83
กฎหมายปกครอง นายพงษ์เดช วานิชกิตติกูล

กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กฎหมายปกครอง

นายพงษ์เดช วานิชกิตติกูล

Page 2: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

เนื้อหาที่สำคัญ

Page 3: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

• หลักการสำคัญ

• ลักษณะของฝ่ายปกครอง (ฝ่ายปกครองคือใคร)

• อำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง

• การกระทำของฝ่ายปกครอง

• ความรับผิดของฝ่ายปกครอง

• การควบคุมฝ่ายปกครอง

• เขตอำนาจของศาลปกครอง

• คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

Page 4: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หนังสืออ้างอิง

คําอธิบายวิชากฎหมายปกครอง (ภาคทั่วไป), ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. จิรนิติ หะวานนท์ ข้อความคิดและหลักการพ้ืนฐานบางประการของกฎหมายปกครอง, ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. วรพจน์ วิศรุตพิษญ์ คําอธิบายกฎหมายปกครอง, ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ชาญชัย แสวงศักดิ์ หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ, ศาสตราจารย์ ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์ หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง, ศาสตราจารย์ ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ

Page 5: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

French Administrative Law and the Common-Law World, Bernard Schwartz, New York University Press, 2006. Tradition and Change in Administrative Law an Anglo-German Comparison, Martina Kunnecke, Springer, 2007. French Law: A Comparative Approach, Second Edition, Eva Steiner, Oxford University Press, 2018. Administrative Law, Sixth Edition, William F. Funk, Richard H. Seamon, Wolters Kruwer, 2020.

Page 6: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความเบื้องต้น

Page 7: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พัมนาการของการปกครอง

• พัฒนาการเมืองการปกครอง

• การเกิดรัฐสมัยใหม่

• อำนาจหน้าที่ของรัฐ

• หลักนิติรัฐและนิติธรรม

Page 8: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พัฒนาการเมืองการปกครอง

Socrates มุ่งเน้น การเมืองการปกครองทางด้าน

คุณธรรมและศีลธรรมจรรยา

Plato กล่าวถึงการจัดรูปแบบของรัฐในทางอุดมคติ

ปกครองโดยนักปราชญ์ (Republic)

Aristotle กล่าวถึงรัฐที่จัดรูปแบบทางการเมืองอย่าง

เป็นระเบียบ

Page 9: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รูปแบบการปกครอง

ผู้ปกครองคนเดียว อริสโตเติลเห็นว่าหากผู้ปกครองคนนั้นใช้อํานาจที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ก็ต้องเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบทรราชาธิปไตย (Tyranny) แต่หากผู้ปกครองนั้นใช้อํานาจเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมก็ต้องเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบราชาธิปไตย (Monarchy) ปกครองโดยกลุ่มคน หากกลุ่มบุคคลผู้ปกครองนั้นใช้อํานาจเพ่ือผลประโยชน์ของพวกพ้องในกลุ่มของตนก็ต้องเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบคณาธิปไตย (Oligarchy) แต่หากกลุ่มบุคคลนั้นใช้อํานาจเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) ปกครองโดยประชาชน อริสโตเติลแยกออกเป็น ๒ ประเภทด้วยกัน คือ การปกครองโดยมวลชน (Democracy) และการปกครองโดยรัฐธรรมนูญ (Polity) อริสโตเติลมองการปกครองแบบมวลชนว่าเป็นการปกครองโดยประชาชนจํานวนมากที่เป็นกลุ่มคนชั้นกรรมาชีพ ส่วนการปกครองโดยรัฐธรรมนูญนั้น อริสโตเติลเห็นว่าเป็นทางสายกลาง เพราะเป็นการเอาประชาธิปไตย (Democracy) กับคณาธิปไตย (Oligarchy) มารวมกัน คือ เป็นการปกครองโดยกลุ่มคนชั้นกลางที่มีฐานะและมีความรู้

Page 10: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

แนวคิดการเกิดรัฐ

ทฤษฎีเทวสิทธิ์ (Divine Theory) ทฤษฎีว่าด้วยสัญญาประชาคม (Social Contract Theory) โธมัส ฮ้อบส์ (Thomas Hobbes) จอห์น ล็อค (John Locke) จัง จ๊าคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)

Page 11: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐสมัยใหม่

องค์ประกอบของรัฐ (ดินแดน ประชากร อธิปไตย รัฐบาล)

นโปเลียน โบนาปารท์ (Napolean Bonaparte) ก่อให้เกิด

แนวคิดชาตินิยม

Page 12: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

อำนาจหน้าที่ของรัฐ

คุ้มครองดูแลประชาชน

ภายใน

ภายนอก

ประโยชน์สาธารณะ

อํานาจเหนือประชาชนของรัฐ

Page 13: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

นิติรัฐ / นิติธรรม

นิติรัฐ (Legal State) มีขึ้นเพ่ือจํากัดอํานาจของรัฐหรือผู้

ปกครองให้อยู่ในขอบเขตของกฎหมาย

หลักนิติธรรม (The Rule of Law) เป็นหลักการพ้ืนฐานใน

ระบบกฎหมายอังกฤษ ในประเทศอังกฤษความคิดที่ว่ามนุษย์

ไม่ควรต้องถูกปกครองโดยมนุษย์ แต่ควรจะต้องถูกปกครอง

โดยกฎหมาย

Page 14: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

นิติรัฐ• บรรดาการกระทำทั้งหลายขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารจะต้องชอบด้วยกฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ

• บรรดากฎหมายทั้งหลายที่องค์กรของรัฐ ฝ่ายนิติบัญญัติได้ตราขึ้นจะต้องชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

• ต้องมีองค์กรตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายที่เป็นอิสระ

Page 15: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

นิติธรรม

• บุคคลทุกคนย่อมเสมอภาคกันต่อหน้ากฎหมาย

• กฎหมายจะต้องบังคับเป็นการทั่วไปกับบุคคลทุกคน ไม่เว้นแม้แต่องค์กรเจ้าหน้าที่ของรัฐ

• กฎหมายจะต้องได้รับการประกาศใช้อย่างเปิดเผย

Page 16: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พัฒนาการของกฎหมาย

• กฎหมายเอกชน

• กฎหมายมหาชน

• กฎหมายรัฐธรรมนูญ

• กฎหมายปกครอง

Page 17: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พัฒนาการของกฎหมายมหาชน

ยคุโรมนั

ยคุกลาง

ยคุปฏวิตัฝิรัง่เศส

ยคุปจัจบุนั

Page 18: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ประเภทของกฎหมายมหาชน กฎหมายรฐัธรรมนญู

กฎหมายปกครอง

Page 19: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

ว่าด้วยการใช้อํานาจรัฐหรืออํานาจอธิปไตย

องค์กรผู้ใช้อํานาจรัฐ อํานาจหน้าที่และความสัมพันธ์

ระหว่างองค์กรผู้ใช้อํานาจ รวมถึงความสัมพันธ์กับ

ประชาชน และหลักประกันสิทธิเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของ

ประชาชน

Page 20: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กฎหมายปกครอง

ว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองหรือการบริหาร

ภายในรัฐ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับบริการสาธารณะในด้าน

ต่าง ๆ การใช้อํานาจและการกระทําทางปกครอง และ

นิติสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน ตลอดจน

การควบคุมฝ่ายปกครอง

Page 21: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กฎหมายปกครองเปรียบเทียบ

Page 22: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ประเทศฝรั่งเศส

• การปฏิวัติฝรั่งเศส

• การเกิดศาลปกครองและกฎหมายปกครอง

Page 23: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

French Administrative Legal Doctrines

• Right to fair trial, including for internal disciplinary bodies

• Right to challenge any administrative decision before an administrative court

• Equal treatment of public service users

• Equal access to government employment

• Freedom of association

• Right to Entrepreneurship (freedom of commerce and industry)

• Right to legal certainty

Page 24: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ประเทศเยอรมนี• การปกครองแบบรัฐรวม

• กฎหมายปกครองเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายมหาชน

• ว่าด้วยการจัดองค์กร การปฏิบัติหน้าที่ กฎระเบียบ และคำสั่งของฝ่ายปกครอง

• กฎหมายปกครองทั่วไปและกฎหมายปกครองพิเศษ

Page 25: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หลักการพื้นฐาน

• Principle of the legality of the authority ห้ามกระทำการโดยปราศจากกฎหมายและห้ามกระทำการฝ่าฝืนกฎหมาย

• Principle of legal security ความแน่นอนของกฎหมายและห้ามผลย้อนหลังทางกฎหมาย

• Principle of proportionality การกระทำต้องเหมาะสม จำเป็น และได้สัดส่วน

Page 26: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ประเทศอังกฤษ

• หลักกฎหมายจารีตประเพณี (common law)

• หลักการว่าด้วยความสูงสุดของรัสภา

• หลักนิติธรรม

Page 27: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

แนวคิดกฎหมายปกครอง

• แบ่งแยกหลักกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน (O'Reilly v Mackman, [1983] 2 AC 237)

• ตั้งศาลปกครองในศาลสูง (High Court) ในปี 2000

Page 28: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ประเทศสหรัฐอเมริกา

• การปกครองแบบรัฐรวม มี 2 ระดับ

• การแบ่งแยกอำนาจ

• Federal Agencies

Page 29: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

Administrative Procedure Act1. to require agencies to keep the public

informed of their organization, procedures and rules;

2. to provide for public participation in the rule-making process, for instance through public commenting;

3. to establish uniform standards for the conduct of formal rule-making and adjudication;

4. to define the scope of judicial review.

Page 30: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

วิวัฒนาการกฎหมายปกครองของประเทศไทย

Page 31: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

แนวคิดกฎหมายปกครอง• แต่เดิมนักกฎหมายไทยเข้าใจกันว่ากฎหมายแบ่งออกเป็น ๒ สาขา คือ กฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญา

• ตอนปลายรัชกาลที่ ๖ นักกฎหมายชาวฝรั่งเศส ๒ คน คือ ดร.ดูปลาตร์ และ ดร.เอกูต์ เริ่มอธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

• ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ นายปรีดี พนมยงค์ ได้สอนวิชากฎหมายปกครองเป็นครั้งแรกในโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม

• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ก็ได้กำหนดให้มีการจัดตั้งศาลปกครองแยกออกต่างหากจากศาลยุติธรรมไว้ในมาตรา ๒๑๒ ว่า ศาลปกครองและศาลในสาขาแรงงาน สาขาภาษี หรือสาขาสังคม จะตั้งขึ้นได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ

• พระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้จัดตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ขึ้นมาพิจารณาวินิจฉัยคดีปกครองแต่มิได้เป็นศาลปกครอง

Page 32: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

การจัดตั้งศาลปกครอง

• พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๓๔ โดยได้เพิ่มเติมบทบัญญัติว่า ด้วยศาลปกครองไว้ในรัฐธรรมนูญ รัฐบาลซ่ึงมีนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย ต่อรัฐสภาว่า “รัฐบาลจะปรับปรุงกระบวนการอํานวยความยุติธรรมท้ังทางปกครอง ทางแพ่ง และทางอาญา ให้มี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว เป็นธรรมและท่ัวถึง รวมทั้งพัฒนาให้ทันสมัย เป็นระบบท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน”

• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ บัญญัติให้มีการจัดต้ังศาลปกครองข้ึนต่างจากระบบศาลยุติธรรม

Page 33: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ลักษณะของหลักกฎหมายปกครอง

• บทบัญญัติเกี่ยวกับฝ่ายปกครองมีจำนวนมาก

• ไม่มีหลักกฎหมายทั่วไปหรือประมวลกฎหมายที่กำหนดว่าการกระทำใดเป็นการกระทำทางปกครองอย่างชัดเจน

• องค์กรฝ่ายปกครองอาจมอบหมายให้เอกชนดำเนินการแทน

• องค์กรฝ่ายปกครองอาจจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายแพ่ง

• การกระทำของฝ่ายปกครองบางอย่างอาจอยู่ภายใต้หลักการของกฎหมายแพ่ง

Page 34: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หัวข้อบรรยาย

Page 35: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

• ฝ่ายปกครองคือใคร

• รัฐและการจัดองค์กรของรัฐ

• อำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง

• การกระทำของฝ่ายปกครอง

• ประเภทของการกระทำทางปกครอง

• ผลของการกระทำทางปกครอง

Page 36: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

การแบ่งแยกอำนาจ The Separation of Powers

Page 37: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

แนวคิด

• มองเตสกิเออ “เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย”

• การแบ่งหน้าที่

• การดุลและคาน

Page 38: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

อำนาจโน้มเอนสู่การฉ้อฉล อำนาจเด็ดขาดย่อมฉ้อฉลโดยสมบูรณ์

Lord Acton

Page 39: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

การแบ่งหน้าที่

• ฝ่ายนิติบัญญัติ (The Legislative Branch)

• ฝ่ายบริหาร (The Executive Branch)

• ฝ่ายตุลาการ (The Judicial Branch)

Page 40: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐธรรมนูญ

Page 41: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความชอบด้วยกฎหมาย

• หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐธรรมนูญ

• กฎหมายเป็นที่มาแห่งอำนาจและเป็นข้อจำกัดของฝ่ายปกครอง

Page 42: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ

• ความสำคัญของสิทธิเสรีภาพ

• สิทธิมนุยชน

• หลักประกันตามรัฐธรรมนูญ

• ลำดับชั้นของกฎหมาย

Page 43: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

มาตรา ๓  อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม

มาตรา ๔   ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง

ปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน มาตรา ๕  รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎหรือข้อ

บังคับ หรือการกระทําใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระทํานั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทําการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้น

ไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มาตรา ๔๑  บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ

(๑) ได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๒) เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐและได้รับแจ้งผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว (๓) ฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดเนื่องจากการกระทําหรือการละเว้นการกระทําของ

ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ

Page 44: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญในทางปฏิบัติ

(Constitutional law in action or concretised constitutional law)

Page 45: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

องค์ประกอบของรัฐ

• ดินแดน (เขตแดนที่แน่นอน)

• พลเมือง (ประชากรที่มีสัญชาติเดียวกันโดยรัฐ)

• อำนาจอธิปไตย (ความเป็นเอกราช)

• รัฐบาล (ฝ่ายบริหาร)

Page 46: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐ (รัฐบาล) และฝ่ายปกครอง

Page 47: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ฝ่ายบริหาร

อํานาจหนา้ทีใ่นฐานะรฐับาล ( The Government) อนัเปน็อํานาจหนา้ทีซ่ึง่คณะรฐัมนตรใีชร้ว่มกนัอยา่งหนึง่

อํานาจหนา้ทีใ่นฐานะฝา่ยปกครอง ( The Administration ) อนัเปน็อํานาจหนา้ทีซ่ึง่นายกรฐัมนตร ีหรอืรฐัมนตรแีตล่ะคนเปน็ผูใ้ชใ้นการบรหิารงานของกระทรวงหรอืทบวงการเมอืงทีต่นเปน็ผู้ปกครองบงัคบับญัชา

Page 48: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

อำนาจหน้าที่ในฐานะรัฐบาล

อำนาจหน้าที่ที่จะกำหนดและดำเนินนโยบายของรัฐบาล กิจการที่ฝ่ายบริหารปฏิบัติในฐานะของรัฐบาลนั้น คือ กิจการประเภทสำคัญ ๆ เกี่ยวกับการดำเนินนโยบายของรัฐบาลที่จัดทำเพื่อความดำรงอยู่ ความปลอดภัย ความเจริญ และความมั่นคงของประเทศ เช่น การวางแผนเศรษฐกิจของชาติ การทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ การติดต่อดำเนินงานระหว่างคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเพื่อบริหารราชการของประเทศ ฯลฯ

Page 49: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

อำนาจหน้าที่ในฐานะฝ่ายปกครอง

อำนาจหน้าที่ในการดำเนินการที่ต้องปฏิบัติเป็นปกติธุระเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและนโยบายที่รัฐบาลวางไว้ เป็นการปฏิบัติในรายละเอียดที่มีกลไกในทางปฏิบัติมากมายหลายประการซึ่งฝ่ายปกครองจัดทำอยู่เป็นประจำ และการปฏิบัติกิจการในทางปกครองนั้น นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่ละคนพร้อมด้วยข้าราชการและพนักงานตามกระทรวงทบวงการเมืองต่าง ๆ เป็นผู้ปฏิบัติ คณะรัฐมนตรีไม่จำต้องวินิจฉัยสั่งการด้วยตนเองทุกเรื่องไปเหมือนกับกิจการในหน้าที่ของรัฐบาล เว้นแต่เรื่องสำคัญที่เกี่ยวกับนโยบายซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงย่อมจะนำขึ้นเสนอขอคำวินิจฉัยจากคณะรัฐมนตรีก่อนปฏิบัติ เพราะฉะนั้นกิจการในหน้าที่ของฝ่ายปกครองรัฐบาลจึงมอบหมายให้กระทรวงและทบวงการเมืองต่าง ๆ เป็นผู้ปฏิบัติแทนโดยตลอด กิจการที่ฝ่ายบริหารปฏิบัติในฐานะของฝ่ายปกครองก็คือ กิจการต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าที่ของกระทรวงทบวงการเมืองต่างๆ เช่น การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันประเทศ การสาธารณสุข การคมนาคม การเกษตร การอุตสาหกรรม การเศรษฐกิจ เป็นต้น

Page 50: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความหมายของฝ่ายปกครอง

• ฝ่ายบริหาร

• ความหมายในทางควบคุม

• ความหมายในการรับผิด

Page 51: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความหมายในทางควบคุม

Page 52: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ

“หน่วยงานทางปกครอง” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือให้ดำเนินกิจการทางปกครอง

Page 53: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า

(๑) ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง

(๒) คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งมีกฎหมายให้อำนาจในการออกกฎ คำสั่ง หรือมติใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อบุคคล และ

(๓) บุคคลที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในกำกับดูแลของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าของรัฐตาม (๑) หรือ (๒)

Page 54: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อำนาจหรือได้รับมอบให้ใช้อำนาจทางปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม

Page 55: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความหมายในการรับผิด

Page 56: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย

Page 57: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใด

Page 58: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความหมายอย่างกว้าง

Page 59: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ฝ่ายปกครอง• หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

• รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา

• หน่วยงานอื่นของรัฐ

• หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือให้ดำเนินกิจการทางปกครอง

Page 60: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

Page 61: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

• ราชการส่วนกลาง

• ราชการส่วนภูมิภาค

• ราชการส่วนท้องถิ่น

Page 62: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ราชการส่วนกลาง

กระทรวง (รวมถงึสำนกันายกรฐัมนตร)ี

ทบวง

กรม

สว่นราชการทีเ่รยีกชือ่อยา่งอืน่และมฐีานะเปน็กรม

Page 63: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กระทรวงสำนกันายกรฐัมนตร ี: นายกรฐัมนตร ี

กระทรวง : รฐัมนตรวีา่การ

รวม ๒๐ กระทรวง

Page 64: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ทบวง

มกีารจดัตัง้ทบวงซึง่มฐีานะเทยีบเทา่กระทรวง ๑ แหง่ คอื ทบวงมหาวทิยาลยั แตป่จัจบุนัไดถ้กูยกเลกิแลว้โดยมาตรา ๓ แหง่พระราชบญัญตัริะเบยีบบรหิารราชการกระทรวงศกึษาธกิาร พ.ศ. ๒๕๔๖ ในปจัจบุนัจงึไมม่ทีบวงซึง่มฐีานะเทยีบเทา่กระทรวง เปน็หนว่ยงานในระบบราชการสว่นกลางอกีตอ่ไป

ทบวงซึง่สงักดัสำนกันายกรฐัมนตรีหรอืกระทรวงนัน้ ไมป่รากฏวา่มกีารจดัตัง้ขึน้ในระบบราชการแตอ่ยา่งใด

Page 65: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

กรม

สงักดัสำนกันายกรฐัมนตร ีกระทรวงหรอืทบวง

มอีำนาจหนา้ทีเ่กีย่วกบัราชการสว่นใดสว่นหนึง่ของกระทรวงหรอืทบวงตามที่กำหนดในกฎกระทรวงแบง่สว่นราชการของกรม หรอืตามกฎหมายวา่ดว้ยอำนาจหนา้ทีข่องกรมนัน้

มอีธบิดเีปน็ผูบ้งัคบับญัชาขา้ราชการและรบัผดิชอบในการปฏบิตัริาชการ

การแบง่สว่นราชการภายในกรมเปน็ไปตามกฎกระทรวง ซึง่อาจแบง่ออกเปน็ กอง สำนกั กลุม่งาน ฝา่ย แผนก ลดหลัน่กนัไปตามสายการบงัคบับญัชา

Page 66: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม

สว่นราชการทีอ่ยูใ่นสงักดัของกระทรวงหรอืทบวง

สว่นราชการทีไ่มอ่ยูใ่นสงักดัของกระทรวงหรอืทบวง

Page 67: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ราชการส่วนภูมิภาคจงัหวดั

อำเภอ

ตำบล

หมูบ่า้น

Page 68: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ราชการส่วนท้องถิ่นองคก์ารบรหิารสว่นจงัหวดั

เทศบาล

องคก์ารบรหิารสว่นตำบล

Page 69: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐวิสาหกิจ

Page 70: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐวิสาหกิจ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบบริการสาธารณะทางอุตสาหกรรม

และพาณิชยกรรม (Industrial and Commercial Public Services) ซึ่งผลิต

และจําหน่ายสินค้าหรือบริการ ที่มีลักษณะเป็นการให้บริการสาธารณะและ

งานสาธารณูปโภคขนาดใหญ่หรืองานของรัฐบางด้านที่มีความสาคัญต่อ

ความมั่นคงและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ หรือ การดําเนินกิจกรรม

มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่รัฐยังจําเป็นต้องควบคุมและ

ดําเนินการแต่ผู้เดียว หรือเป็นงานที่ภาคเอกชน ยังไม่พร้อมที่จะะลงทุน

ดําเนินการหรือเป็นกิจการที่รัฐจําเป็นต้องแทรกแซงตลาดเพื่อให้เกิดการ

แข่งขันที่เป็นธรรมหรือให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะทั้งนี้เพื่อให้งานให้

บริการนั้นได้มาตรฐานทั้งในเรื่องคุณภาพ ปริมาณ ค่าใช้จ่าย และอื่น ๆ

Page 71: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

พระราชบัญญัติการพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘

พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓

พระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๑

พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘

Page 72: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

ความหมายที่กล่าวถึงส่วนใหญ่ คือ องค์การของรัฐบาลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ กิจการของรัฐซึ่งมีกฎหมายจัดตั้งขึ้น หรือ หน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ

Page 73: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐวิสาหกิจ

• รัฐวิสาหกิจที่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

• รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

Page 74: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐวิสาหกิจที่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้ขึน้โดยพระราชบญัญตั ิ

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้ขึน้โดยพระราชกฤษฎกีา

Page 75: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้ขึน้ตามกฎหมายเอกชน

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้โดยระเบยีบหรอืขอ้บงัคบัของหนว่ยงานทางปกครอง

Page 76: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หน่วยงานอื่นของรัฐ

Page 77: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

องค์การมหาชน หมายถึง องค์การมหาชนทั้งหลายที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษีกาออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์การมหาชนประเภทนี้เป็นหน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการจัดทำบริการสาธารณะเฉพาะด้าน หรือจัดทำให้แก่ประชาชนเฉพาะกลุ่ม

หน่วยงานอิสระของรัฐ เป็นหน่วยงานของรัฐที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้ตราเป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติจัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของศาลต่าง ๆ องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ

กองทุนนิติบุคคล หมายถึง นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นโดยตราเป็นพระราชบัญญัติเนื่องจากต้องการอำนาจรัฐในการบังคับฝ่ายเดียวต่อภาคเอกชนหรือประชาชนในการสมทบเงินเข้ากองทุน ทั้งนี้ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนก็เพื่อเป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจของรัฐในการดำเนินบริการสาธารณะแก่ประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ หรือเพื่อการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจเฉพาะด้าน

Page 78: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หลกัเกณฑใ์นการพจิารณาการเปน็หนว่ยงานของรฐั

๑. ความสมัพนัธก์บัรฐั

๒. กจิกรรม

๓. งบประมาณ/รายไดข้องหนว่ยงาน การคํา้ประกนัหน้ ี

๔. สถานะของบคุลากร

๕. วธิกีารและระบบกฎหมายทีใ่ชใ้นการทํากจิกรรม

๖. ความเปน็เจา้ของและอํานาจในการบรหิารจดัการ

Page 79: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

หน่วยงานที่ใช้อำนาจทางปกครอง

• องค์กรวิชาชีพ

• องค์การเอกชนที่ไม่ได้เป็นส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานของรัฐ

• รัฐวิสาหกิจที่มิได้จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือโดยพระราชกฤษฎีกา

Page 80: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

องค์กรวิชาชีพ

ใชอ้ำนาจปกครองกำหนดคณุสมบตัขิองการประกอบวชิาชพี

อยูภ่ายใตก้ารกำกบัดแูลจากรฐัหรอืฝา่ยปกครอง

Page 81: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๑๑๙/๒๕๔๖

กรณีประธานกรรมการมรรยาททนายความมีคำสั่งรับหรือไม่รับคำกล่าวหาว่า ทนายความประพฤติผิดมรรยาททนายความเป็นคำสั่งทางปกครองตามข้อบังคับของสภาทนายความว่าด้วยการสอบสวนคดีมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังนั้น สภาทนายความจึงเป็นหน่วยงานทางปกครองและการออกคำสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีจึงเป็นการกระทำในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐ

Page 82: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

องค์การเอกชน

กรณทีีพ่ระราชบญัญตัมิอบหมายใหเ้อกชนเปน็ผูด้ำเนนิการ

กรณทีีร่ฐัวสิาหกจิตามกฎหมายเอกชนเปน็ผูด้ำเนนิการบรกิารสาธารณะ

Page 83: กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 · อธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

คำวินิจฉัยชี้ขาดที่ ๓๗/๒๕๕๐

คดีนี้ จําเลยมีสถานะเป็นบริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชน จํากัด เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๖ โดยการเปลี่ยนทุนของการสื่อสารแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจตามพรบ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นทุนของบริษัทที่รัฐถือหุ้นทั้งหมดตามพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๒ แม้โดยผลของกฎหมายทําให้จําเลยมีสถานะเป็นบริษัทมหาชน แต่จําเลยยังคงมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทหนึ่งตามมาตรา ๒๖ แห่งพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบพรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ และมีอํานาจหน้าที่เช่นเดิมที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมและให้บริการทางด้านโทรคมนาคม จึงเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อํานาจ ทางปกครองหรือให้ดําเนินกิจการทางปกครองและมีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครองตามมาตรา ๓ แห่ง พรบ.จัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ. ๒๕๔๒