142
ประเพณีอาซูรอ รอฮานา สะอิ ศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัยรายวิชา 277-404 ศิลปนิพนธ์สาขาศิลปศึกษา แผนกวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

ประเพณีอาซูรอ - cai.oas.psu.ac.thcai.oas.psu.ac.th/~badul/01/28.pdf · ขอขอบคุณ เพื่อนๆพี่ๆน้องๆ วิชาเอกศิลปศึกษาทุกคนที่คอยกระตุ้นและเป็นแรงบันดาล

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ประเพณอีาซูรอ

    รอฮานา สะอ ิ

    ศิลปนิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาวจัิยรายวชิา 277-404 ศิลปนิพนธ์สาขาศิลปศึกษา

    แผนกวชิาศิลปศึกษา ภาควชิาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

    มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร์ วทิยาเขตปัตตานี

    ภาคเรียนที ่2 ปีการศึกษา 2556

  • หัวข้อศิลปนิพนธ์ : ประเพณอีาซูรอ ผู้ท าการศึกษา : นางสาวรอฮานา สะอิ สาขาวชิา : ศิลปศึกษา อาจารย์ทีป่รึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวฒัน์ ผดุงพงษ์ ปีการศึกษา : 2556 คณะกรรมการที่ปรึกษาประจ าตัวนักศึกษาและคณะกรรมการได้รับพิจารณาศิลปนิพนธ์เล่มนี้แล้ว เห็นสมควรเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

    คณะกรรมการตรวจสอบศิลปนิพนธ์ …………...................................ประธานกรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์)

    ………………………………………กรรมการ

    (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัมพร ศิลปเมธากุล)

    ……………………………………….กรรมการ (รองศาสตราจารย์วุฒิ วัฒนสิน)

    ………………………………………กรรมการ

    (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน ศิลปเมธากุล)

    ………………………………………กรรมการ

    (อาจารย์ประทีป สุวรรณโร)

    อนุมัติเมื่อวันที่……..เดือน…………..พ.ศ………..

  • ค ำน ำ

    ศิลปนิพนธ์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา 277-404 ศิลปนิพนธ์ สาขา

    ศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การศึกษาศิลปะ

    นิพนธ์คร้ังนี้ได้ท าการศึกษาในหัวข้อเร่ือง”ประเพณีอาซูรอ” ซึ่งผู้วิจัยได้ศึกษาประวัติความเป็นมา

    ของประเพณีอาซูรอ ความส าคัญและประโยชน์ของประเพณีอาซูรอ อีกทั้งศึกษาความหมาย

    ประเภท และเทคนิคทางจิตรกรรม การสร้างสรรค์ผลงานเกี่ยวกับประเพณีอาซูรอด้วยเทคนิค

    สื่อผสม

    ข้อมูลและเนื้อหาที่ปรากฏในวิจัยฉบับนี้ได้ศึกษาจากต ารา หนังสือและอินเตอร์เน็ต เป็น

    แนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะโดยใช้เทคนิคสื่อผสม เพื่อเผยแพร่และเห็นความส าคัญ

    ของประเพณีอาซูรอ

    ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เนื้อหาในศิลปนิพนธ์เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจและ

    ต้องการศึกษาค้นคว้าความรู้ต่างๆได้ไม่มากก็น้อย หากเน้ือหามีความบกพร่องประการใด ข้าพเจ้า

    ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

    รอฮานา สะอิ

    29 มกราคม 2557

  • บทคดัย่อ

    จากการศึกษาวิจัยเร่ือง ประเพณีอาซูรอ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาประวัติความ

    เป็นมาของประเพณีอาซูรอ 2.เพื่อศึกษาความรู้ทั่วไปของจิตรกรรมสื่อผสม 3.เพื่อสร้างสรรค์เป็น

    ผลงานจิตรกรรมเทคนิคสื่อผสม

    ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ประเพณีอาซูรอนับเป็นประเพณีทางประวัติศาสตร์ที่สืบทอดกัน

    มาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ อีกทั้งเป็นประเพณีท้องถิ่นดังเดิมของชาวไทยมุสลิม ค าว่า อาซูรอ เป็น

    ภาษาอาหรับ แปลว่า การผสมหรือการรวมกัน คือ การน าสิ่งของที่รับประทานได้หลายสิ่งหลาย

    อย่างมากวนรวมกัน มีทั้งชนิดคาวและหวาน ซึ่งการกวนอาซูรอ มักนิยมท ากันประมาณช่วงเดือน

    พฤศจิกายนของทุกปี และหรือตรงกับวันที่ 10 ของเดือนมุฮัรรอม อันเป็นเดือนแรกของฮิจเราะห์

    ศักราชตามศาสนาอิสลาม ซึ่งประเพณีเหล่านี้ถือว่าเป็นประเพณีที่มีคุณค่า ควรแก่การอนุรักษ์ฟื้นฟู

    สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ที่เป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ อัตลักษณ์แห่ง

    ความสมานฉันท์ ในหมู่ประชาชน คงค่าแห่งความดีงามบนรางธารแห่งศาสนา ที่จักถูกยึดโยงสืบ

    สานยังชนรุ่นหลังต่อไป

    การจัดองค์ประกอบศิลป์ การออกแบบผลงานเกี่ยวกับประเพณีอาซูรอนั้น ควรค านึง

    รูปแบบลักษณะรูปร่างรูปแบบที่มีความเหมือนจริงหรือก าหนดลักษณะรูปร่างรูปทรงที่มีขอบเขต

    และการจัดวางองค์ประกอบอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความสวยงามและดึงดูดความสนใจ การ

    สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม ข้าพเจ้าได้สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมเทคนิคสื่อผสมบนผ้าใบ ขนาด

    100x110 เซนติเมตร จ านวน 3 ชิ้น

    ชิ้นที่ 1 ชื่อภาพ ประเพณีอาซูรอ 1 ขนาด 100x110 เซนติเมตร เป็นการน าเสนอความคิด

    โดยแสดงออกในรูปแบบของศิลปะแนวสื่อผสม ซึ่งในการจัดองค์ประกอบเกี่ยวกับประเพณีอาซู

    รอ ผลงานโดยรวมทั้งหมดมีลักษณะการใช้สีโทนร้อนเพื่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นดั้งเดิม โดย

    การน าวัสดุ เช่น กระดาษทิชชู กระดาษสา หวาย ก้อนหิน เมล็ดข้าวเปลือก ก้นขวดน้ าอัดลม และ

    กากมะพร้าว มาสร้างสรรค์งานสื่อผสมโดยใช้กระบวนการทางจิตรกรรมควบคู่ มาจัดวาง

    องค์ประกอบให้สวยงาม เพื่อให้เห็นคุณค่าของประเพณีอาซูรอและความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ

    ปัตตานีและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ต่อไป

    ชิ้นที่ 2 ชื่อภาพ ประเพณีอาซูรอ 2 ขนาด 100x110 เซนติเมตร เป็นการน าเสนอความคิด

    โดยการจัดองค์ประกอบเกี่ยวกับประเพณี ผลงานโดยรวมทั้งหมดมีลักษณะการใช้สีโทนสีกลาง

  • เพื่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นดั้งเดิม โดยการน าวัสดุ เช่น กระดาษทิชชู หวาย ก้อนหิน เมล็ด

    ข้าวเปลือก ก้นขวดน้ าอัดลม และกากมะพร้าว มาสร้างสรรค์งานสื่อผสมโดยใช้กระบวนการทาง

    จิตรกรรมควบคู่ มาจัดวางองค์ประกอบให้สวยงาม เพื่อให้เห็นคุณค่าของประเพณีอาซูรอและ

    ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปัตตานีและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ต่อไป

    ชิ้นที่ 3 ชื่อภาพ ประเพณีอาซูรอ 3 ขนาด 100x110 เซนติเมตร เป็นการน าเสนอความคิด

    โดยการจัดองค์ประกอบเกี่ยวกับประเพณี ผลงานโดยรวมทั้งหมดมีลักษณะการใช้สีโทนสีกลาง

    เพื่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นดั้งเดิม โดยการน าวัสดุ เช่น กระดาษทิชชู หวาย ก้อนหิน เมล็ด

    ข้าวเปลือก ก้นขวดน้ าอัดลม และกากมะพร้าว และจัดองค์ประกอบให้สวยงาม เพื่อให้เห็นคุณค่า

    ของประเพณีอาซูรอและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ต่อไป

  • กติติกรรมประกาศ

    การศึกษาวิจัยและศิลปนิพนธ์ในครั้งนี้ “ประเพณีอาซูรอ” ความช่วยเหลือจากคณาจารย์

    แผนกวิชาศิลปศึกษาภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา

    นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ที่ได้ให้ค าปรึกษา และคอยช่วยเหลือให้การสนับสนุน อีกทั้งยังให้

    ความรู้ในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลต่างๆ การท างาน ตลอดจนข้อเสนอแนะในการท าศิลป

    นิพนธ์

    ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา ด้วยความเคารพและนับถืออย่างยิ่ง ซึ่งเป็นผู้ให้ก าเนิด อบรม

    สั่งสอนเลี้ยงดู และพี่สาว ผู้ให้การสนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ

    ขอขอบพระคุณ คณาจารย์ประจ าแผนกวิชาศิลปศึกษา และผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวัฒน์

    ผดุงพงษ์ ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ ที่คอยให้ค าปรึกษา ข้อเสนอแนะ ข้อคิดต่างๆ และยังถ่ายทอดองค์

    ความรู้ในการจัดท าศิลปนิพนธ์ จนท าให้มีผลงานศิลปะส าเร็จสมบูรณ์ทุกประการ

    ขอขอบคุณ เพื่อนๆพี่ๆน้องๆ วิชาเอกศิลปศึกษาทุกคนที่คอยกระตุ้นและเป็นแรงบันดาล

    ใจในการสร้างงาน จนท าให้เกิดความคิดสร้างสรรค์มีผลงานศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์

    สุดท้ายนี้ขอขอบคุณแหล่งวิชาการที่ให้ข้อมูล เนื้อหา ในการท าศิลปนิพนธ์คร้ังนี้จนส าเร็จ

    ลุล่วงไปด้วยดี

  • สารบัญ

    เร่ือง หน้า

    หน้าอนุมัต ิ ก

    ค าน า ข

    บทคัดย่อ ค

    กิตติกรรมประกาศ ง

    สารบัญ จ

    สารบัญภาพ ซ

    บทที่ 1 บทน า

    หลักการและเหตุผล 1

    วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2

    ขอบเขตการวิจัย 2

    นิยามศัพท์เฉพาะ 3

    วิธีด าเนินการวิจัย 4

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4

    บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

    1.ประวัติความเป็นมาของเมืองปัตตานี 5

    2.ประวัติความเป็นมาของวันอาซูรอ 11

    3.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศิลปะ 21

    4.องค์ประกอบศิลป์ 26

    5.จิตรกรรม 43

    6.จิตรกรรมสีน้ ามัน 48

    7.ศิลปะสื่อผสม 48

  • สารบัญ (ต่อ)

    เร่ือง หน้า

    บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน

    แนวความคิดและแรงบันดาลใจ 54

    การวางแผนการด าเนินงาน 54

    ขั้นตอนการด าเนินงาน 54

    ขั้นตอนการท าและสร้างสรรค์ผลงาน 56

    ผลงานศิลปนิพนธ์ 66

    วิเคราะห์ผลงาน 69

    บทที่ 4 โครงการสอนและแผนการสอน

    ค าอธิบายรายวิชา 73

    วัตถุประสงค์ 73

    โครงการสอน 74

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 79

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 82

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 85

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 89

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 92

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 96

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 99

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 102

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 105

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 109

  • สารบัญ(ต่อ)

    เร่ือง หน้า

    บทที่ 5 บทสรุป ปัญหา และข้อเสนอแนะ

    บทสรุป 112

    ปัญหา 113

    ข้อเสนอแนะ 114

    บรรณานุกรม 115

    ประวัติผู้เขียน 116

  • สารบัญภาพ

    ภาพประกอบ หน้า

    ภาพประกอบที่1 แสดงภาพอาซูรอ 11 ภาพประกอบที่2 แสดงภาพส่วนผสมอาซูรอ 12

    ภาพประกอบที่3 แสดงภาพการกวนอาซูรอ 13

    ภาพประกอบที่4 แสดงภาพอาซูรอ 13

    ภาพประกอบที่5 แสดงภาพจุด 27

    ภาพประกอบที่6 แสดงภาพเส้น 28

    ภาพประกอบที่7 แสดงภาพรูปร่าง รูปทรง 30

    ภาพประกอบที่8 แสดงภาพน้้าหนักอ่อนแก่ของแสงเงา 32

    ภาพประกอบที่9 แสดงภาพที่ว่าง 34

    ภาพประกอบที่10 แสดงภาพสี 36

    ภาพประกอบที่11 แสดงภาพพื้นผิว 40

    ภาพประกอบที่12 แสดงภาพศิลปะสื่อผสม 51

    ภาพประกอบที่13 แสดงภาพวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างสรรค์ 55

    ภาพประกอบที่14 แสดงภาพเฟรม 56

    ภาพประกอบที่15 แสดงภาพสเก็ตช์ชิ้นงานที่ 1 56

    ภาพประกอบที่16 แสดงภาพสเก็ตช์ชิ้นงานที่ 2 57

    ภาพประกอบที่17 แสดงภาพสเก็ตช์ชิ้นงานที่ 3 57

    ภาพประกอบที่18 แสดงภาพเฟรม 58

    ภาพประกอบที่19 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 58

    ภาพประกอบที่20 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 59

    ภาพประกอบที่21 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 59

    ภาพประกอบที่22 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 60

    ภาพประกอบที่23 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 60

  • สารบัญภาพ(ต่อ)

    ภาพประกอบ หน้า

    ภาพประกอบที่24 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 61

    ภาพประกอบที่25 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 61

    ภาพประกอบที่26 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 62

    ภาพประกอบที่27 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 62

    ภาพประกอบที่28 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 63

    ภาพประกอบที่29 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 3 63

    ภาพประกอบที่30 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่3 64

    ภาพประกอบที่31 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่3 64

    ภาพประกอบที่32 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่3 65

    ภาพประกอบที่33 แสดงภาพผลงานชิ้นที่ 1 66

    ภาพประกอบที่34 แสดงภาพผลงานชิ้นที่ 2 67

    ภาพประกอบที่35 แสดงภาพผลงานชิ้นที่ 3 68

  • สารบัญภาพ

    ภาพประกอบ หน้า

    ภาพประกอบที่1 แสดงภาพอาซูรอ 11 ภาพประกอบที่2 แสดงภาพส่วนผสมอาซูรอ 12

    ภาพประกอบที่3 แสดงภาพการกวนอาซูรอ 13

    ภาพประกอบที่4 แสดงภาพอาซูรอ 13

    ภาพประกอบที่5 แสดงภาพจุด 27

    ภาพประกอบที่6 แสดงภาพเส้น 28

    ภาพประกอบที่7 แสดงภาพรูปร่าง รูปทรง 30

    ภาพประกอบที่8 แสดงภาพน้้าหนักอ่อนแก่ของแสงเงา 32

    ภาพประกอบที่9 แสดงภาพที่ว่าง 34

    ภาพประกอบที่10 แสดงภาพสี 36

    ภาพประกอบที่11 แสดงภาพพื้นผิว 40

    ภาพประกอบที่12 แสดงภาพศิลปะสื่อผสม 51

    ภาพประกอบที่13 แสดงภาพวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างสรรค์ 55

    ภาพประกอบที่14 แสดงภาพเฟรม 56

    ภาพประกอบที่15 แสดงภาพสเก็ตช์ชิ้นงานที่ 1 56

    ภาพประกอบที่16 แสดงภาพสเก็ตช์ชิ้นงานที่ 2 57

    ภาพประกอบที่17 แสดงภาพสเก็ตช์ชิ้นงานที่ 3 57

    ภาพประกอบที่18 แสดงภาพเฟรม 58

    ภาพประกอบที่19 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 58

    ภาพประกอบที่20 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 59

    ภาพประกอบที่21 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 59

    ภาพประกอบที่22 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 60

    ภาพประกอบที่23 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 1 60

  • สารบัญ(ต่อ)

    เร่ือง หน้า

    บทที่ 5 บทสรุป ปัญหา และข้อเสนอแนะ

    บทสรุป 112

    ปัญหา 113

    ข้อเสนอแนะ 114

    บรรณานุกรม 115

    ประวัติผู้เขียน 116

  • สารบัญ (ต่อ)

    เร่ือง หน้า

    บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน

    แนวความคิดและแรงบันดาลใจ 54

    การวางแผนการด าเนินงาน 54

    ขั้นตอนการด าเนินงาน 54

    ขั้นตอนการท าและสร้างสรรค์ผลงาน 56

    ผลงานศิลปนิพนธ์ 66

    วิเคราะห์ผลงาน 69

    บทที่ 4 โครงการสอนและแผนการสอน

    ค าอธิบายรายวิชา 73

    วัตถุประสงค์ 73

    โครงการสอน 74

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 79

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 82

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 85

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 89

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 92

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 96

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 99

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 102

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 105

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 109

  • สารบัญ

    เร่ือง หน้า

    หน้าอนุมัต ิ ก

    ค าน า ข

    บทคัดย่อ ค

    กิตติกรรมประกาศ ง

    สารบัญ จ

    สารบัญภาพ ซ

    บทที่ 1 บทน า

    หลักการและเหตุผล 1

    วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2

    ขอบเขตการวิจัย 2

    นิยามศัพท์เฉพาะ 3

    วิธีด าเนินการวิจัย 4

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4

    บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

    1.ประวัติความเป็นมาของเมืองปัตตานี 5

    2.ประวัติความเป็นมาของวันอาซูรอ 11

    3.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศิลปะ 21

    4.องค์ประกอบศิลป์ 26

    5.จิตรกรรม 43

    6.จิตรกรรมสีน้ ามัน 48

    7.ศิลปะสื่อผสม 48

  • กติติกรรมประกาศ

    การศึกษาวิจัยและศิลปนิพนธ์ในครั้งนี้ “ประเพณีอาซูรอ” ความช่วยเหลือจากคณาจารย์

    แผนกวิชาศิลปศึกษาภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา

    นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ที่ได้ให้ค าปรึกษา และคอยช่วยเหลือให้การสนับสนุน อีกทั้งยังให้

    ความรู้ในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลต่างๆ การท างาน ตลอดจนข้อเสนอแนะในการท าศิลป

    นิพนธ์

    ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา ด้วยความเคารพและนับถืออย่างยิ่ง ซึ่งเป็นผู้ให้ก าเนิด อบรม

    สั่งสอนเลี้ยงดู และพี่สาว ผู้ให้การสนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ

    ขอขอบพระคุณ คณาจารย์ประจ าแผนกวิชาศิลปศึกษา และผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวัฒน์

    ผดุงพงษ์ ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ ที่คอยให้ค าปรึกษา ข้อเสนอแนะ ข้อคิดต่างๆ และยังถ่ายทอดองค์

    ความรู้ในการจัดท าศิลปนิพนธ์ จนท าให้มีผลงานศิลปะส าเร็จสมบูรณ์ทุกประการ

    ขอขอบคุณ เพื่อนๆพี่ๆน้องๆ วิชาเอกศิลปศึกษาทุกคนที่คอยกระตุ้นและเป็นแรงบันดาล

    ใจในการสร้างงาน จนท าให้เกิดความคิดสร้างสรรค์มีผลงานศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์

    สุดท้ายนี้ขอขอบคุณแหล่งวิชาการที่ให้ข้อมูล เนื้อหา ในการท าศิลปนิพนธ์คร้ังนี้จนส าเร็จ

    ลุล่วงไปด้วยดี

  • บทคดัย่อ

    จากการศึกษาวิจัยเร่ือง ประเพณีอาซูรอ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาประวัติความ

    เป็นมาของประเพณีอาซูรอ 2.เพื่อศึกษาความรู้ทั่วไปของจิตรกรรมสื่อผสม 3.เพื่อสร้างสรรค์เป็น

    ผลงานจิตรกรรมเทคนิคสื่อผสม

    ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ประเพณีอาซูรอนับเป็นประเพณีทางประวัติศาสตร์ที่สืบทอดกัน

    มาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ อีกทั้งเป็นประเพณีท้องถิ่นดังเดิมของชาวไทยมุสลิม ค าว่า อาซูรอ เป็น

    ภาษาอาหรับ แปลว่า การผสมหรือการรวมกัน คือ การน าสิ่งของที่รับประทานได้หลายสิ่งหลาย

    อย่างมากวนรวมกัน มีทั้งชนิดคาวและหวาน ซึ่งการกวนอาซูรอ มักนิยมท ากันประมาณช่วงเดือน

    พฤศจิกายนของทุกปี และหรือตรงกับวันที่ 10 ของเดือนมุฮัรรอม อันเป็นเดือนแรกของฮิจเราะห์

    ศักราชตามศาสนาอิสลาม ซึ่งประเพณีเหล่านี้ถือว่าเป็นประเพณีที่มีคุณค่า ควรแก่การอนุรักษ์ฟื้นฟู

    สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ที่เป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ อัตลักษณ์แห่ง

    ความสมานฉันท์ ในหมู่ประชาชน คงค่าแห่งความดีงามบนรางธารแห่งศาสนา ที่จักถูกยึดโยงสืบ

    สานยังชนรุ่นหลังต่อไป

    การจัดองค์ประกอบศิลป์ การออกแบบผลงานเกี่ยวกับประเพณีอาซูรอนั้น ควรค านึง

    รูปแบบลักษณะรูปร่างรูปแบบที่มีความเหมือนจริงหรือก าหนดลักษณะรูปร่างรูปทรงที่มีขอบเขต

    และการจัดวางองค์ประกอบอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความสวยงามและดึงดูดความสนใจ การ

    สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม ข้าพเจ้าได้สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมเทคนิคสื่อผสมบนผ้าใบ ขนาด

    100x110 เซนติเมตร จ านวน 3 ชิ้น

    ชิ้นที่ 1 ชื่อภาพ ประเพณีอาซูรอ 1 ขนาด 100x110 เซนติเมตร เป็นการน าเสนอความคิด

    โดยแสดงออกในรูปแบบของศิลปะแนวสื่อผสม ซึ่งในการจัดองค์ประกอบเกี่ยวกับประเพณีอาซู

    รอ ผลงานโดยรวมทั้งหมดมีลักษณะการใช้สีโทนร้อนเพื่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นดั้งเดิม โดย

    การน าวัสดุ เช่น กระดาษทิชชู กระดาษสา หวาย ก้อนหิน เมล็ดข้าวเปลือก ก้นขวดน้ าอัดลม และ

    กากมะพร้าว มาสร้างสรรค์งานสื่อผสมโดยใช้กระบวนการทางจิตรกรรมควบคู่ มาจัดวาง

    องค์ประกอบให้สวยงาม เพื่อให้เห็นคุณค่าของประเพณีอาซูรอและความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ

    ปัตตานีและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ต่อไป

    ชิ้นที่ 2 ชื่อภาพ ประเพณีอาซูรอ 2 ขนาด 100x110 เซนติเมตร เป็นการน าเสนอความคิด

    โดยการจัดองค์ประกอบเกี่ยวกับประเพณี ผลงานโดยรวมทั้งหมดมีลักษณะการใช้สีโทนสีกลาง

  • เพื่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นดั้งเดิม โดยการน าวัสดุ เช่น กระดาษทิชชู หวาย ก้อนหิน เมล็ด

    ข้าวเปลือก ก้นขวดน้ าอัดลม และกากมะพร้าว มาสร้างสรรค์งานสื่อผสมโดยใช้กระบวนการทาง

    จิตรกรรมควบคู่ มาจัดวางองค์ประกอบให้สวยงาม เพื่อให้เห็นคุณค่าของประเพณีอาซูรอและ

    ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปัตตานีและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ต่อไป

    ชิ้นที่ 3 ชื่อภาพ ประเพณีอาซูรอ 3 ขนาด 100x110 เซนติเมตร เป็นการน าเสนอความคิด

    โดยการจัดองค์ประกอบเกี่ยวกับประเพณี ผลงานโดยรวมทั้งหมดมีลักษณะการใช้สีโทนสีกลาง

    เพื่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นดั้งเดิม โดยการน าวัสดุ เช่น กระดาษทิชชู หวาย ก้อนหิน เมล็ด

    ข้าวเปลือก ก้นขวดน้ าอัดลม และกากมะพร้าว และจัดองค์ประกอบให้สวยงาม เพื่อให้เห็นคุณค่า

    ของประเพณีอาซูรอและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ต่อไป

  • ค ำน ำ

    ศิลปนิพนธ์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา 277-404 ศิลปนิพนธ์ สาขา

    ศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การศึกษาศิลปะ

    นิพนธ์คร้ังนี้ได้ท าการศึกษาในหัวข้อเร่ือง”ประเพณีอาซูรอ” ซึ่งผู้วิจัยได้ศึกษาประวัติความเป็นมา

    ของประเพณีอาซูรอ ความส าคัญและประโยชน์ของประเพณีอาซูรอ อีกทั้งศึกษาความหมาย

    ประเภท และเทคนิคทางจิตรกรรม การสร้างสรรค์ผลงานเกี่ยวกับประเพณีอาซูรอด้วยเทคนิค

    สื่อผสม

    ข้อมูลและเนื้อหาที่ปรากฏในวิจัยฉบับนี้ได้ศึกษาจากต ารา หนังสือและอินเตอร์เน็ต เป็น

    แนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะโดยใช้เทคนิคสื่อผสม เพื่อเผยแพร่และเห็นความส าคัญ

    ของประเพณีอาซูรอ

    ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เนื้อหาในศิลปนิพนธ์เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจและ

    ต้องการศึกษาค้นคว้าความรู้ต่างๆได้ไม่มากก็น้อย หากเน้ือหามีความบกพร่องประการใด ข้าพเจ้า

    ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

    รอฮานา สะอิ

    29 มกราคม 2557

  • หัวข้อศิลปนิพนธ์ : ประเพณอีาซูรอ ผู้ท าการศึกษา : นางสาวรอฮานา สะอิ สาขาวชิา : ศิลปศึกษา อาจารย์ทีป่รึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวฒัน์ ผดุงพงษ์ ปีการศึกษา : 2556 คณะกรรมการที่ปรึกษาประจ าตัวนักศึกษาและคณะกรรมการได้รับพิจารณาศิลปนิพนธ์เล่มนี้แล้ว เห็นสมควรเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

    คณะกรรมการตรวจสอบศิลปนิพนธ์ …………...................................ประธานกรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์)

    ………………………………………กรรมการ

    (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัมพร ศิลปเมธากุล)

    ……………………………………….กรรมการ (รองศาสตราจารย์วุฒิ วัฒนสิน)

    ………………………………………กรรมการ

    (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน ศิลปเมธากุล)

    ………………………………………กรรมการ

    (อาจารย์ประทีป สุวรรณโร)

    อนุมัติเมื่อวันที่……..เดือน…………..พ.ศ………..

  • ประเพณอีาซูรอ

    รอฮานา สะอ ิ

    ศิลปนิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาวจัิยรายวชิา 277-404 ศิลปนิพนธ์สาขาศิลปศึกษา

    แผนกวชิาศิลปศึกษา ภาควชิาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

    มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร์ วทิยาเขตปัตตานี

    ภาคเรียนที ่2 ปีการศึกษา 2556

  • สารบัญภาพ(ต่อ)

    ภาพประกอบ หน้า

    ภาพประกอบที่24 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 61

    ภาพประกอบที่25 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 61

    ภาพประกอบที่26 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 62

    ภาพประกอบที่27 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 62

    ภาพประกอบที่28 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 2 63

    ภาพประกอบที่29 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่ 3 63

    ภาพประกอบที่30 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่3 64

    ภาพประกอบที่31 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่3 64

    ภาพประกอบที่32 แสดงภาพลงมือเขียนภาพและสร้างสรรค์ผลงานชิ้นที่3 65

    ภาพประกอบที่33 แสดงภาพผลงานชิ้นที่ 1 66

    ภาพประกอบที่34 แสดงภาพผลงานชิ้นที่ 2 67

    ภาพประกอบที่35 แสดงภาพผลงานชิ้นที่ 3 68

  • บทที ่1

    บทน า

    หลกัการและเหตุผล

    วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่เองตามธรรมชาติ แต่เป็นสิ่งที่สังคมหรือคนส่วนรวมมีความ

    ต้องการและจ าเป็นที่ต้องผลิตหรือสร้างให้เกิดขึ้น แล้วถ่ายทอดให้อนุชนรุ่นหลังด้วยการสั่งสอน

    และเรียนรู้สืบ ๆ ต่อกันมาจนกลายเป็นประเพณีเป็นแบบอย่างของพฤติกรรมทั้งหลายที่ได้มาทาง

    สังคมและถ่ายทอดกันไปทางสังคม โดยอาศัยสัญลักษณ์และวัฒนธรรมจึงเป็นลักษณะเด่นและ

    เป็นสากลส าหรับสังคมมนุษย์ ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิตอ่ืนนอกจากมนุษย์หากมองไปในเร่ืองของคุณค่า

    ของประเพณี มีประเพณีหลายประเพณีที่มีความสวยงาม และมีคุณค่าต่อมนุษย์ ที่สามารถน ามาใช้

    เป็นประโยชน ์เพิ่มคุณค่า เหมาะแก่การอนุรักษ์

    ประเพณีอาซูรอนับเป็นประเพณีทางประวัติศาสตร์ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ

    อีกทั้งเป็นประเพณีท้องถิ่นดั้งเดิมของชาวไทยมุสลิม ค าว่า อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า การ

    ผสมหรือการรวมกัน คือ การน าสิ่งของที่รับประทานได้หลายสิ่งหลายอย่างมากวนรวมกัน มีทั้ง

    ชนิดคาวและหวาน ซึ่งการกวนอาซูรอ มักนิยมท ากันประมาณช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี และ

    หรือตรงกับวันที่ 10 ของเดือนมุฮัรรอม อันเป็นเดือนแรกของฮิจเราะห์ศักราชตามศาสนา

    อิสลาม ประเพณีกวนขนมอาซูรอถูกมองข้ามจากเด็กมุสลิมรุ่นใหม่ ขนมขบเคี้ยวหลากสี, อาหาร

    ขยะและช็อคโกแล็ต กลายเป็นบริโภคนิยมโดยซึมซับผ่านสื่อทุกวัน ท าให้อิทธิพลวัฒนธรรม

    ต่างชาติมาครอบง าจนยากที่จะยับยั้ง คงไม่เฉพาะเด็กมุสลิม เด็กไทยทั่วประเทศคงไม่น้อยที่ไม่คิด

    จะร้องหาขนมท้องถิ่น ประเภทห่อใบตองอีกแล้ว ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะกระทรวงวัฒนธรรม

    และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรจะมีวาระที่ส าคัญส าหรับวางเป้าหมาย ก าหนดยุทธศาสตร์

    ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ที่เป็นภูมิปัญญาของบรรพ

    บุรุษ อัตลักษณ์แห่งความสมานฉันท์ ในหมู่ประชาชน คงค่าแห่งความดีงามบนรางธารแห่งศาสนา

    ที่จักถูกยึดโยงสืบสานยังชนรุ่นหลังต่อไป การกวนข้าวอาซูรอ หรือกวนขนมอาซูรอนั้น สืบเนื่อง

    จากได้เกิดน้ าท่วมใหญ่ในสมัยศาสดานุฮ (อล) (หนึ่งในศาสดาของศาสนาอิสลาม) หรือศาสดาโน

    อาร์ (อล) (ที่มีเหตุการณ์น้ าท่วมโลก และมีการน าสัตว์เป็นคู่ๆขึ้นเรือใหญ่) ท าให้เกิดความเสียหาย

    แก่ทรัพย์สิน ไร่นาของประชาชนและสาวกของศาสดานุฮ (อล) ท าให้เกิดสภาพขาดแคลน ผู้คน

  • 2

    ทั่วไปอดอาหาร ท่านศาสดานุฮ (อล) จึงประกาศให้ผู้ที่มีสิ่งของเหลือพอจะรับประทานได้ ให้เอา

    มากองรวมกัน และให้เอาของเหล่านั้นมากวนเข้าด้วยกัน เพื่อให้ทุกคนได้รับประทานอาหารกัน

    โดยทั่วหน้า

    จากความส าคัญดังกล่าว อาซูรอถือเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยอดีตพร้อมกับ

    พัฒนาวิธีการต่างๆจนเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิม ผู้วิจัยมีความต้องการที่จะศึกษาให้

    ความส าคัญประเพณีอาซูรอที่แสดงถึงประเพณี วัฒนธรรม ที่ควรแก่การอนุรักษ์ไว้ โดยผู้วิจัยน า

    ความรู้ในการถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานศิลปะอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งท าเป็นผลงานจิตรกรรมใน

    หัวข้อประเพณีอาซูรอ ประเพณีอาซูรอถือเป็นสิ่งส าคัญแก่การศึกษา เพื่อทราบถึงความส าคัญและ

    ประโยชน์ของการกวนที่สามารถแสดงถึงคุณค่าทางจิตใจก่อให้เกิดความรักในคุณค่าที่ตนเองได้

    สร้างขึ้นในผลงานตั้งแต่การเตรียมอุปกรณ์ วัตถุดิบต่างๆจนน ามากวนรวมกันเป็นอาซูรอและ

    สามารถน ารูปแบบ เทคนิควิธีการ หรือไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง รูปทรงของวัตถุดิบในการกวนนั้นมา

    จัดวางเป็นองค์ประกอบศิลป์สามารถเป็นสื่อการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะได้

    เพื่อก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ

    ดังนั้นผู้วิจัยเห็นว่า ควรที่จะศึกษาประเพณี วัฒนธรรมการกวนอาซูรอนี้ไว้ เนื่องจาก

    ปัจจุบันประเพณีอาซูรอไม่ค่อยได้พบเจอตามทั่วๆไป หากแต่มีเฉพาะในบางพื้นที่เท่านั้น อีกทั้ง

    ผู้วิจัยมีความสนใจ ประทับใจในผลงาน จึงเกิดแรงจูงใจและสนใจที่จะศึกษา ค้นคว้าหา

    กระบวนการกวนอาซูรอ และวัตถุดิบที่หลากหลายที่ก่อให้เกิดรสชาติ สีสันที่แปลกใหม่กว่าเดิมมา

    สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะด้วยเทคนิคจิตรกรรมสื่อผสม เพื่อสามารถถ่ายทอดออกมาในรูปแบบ

    ผลงานทางศิลปะ แสดงถึงคุณค่าของงานและการอนุรักษ์ไว้ให้แก่อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป

    วตัถุประสงค์

    1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของประเพณีอาซูรอ

    2. เพื่อศึกษาความรู้ทั่วไปของจิตรกรรมสื่อผสม

    3. เพื่อสร้างสรรค์เป็นผลงานจิตรกรรมเทคนิคสื่อผสม

    ขอบเขตของการศึกษาวจิัย

    1. ขอบเขตด้านพืน้ที่

  • 3

    ศึกษาข้อมูลประเพณีอาซูรอเฉพาะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี

    2. ขอบเขตด้านเนือ้หา

    1. ความเกี่ยวข้องกับจังหวัดปัตตานี

    2. ประวัติ ความหมายของอาซูรอ

    3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาซูรอ

    -ประโยชน์

    -พิธีกรรม

    -วัสดุการกวน

    4. ความเป็นมาของทฤษฎีด้านศิลปศึกษา

    - ความหมายและประเภทของศิลปะ

    - องค์ประกอบศิลป์

    - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

    - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรมสื่อผสม

    3. ขอบเขตด้านการปฏิบัติงาน

    เพื่อสร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้วยเทคนิคจิตรกรรมสื่อผสมบนผ้าใบขนาด90x100

    เซนติเมตร จ านวน 3 เฟรม

    นิยามศัพท์เฉพาะ

    อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า การผสม การรวมกัน คือการน าสิ่งของที่รับประทานได้

    หลายสิ่งหลายอย่างมากวนรวมกัน

    อาซูรอ(ออนไลน์).สืบค้นจากhttp://www.prapayneethai.com[2/1/2556])

    อสิลาม หมายถึง การเข้าสู่ความสันติสุขหรือความสงบ

    (2551.อิสลาม(ออนไลน์).สืบค้นจากhttp://www.siamsouth.com[19/12/2555])

    มุสลมิ หมายถึง ผู้นับถือศาสนาอิสลาม

    บุญมี แท่นแก้ว. 2555

    สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki [19/12/2555] (ออนไลน์)

    http://www.prapayneethai.com[2/1/2556http://www.siamsouth.com/http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1http://th.wikipedia.org/wiki

  • 4

    วธิีด าเนินงาน

    1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับอาซูรอ

    2. ส ารวจแหล่งข้อมูลจากหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ

    3. รวบรวมข้อมูล รูปภาพ

    4. วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปสาระส าคัญ

    5. จัดล าดับเน้ือหา และจัดพิมพ์รายงาน

    6. ออกแบบผลงาน

    7. เตรียมอุปกรณ์ส าหรับท าผลงาน

    8. สร้างสรรค์ผลงาน

    9. น าเสนองานจากการศึกษาค้นคว้าโดยการจัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะภาค

    นิพนธ์

    ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    1. ได้ศึกษาความรู้ทั่วไปประเพณีอาซูรอ

    2. ได้ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานจิตรกรรม

    3. ได้สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมเทคนิคสื่อผสม หัวข้อ ประเพณีอาซูรอ

  • บทที ่2

    เอกสารทีเ่กีย่วข้อง

    จังหวัดปัตตานีเป็นจังหวัดชายแดนที่ส าคัญจังหวัดหนึ่งทางภาคใต๎ตอนลํางของประเทศ

    ไทย มีความเจริญรํุงเรืองทางวัฒนธรรมมาช๎านาน ประชาชนสํวนใหญํนับถือศาสนาอิสลามและ

    ใช๎ภาษามลายูถิ่นในชีวิตประจ าวัน จึงท าให๎จังหวัดนี้มีขนบธรรมเนียม ประเพณี ตลอดจน

    วัฒนธรรมที่แตกตํางไปจากประชาชนในภาคอื่นๆหรือแม๎แตํกับจังหวัดภาคใต๎ด๎วยกัน

    ประวตัิความเป็นมาของเมืองปัตตานีในอดีต

    ปัตตานีเป็นดินแดนที่มีประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันยาวนาน หนังสือ

    เร่ืองราวเกี่ยวกับกษัตริย์มลายูปัตตานี (Sejarah Kerajaan Melayu Pattani) ของอิบราฮิม ซุกรี

    (Ibrahim Syukri) ได๎กลําวถึงที่มาของปัตตานีวํา “มีหมูํบ๎านชาวประมงแหํงหนึ่งอยูํติดชายทะเล

    (บริเวณอ าเภอเมืองปัตตานีปัจจุบัน) เป็นศูนย์กลางการคมนาคมทั้งทางบกและทางทะเล เป็น

    ทําเรือที่ส าคัญ กษัตริย์ผู๎ครองเมืองโกตามะห์ลีกัย (Kata Makligai) ทรงพระนามวํา พยาตู อันตารา

    (Paya Tu Antara) ได๎ทรงโยกย๎ายพระราชวังมาตั้งที่เมืองแหํงนั้น แล๎วตั้งชื่อวํา ปัตตานี”

    ชาวเมืองปัตตานีเดิมนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ภายหลังจึงได๎เปลี่ยนมานับถือ

    ศาสนาอิสลาม ทั้งนี้เนื่องจากกษัตริย์ของปัตตานีในสมัยนั้น คือ พยาตู นักปา (Paya Tu Nagpa) ได๎

    ปฎิบัติตามสัญญาที่ได๎ให๎กับเซ็คสะอีด (Syak Said) ชาวเมืองป่าไซที่มารักษาพระองค์ให๎หาย จาก

    โรคผิวหนัง (อาหมัด ฟัตฮี อัล-ฟาตานี, 2543) และเมื่อเจ๎าเมืองเปลี่ยนศาสนาแล๎วประชาชนก็เข๎า

    รับนับถือศาสนาอิสลามตามไปด๎วย ศาสนาอิสลามจึงเร่ิมแผํขยายในเมืองปัตตานีตั้งแตํบัดนั้นเป็น

    ต๎นมา

    เมืองปัตตานีมีกษัตริย์ปกครองสืบตํอกันมาหลายพระองค์ บ๎านเมืองเจริญรํุงเรืองมาก

    โดยเฉพาะในสมัยของเจ๎าหญิงฮียา ซึ่งเป็นสมัยที่เมืองปัตตานีมีการติดตํอสัมพันธ์กับชาวตะวันตก

    มากขึ้น และเป็นชํวงระยะที่เศรษฐกิจการค๎าของเมืองปัตตานีเจริญรํุงเรืองที่สุด (ครองชัย หัตถา,

    2548) ตํอมาเมืองของปัตตานีได๎ประสบความวุํนวายทางการเมืองท าให๎เสื่อมอ านาจลง ไทยได๎เร่ิม

    แผํขยายอ านาจมาครอบคลุมปัตตานี

  • 6

    ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัตตานีมีฐานะเป็นประเทศราชไทย (อาหมัด ฟัตฮี อัล-ฟาตานี,

    2543) แตํกษัตริย์มีอ านาจในการปกครองโดยเสรี หน๎าที่ของประเทศราชมีเพียงสํงเคร่ืองราช

    บรรณาการ คือต๎นไม๎ทองเงิน น าไปถวายพระมหากษัตริย์ไทยทุกๆ3 ปี ตํอมาเมื่อกรุงศรีอยุธยาเสีย

    กรุงคร้ังที่สอง ปัตตานีได๎ตั้งตัวเป็นอิสระ

    เมื่อถึงสมัยรัชกาลที่ 1 แหํงกรุงรัตนโกสิทร์ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทได๎เสด็จ

    ยกทัพมาปราบพมํา และได๎ยกทัพไปตีเมืองปัตตานี พร๎อมทั้งทรงแตํงตั้งให๎ตนกูลัมมิเด็นเป็นเจ๎า

    เมืองปัตตานี

    ในปี พ.ศ. 2339 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได๎โปรดเกล๎าฯให๎จัดระเบียบ

    การปกครองเมืองปัตตานีใหมํ โดยแบํงออกเป็น 7 หัวเมือง คือ เมืองปัตตานี เมืองหนองจิก เมือง

    ยะหร่ิง เมืองสายบุรี เมืองระแงะ เมืองยะลา และเมืองรามันห์ โดยมีข๎าราชการซึ่งมีความสวามิภักดิ์

    เป็นเจ๎าเมืองปกครอง

    ตํอมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว พระองค์ทรงปฏิรูปการ

    ปกครองหัวเมืองจากระบบกินเมืองมาเป็นระบบเทศาภิบาล และในปี พ.ศ. 2439 ได๎ตั้งมณฑลแรก

    ในภาคใต๎ มีอ านาจหน๎าที่ปกครอง 10 เมือง คือ เมืองนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ตานี ยะหร่ิง

    สายบุรี หนองจิก ยะลา ระแงะ และรามันห์

    ในปี พ.ศ. 2449 ได๎ตั้งมณฑลปัตตานีขึ้น ซึ่งป