20
รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที2 และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด 2-1 | ห น า บทที2 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 2.1 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามที่ระบุไวในหนังสือแจงผลการ พิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการเหมืองแรโดโลไมต สําหรับประทานบัตรที30234/15864 ของ บริษัท แรสัมพันธ จํากัด ตั้งอยูที่ตําบลทาอุแท อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี ตามหนังสือที่ ทส 1009.2/10752 ลง วันที่ 3 ธันวาคม 2550 รายละเอียดดังตารางที่ 2-1 ถึงตารางที2-3 ตารางที่ 2-1 ผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมทั่วไป เงื่อนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบัติตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมมี 1. ใหมีจุดรับเรื่องราวรองทุกขความ เดือดรอนของราษฎรที่เกิดจากกิจกรรม การทําเหมืองและกิจกรรมที่เกี่ยวของ และผูถือประทานบัตรจะตองดําเนินการ แกไขและใหความชวยเหลือดวยความเปน ธรรม - ผูถือประทานบัตรไดจัดสรรงบประมาณใน การติดตั้งกลองรับเรื่องราวรองทุกขความ เดือดรอนของราษฎร ที่เกิดจากกิจกรรมการ ทําเหมืองและกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยติดตั้ง ไวที่บริเวณหนาสํานักงานของโรงโมหิน จุดรับเรื่องรองทุกข 2. หากไดรับการรองเรียนจากราษฎรทีอาศัยอยูในบริเวณใกลเคียงวาไดรับ ความเดือดรอนรําคาญจากการดําเนิน โครงการ หรือสาธารณ ประโยชนไดรับ ความเสียหาย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร หรือสํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมไดตรวจสอบพบวา ผูถือประทานบัตรไมปฏิบัติตามมาตรการ ปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ที่กําหนด จะตองหยุดการทําเหมืองแลว แกไขเหตุแหงความเดือดรอนใหเสร็จสิ้น กอนที่จะดําเนินการตอไป - ในกรณีที่ไดรับการรองเรียนจากราษฎรใน บริเวณใกลเคียงวาไดรับความเดือดรอน รําคาญจากกิจกรรมของโครงการ ผูถือ ประทานบัตรจะยุติการทําเหมืองตามคําสั่ง ของทางราชการแลวแกไขเหตุแหงความ เดือดรอนใหเสร็จสิ้นกอนที่จะดําเนินการ ตอไป 21/08/2018

มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-1 | ห น า

บทที่ 2

มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่แวดลอม

2.1 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามท่ีระบุไวในหนังสือแจงผลการ

พิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการเหมืองแรโดโลไมต สําหรับประทานบัตรท่ี 30234/15864 ของ

บริษัท แรสัมพันธ จํากัด ต้ังอยูท่ีตําบลทาอุแท อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี ตามหนังสือท่ี ทส 1009.2/10752 ลง

วันท่ี 3 ธันวาคม 2550 รายละเอียดดังตารางที่ 2-1 ถึงตารางที่ 2-3

ตารางที่ 2-1 ผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ัวไป

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

1. ใหมี จุดรับเร่ืองราวรองทุกขความ

เดือดรอนของราษฎรที่เกิดจากกิจกรรม

การทําเหมืองและกิจกรรมที่ เก่ียวของ

และผูถือประทานบัตรจะตองดําเนินการ

แกไขและใหความชวยเหลือดวยความเปน

ธรรม

- ผูถือประทานบัตรไดจัดสรรงบประมาณใน

การติดต้ังกลองรับเร่ืองราวรองทุกขความ

เดือดรอนของราษฎร ที่เกิดจากกิจกรรมการ

ทําเหมืองและกิจกรรมที่เก่ียวของ โดยติดต้ัง

ไวที่บริเวณหนาสํานักงานของโรงโมหิน

จุดรับเร่ืองรองทุกข

2. หากไดรับการรองเรียนจากราษฎรที่

อาศัยอยูในบริเวณใกล เคียงวาได รับ

ความเดือดรอนรําคาญจากการดําเนิน

โครงการ หรือสาธารณ ประโยชนไดรับ

ความเสียหาย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน

และการเหมืองแร ห รือสํ านักงาน

นโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติ

และสิ่ งแวดลอมไดตรวจสอบพบว า

ผูถือประทานบัตรไมปฏิบัติตามมาตรการ

ปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ที่กําหนด จะตองหยุดการทําเหมืองแลว

แกไขเหตุแหงความเดือดรอนใหเสร็จสิ้น

กอนที่จะดําเนินการตอไป

- ในกรณีที่ไดรับการรองเรียนจากราษฎรใน

บริเวณใกลเคียงวาได รับความเดือดรอน

รําคาญจากกิจกรรมของโครงการ ผูถือ

ประทานบัตรจะยุติการทําเหมืองตามคําสั่ง

ของทางราชการแลวแกไขเหตุแหงความ

เดือดรอนใหเสร็จสิ้นกอนที่จะดําเนินการ

ตอไป

21/08/2018

Page 2: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-2 | ห น า

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

3. ใหทําการปรับปรุงฟนฟูพื้นที่โครงการที่ผาน

การทําเหมืองแรแลวและพื้นที่สิ้นสุดการใช

ประโยชนแลว ตามแผนงานที่ไดเสนอไวใน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

พรอมทั้ งใหรายงานผลการดําเนินงานให

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน

และการเหมืองแรทราบทุกป

- บริษัทที่ปรึกษาจะไดแจงใหผูถือประทาน

บัตรดําเนินการจัดทํารายงานแผนการ

ดําเนินการปรับปรุงฟนฟูพื้นที่ทําเหมือง

และเสนอรายงานตอหนวยงานฝายกํากับ

ดูแลตอไป

4. หากผูถือประทานบัตรมีความประสงคที่จะ

เปลี่ยนแปลงวิธีการทําเหมืองหรือเปลี่ยนแปลง

เพิ่มเติมชนิดแร หรือการดําเนินงานที่แตกตาง

จากที่ เสนอไวในรายงานการวิเคราะหผล

กระทบสิ่งแวดลอม จะตองเสนอรายละเอียด

เก่ียวกับการเปลี่ยนแปลง ดังกลาว ประกอบกับ

มาตรการปองกันและแก ไขผลกระทบที่

สอดคล อง กับการเปลี่ ยนแปลง ให คณะ

กรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการ

วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมพิจารณาให

ความเห็นชอบด านสิ่ งแวดลอมกอนการ

ดําเนินการ

- ในกรณีที่มีความประสงคจะเปลี่ยนแปลง

วิธีการทําเหมืองหรือการดําเนินงานที่

แตกตางจากที่ เสนอไวในรายงาน ผูถือ

ประทานบัตรจะได ดําเนินการแจง ให

หนวยงานที่ เ ก่ี ยวของทราบ โดยแจ ง

รายละเอียด/ขอมูลที่ เปลี่ยนแปลง ให

คณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณาให

ค ว า ม เห็ นช อบก อนการ ดํ า เ นินกา ร

เปลี่ยนแปลง

5. ในระหวางการทําเหมือง หากพบโบราณวัตถุ

หรือรองรอยทางประวัติศาสตรโบราณคดี

จะตองรายงานและขอความรวมมือจากกรม

ศิลปากรเขาไปดําเนินการตรวจสอบพื้นที่ ทั้งน้ี

ในระหวางการสํารวจจะตองหยุดการทําเหมือง

ชั่วคราว และหากพิสูจนแลวพบวา เปนแหลงที่

มีความสําคัญทางประวัติศาสตรโบราณคดี ผู

ถือประทานบัตรจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขของ

หนวยงานที่เก่ียวของโดยไมมีขอเรียกรองใดๆ

- ในระหวางการทําเหมือง หากขุดคนพบ

โบราณวัตถุหรือรองรอยทางประวัติศาสตร

โบราณคดี ผูถือประทานบัตรจะรายงาน

และขอความรวมมือกรมศิลปากรในทองที่

เขาไปดําเนินการตรวจสอบพื้นที่ และจะ

ปฏิบั ติ ตาม เ งื่ อน ไขของหน วยงานที่

เก่ียวของโดยไมมีขอเรียกรองใดๆ

6. ใหรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน

ปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและ

มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่ ง

แวดลอมใหสํ า นักงานนโยบายและแผน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรม

อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรทราบ

อยางนอย ปละ 2 คร้ัง

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหบริษัท

ไมน เ อ็น จิเนียร่ิ งคอนซัลแตน จํ ากัด

ดําเนินการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม

ระหวางวันที่ 21-24 สิงหาคม 2561 เพื่อ

สรุปผลการตรวจวัดเปรียบเทียบกับคา

มาตรฐาน และไดสงรายงานผลการปฏิบัติ

ตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ

สิ่ งแวดลอม กําหนดไว ในการอนุญาต

ประทานบัตร ใหสํานักงานนโยบายและ

แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานการเหมือง

แรไดพิจารณา

Page 3: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-3 | ห น า

ตารางที่ 2-2 ผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมระยะเตรียมการทําเหมือง

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

1. ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

1.1 ลักษณะภูมิประเทศ

1. กําหนดตําแหนงและขอบเขตของพื้นที่ที่จะ

ประกอบกิจกรรมตางๆที่เก่ียวของกับการทํา

เหมืองใหชัดเจน ไดแก พื้นที่ทําเหมืองและ

พื้นที่เวนเขตไมทําเหมือง

- วิศวกรผูควบคุมเหมืองไดออกแบบการทํา

เหมืองใหเปนไปตามแผนผังโครงการกําหนด

โดยควบคุมใหการทําเหมืองอยูในขอบเขต

พื้นที่ประทานบัตร

2. ใหทําการปลูกตนไมยืนตนโตเร็วบนแนว

คันทํานบดินโดยรอบพื้นที่โครงการ พื้นที่เวน

เขตไมทําเหมือง และพื้นที่ ว างที่ ไม ได ใช

ประโยชนใดๆ ในเขตพื้นที่โครงการ เปนตน

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองดําเนินการปลูกตนไมยืนตนโตเร็วบน

คันทํานบดิน บริเวณพื้นที่ เวนเขตไมทํา

เหมือง และพื้นที่โดยรอยพื้นที่โครงการ เพื่อ

ใชเปนพื้นที่กันชน (Buffer Zone)

ปลูกไมยืนตนบริเวณคันทํานบดิน

1.2 อุทกวิทยาและคุณภาพน้ํา

1. ใหทําสัญลักษณแสดงแนวเขตไมทําเหมือง

ในระยะประมาณ 50 เมตร จากคลองทาทอง

ที่อยูใกลเคียงพื้นที่โครงการ

- วิศวกรผูควบคุมการทําเหมืองของโครงการ

ไดเวนพื้นที่แนวเขตไมทําเหมืองในระยะ 50

เมตร จากคลองทาทอง โดยการปลูกตนไม

เปนแนวก้ันเขตพื้นที่ใหสามารถมองเห็นได

อยางชัดเจน

ตนไมแนวก้ันเขตเวนการทําเหมือง

2. ใหสรางคันทํานบดินไวโดยรอบพื้นที่เหมือง

โดยจัดสรางเปนสี่เหลี่ยมคางหมูฐานกวาง

ประมาณ 6 เมตร สูง 2 เมตร และสันทํานบ

กวางประมาณ 2 เมตร รวมทั้งปลูกพืชคลุม

ดินและไมยืนตนโตเร็วไวบนแนวคันทํานบ

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองดําเนินการจัดสรางคันทํานบดินรอบ

พื้นที่โครงการ พรอมทั้งปลูกตนไมโตเร็วบน

คันทํานบดิน เพื่อปองกันการพังทลายของ

หนาดิน

คันทํานบดิน

3. ใหเลือกชวงเวลาหรือวันที่ไมมีฝนตกใน

การกระทํ ากิ จกรรมต างๆในระหว า ง

เตรียมการทําเหมือง

- ในการดําเนินกิจกรรมทําเหมือง ผูถือ

ประทานบัตรไดกําชับใหพนักงานทุกคนที่มี

หนาที่ในการทําเหมืองใหหลีกเลี่ยงการทํา

กิจกรรมในขณะฝนตก และหลังฝนตกใหมๆ

2. ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

ใหชี้แจงและจัดอบรมพนักงานมิให

กระทําการใดๆที่กอใหเกิดการสูญเสียตนไม

บริเวณใกลเคียงที่ไมเก่ียวของ รวมถึงสัตว

ทุกชนิดที่พบในพื้นที่โครงการและบริเวณ

ใกลเคียง

- ผูถือประทานบัตรไดมีการอบรมและชี้แจง

ตอพนักงานโดยไมใหกระทําการใดๆ ซ่ึง

อาจจะสงผลกระทบตอตนไมและสัตวปา

บริเวณพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

Page 4: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-4 | ห น า

ตารางที่ 2-2 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

3. คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

การคมนาคม

1. ใหดูแลปรับปรุงเสนทางการขนสงแร

และซอมแซมปายสัญญาณเตือนภัยริม

เสนทางขนสงแรใหสามารถใชงานไดดี เพื่อ

ความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุ

- ผูถือประทานบัตรไดกําชับใหผูจัดการ

เหมืองมีการบํารุงรักษาเสนทางขนสงแร

และปายสัญญาณเตือนบริเวณเสนทาง

ขนสงแรอยูเปนประจํา เพื่อความปลอดภัย

และลดอุบัติเหตุ

สภาพเสนทางขนสงแรของโครงการ

ปายเตือนใหระวังรถบรรทุก เขา-ออก

2. ใหมีการอบรมและแนะนําพนักงานขับ

รถบรรทุกแรขับรถดวยความระมัดระวัง มี

มารยาทในการใชรถใชถนนและปฏิบัติตาม

กฎจราจรอยางเครงครัด

- ผูถือประทานบัตรจัดใหมีการฝกอบรมให

ความรูแกพนักงานขับรถ เก่ียวกับกฎ

จราจร และมารยาทในการใชรถใชถนน

เพื่อใหเกิดความปลอดภัยและลดการเกิด

อุบัติเหตุ

4. คุณคาตอคุณภาพชีวิต

4.1 เศรษฐกิจ-สังคม และทัศนคต ิ

1. ใหมีการจางงานในทองถิ่นใหมากที่สุดและ

อัตราค าแรงเป นไปตามประกาศกรม

สวัสดิการและคุมครองแรงงาน

- ในการรับสมัครพนักงานของโครงการ ผู

ถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองพิจารณาจางแรงงานในทองถิ่นกอน

และกําหนดอัตราคาแรงใหเปนไปตาม

ประกาศกระทรวงแรงงาน

2. ใหประชาสัมพันธขอมูลและขาวสาร

เก่ียวกับโครงการแกราษฎรในชุมชนใกลเคียง

ได รับทราบอยางทั่วถึง โดยสื่อการประชา

สัมพันธจะมีหลายรูปแบบ ไดแก การติด

ประกาศ การประชาสัมพันธผานหอกระจาย

ขาวของหมูบาน และการประสานงานกับผูนํา

ชุมชนเพื่อเขารวมการประชุมหมูบาน เปนตน

- ผูถือประทานบัตรไดจัดใหมีเจาหนาที่

ประชาสัมพันธขอมูลเก่ียวกับโครงการ

เพื่อเปนการสรางความเขาใจ และสราง

ความสัมพันธกับชุมชนที่อยูใกลเคียง

4.2 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1. ใหจัดหาอุปกรณเพื่อปองกันอันตรายสวน

บุคคลใหคนงานไดสวมใส เหมาะสมกับ

ประเภทของงานและกําหนดขอบังคับให

นํามาใชอยางเครงครัดและถูกวิธี

- ผูถือประทานบัตรไดจัดสรรงบประมาณ

ในการเตรียมอุปกรณปองกันอันตรายสวน

บุคคล พรอมกําชับใหพนักงานสวมใสทุก

คร้ังขณะปฏิบัติงาน เพื่อปองกันการเกิด

อุบัติเหตุ

21/08/2018

21/08/2018

Page 5: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-5 | ห น า

ตารางที่ 2-2 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

2. ใหจัดเตรียมอุปกรณที่ ใชในการปฐม

พยาบาลเบื้องตนไวใหพรอม

- ผูถือประทานบัตรไดมีการจัดเตรียมอุปกรณ

ตางๆที่ใชในการปฐมพยาบาลเบื้องตน จะได

ปฐมพยาบาลในเบื้องตนกอนสงโรงพยาบาลที่

อยูใกลพื้นที่โครงการ

3. ใหการศึกษาอบรมแกพนักงานในเร่ือง

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ

ทํางานกับเคร่ืองจักรกลและอุปกรณตางๆ

อยางถูกวิธี

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองมีการจัดอบรม เร่ืองอาชีวอนามัยและ

ความปลอดภัยในการทํางานกับเคร่ืองจักรกลและ

อุปกรณตางๆ โดยมีการอบรมการใชเคร่ืองจักรให

ถูกวิธี เพื่อปองกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นได

ตารางที่ 2-3 ผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมระยะดําเนินการทําเหมือง

และหลังเสร็จสิ้นการทําเหมือง

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

1. ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

1.1 ลักษณะภูมิประเทศ

1. ใหเปดหนาเหมืองตามแผนผังที่กําหนด

ไวในแตละชวง และออกแบบหนาเหมือง

ใหมีลักษณะเปนขั้นบันได โดยมีความสูง

ไมเกิน 10 เมตร และความกวางไมนอย

กวา 7 เมตร พรอมทั้งควบคุมความลาด

ชันรวมไมเกิน 45 องศา

- วิศวกรผูควบคุมของโครงการไดวางแผน

ในกา รเปดหน า เหมื อง ตามแผนผั ง

โครงการทําเหมือง โดยเปดหนาเหมืองใน

ลักษณะเปนขั้นบันไดตามที่มาตรการ

กําหนด พรอมทั้งควบคุมความลาดเอียง

รวมของหนาเหมือง เพื่อปองกันการ

พังทลายของหนาเหมือง

ลักษณะหนาเหมืองของโครงการ

2. เปลอืกดินที่ไดจากการเปดหนาเหมือง

ใหนําไปปรับปรุงซอมแซมเสนทางขนสง

และทําแนวคันทํานบดิน สวนที่เหลือให

ทยอยนําไปถมกลับพื้นที่ ผ านการทํ า

เหมื อ ง ใ น เขตพื้ นที่ ป ระทานบั ตร ที่

23174/14322 ตอไป โดยเร่ิมถมกลับ

ต้ังแตชวงปที่ 1 ในบริเวณหลักหมุดที่ 4

ขึ้น ไปจนถึงหลักหมุดที่ 5 ของพื้ นที่

ประทานบัตรแปลงดังกลาว

- การดําเนินการทําเหมือง ผูถือประทาน

บัตรไดมอบหมายใหผูจัดการเหมืองนํา

เปลือกดินที่เกิดขึ้นในชวงการเปดหนา

เหมือง ไปใชในการปรับปรุงซอมแซม

เสนทางขนสงแร ปรับปรุงคันทํานบดิน

และบางสวนไดนําไปถมกลับพื้นที่บอ

เหมืองในบริเวณที่ไมทําเหมืองแลว

นําเปลือกดินซอมแซมเสนทางขนสงแรและ

ปรับปรุงคันทํานบดิน

3. ใหดูแลรักษาตนไมที่ทําการปลูกไวให

เจริญเติบโตไดดีอยูเสมอ หากพบวาตนใด

ตายใหทําการปลูกทดแทนทันที

- ผูถือประทานบัตรไดกําชับใหผูจัดการ

เหมืองดูแลรักษาแนวตนไมใหเจริญเติบโต

ไดดีอยูเสมอ รวมทั้งมีการปลูกตนไมเสริม

หากพบวามีตนไมลมตายลง

แนวตนไมในพื้นที่โครงการ

21/08/201

21/08/2018

21/08/2018

Page 6: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-6 | ห น า

ตารางที่ 2-3 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

4. บริเวณใดที่ทําเหมืองจนเสร็จสิ้นแลว ให

ดําเนินการตามแผนการฟนฟูสภาพพื้นที่

ภายหลังการทําเหมือง ตามรายละเอียดที่

เสนอไวทายตารางมาตรการฯ อยางเครงครัด

- ในกรณีที่สิ้นสุดการทําเหมืองแลว ผูถือ

ประทานบัตรจะไดมอบหมายใหผู จัดการ

เหมืองปรับปรุงสภาพพื้นที่ โดยการปรับ

เกลี่ย พรอมปลูกตนไมเพื่อคืนสภาพปาไม

1.2 คุณภาพอากาศ

1.ใหจํากัดความเร็วของรถบรรทุกแรไมเกิน

25 กิโลเมตร/ชั่วโมงและใชผาใบปดคลุม

กระบะรถ เพื่อปองกันการตกหลนของแร

และการฟุงกระจายของฝุนละออง

- ผูถือประทานบัตรไดออกกฎระเบียบในการ

ขนสงแร เพื่อลดผลกระทบดานตางๆที่คาด

วาจะเกิดขึ้นกับชุมชนที่อยูโดยรอบโครงการ

ดังน้ี

1. จํากัดความเร็วของรถบรรทุกไมเกิน 25

กิโลเมตร/ชั่วโมง

2. ปดคลุมกระบะรถบรรทุกทุกคันที่มีการ

ขนสงแร

ปายควบคุมความเร็ว

2. ใหฉีดพรมนํ้าบนเสนทางขนสงแรชวงที่

เปนถนนลูกรัง โดยในชวงฤดูแลงควรฉีด

พรมนํ้าวันละ 3-4 คร้ัง และในชวงฤดูฝนควร

ฉีดพรมนํ้าวันละ 1 คร้ัง หรือตามความ

เหมาะสมของสภาพอากาศ

- การดําเนินการทําเหมืองของโครงการไดมี

มาตรการลดผลกระทบดานการฟุงกระจาย

ของฝุนละอองจากการขนสงแรภายในพื้นที่

โครงการ โดยไดฉีดพรมนํ้าบริเวณเสนทาง

ขนสงแรเปนถนนลูกรัง ภายในเหมือง วันละ

3-4 คร้ัง หรือตามความเหมาะสมของสภาพ

อากาศ เพื่อลดการฟุงกระจายของฝุนละออง

รถฉีดพรมนํ้าบริเวณเสนทางขนสงแร

3. ใหปรับปรุงอาคารโรงแตงแร บริเวณ

ปากโม ยุ ง รับหินใหญตะแกรง ซ่ี และ

ตะแกรง สั่ นคั ดขนาด ตลอดจนแนว

สายพานลําเลียงทุกๆแนว ใหเปนอาคารปด

คลุม 3 ดาน ดวยวัสดุที่มีความเหมาะสม

และคงทนถาวร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน

การปองกันการแพรกระจายของฝุนละออง

- ผูถือประทานบัตรไดปรับปรุงอาคารโรงแตง

แรของโครงการ เพื่อปองกันการฟุงกระจาย

ของฝุนละออง รายละเอียดดังน้ี

1. การสรางอาคารปดคลุม 3 ดาน

2. การสรางหลังคาปดคลุมบริเวณสายพาน

ลําเลียงและบริเวณยุงรับหินใหญ

อาคารปดคลุม 3 ดาน

หลังคาปดคลุมสายพานลําเลียง

การปดคลุมยุงรับหินใหญ

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

Page 7: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-7 | ห น า

ตารางที่ 2-3 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

4. ใหดูแลระบบสเปรยนํ้าตามจุดตางๆ

ของโรงแตงแรใหอยูในสภาพที่ ดีและ

สามารถใชงานไดตลอดเวลาทําการ

- ผูถือประทานบัตรไดกําชับใหผูจัดการ

เหมืองมีการดูแลรักษาระบบสเปรยนํ้าตาม

จุดตางๆ ของโรงแตงแรใหสามารถใชงาน

ไดดีอยูเสมอ รายละเอียดดังน้ี

1. ระบบสเปรยนํ้าบริเวณปลายสายพาน

ลําเลียง

2. ระบบสเปรยนํ้าบริเวณเสนทางขนสงแร

สเปรยนํ้าบริเวณปลายสายพานลําเลียง

สเปรยนํ้าบริเวณเสนทางขนสงแร

5. การเจาะรูระเบิดใหติดต้ังเคร่ืองมือดูด

ฝุนที่บริเวณหัวเจาะพรอมทั้งมีถังพักฝุน

เพื่ อป อง กันการฟุ ง กระจายของฝุ น

ละออง

- วิศวกรผูควบคุมของโครงการไดวางแผน

และออกแบบการระเบิดรวมถึงการใช

ปริมาณวัตถุระเบิด โดยไดใชเคร่ืองเจาะรู

ระเบิดที่มีอุปกรณเก็บฝุนติดไวกับหัวเจาะ

เพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุนละออง

เคร่ืองเจาะรูระเบิด

1.3 เสียง

1. ใหทําเหมืองเฉพาะในเวลากลางวัน

เทาน้ัน และไมมีกิจกรรมใดๆในเวลา

กลางคื น ซ่ึ ง เปน เวลาพักผ อนของ

ประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณชุมชน

ใกลเคียง

- ผูถือประทานบัตรไดกําชับใหกําชับให

ผูจัดการเหมืองและกิจกรรมที่ เก่ียวของ

เฉพาะเวลากลางวันเทาน้ัน โดยใหงด

กิจกรรมตางๆที่กอใหเกิดเสียงดังรบกวน

ในชวงกลางคืน เพื่อลดผลกระทบตอ

ชุมชนใกลเคียง

2. ใหดูแลรักษาและปรับปรุงเคร่ืองจักร

อุปกรณ ใ หมี สภาพสมบู รณ เพื่ อลด

ผลกระทบดานเสียง

- ผูถือประทานบัตรไดกําชับใหผูจัดการ

เหมืองมีการดูแล รักษาและปรับป รุง

เคร่ืองจักรอุปกรณตางๆ ใหอยูในสภาพ

การใชงานไดดี

1.4 การใชวัตถุระเบิด

1. ใหทําการระเบิดแรวันละไมเกิน 1 คร้ัง

ในชวงเวลา 16.00-17.00 น. โดยใชวัตถุ

ระเบิดสูงสุดไมเกิน 99 กิโลกรัม/จังหวะ

ถวง และสงสัญญาณเตือนภัยกอนและ

หลังการระเบิดทุกคร้ังใหไดยินในรัศมี 500

เมตร

- วิศวกรผูควบคุมของโครงการไดวางแผน

และออกแบบการใชปริมาณวัตถุระเบิด

เปนไปตามแผนผังโครงการทําเหมือง โดย

ทําการระเบิดวันละ 1 คร้ัง ในชวงเวลา

16.30-17.00 น. และกอนการระเบิดทุก

คร้ังไดมีการเปดสัญญาณเตือนใหไดยินใน

รัศมี 500 เมตร จากจุดที่ระเบิด พรอมทั้ง

ติดต้ังปายแสดงเวลาการระเบิดในบริเวณ

พื้นที่ โครงการและเสนทางใกลเคียงให

มองเห็นชัดเจน

ปายแสดงเวลาระเบิด

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

Page 8: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-8 | ห น า

ตารางที่ 2-3 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

2. ใหมีวิศวกรเหมืองของโครงการ หรือผู

ผานการอบรมการใชวัตถุระเบิดเปนผู

ควบคุมและวางแผนการระเบิด เพื่อใหการ

ใชวัตถุระเบิดเปนไปตามหลักวิชาการ

- ในการระเบิดทุกคร้ัง ผูถือประทานบัตรได

มอบหมายใหวิศวกรที่ผานการอบรมการใช

วัตถุ ระ เบิด เปนผู ค วบคุมวางแผนและ

ออกแบบการใชปริมาณวัตถุระเบิดใหเปนไป

ตามแผนผังหลักวิชาการ

3. ใหติดปายเตือนเขตการใชวัตถุระเบิด

พรอมทั้งระบุเวลาในการระเบิดไวบริเวณ

โดยรอบพื้นที่โครงการ

- ผูถือประทานบัตรไดจัดสรรงบประมาณใน

การจัดทําปายเตือนเขตการใชวัตถุระเบิด

โดยไดติดต้ังไวที่บริเวณริมเสนทางกอนเขาสู

หนาเหมือง

ปายแจงเตือนเขตเขตพื้นทีร่ะเบิด

4. ใหเก็บกวาดเศษดิน เศษหิน ออกจาก

หนาเหมืองที่จะทําการระเบิดกอนที่จะทํา

การระเบิดในแตละค ร้ัง เพื่ อลดการ

กระเด็นของเศษดิน เศษหิน

- ผูถือประทานบัตรไดกําชับใหพนักงานที่ทํา

หนาที่ในการระเบิด ใหดําเนินการทําความ

สะอาด เก็บกวาดเศษดิน เศษหินออกจาก

บริเวณหนาเหมืองกอนที่จะทําการระเบิดทุก

คร้ัง เพื่อปองกันการปลิวกระเด็นของเศษดิน

และเศษหิน

1.5 อุทกวิทยาและคุณภาพน้ํา

1. ใหเวนเขตไมทําเหมืองในระยะประมาณ

50 เมตร จากคลองทาทองทางดานทิศ

เหนือและทิศตะวันออก และใหรักษาสภาพ

เดิมไวใหมากที่สุด

- วิศวกรผูควบคุมการทําเหมืองไดควบคุมให

มีการทําเหมืองตามแผนผังที่กําหนดโดยเวน

พื้นที่ไมทําเหมืองเขาใกลแนวเขตประทาน

บัตรทุกดานในระยะ 50 เมตร จากคลองทา

ทอง ทางดานทิศเหนือและทิศตะวันออก

และใหรักษาสภาพเดิมไวใหมากที่สุด

2. ใหสรางบอรับนํ้า (Sump) ที่ไหลบาจาก

หนาเหมืองในบริเวณจุดตํ่าสุดของการทํา

เหมืองในแตละชวง และทําการสูบนํ้าไปยัง

ขุมเหมืองขางเคียงของโครงการในบริเวณที่

สิ้นสุดการทําเหมืองไปแลวตอไป

- วิศวกรผูควบคุมการทําเหมืองไดออกแบบ

พื้นที่จุดตํ่าสุดบริเวณหนาเหมืองไวเปนบอรับ

นํ้า (Sump) เพื่อรองรับนํ้าไหลบาบริเวณ

หน า เหมือง และทํ าการสูบ นํ้าจากบอ

ดังกลาวไปยังบอเหมืองขางเคียงซ่ึงไมมีการ

ทําเหมืองแรแลว

บอรับนํ้าขุมเหมือง

2. ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

ใหปฏิบัติตามมาตรฐานการลดผล

กระทบดานอุทกวิทยาและคุณภาพนํ้า

เพื่อปองกันการชะลางตะกอนมูลดินออก

สูทางนํ้าที่อยูใกลเคียง

- การทําเหมืองของโครงการ ผูถือประทาน

บัตรไดปฏิบัติตามเงื่อนไขดานอุทกวิทยาและ

คุณภาพนํ้าอยางเครงครัด

3. คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

3.1 การใชประโยชนท่ีดิน

ใหควบคุมการทําเหมืองใหเปนไปตาม

แผนผัง โครงการอยางเครงครัด เพื่อ

ปองกันผลกระทบตอการใชประโยชน

ที่ดินในบริเวณใกลเคียง

- วิศวกรของโครงการไดควบคุมการทํา

เหมืองใหเปนไปตามแผนผังโครงการ เพื่อลด

ผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดินใกลเคียง

21/08/2018

21/08/2018

Page 9: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-9 | ห น า

ตารางที่ 2-3 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

3.2 การคมนาคม

1. รถบรรทุกแรจะตองบรรทุกนํ้าหนักไมเกิน

พิกัดตามราชการกําหนดและควบคุมความเร็ว

ของรถไม เ กิ น 25 กิ โล เมตร/ชั่ ว โมง

โดยเฉพาะในชวงเสนทางลูกรังหรือผาน

ชุมชนตางๆ

- ผูถือประทานบัตรไดออกกฎระเบียบในการ

ขนสงแร เพื่อลดผลกระทบดานตางๆ ที่คาด

วาจะเกิดขึ้นกับชุมชนที่อยูรอบพื้นที่โครงการ

โดยการควบคุมนํ้าหนักและความเร็วของ

รถบรรทุกขนสง

ปายควบคุมความเร็วรถบรรทุก

2. ใหดูแลรักษาสภาพเสนทางขนสงแรและ

ดําเนินการปรับปรุงใหอยูในสภาพที่สามารถ

ใชงานไดดี หากพบวาบริเวณใดเกิดการชํารุด

จะตองดําเนินการซอมแซมทันที

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองมีการดูแลรักษาสภาพเสนทางขนสง

แรอยูเสมอ ซ่ึงหากเกิดการชํารุดเสียหาย จะ

ดําเนินการซอมแซมทันที

สภาพเสนทางขนสงแร

3. ใหทําการตรวจเช็คสภาพรถบรรทุกแรให

อยูในสภาพที่ใช งานไดดีและปลอดภัยอยู

เสมอ

- ผูถือประทานบัตรไดมีการตรวจเช็คสภาพ

รถบรรทุกแรอยางสม่ําเสมอ

4. คุณคาตอคุณภาพชีวิต

4.1 เศรษฐกิจ-สังคมและทัศนคต ิ

1.ใหรับฟงความคิดเห็นและประสานงาน

กับผูชุมชนเพื่อแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้น

จากการทําเหมืองของโครงการและใหมี

สวนรวมในการพัฒนาทองถิ่นตามความ

เหมาะสม

- ผูถือประทานบัตรมีการรับฟงความคิดเห็น

ของประชาชน โดยการประสานงานกับผูนํา

ชุมชนอยางตอเน่ือง ซ่ึงหากมีปญหาจากการ

ทําเหมือง โครงการจะทําการแกปญหาที่

เกิดขึ้นทันทีตามความเหมาะสม

4.2 การสาธารณสุข

ใหความชวยเหลือดานงบประมาณแก

ราษฎรในชุ มชน ใกล เคี ยงห ากไ ด รั บ

ผลกระทบดานสุขภาพอนามัยจากการทํา

เหมืองของโครงการ

- ในกรณีที่มีราษฎรไดรับอันตรายจากการทํา

เหมืองสงผลตอสุขภาพ ผูถือประทานบัตรจะ

ไดใหความชวยเหลือดานงบประมาณตาม

ความเหมาะสม

4.3 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1. ควบคุมใหพนักงานปฏิบัติงานเปนไป

ตามลําดับขั้นตอนและปฏิบัติตามระเบียบ

ขอบังคับที่ ต้ังไว รวมทั้งดูแลใหใชอุปกรณ

ปองกันอันตรายสวนบุคคลในขณะปฏิบัติงาน

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองออกกฎระเบียบใหพนักงานสวมใส

อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลขณะ

ปฏิบัติงานทุกคร้ัง

2. ใหดูแลรักษาเคร่ืองจักรอุปกรณตางๆให

อยูในสภาพที่สมบูรณ ใช งานได ดี รวมทั้ ง

ตรวจสอบประสิทธิภาพและความพรอมของ

เคร่ืองมือเคร่ืองจักร ประเภทตางๆ กอน

ปฏิบัติงานทุกคร้ัง

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองมีการดูแลรักษาสภาพเคร่ืองจักร

อุปกรณตางๆ ใหอยูในสภาพการใชงานที่ดี

และมีการตรวจสอบทุกคร้ังกอนใชงาน

3. ใหปฏิบัติตามวิธีการใหคุมครองแกคนงาน

และความปลอดภัยแกบุคคลภายนอกตาม

กฎกระทรวงฉบับที่ 9 (พ.ศ.2513) และ

กฎกระทรวงฉบับที่ 50

- ผูถือประทานบัตรไดปฏิบัติตามวิธีการให

คุมครองแกคนงานและความปลอดภัยแก

บุคคลภายนอกตามกฎกระทรวงฉบับที่ 9 (พ.ศ.

2513) และกฎกระทรวงฉบับที่ 50 อยาง

เครงครัด

21/08/2018

21/08/2018

Page 10: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-10 | ห น า

2.2 มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามท่ีระบุไวในหนังสือแจงผลการ

พิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการเหมืองแรโดโลไมต คําขอประทานบัตรท่ี 2/2546 ของบริษัท แร

สัมพันธ จํากัด ต้ังอยูท่ีตําบลทาอุแท อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี ตามหนังสือท่ี ทส 1009.2/10752 ลงวันท่ี 3

ธันวาคม 2550 รายละเอียดดังตารางที่ 2-4

ตารางที่ 2-4 ผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

1. ใหตรวจวัดปริมาณฝุนละอองแขวนลอยใน

บรรยากาศ (TSP) เฉลี่ยในคาบ 24 ชั่วโมง

เปนเวลา 3 วัน ตอเน่ืองโดยใชเคร่ืองมือ

High Volume Air Sampler จํานวน 4

สถานี ไดแก บานมะขามดานทิศตะวันตก

บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต บาน

วัดนอก และบานทาแร

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหบริษัท

ไมน เอ็นจิเนียร่ิงคอนซัลแตนท จํากัด เปน

ผูตรวจ ติดตามคุณภาพสิ่ ง แวดลอม ดัง

รายละเอียดตอไปน้ี ดําเนินการตรวจวัด

คุณภาพอากาศในรูปของปริมาณฝุนละออง

แขวนลอยรวม (TSP) ระหวางวันที่ 21-24

สิงหาคม 2561 จํานวน 4 สถานี ไดแก

บริเวณบานมะขามดานทิศตะวันตก บาน

มะขามดานทศิตะวันตกเฉียงใต บานวัดนอก

และบานทาแร พบวา ผลการตรวจวัดมีคาอยู

ในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด

บานมะขามทิศตะวันตก

บานมะขามทิศตะวันตกเฉียงใต

บานวัดนอก

บานทาแร

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

Page 11: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-11 | ห น า

ตารางที่ 2-4 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

2. ตรวจวัดระดับความดังของเสียงโดยทั่วไป

ในรอบ 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr.) และระดับ

เสียงสูงสุด (Lmax) เปนเวลา 3 วันตอเน่ือง

โดยใชเคร่ืองวัดเสียง Sound level Meter

จํานวน 4 สถานี ไดแก บานมะขามดานทิศ

ตะวันตก บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียง

ใต บานวัดนอก และบานทาแร

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหบริษัท

ไมน เอ็นจิเนียร่ิงคอนซัลแตนท จํากัด เปน

ผูตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอม ดัง

รายละเอียดตอไปน้ี ดําเนินการตรวจวัด

ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr.)

และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) ระหวาง

วันที่ 21-24 สิงหาคม 2561 จํานวน 4

สถานี ไดแก บริเวณบานมะขามดานทิศ

ตะวันตก บานมะขามดานทิศตะวันตก

เฉียงใต บานวัดนอก และบานทาแร พบวา

ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr.)

และเสียงสูงสุด (Lmax) พบวา ผลการ

ตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑคามาตรฐานที่

กําหนด

บานมะขามดานทิศตะวันตก

บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต

บานวัดนอก

บานทาแร

3. ใหตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการ

ระเบิดหนาเหมืองของโครงการในขณะที่ทํา

การระเบิดเหมือง โดยการตรวจวัดคา

ความเร็วอนุภาค ความถี่ การขจัดและคา

แรงอัดอากาศ จํานวน 1 สถานี คือบาน

มะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหบริษัท

ไมน เอ็นจิเนียร่ิงคอนซัลแตนท จํากัด เปน

ผูตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอม ดัง

รายละเอียดตอไปน้ี ดําเนินการตรวจวัด

แรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหนาเหมือง

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2561 บริเวณบาน

มะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต พบวา ผล

การตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑคามาตรฐาน

ที่กําหนด

บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

21/08/2018

Page 12: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-12 | ห น า

ตารางที่ 2-4 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

4. ใหตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าผิวดินและนํ้า

ใตดิน โดยวิเคราะหคา (pH), (Turbidity),

(Total Suspended Solids), (Total

Dissolved Solids), (Total Hardness),

(Total Iron), และ (Sulfate) จํานวน 5

สถานี ไดแก คลองทาทองกอนไหลผานเขา

ใกลพื้นที่โครงการ คลองทาทองหลังไหลผาน

เขาใกลพื้นที่โครงการ บาดาลบานวัดนอก

ประปาบาดาลบานทาแร และประปาบาดาล

บานมะขาม

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหบริษัท

ไมน เอ็นจิเนียร่ิงคอนซัลแตนท จํากัด เปน

ผูตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอม ดัง

รายละเอียดตอไป น้ี ดํา เ นินการเ ก็บ

ตัวอยางนํ้าผิวดินและนํ้าใตดิน เมื่อวันที่

24 สิงหาคม 2561 จํานวน 5 สถานี ไดแก

บริเวณคลองทาทองกอนไหลผานเขาใกล

พื้นที่โครงการ บริเวณคลองทาทองหลัง

ไหลผานเขาใกลพื้นที่ โครงการ บริเวณ

บาดาลบานวัดนอก บริเวณประปาบาดาล

บานทาแร และบริเวณประปาบาดาลบาน

มะขาม เพื่อวิเคราะหหาดัชนี (pH) ,

(Turbidity),(Total Suspended Solids)

,(Total Dissolved Solids), (Total

Hardness), (Total Iron), และ (Sulfate)

ผลการวิเคราะห พบวา ผลการตรวจวัดมี

คาอยูในเกณฑมาตรฐานกําหนด

คลองทาทองกอนไหลผานพื้นที่

โครงการ

คลองทาทองหลังไหลผานพื้นที่

โครงการ

บาดาลบานวัดนอก

บาดาลบานทาแร

บาดาลบานมะขาม

24/08/2018

24/08/2018

24/08/2018

24/08/2018

24/08/2018

Page 13: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-13 | ห น า

ตารางที่ 2-4 (ตอ)

เง่ือนไขตามมาตรการ ผลการปฏิบตัิตามมาตรการ ปญหา อุปสรรค

ภาพประกอบ มี/แนวทางแกไข ไมม ี

5. ใหตรวจสอบสมรรถภาพของรางกาย

โดยทั่วไป ไดแก ความสามารถของการได

ยิน ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาท

ในการรับรู และการเอ็กซเรยปอด เปนตน

- ผูถือประทานบัตรไดจัดสรรงบประมาณใน

การตรวจสุขภาพใหพนักงานของโครงการ

โดยใหมีการตรวจสมรรถภาพของรางกาย

โดยทั่วไป ไดแก ความสามารถในการไดยิน

ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาทในการ

รับรูและการเอ็กซเรยปอดใหกับพนักงานเปน

ประจําทุกปอยางตอเน่ือง ไดดําเนินการคร้ัง

ลาสุดในป 2560 โดยผลการตรวจสุขภาพ

ประจําป 2561 จะนําเสนอในรอบการจัดทํา

รายงานในคร้ังถัดไป ดังเอกสารแนบ 4

6. ใหตรวจสอบสภาพเสนทางขนสงแรให

สามารถใชงานไดดีอยูเสมอ ถาบริเวณใด

ชํารุดตองรีบซอมแซมทันที รวมทั้งดูแล

รักษาปายสัญญาณจราจรใหอยูในสภาพ

ใชการไดดีอยางมีประสิทธิภาพอยูเสมอ

- ผูถือประทานบัตรไดมอบหมายใหผูจัดการ

เหมืองมีการตรวจสอบสภาพแนวเสนทาง

ขนสงแรเปนประจํา รวมทั้งปายสัญญาณเตือน

ตางๆ ใหมีประสิทธิภาพดีอยูเสมอ

2.2.1 คุณภาพอากาศ

1) ดัชนตีรวจวัด

ตรวจวัดคุณภาพอากาศในรูปของฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP) จํานวน 3 วันตอเน่ือง

2) ตําแหนงพกิดัของสถานตีรวจวัด

ตําแหนงสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแสดงดังรูปที ่2-1 โดยมีรายละเอียดดังน้ี

- บานมะขามทางดานทิศตะวันตก พิกัด : UTM 47 P 568800 E, 1013205 N

- บานมะขามทางดานทิศใต พิกัด : UTM 47P 572010 E, 1012500 N

- บานวัดนอก พิกัด : UTM 47P 569020 E, 1013800 N

- บานทาแร พิกัด : UTM 47P 578002 E, 1012300 N

3) วิธีการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP)

ฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP) ท่ีอยูในอากาศจะถูกดูดผานกระดาษกรองชนิดกลาสไฟเบอร ท่ีผานการอบ-ช่ัง

(Equilibrate) อยางนอย 24 ช่ัวโมง ดวยอัตราการไหลของอากาศในชวง 40-60 ลูกบาศกฟุตตอนาที ตลอดระยะเวลา 24

ช่ัวโมง จากน้ันนํากระดาษกรองไปอบ-ช่ัง (Equilibrate) อีกคร้ัง เพื่อทราบนํ้าหนักของฝุนละออง แลวนํามาคํานวณคาความ

เขมขนของฝุนละอองรวมเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง

Page 14: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รูปที่ 2-1 แสดงตําแหนงตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม

จดุตรวจวดัคณุภาพน้ํา

บ่อบาดาลบา้นวดันอก 3

จดุตรวจวดัคณุภาพอากาศและเสียง

บา้นมะขามดา้นทศิตะวนัตกเฉียงใต ้

1

2

บ่อบาดาลบา้นท่าแร่ 4

บา้นมะขามดา้นทศิตะวนัตก

บ่อบาดาลบา้นมะขาม 5

คลองท่าทองก่อนไหลผ่านเขา้ใกลโ้ครงการ 1

ทีม่า : กรมแผนทีท่หาร (2542)

บา้นวดันอก 3

4 บา้นท่าแร่

จดุตรวจวดัแรงสัน่สะเทือน

บา้นมะขามดา้นทศิตะวนัตกเฉียงใต ้1

คลองท่าทองหลงัไหลผ่านเขา้ใกลโ้ครงการ 2

1

2 3

4

5

3

4

1

2 1

ประทานบตัรที ่30217/15577

ประทานบตัรที ่23174/14322

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-14| หนา

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

Page 15: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-15 | ห น า

4) ผลการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP)

การตรวจวัดคุณภาพอากาศไดดําเนินการระหวางวันท่ี 21-24 สิงหาคม 2561 โดยทําการตรวจวัดปริมาณฝุนละออง

แขวนลอยรวม (TSP) 3 วันตอเน่ือง จํานวน 4 สถานี สรุปผลตรวจวัดดัง ตารางที่ 2-5 หนังสือรับรองผลการวิเคราะหทาง

หองปฏิบัติการดังเอกสารแนบ 5 และเอกสารสอบเทียบเคร่ืองมือดังเอกสารแนบ 6 และเอกสารข้ึนทะเบียนหองปฏิบัติการ

หองวิเคราะห ดังเอกสารแนบ 7

ตารางที ่2-5 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในรูปฝุนละอองแขวนลอย (TSP) ในชวงวันท่ี 21-24 สิงหาคม 2561

สถานีตรวจวัด ผลการตรวจวดั (มก./ลบ.ม.)

คาเฉลี่ย 21-22/08/2018 22-23/08/2018 23-24/08/2018

- บานมะขามดานทิศตะวันตก 0.035 0.033 0.030 0.033

- บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต 0.050 0.056 0.035 0.047

- บานวัดนอก 0.037 0.029 0.029 0.032

- บานทาแร 0.015 0.017 0.016 0.016

คามาตรฐาน* 0.330

หมายเหตุ : * คามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป

5) สรุปผลการตรวจวัดคณุภาพอากาศ

จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในรูปของปริมาณฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP) ในชวงวันท่ี 21-24 สิงหาคม

2561 พบวา ผลการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP) มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการ

สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 24 พ.ศ. 2547 เร่ือง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไป ท่ีกําหนดคาปริมาณ

ฝุนละอองแขวนลอยรวม (TSP) ไวไมเกิน 0.330 มก./ลบ.ม.

2.2.2 เสียง

1) ดัชนใีนการตรวจวัด

- ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ช่ัวโมง (Leq 1 hr.)

- ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr.)

2) ตําแหนงพกิดัของสถานตีรวจวัด

ตําแหนงสถานีตรวจวัดแสดงดังรูปที่ 2-1 รายละเอียดดังตอไปน้ี

- บานมะขามทางดานทิศตะวันตก พิกัด :UTM 47 P 568800 E, 1013205 N

- บานมะขามทางดานทิศใต พิกัด :UTM 47 P 572010 E, 1012500 N

- บานวัดนอก พิกัด :UTM 47 P 569020 E, 1013800 N

- บานทาแร พิกัด :UTM 47 P 578002 E, 1012300 N

3) อุปกรณในการตรวจวัด

- Sound Level Meter, RION, NL-05, NL-14, NL-21 - ตลับเมตร

- Acoustic Calibrator, RION, NC-73 - Global Positioning System (GPS)

- ชุดขาต้ังเคร่ืองตรวจวัดระดับเสียง

Page 16: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-16 | ห น า

4) วิธีการตรวจวัด

ติดต้ังเคร่ืองวัดระดับเสียง (Sound Level Meter) ใหสูงจากพื้นไมนอยกวา 1.20 ม. และหางจากกําแพงหรือสิ่งกีด

ขวางในรัศมี 3.50 ม. เพื่อปองกันการสะทอนกลับของเสียง กําหนดใหดานไมโครโฟนหันไปทางแหลงกําเนิดเสียงท่ีตรวจวัด โดย

กําหนดใหอยูในวงจรถวงนํ้าหนัก เอ (Weighting A) การตอบสนองแบบฟาสต(Fast) Mode Leq กําหนดชวงเวลาเฉลี่ย 1

ช่ัวโมง โดยมีการปรับเทียบคาความถูกตองท้ังภายในเคร่ือง (Internal) และจากอะคูสติคคาลิเบรเตอร จากน้ันเปดเคร่ือง

กําหนดชวงของระดับเสียงใหเหมาะสมและต้ังเคร่ืองท้ิงไว 1 ช่ัวโมง เมื่อเคร่ืองทํางานตามคาบเวลาท่ีต้ังไว จึงบันทึกคาระดับ

เสียงเฉลี่ยรายช่ัวโมง และจดบันทึกคาเฉลี่ยรายช่ัวโมงใหครบจํานวน 24 ช่ัวโมง เพื่อนํามาคํานวณโดยใชสูตรทางคณิตศาสตร

แลวจะไดคาเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr.) ซึ่งการคํานวณคาระดับเสียงเปนวิธีการขององคการระหวางประเทศวาดวย

มาตรฐาน(International Organization of Standardization, ISO) เปนไปตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

ฉบับท่ี 15 (พ.ศ. 2540) เร่ืองกําหนดมาตรฐานเสียงโดยท่ัวไป

5) ผลการตรวจวัดระดับเสียง

การตรวจวัดระดับเสียงไดดําเนินการระหวางวันท่ี 21-24 สิงหาคม 2561 โดยทําการตรวจวัดระดับเสียงเฉลี่ย 24

ช่ัวโมง (Leq 24 hr.) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) จํานวน 4 สถานี สรุปผลตรวจวัดดัง ตารางที่ 2-6 หนังสือรับรองผลการ

วิเคราะหทางหองปฏิบัติการดังเอกสารแนบ 5 และเอกสารสอบเทียบเคร่ืองมือดังเอกสารแนบ 6 และเอกสารข้ึนทะเบียน

หองปฏิบัติการหองวิเคราะห ดังเอกสารแนบ 7

ตารางที ่2-6 ผลการตรวจวัดระดับเสียงในชวงวันท่ี 21-24 สิงหาคม 2561

สถานีตรวจวัด

ผลการตรวจวดั (เดซิเบล (เอ))

21-22/08/2018 22-23/08/2018 23-24/08/2018

Leq 24 hr. Lmax Leq 24 hr. Lmax Leq 24 hr. Lmax

- บานมะขามดานทิศตะวันตก 55.6 88.1 55.2 87.5 55.0 87.9

- บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต 58.7 86.4 59.2 87.2 59.4 87.3

- บานวัดนอก 48.9 85.9 47.5 83.8 48.0 86.9

- บานทาแร 54.4 83.3 53.9 85.3 52.4 82.6

คามาตรฐาน* 70 115 70 115 70 115

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที ่15 (พ.ศ.2540) เรื่อง กําหนดมาตรฐานระดับเสยีงโดยทั่วไป

6) สรุปผลการตรวจวัดระดับเสียง

จากการตรวจวัดระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr.) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) ในชวงวันท่ี 21-24

สิงหาคม 2561 พบวา ท้ัง 4 สถานีท่ีทําการตรวจวัดมีคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr.) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax)

อยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 15 พ.ศ. 2540 เร่ือง กําหนดมาตรฐานระดับเสียง

โดยท่ัวไป พบวา มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไว คือคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr.) ไมเกิน 70 เดซิเบล เอ

และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) ไมเกิน 115 เดซิเบล เอ

Page 17: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-17 | ห น า

2.2.3 แรงสั่นสะเทือน

1) ดัชนใีนการตรวจวัด

- ความเร็วของอนุภาค (Peak Particle Velocity)

- ความถ่ี (Frequency, Hz)

2) จุดตรวจวัด

ตําแหนงสถานีตรวจวัดแสดงไดดังรูปที่ 2-1 รายละเอียดดังตอไปน้ี

- บานมะขามดานทิศตะวันตกเฉียงใต พิกัด UTM: 47 P 569500E, 1012800 N

3) อุปกรณในการตรวจวัด

- MiniMate Plus Series III : ระดับนํ้า

- คอมพิวเตอร : ตลับเมตร

- Global Positioning System

4) วิธีการตรวจวัด

ติดต้ังเคร่ือง MiniMate Plus Series III บริเวณขอบของเขตประทานบัตรหรือเขตประกอบการหรือขอบดานนอก

ของเขตกันชน (Buffer Zone) โดยใชมาตรความสั่นสะเทือนตามมาตรฐานองคการระหวางประเทศวาดวยมาตรฐาน

(International Organization for Standardization) ท่ี ISO 4866 โดยการตรวจวัดความสัน่สะเทือนใหเปนไปตามมาตรฐาน

DIN 4150 ซึ่งการติดต้ังเคร่ืองมือตรวจวัดจะต้ังบนพื้นดินในแนวราบในระดับท่ีเทากันโดยตองทําใหหัววัดความสั่นสะเทือนไม

สามารถขยับ หรือเคลื่อนไหวจากตําแหนงท่ีติดต้ังในขณะท่ีทําการตรวจวัดไดหรือหากทําการตรวจวัดบนฐานคอนกรีตท่ีมีความ

สูงจากพื้นดินไมเกิน 0.5 ม. ตามคําแนะนําของคณะกรรมการ ควบคุมมลพิษ ในประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม เร่ือง กําหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทําเหมืองหิน ลงวันท่ี 7 พฤศจิกายน พ.ศ.

2548

5) ผลการตรวจวัดแรงสัน่สะเทือน

จากผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหนาเหมืองโดยจะทําการตรวจวัดความสั่นสะเทือน (ความถ่ี,

ความเร็วของอนุภาค, การขจัด) โดยทําการตรวจวัดในวันท่ี 21 สิงหาคม 2561 ผลการตรวจวัดคาแรงสั่นสะเทือนแสดงดัง

ตารางที่ 2-7 หนังสือรับรองผลการวิเคราะหทางหองปฏิบัติการดังเอกสารแนบ 5 และเอกสารสอบเทียบเคร่ืองมือดังเอกสาร

แนบ 6 และเอกสารข้ึนทะเบียนหองปฏิบัติการหองวิเคราะห ดังเอกสารแนบ 7

ตารางที ่2-7 ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนขณะระเบิดหนาเหมืองในวันท่ี 21 สิงหาคม 2561

สถานี วัน/เดือน/ป ความถ่ี

(เฮิรตซ)

ความเร็วอนุภาค

(มม./วินาที)

คา

มาตรฐาน*

ระยะขจัด

(มม.)

คา

มาตรฐาน*

บานมะขามดานทิศ

ตะวันตกเฉียงใต 21/08/2018

TRANSVERSE 13 1.016 16.3 0.012 0.20

VERTICAL 19 0.444 23.9 0.005 0.20

LONGITUDINAL 11 0.794 13.8 0.011 0.20

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานการควบคุมระดับเสยีงและความสั่นสะเทือนจากการทําเหมืองหิน

(พ.ศ.2548)

N/A หมายถึง คาความถี่ < 2 เฮิรต , คาความเร็วอนุภาคสูงสุด < 0.530 มิลลิเมตร/วินาที, ระยะขจัด = 0 มิลลิเมตร

Page 18: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-18 | ห น า

6) สรุปผลการตรวจวัดความสั่นสะเทือน

จากการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในขณะระเบิดหนาเหมืองของโครงการในวันท่ี 21 สิงหาคม 2561 พบวา ผลการ

ตรวจวัดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานกําหนด ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เร่ือง กําหนดมาตรฐาน

ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทําเหมืองหิน พ.ศ. 2548 ดังตารางที่ 2-8

ตารางที่ 2-8 มาตรฐานควบคุมระดับแรงสั่นสะเทือนจากการทําเหมืองหิน ความถ่ี

(เฮิรตซ)

ความเร็วอนุภาค

(มม./วินาที)

การขจัด

(มม.)

ความถ่ี

(เฮิรตซ)

ความเร็วอนุภาค

(มม./วินาที)

การขจัด

(มม.)

1 4.7 0.75 21 26.4 0.20

2 9.4 0.75 22 27.6 0.20

3 12.7 0.67 23 28.9 0.20

4 12.7 0.51 24 30.2 0.20

5 12.7 0.40 25 31.4 0.20

6 12.7 0.34 26 32.7 0.20

7 12.7 0.29 27 33.9 0.20

8 12.7 0.25 28 35.2 0.20

9 12.7 0.23 29 36.4 0.20

10 12.7 0.20 30 37.7 0.20

11 13.8 0.20 31 39.0 0.20

12 15.1 0.20 32 40.2 0.20

13 16.3 0.20 33 41.5 0.20

14 17.6 0.20 34 42.7 0.20

15 18.8 0.20 35 44.0 0.20

16 20.1 0.20 36 45.2 0.20

17 21.4 0.20 37 46.5 0.20

18 22.6 0.20 38 47.8 0.20

19 23.9 0.20 39 49.0 0.20

20 25.1 0.20 40 ขึ้นไป 50.8 0.20

ท่ีมา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมระดบัเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทําเหมืองหิน , พ.ศ. 2548

Page 19: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-19 | ห น า

2.2.4 คุณภาพน้ํา

1) ดัชนีและวิธีการตรวจวัด

ดัชนีและวิธีการตรวจวัดคุณภาพนํ้าแสดงรายละเอียดในตารางที่ 2-9

ตารางที ่2-9 แสดงดัชนีและวิธีการตรวจวัดคุณภาพนํ้า ดัชน ี วิธีการตรวจวัด

ความเปนกรด-ดาง (pH) Electrometric Method (4500-H+B)

ตะกอนแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) Dried at 103-105 0C (2540 D)

ตะกอนละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) Dried at 180 0C (2540 C)

ความกระดางทั้งหมด (Total Hardness) EDTA Titrimetric Method (2340 C)

ความขุน (Turbidity) Nephelometric Method (2130 B)

ซัลเฟต (Sulfate) Turbidimetric Method (4500-SO2-4 E)

เหล็ก (Iron) Digestion, Inductively Coupled Plasma Method (3030 F, 3120 B)

2) สถานีตรวจวัด

ตําแหนงสถานีตรวจวัดแสดงไดดังรูปที่ 2-1 รายละเอียดดังตอไปน้ี

- คลองทาทองกอนไหลผานเขาใกลโครงการ พิกัด : UTM 47 P 574700 E,1012704 N

- คลองทาทองหลังไหลผานเขาใกลโครงการ พิกัด : UTM 47 P 569008 E,1013300 N

- บาดาลบานวัดนอก พิกัด : UTM 47 P 569702 E,1013500 N

- ประปาบาดาลบานทาแร พิกัด : UTM 47 P 571000 E,1012100 N

- ประปาบาดาลบานมะขาม พิกัด : UTM 47 P 568400 E,1013000 N

3) ผลการวิเคราะห

(1) คณุภาพน้ําผิวดิน

จากผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าผิวดินบริเวณ คลองทาทองกอนและหลังไหลผานเขาใกลพื้นท่ีโครงการและ

บริเวณคลองทาทองหลังไหลผานเขาใกลพื้นท่ีโครงการ ซึ่งเก็บตัวอยางในวันท่ี 24 สิงหาคม 2561 ผลการวิเคราะหแสดง ดัง

ตารางที่ 2-10 จากผลการวิเคราะหดังกลาวพบวา คาความเปนกรด-ดาง อยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการ

สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2537 เร่ือง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน หนังสือรับรองผลการวิเคราะห

ทางหองปฏิบัติการดังเอกสารแนบ 5 และเอกสารสอบเทียบเคร่ืองมือดังเอกสารแนบ 6 และเอกสารข้ึนทะเบียนหองปฏิบัติการ

หองวิเคราะห ดังเอกสารแนบ 7

(2) คณุภาพน้ําใตดิน

จากผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าใตดินบริเวณบอบาดาลบานวัดนอก บอบาดาลบานทาแร และบอบาดาลบาน

มะขาม ซึ่งเก็บตัวอยางในวันท่ี 24 สิงหาคม 2561 พบวา ผลการวิเคราะหมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เร่ือง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับปองกันดานสาธารณสุขและ

การปองกันในเร่ืองสิ่งแวดลอมเปนพิษ พ.ศ. 2551 แสดงดังตารางที่ 2-11 หนังสือรับรองผลการวิเคราะหทางหองปฏิบัติการดัง

เอกสารแนบ 5 และเอกสารสอบเทียบเคร่ืองมือดังเอกสารแนบ 6 และเอกสารข้ึนทะเบียนหองปฏิบัติการหองวิเคราะห ดัง

เอกสารแนบ 7

Page 20: มาตรการป องกันและแก ไขผลกระทบสิ่งแวดล อม และมาตรการติดตาม ...eia.onep.go.th/images/monitor/1547611379.pdf ·

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 2

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 2-20 | ห น า

ตารางที ่2-10 แสดงผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าผิวดิน

ดัชน ี หนวย ผลการวิเคราะห

คามาตรฐาน* คลองทาทองกอนไหลผานพื้นท่ีโครงการ คลองทาทองหลังไหลผานพื้นท่ีโครงการ

ความเปนกรด-ดาง (pH) - 7.99 8.02 5.0-9.0

ตะกอนแขวนลอยทั้งหมด

(Total Suspended Solids) mg/L 7.0 <2.5 -

ตะกอนละลายทั้งหมด

(Total Dissolved Solids) mg/L 240 225 -

ความกระดางทั้งหมด

(Total Hardness)

mg/L as

CaCO3 138.4 142.0 -

ความขุน (Turbidity) NTU 2.93 3.64 -

ซัลเฟต (Sulfate) mg/L 6.1 6.0 -

เหล็ก (Iron) mg/L 0.137 0.148 -

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2537 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน (ประเภทที่ 3)

ตารางที ่2-11 แสดงผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าใตดิน

ดัชน ี หนวย ผลการวิเคราะห คามาตรฐาน*

St.1 St.2 St.3 เกณฑท่ีเหมาะสม เกณฑอนุโลมสูงสดุ

ความเปนกรด-ดาง (pH) - 7.24 7.41 7.46 7.0-8.5 6.5-9.2

ตะกอนแขวนลอยทั้งหมด

(Total Suspended Solids) mg/L 4.0 4.0 5.0 - -

ตะกอนละลายทั้งหมด

(Total Dissolved Solids) mg/L 305 330 300 600 1,200

ความกระดางทั้งหมด

(Total Hardness)

mg/L as

CaCO3 136.3 251.0 155.1 300 500

ความขุน (Turbidity) NTU 0.31 0.20 0.17 5 20

ซัลเฟต (Sulfate) mg/L 6.4 7.6 10.5 200 250

เหล็ก (Iron) mg/L 0.135 0.084 0.078 0.5 1.0

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับปองกันดานสาธารณสุขและ

การปองกันในเรื่องสิ่งแวดลอมเปนพิษ พ.ศ. 2551

St.1 คือ บาดาลบานวัดนอก

St2. คือ ประปาบาดาลบานทาแร

St.3 คือ ประปาบาดาลบานมะขาม