความ เสยี หาย ดงั กลา่ว เปน็ ผล จาก การก ระ ทำ ของ ผู ้กอ่ ความ เสยี หาย

เท่านั้น ดัง นั้น การ พิสูจน์ เจตนา ภายใน จิตใจ ที่ แสดงออก มา ใน รูป ของ การก ระ ทำ โดย จงใจ

หรือ ประมาท เลินเล่อ จึง ไม่ นำ มา ใช้ ใน กรณี ของ ความ รับ ผิด เด็ด ขาด

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 7.2 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

1. อธิบาย และ วิเคราะห์ เกี่ยว กับ ความ รับ ผิด เด็ด ขาด ได้

2. อธิบาย และ วิเคราะห์ เกี่ยว กับ ความ สัมพันธ์ ระหว่าง ความ รับ ผิด เด็ด ขาด และ การก ระ ทำ

โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อได้

Page 14: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-14

เรื่องที่7.2.1ความหมายของ“ความรับผิดเด็ดขาด(Strict

Liability)”1

สาระสังเขปทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) มี พัฒนาการ จาก ยุค ปฏิวัติ อุตสาหกรรม ราว ศตวรรษ

ที่ 19 โดยเหตุที่มีความยากใน การ พิสูจน์ ถึง “ความ ผิด” ของ ผู้ ประกอบ การ เจ้าของ โรงงาน หรือ ผู้ ผลิต สินค้า

ต่อ การ บาด เจ็บ อัน เกิด จาก การ ทำงาน ซึ่ง เป็น ผล มา จาก การ ควบคุม เครื่องจักร กล ใน โรงงาน หรือ การ บาด เจ็บ

อัน เนื่อง มา จาก ทรัพย์ ที่ ก่อ ให้ เกิด อันตราย ที่ มี อยู่ ทั่วไป ใน สังคม เนื่องจาก ลำพัง แต่ ตัว ทรัพย์ ที่ ก่อ ให้ เกิด ความ

เสีย หาย นั้น เอง ยัง ไม่ สามารถ ที่ จะ บ่ง บอก ให้ เห็น ได้ อย่าง ชัดเจน ว่า ผู้ ประกอบ การ เจ้าของ โรงงาน หรือ ผู้ ผลิต

สินค้า มี ความ มุ่ง หมาย ต่อ ผล เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น นั้น หรือ ขาด ความ ระมัดระวัง อัน ควร ที่ จะ ป้องกัน ผล เสีย หาย ที ่

จะ เกิด ขึ้น อีก ทั้ง ความ ซับ ซ้อน ของ เครื่องจักร กล กลาย เป็น ปัญหา สำคัญ ใน การ พิสูจน์ ความ เชื่อม โยง ระหว่าง

ความ เสีย หาย และ สาเหตุ ของ ความ เสีย หาย ดัง นั้น สำนัก กฎหมาย บ้าน เมือง จึง มี แนวคิด ว่า รัฐ ควร จะ เข้า มา มี

สว่น ชว่ย ใน การ ปกปอ้ง ผู ้ที ่อยู ่ใน สภาวะ ทาง สงัคม ที ่ดอ้ย กวา่ โดย รฐั ตอ้ง เขา้ มา แทรกแซง กจิกรรม ทาง เศรษฐกจิ

รวม ถึง แนวคิด ใน ทาง กฎหมาย ควร จะ เปลี่ยนแปลง ไป เพื่อ ให้ ผู้ ที่ ด้อย กว่า ได้ รับ ความ เป็น ธรรม ใน สังคม โดย

ใน การ พิจารณา ความ รับ ผิด ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ไม่ จำ ต้อง พิจารณา ถึง ความ ใน ใจ ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ว่า

มี เจตนา (Intention) หรือ ไม่ แต่ พิจารณา เฉพาะ ว่า ความ เสีย หาย เป็น ผล ของ การก ระ ทำ หรือ ไม่ เท่านั้น

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในหนังสือหลักกฎหมายแพ่งลักษณะละเมิดโดยศาสตราจารย์

ดร.จิ๊ดเศรษฐบุตร;และคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิดโดย

รองศาสตราจารย์สุษมศุภนิตย์)

กิจกรรม7.2.1

ท่านเข้าใจความหมายของ “ความรับผิดเด็ดขาด” อย่างไร โปรดอธิบาย

1 นักนิติศาสตร์บางท่าน เรียก “Strict Liability” อีกชื่อหนึ่งว่า “ความรับผิดโดยเคร่งครัด”

Page 15: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-15

บันทึกคำตอบกิจกรรม7.2.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่7ตอนที่7.2กิจกรรม7.2.1)

Page 16: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-16

เรื่องที่7.2.2ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดเด็ดขาด

และการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ

สาระสังเขปทฤษฎ ีความ รบั ผดิ เดด็ ขาด พจิารณา เฉพาะ ความ เสยี หาย เปน็ ผล ของ การก ระ ทำ หรอื ไม ่เทา่นัน้ จงึ อาจ

เรียก ทฤษฎี ดัง กล่าว ได้ ใน อีก ชื่อ หนึ่ง ว่า ทฤษฎีภาวะวิสัย(ObjectiveTheory) ซึ่ง จะ พิจารณา จาก ผล เสีย หาย

ที่ เกิด ขึ้น ตรง ข้าม กับ ทฤษฎีอัตวิสัย (SubjectiveTheory) ที่ พิจารณา ความ รับ ผิด จาก ความ นึกคิด ภายใน

ของ ตัวผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ว่า มุ่ง หมาย ต่อ ผล แห่ง ความ เสีย หาย นั้น หรือ ไม่ หรือ ขาด ความ ระมัดระวัง อัน ควร

หรือ ไม่ ดัง นั้น หลัก เกณฑ์ ใน การ พิจารณา ความ รับ ผิด ของ บุคคล คง เหลือ พิจารณา อยู่ เพียง 2 ประการ เท่านั้น

คือ มี ความ เสีย หาย เกิด ขึ้น และ มี ความ สัมพันธ์ ระหว่าง การก ระ ทำ และ ผล ของ การก ระ ทำ หรือ ไม่ โดย ไม่ ต้อง

พิจารณา ว่า ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย กระทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ หรือ ไม่ อย่างไร ก็ตาม แม้ว่า ทฤษฎี ความ

รับ ผิด เด็ด ขาด อาจ สร้าง ความ เป็น ธรรม ให้ เกิด ขึ้น ใน สังคม ยุค นั้น แต่ ก็ มี ข้อ โต้ แย้ง บาง ประการ เกี่ยว กับ การ

ชดใช้ ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จาก ความ รับ ผิด ทาง แพ่ง เนื่องจาก เป็นการ บังคับ ให้ ชดใช้ ความ เสีย หาย เอา กับ

ตัว ทรัพย์ มิใช่ เป็นการ ลงโทษ ที่ มุ่ง บังคับ เอา กับ ตัว บุคคล ดัง นั้น การ พิจารณา ถึง ความ รับ ผิด ของ บุคคล จึง ควร

ต้อง พิจารณา จาก การก ระ ทำ ของ บุคคล ที่ มี ต่อ อีก บุคคล หนึ่ง นั้น ว่า เป็น “ความ ผิด” ซึ่ง แสดงออก มา ใน รูป ของ

การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ หรือ ไม่

ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด อาจ มี ทั้ง ข้อ สนับสนุน และ ข้อ โต้ แย้ง แต่ ก็ ไม่ อาจ ปฏิเสธ ได้ ว่า

ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด เข้า มา มี บทบาท อย่าง มาก ใน เรื่อง ความ รับ ผิด ของ บุคคล อัน เกิด จาก ทรัพย์

เช่น มาตรา 437 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ กำหนด ให้ ผู้ ครอบ ครอง หรือ ควบคุม ดูแล

ยาน พาหนะ อย่าง ใดๆ อัน เดิน ด้วย กำลัง เครื่องจักร กล ต้อง รับ ผิด ชอบ เพื่อ การ เสีย หาย อัน เกิด แต่ ยาน พาหนะ

นั้น เว้น แต่ จะ พิสูจน์ ได้ ว่าการ เสีย หาย นั้น เกิด แต่ เหตุสุดวิสัย หรือ เกิด เพราะ ความ ผิด ของ ผู้ ต้องเสีย หาย

นั้น เอง รวม ถึง ความ รับ ผิด ของ ผู้ มี ไว้ ใน ครอบ ครอง ซึ่ง ทรัพย์ อัน เป็น ของ เกิด อันตราย ได้ โดย สภาพหรือ โดย

ความ มุ่ง หมาย ที่ จะ ใช้ หรือ โดย อาการ กลไก ของ ทรัพย์ นั้น ด้วย ซึ่ง ผู้ ก่อ ความ เสียหาย ต้อง รับ ผิด โดย ปราศจาก

ข้อ พิสูจน์ ใดๆ ใน ความ เสีย หาย ที่ เกิด จาก ทรัพย์ ของ ตน เว้น แต่ จะ เป็นเหตุสุดวิสัย หรือ เป็น เพราะ ความ ผิด

ของ ผู้ เสีย หาย เอง ซึ่ง มัก เป็น ข้อ ยกเว้น ใน ความ รับ ผิด ของผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ใน ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด

ตาม ปกติ

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในหนังสือหลักกฎหมายแพ่งลักษณะละเมิดโดยศาสตราจารย์

ดร.จิ๊ดเศรษฐบุตร;และคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด

โดยรองศาสตราจารย์สุษมศุภนิตย์)

Page 17: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-17

กิจกรรม7.2.2

ท่านเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดเด็ดขาดและการกระทำโดยจงใจหรือประมาท

เลินเล่ออย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำตอบกิจกรรม7.2.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่7ตอนที่7.2กิจกรรม7.2.2)

Page 18: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-18

แนวตอบกิจกรรมหน่วยที่7

องค์ประกอบภายในของความรับผิดทางละเมิด

ตอนที่7.1การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ

แนวตอบกิจกรรม7.1.1

คำ ว่า “จงใจ” มี สอง ความ หมาย คือ ตั้งใจ ทำให้ คน อื่น เสีย หาย หรือ รู้ ว่า ทำให้ คน อื่น เสีย หาย ซึ่ง ใน

กรณี หลัง อาจ หมายความ ว่า ไม่ ได้ ตั้งใจ ทำให้ คน อื่น เสีย หาย แต่ รู้ ว่าการ กระทำ ของ ตน จะ ก่อ ความ เสีย หาย

แก่ คน อื่น

แนวตอบกิจกรรม7.1.2

การก ระ ทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ” หมาย ถึง บุคคล ที่ ทำ ละเมิด นั้น มิได้ ตั้งใจ หรือ มุ่ง หมาย ให้ เขา

เสีย หาย แต่ ทำ ไป โดย ขาด ความ ระมัดระวัง และ ความ เสีย หาย เกิด เพราะ ความ เลินเล่อ กล่าว คือ ไม่ ใช้ ความ

ระมัดระวัง ซึ่ง บุคคล ใน ภาวะ เช่น นั้น ต้อง มี ตาม วิสัย และ พฤติการณ์ หรือ อาจ พิจารณา ความ ประมาท เลินเล่อ

ออก เป็น สอง ด้าน คือ

1. ใน ด้าน อัต วิสัย คือ การก ระ ทำ โดย ไม่ รอบคอบ ไม่ เชี่ยวชาญ สะเพร่า ซึ่ง เป็น ด้าน ที่ เกี่ยว กับ ตัว คน

ทำ โดยตรง

2. ใน ด้าน ภาวะ วิสัย คือ การ ไม่ เคารพ กฎหมาย กฎ เกณฑ์ ข้อ บังคับ คำ สั่ง หรือ ระเบียบ

ตอนที่7.2ความรับผิดเด็ดขาด

แนวตอบกิจกรรม7.2.1

ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) มี แนวคิด ใน การ พิจารณา ความ รับ ผิด ของ ผู้ ก่อ ความ

เสยี หาย วา่ ไม ่จำ ตอ้ง พจิารณา ถงึ ความ ใน ใจ ของ ผู ้กอ่ ความ เสยี หาย วา่ ม ีเจตนา (Intention) หรอื ไม ่แต ่พจิารณา

เฉพาะ ว่า ความ เสีย หาย เป็น ผล ของ การก ระ ทำ หรือ ไม่ เท่านั้น

Page 19: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-19

แนวตอบกิจกรรม7.2.2

ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด พิจารณา เฉพาะ ความ เสีย หาย เป็น ผล ของ การก ระ ทำ หรือ ไม่ เท่านั้น จึง

อาจ เรียก ทฤษฎี ดัง กล่าว ได้ ใน อีก ชื่อ หนึ่ง ว่า ทฤษฎี ภาวะ วิสัย (Objective Theory) ซึ่ง จะ พิจารณา จาก ผล

เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น ตรง ข้าม กับ ทฤษฎี อัต วิสัย (Subjective Theory) ที่ พิจารณา ความ รับ ผิด จาก ความ นึกคิด

ภายใน ของ ตัวผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ว่า มุ่ง หมาย ต่อ ผล แห่ง ความ เสีย หาย นั้น หรือ ไม่ หรือ ขาด ความ ระมัดระวัง

อัน ควร หรือ ไม่ ดัง นั้น หลัก เกณฑ์ ใน การ พิจารณา ความ รับ ผิด ของ บุคคล คง เหลือ พิจารณา อยู่ เพียง 2 ประการ

เท่านั้น คือ มี ความ เสีย หาย เกิด ขึ้น และ มี ความ สัมพันธ์ ระหว่าง การก ระ ทำ และ ผล ของ การก ระ ทำ หรือ ไม่ โดย

มิได้ พิจารณา ว่า ผู้ กระทำ จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ หรือ ไม่

Page 20: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-20

แบบประเมินผลตนเองหลังเรียนวัตถุประสงค ์ เพื่อ ประเมิน ความ ก้าวหน้า ใน การ เรียน รู้ ของ นักศึกษา เกี่ยว กับ เรื่อง “องค์ ประกอบ ภายใน

ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด”

คำแนะนำ อ่าน คำถาม แล้ว เขียน คำ ตอบ ลง ใน ช่อง ว่าง ที่ นักศึกษา มี เวลา ทำ แบบ ประเมิน ชุด นี้ 30 นาที

1. ท่าน เข้าใจ ความ แตก ต่าง ระหว่าง การก ระ ทำ โดย “จงใจ” และ การก ระ ทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ” อย่างไร

โปรด อธิบาย

2. แนวคิด เกี่ยว กับ ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) มี บทบาท ต่อ การ พิจารณา ความ รับ ผิด ทาง

ละเมิด ใน ระบบ กฎหมาย ไทย อย่างไร โปรด อธิบาย

Page 21: หน่วย ที่ องค์ ประกอบ ภายใน ของ ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด · ความรับผิดทาง

7-21

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยที่7

ก่อนเรียน1. การ พิจารณา ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ อาจ พิจารณา เทียบ เคียง

กับ ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย เจตนา และ การก ระ ทำ โดย ประมาท ตาม มาตรา 59 แห่ง ประมวล กฎหมาย

อาญา ซึ่ง ให้ ความ หมาย ของ ถ้อยคำ ดัง กล่าว ว่า การก ระ ทำ โดย เจตนา ได้แก่ กระทำ โดย รู้ สำนึก ใน การ ที่ กระทำ

และ ใน ขณะ เดียวกัน ผู้ กระทำ ประสงค์ ต่อ ผล หรือ ย่อม เล็ง เห็น ผล ของ การก ระ ทำ นั้น สำหรับ การก ระ ทำ โดย

ประมาท ได้แก่ กระทำ ความ ผิด มิใช่ โดย เจตนา แต่ กระทำ โดย ปราศจาก ความ ระมัดระวัง ซึ่ง บุคคล ใน ภาวะ เช่น

นั้น จัก ต้อง มี ตาม วิสัย และ พฤติการณ์ และ ผู้ กระทำ อาจ ใช้ ความ ระมัดระวัง เช่น ว่า นั้น ได้ แต่ หา ได้ ใช้ ให้ เพียง พอ

ไม่ อย่างไร ก็ตาม การก ระ ทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ ตาม มาตรา 420 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ

พาณิชย์ มี ลักษณะ บาง อย่าง ที่ แตก ต่าง จาก ความ หมาย ของ การก ระ ทำ โดย เจตนา และ การก ระ ทำ โดย ประมาท

ตาม มาตรา 59 แห่ง ประมวล กฎหมาย อาญา

2. ความ รับ ผิด เด็ด ขาด (Strict Liability) หมาย ถึง การ พิจารณา ความ รับ ผิด ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย

หาย โดย ไม่ จำ ต้อง พิจารณา ถึง องค์ ประกอบ ภายใน ว่า ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย กระทำ โดย จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่อ

หรือ ไม่

หลังเรียน1. คำ ว่า “จงใจ” หมาย ถึง การ ตั้งใจ ทำให้ คน อื่น เสีย หาย หรือ รู้ ว่า ทำให้ คน อื่น เสีย หาย ส่วน การก ระ

ทำ โดย “ประมาท เลินเล่อ” หมาย ถึง ไม่ จงใจ แต่ ทำ ไป โดย ขาด ความ ระมัดระวัง ตาม สมควร

2. ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด มี บทบาท ต่อ การ พิจารณา ความ รับ ผิด ทาง ละเมิด ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย

หาย ใน ระบบ กฎหมาย ไทย โดย ปราก ฎ ตาม มาตรา 437 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ ที่ กำหนด

ให้ ผู้ ครอบ ครอง หรือ ควบคุม ดูแล ยาน พาหนะ ต้อง รับ ผิด โดย ปราศจาก ข้อ พิสูจน์ ใดๆ ใน ความ เสีย หาย ที่ เกิด

จาก ทรัพย์ ของ ตน เว้น แต่ จะ เป็น เหตุสุดวิสัย หรือ เป็น เพราะ ความ ผิด ของ ผู้ เสีย หาย เอง ซึ่ง มัก เป็น ข้อ ยกเว้น

ใน ความ รับ ผิด ของ ผู้ ก่อ ความ เสีย หาย ใน ทฤษฎี ความ รับ ผิด เด็ด ขาด ตาม ปกติ