26
ประเทศออสเตรเลีย ชื่อทางการ เครือรัฐออสเตรเลีย Commonwealth of Australia 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง : ออสเตรเลียเป็นทวีปเกาะ ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ที่สุด ในขณะเดียวกัน เป็นทวีปที่เล็กที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ล้อมรอบด้วยทะเล คือ - ทิศเหนือ ได้แก่ มหาสมุทรอินเดีย ทะเลติมอร์ และทะเลอะราฟูรา - ทิศตะวันออก ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก - ทิศใต้ ได้แก่ ทะเลใต้ - ทิศตะวันตก ได้แก่ มหาสมุทรอินเดีย พื้นที: 7,686,850 ตารางกิโลเมตร (พื้นดิน 7,617,930 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้า 68,920 ตารางกิโลเมตร) เป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลก (ใหญ่กว่าประเทศไทย 15 เท่า) ดินแดนอาณาเขต : - เขตชายฝั่ง : 25,760 กิโลเมตร เมืองหลวง : กรุงแคนเบอร์รา (Canberra) เมืองสาคัญ : ได้แก่ เมลเบิร์น เพิร์ธ บริสเบน และแอดิเลด เวลา : - เร็วกว่าไทย 3 ชั่วโมง คือ รัฐนิวเซาท์เวลส์ รัฐวิคตอเรีย รัฐควีนส์แลนด์ รัฐแทสเมเนีย และกรุงแคนเบอร์รา - เร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง 30 นาที คือ รัฐออสเตรเลียใต้ และอาณา เขตตอนเหนือ - เร็วกว่าไทย 1 ชั่วโมง คือ รัฐออสเตรเลียตะวันตก ภูมิอากาศ : ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก กล่าวคือ บางแห่งร้อนเกินกว่า 50 องศา เซนติเกรด ในขณะที่บางแห่งต้ากว่า 0 องศาเซนติเกรด ระหว่างเขต มีความแตกต่างด้วย กล่าวคือ

ประเทศออสเตรเลีย - ThaiFTAthaifta.com/trade/aanzfta/2011_09AusCountryProfile.pdf · 4 1.3 ประชาชน1 (2011 est.) ประชากร

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ประเทศออสเตรเลยี

    ชื่อทางการ เครือรัฐออสเตรเลีย Commonwealth of Australia

    1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ลักษณะทางภมูิศาสตร์

    ที่ตั้ง : ออสเตรเลียเป็นทวีปเกาะ ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ที่สุด ในขณะเดียวกัน เป็นทวีปที่เล็กที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ล้อมรอบด้วยทะเล คือ - ทิศเหนือ ได้แก่ มหาสมุทรอินเดีย ทะเลติมอร์ และทะเลอะราฟูรา - ทิศตะวันออก ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก - ทิศใต้ ได้แก่ ทะเลใต้ - ทิศตะวันตก ได้แก่ มหาสมุทรอินเดีย

    พื้นที่ :

    7,686,850 ตารางกิโลเมตร (พ้ืนดิน 7,617,930 ตารางกิโลเมตร และพ้ืนน้้า 68,920 ตารางกิโลเมตร) เป็นประเทศท่ีใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลก (ใหญ่กว่าประเทศไทย 15 เท่า)

    ดินแดนอาณาเขต : - เขตชายฝั่ง : 25,760 กิโลเมตร เมืองหลวง : กรุงแคนเบอร์รา (Canberra) เมืองส าคัญ : ได้แก่ เมลเบิร์น เพิร์ธ บริสเบน และแอดิเลด

    เวลา : - เร็วกว่าไทย 3 ชั่วโมง คือ รัฐนิวเซาท์เวลส์ รัฐวิคตอเรีย รัฐควีนส์แลนด์ รฐัแทสเมเนีย และกรุงแคนเบอร์รา - เร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง 30 นาที คือ รัฐออสเตรเลียใต้ และอาณา เขตตอนเหนือ - เร็วกว่าไทย 1 ชั่วโมง คือ รัฐออสเตรเลียตะวันตก

    ภูมิอากาศ :

    ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก กล่าวคือ บางแห่งร้อนเกินกว่า 50 องศาเซนติเกรด ในขณะที่บางแห่งต่้ากว่า 0 องศาเซนติเกรด ระหว่างเขตมีความแตกต่างด้วย กล่าวคือ

  • 2

    ค าอธิบายรปู สีน้ าตาล = เขตร้อนและมีฝนตก (Equatorial) สีเขียวเข้ม = เขตร้อน (Tropical) สีเขียวอ่อน = เขตร้อนกับอุ่น (Subtropical) สีส้ม = ทะเลทราย (Desert) สีเหลือง = ทุ่งหญา้ (Grassland) สีฟ้า = อบอุ่น (Temperate)

    - เขตร้อน (Tropical) ทางตอนเหนือ - เขตอบอุ่น (Temperate) ทางตอนใต้ และตะวันออก ฤดูกาลมี 4 ฤดู ตรงข้ามกับประเทศในซีกโลกเหนือ - ฤดูร้อน ระหว่าง ธันวาคม - กุมภาพันธ์ - ฤดูใบไม้ร่วง ระหว่าง มีนาคม - พฤษภาคม - ฤดูหนาว ระหว่าง มิถุนายน - สิงหาคม - ฤดูใบไม้ผลิ ระหว่าง กันยายน - พฤศจิกายน

    ภูมิประเทศ :

    แบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ - ภาคตะวันตก เป็น ที่ราบสูง (พ้ืนที่ส่วนใหญ่) - ภาคกลาง เป็น ที่ราบ - ภาคตะวันออก เป็น เทือกเขา

    ทรัพยากรธรรมชาติ :

    หินแร่ ถ่านหิน สินแร่เหล็ก ทองแดง ดีบุก ทอง เงิน ยูเรเนียม นิกเกิล แร่ธาตุ

    ภัยธรรมชาติ : มีพายุตามชายฝั่ง แห้งแล้ง ไฟป่า สภาพแวดล้อม (ปัญหาปัจจุบัน) :

    - ออสเตรเลียเป็นทวีปที่แห้งแล้งที่สุดในจ้านวนทวีปที่มีผู้คน อาศัยอยู่ คุณภาพดินและทะเลจัดว่ามีความอุดมสมบูรณ์ต่้า มากที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง มีที่ดินเพียง 6% เท่านั้นที่ เหมาะส้าหรับการเพาะปลูก น้้าผิวดินและน้้าบาดาลจึงเป็นที่ ต้องการอย่างมาก การสูบน้้าใต้ดินขึ้นมาใช้เพื่อการเกษตรใน พ้ืนที่แห้งแล้งส่งผลให้น้้ามีระดับความเค็มที่สูงขึ้น - ออสเตรเลียจ้าเป็นต้องพ่ึงพาการปลูกพืชผักเพ่ือบ้ารุงและ รักษาสภาพดิน การถางไร่ สูบน้้าบาดาลและการขาดการ ดูแลรักษาดินส่งผลให้ดินมีคุณภาพต่้า - กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อมทางทะเล ปัญหาที่ส้าคัญที่สุด คือ มลพิษ ซึ่งเพ่ิมพิษทางทะเลส่วนใหญ่เป็น ผลจากการกัดเซาะของดิน การใช้ปุ๋ย การเพ่ิมข้ึนของจ้านวนสัตว์ และการทิ้งสิ่งปฏิกูลและขยะอุตสาหกรรมลงสู่ทะเล

    1.2 การคมนาคม

    1.2.1 การเดินทางเข้าออสเตรเลีย : การเดินทางไปออสเตรเลียโดยเครื่องบิน โดยมีเที่ยวบินจากเอเชีย ยุโรปและอเมริกาเหนือ ไปแคร์นส บริสเบน เมลเบิร์น และซิดนีย์ทุกวัน ส่วนเที่ยวบินไปแอดิเลด ดาร์วิน เพิร์ธ และโฮบาร์ต จะมีไม่บ่อยนัก ปัจจุบันนี้มีสายการบินกว่า 30 สายบินไปมาจากออสเตรเลีย เช่น Air France, Air New Zealand, Lufthansa German Airlines, Philippine Airlines, Thai Airways International, Qantas, All Nippon Airlines, British Airways, Singapore Airlines เป็นต้น

  • 3

    การเดินทางจากกรุงเทพฯ มีเที่ยวบินเข้าสู่ออสเตรเลีย ที่ซิดนีย์ บริสเบน แคร์นส และเพิร์ธ เมลเบิร์น โดยมีสายการบิน ได้แก่ การบินไทย (TG) แควนตัสแอร์เวย์ส (QF) บริติชแอร์เวย์ส (BA) และ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (SQ)

    1.2.2 การเดินทางในออสเตรเลีย : เครื่องบิน การเดินทางด้วยเครื่องบินในออสเตรเลียเป็นวิธีที่สะดวกสบาย รวดเร็ว และประหยัดเวลา

    เดินทาง เนื่องจากออสเตรเลียเป็นประเทศท่ีกว้างใหญ่ไพศาล เมืองแต่ละเมืองตั้งอยู่ห่างไกลกันมาก สายการบินแควนตัส และสายการบินเวอร์จินบลู มีเที่ยวบินภายในประเทศบินไปเมือง

    ต่าง ๆ ทั่วทวีปออสเตรเลีย นอกจากสายการบินทั้งสองนี้แล้ว ออสเตรเลียยังมีสายการบินขนาดเล็กอีกหลายสายที่ให้บริการบินระหว่างเมืองเล็ก ๆ ซึ่งอยู่ห่างไกล บางสายการบินมีเส้นทางบินไปยังเกาะบริเวณนอกชายฝั่งของออสเตรเลียด้วย เช่นเดียวกับเครื่องบินระหว่างประเทศทุกสายการบิน เครื่องบินภายในประเทศของออสเตรเลียมีกฎห้ามสูบบุหรี่ กฎหมายออสเตรเลียห้ามสูบบุหรี่ในยานพาหนะทุกชนิดของระบบขนส่งมวลชน รถบัส หรือรถโค้ช การเดินทางระหว่างเมืองต่อเมืองในออสเตรเลียโดยรถประจ้าทาง เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด แต่ใช้เวลาในการเดินทางมากที่สุด เพราะเมืองต่าง ๆ ของออสเตรเลียล้วนตั้งอยู่ห่างไกลกันมาก รถไฟ การเดินทางระหว่างเมืองโดยรถไฟในออสเตรเลียไม่ค่อยเป็นที่นิยม เพราะเส้นทางเดินรถไฟไม่ครอบคุลมทั่วประเทศ แล้วยังมีราคาแพงอีกด้วย หลายพื้นที่ในออสเตรเลียไม่มีทางรถไฟไปถึง และยังคงมีการวางรางรถไฟสายใหม่ ๆ กันอยู่อย่างต่อเนื่อง คนออสเตรเลียจะใช้รถไฟเป็นพาหนะในการเดินทางไปท้างานมากกว่าใช้เดินทางข้ามรัฐ เช่นใน รัฐนิวเซาท์เวลส ์รฐัวิคตอเรีย และรัฐควีนส์แลนด์ ทางรถไฟบางสายมีรถไฟขบวนพิเศษ เพ่ือการท่องเที่ยวมากกว่าจุดประสงค์ที่จะใช้เป็นพาหนะในการขนส่งมวลชน การขับรถยนต์ การขับรถในออสเตรเลียเป็นเรื่องที่ง่ายและสะดวกสบายมากส้าหรับผู้ที่ขับรถเป็นและพูดภาษาอังกฤษได้ เป็นวิธีที่เหมาะกับการเดินทางกลุ่มเล็ก ๆ ข้อได้เปรียบของการขับรถเองในออสเตรเลียก็คือ กฎจราจรของออสเตรเลียขับรถทางซ้ายเหมือนเมืองไทย และถนนในออสเตรเลียมีจ้านวนรถไม่มากนัก ถนนระหว่างเมืองกว้างขวาง ส่วนใหญ่เป็นถนนไฮเวย์ ในขณะที่ถนนในเมืองไม่ซับซ้อนวกวน ระบบขนส่งมวลชนในเมือง ในเมืองใหญ่ นอกจากรถเมล์ที่เป็นบริการขนส่งมวลชนพื้นฐานแล้ว ออสเตรเลียมีระบบการขนส่งมวลชนอีกหลายรูปแบบ เช่น รถลอยฟ้า รถไฟใต้ดิน รถราง และเรือเฟอร์รี่

    รถแท็กซี่ บริการรถแท็กซ่ีของออสเตรเลีย ค่าโดยสารคิดตามมิเตอร์ โดยแท็กซี่จะจอดรอผู้โดยสารอยู่ที่มีป้ายก้าหนด ซึ่งมักจะอยู่ในเขตชุมชน หน้าห้างสรรพสินค้า หน้าโรงแรมใหญ่ ๆ หรือให้บริการเรียกรถทางโทรศัพท์ได้ การใช้บริการรถแท็กซ่ีในออสเตรเลียสะดวกรวดเร็วและราคาไม่แพง

  • 4

    1.3 ประชาชน1 (2011 est.) ประชากร : 21,766,711 คน

    โครงสร้างอายุ : - 0-14 ปี 18.3% (ชาย 2,040,848 คน / หญิง 1,937,544 คน) - 15-64 ปี 67.7% (ชาย 7,469,092 คน / หญิง 7,266,143 คน) - 65 ปีและสูงกว่า 14% (ชาย 1,398,576 คน / หญิง 1,654,508 คน)

    อัตราการเติบโตของประชากร : 1.148% สัญชาติ : ชาวออสเตรเลียน (Australian)

    กลุ่มชนพื้นเมือง : ชาวผิวขาว 92% เอเชีย 7% อะบอริจินและอ่ืน ๆ 1% ศาสนา :

    Catholic 25.8%, Anglican 18.7%, Uniting Church 5.7%, Presbyterian and Reformed 3% , Eastern Orthodox 2.7% , other Christian 7.9%, Buddhist 2.1%, Muslim 1.7%, other 2.4%, unspecified 11.3%, อ่ืนๆ 2.4% และ ไม่นับถือศาสนา 18.7% (ส้ามะโนประชากรปี 2006)

    ภาษา :

    อังกฤษ 78.5% จีน 2.5% อิตาเลี่ยน 1.6% กรีซ 1.3% อาราบิก 1.2% เวียดนาม 1% อ่ืน ๆ 8.2% ไม่ระบุเฉพาะ 5.7% (ส้ามะโนประชากรปี 2006)

    1.4 รัฐบาล

    ประเภทของรัฐบาล :

    ระบอบประชาธิปไตยแบบสหพันธ์ (Federal Democracy) โดยแยกการปกครองเป็น 2 ส่วน คือ - รัฐบาลเครือรัฐ (Commonwealth Government) - รัฐบาลแห่งรัฐ (State Government)

    การแบ่งส่วนบริหาร :

    ประกอบด้วย 6 รัฐ และ 2 อาณาเขตการปกครอง - รัฐนิวเซาท์เวลส ์ (New South Wales) เมืองหลวง ซิดนีย์ - รัฐวิคตอเรีย (Victoria) ,, เมลเบิร์น - รัฐควีนส์แลนด์ (Queensland) ,, บรสิเบน - รัฐแทสเมเนีย (Tasmania) ,, โฮบาร์ต - รัฐออสเตรเลียตะวันตก (Western Australia) ,, เพิร์ธ - รัฐออสเตรเลียใต้ (South Australia) ,, แอดิเลด - อาณาเขตตอนเหนือ (Northern Territory) ,, ดาร์วิน - อาณาเขตนครหลวงออสเตรเลีย ,, แคนเบอร์รา (Australia Capital Territory)

    รัฐธรรมนูญ : 9 กรกฎาคม 2443 (1900) (มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2444 (1901)

    1 www.cia.gov

  • 5

    ระบบกฎหมาย : ใช้หลักกฎหมายของอังกฤษ (English Common Law)

    ฝ่ายบริหาร :

    ประมุขของรัฐ สมเด็จพระราชินีอลิซาเบทท่ี 2 แห่งอังกฤษ (ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2495 (1952) ทรงแต่งตั้งผู้ส้าเร็จราชการแทนพระองค์ (Governor General ) ท้าหน้าที่ประมุขของประเทศ ปัจจุบันคือ Governor General Quentin Bryce (ตั้งแต่วันที่ 5 กันยายน 2551 (2008)) หัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน คือ นางจูเลีย กิลลาร์ด (The Hon. Julia Gillard) หัวหน้าพรรคแรงงาน (ตั้งแต ่24 มิถุนายน 2553 (2010)) รัฐบาลสหพันธรัฐ มาจากการเลือกตั้งโดยประชานิยม รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา รัฐบาลมาจากพรรคการเมือง (พรรคเดียวหรือหลายพรรค) ซึ่งมีเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร โดยมีการแต่งตั้งรัฐมนตรีจากทั้งสองสภา นายกรัฐมนตรีไม่ได้มาจากการแต่งตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่มาจากพรรคที่กุมสมดุลทางอ้านาจในทั้งสองสภา การเลือกตั้ง รัฐบาลออสเตรเลียมีวาระในการบริหารประเทศสูงสุดไม่เกิน 3 ปี นับจากวันที่เปิดสมัยประชุมของรัฐสภา อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีสามารถเสนอผู้ส้าเร็จราชการให้มีการเลือกตั้งทั่วไปก่อนครบวาระได้

    ฝ่ายนิติบัญญัติ :

    ตามรัฐธรรมนูญปี 2444 (1901) ก้าหนดผู้ใช้อ้านาจคือรัฐสภา ซ่ึงประกอบ ด้วย 2 สภา คือ - วุฒิสภา (Senate หรือ The Upper House) มีจ้านวนสมาชิก 76

    คน ประกอบด้วยสมาชิก 12 คน จากรัฐแต่ละรัฐ รวมทั้งจากเขตนครหลวง และอาณาเขตตอนเหนืออีกเขตละ 2 คน มีวาระ 6 ป ี

    - สภาผู้แทนราษฎร (The House of Representative หรือ Lower House) มีจ้านวนสมาชิก 150 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากรัฐต่าง ๆ ตามสัดส่วนจ้านวนประชากรของแต่ละรัฐและ 2 อาณาเขต มีวาระ 3 ปี

    ฝ่ายตุลาการ : 1.5 การเป็นสมาชิกองค์กรระหว่าง ประเทศ

    ศาลสูง (หัวหน้าผู้พิพากษาและผู้พิพากษา 6 คน ได้รับการแต่งตั้ง โดยผู้ส้าเร็จราชการ) ADB,ANZUS, APEC, ARF,ASEAN (dialogue partner), Australia Group, BIS, C, CP, EAS,EBRD, FAO, FATF, G20, IAEA, IBRD, ICAO, ICC, ICCt, ICRM, IDA, IEA, IFC, IFRCS, IHO, ILO, IMF, IMO,IMSO, Interpol, IOC, IOM, IPU, ISO, ITSO, ITU, ITUC, MIGA, NEA, NSG, OECD, OPCW, OSCE (partner), Paris Club, PCA, PIF, SAARC (observer), Sparteca, SPC, UN, UNCTAD, UNESCO, UNHCR, UNMIS, UNMIT, UNRWA, UNTSO, UNWTO, UPU, WCO, WFTU, WHO, WIPO, WMO, WTO, ZC

    Governor General Quentin Bryce

    Queen of Australia ELIZABETH II

    Prime Minister Julia Gillard

    Trade Minister Craig Emerson

    http://rds.yahoo.com/_ylt=A0WTefbfGIlJkDoBFWuJzbkF;_ylu=X3oDMTBxZGg0dTA5BHBvcwM3BHNlYwNzcgR2dGlkA0kxMDVfMTI2/SIG=1kftvqlfm/EXP=1233807967/**http:/images.search.yahoo.com/images/view?back=http://images.search.yahoo.com/search/images?p=Quentin+Bryce+&fr=yfp-t-501&toggle=1&cop=mss&ei=UTF-8&fp_ip=TH&w=120&h=153&imgurl=www.brisbanewritersfestival.com.au/2006/graphics/images/GovernorBryce.jpg&rurl=http://www.brisbanewritersfestival.com.au/2006/content/standard.asp?name=GovernorMessage&size=7kB&name=GovernorBryce.jpg&p=Quentin+Bryce&type=JPG&oid=195e791a1667fee4&no=7&tt=132&sigr=12of62snj&sigi=1290t2e6e&sigb=13dknhvcehttp://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://newsfuze.info/wp-content/uploads/2010/08/Julia_Gillard.jpg&imgrefurl=http://newsfuze.info/news/australian-election-results-2010-julia-gillard%E2%80%99s-labor-party-is-step-ahead-4920/&usg=__qkZ5pw3NjXDqQa3PHteVv3FIFFI=&h=311&w=249&sz=18&hl=th&start=45&zoom=1&um=1&itbs=1&tbnid=aVibp2-pAyCfdM:&tbnh=117&tbnw=94&prev=/images?q=julia+gillard&start=40&um=1&hl=th&sa=N&rlz=1R2ADFA_enTH402&ndsp=20&tbs=isch:1&ei=wg1zTdf0LceCgAfhu700http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/60/Craig_Emerson,_Telstra_Business_Awards_2009.jpg/225px-Craig_Emerson,_Telstra_Business_Awards_2009.jpg&imgrefurl=http://en.wikipedia.org/wiki/Craig_Emerson&usg=__vt4JVjdGWxM76QobhU2QEziDIbU=&h=338&w=225&sz=12&hl=th&start=6&zoom=1&um=1&itbs=1&tbnid=EZ3hy8mt9y7P1M:&tbnh=119&tbnw=79&prev=/images?q=craig+emerson&um=1&hl=th&rlz=1R2ADFA_enTH402&tbs=isch:1&ei=8g9zTYunB47QgAf03Yk4

  • 6

    1. 6 การจัดท าความตกลงเขตการค้าเสรี 2

    รัฐบาลออสเตรเลียสนับสนุนการเจรจาความตกลงการค้าเสรี (Free Trade Agreements: FTAs) ซ่ึงมีความสอดคล้องกับกฎระเบียบของ WTO และส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคี โดยรัฐบาลออสเตรเลียเล็งเห็นว่าความตกลงการค้าเสรีจะช่วยส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศมีความแข็งแกร่งมากข้ึน รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ส่งออกและนักลงทุนออสเตรเลียเข้าสู่ตลาดในตลาดประเทศได้มากขึ้น FTAs ของออสเตรเลียสามารถ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก ่FTAs ที่เจรจาเสร็จสิ้นแล้ว และ FTAs ที่อยู่ระหว่างการเจรจา

    1. FTAs ที่เจรจาเสร็จสิ้นแล้ว

    ชื่อ วันที่เร่ิมเจรจา วันที่ลงนาม วันที่มีผลใช้บังคับ ครอบคลุมเร่ือง 1. Australia-New Zealand Closer Economic Relations (ANZCERTA)

    มีนาคม พ.ศ.2523

    28 มีนาคม พ.ศ.2526

    1 มกราคม พ.ศ.2526

    การค้าสินค้าและบรกิาร อุปสรรคทางการค้า ข้อจ้ากัดของการส่งออก อุตสาหกรรม การจัดซื้อโดยรัฐ กฎหมายทางธุรกิจ ระเบียบปฏิบัติการกักกันเพื่อป้องกันการแพร่โรคติดต่อ

    2. Singapore-Australia FTA (SAFTA)

    เมษายน พ.ศ.2547

    17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2546

    28 กรกฎาคม พ.ศ.2546

    สินค้า การบริการ การลงทุน การศึกษา สิ่งแวดล้อม ธุรกิจการท่องเท่ียว ทรัพย์สินทางปัญญา การส่ือสารโทรคมนาคม พาณชิย์อิเล็กทรอนิกส ์ การจัดซ้ือจัดจ้างโดยภาครัฐ และนโยบายดา้นการแข่งขัน

    3. Thailand-Australia FTA (TAFTA)

    สิงหาคม พ.ศ.2545

    5 กรกฎาคม พ.ศ.2547 1 มกราคม พ.ศ.2548

    การลดภาษีสินค้า การบริการ การลงทุน การร่วมมือแก้ไข ปัญหาอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษ ี และความร่วมมอืทางเศรษฐกิจต่างๆ

    4. Australia-United states FTA (AUSFTA)

    เมษายน พ.ศ.2546

    18 พฤษภาคม พ.ศ.2547

    1 มกราคม พ.ศ.2548

    สินค้า การบริการ การลงทุน การเงิน ทรัพย์สินทางปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การส่ือสารโทรคมนาคม การจัดซ้ือจัดจา้งโดยภาครัฐ ระบบมาตรฐาน (กฎระเบียบทางเทคนิค) นโยบายการแข่งขันทางการค้าโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ แรงงานและสิ่งแวดล้อม

    5. Australia-Chile FTA

    18 กรกฎาคม พ.ศ.2550 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 6 มีนาคม พ.ศ.2552 สินค้า การบริการ การเงิน การศึกษา วิศวกรรมเหมืองแร ่

    6. ASEAN-Australia- New Zealand FTA (AANZFTA)

    มีนาคม พ.ศ .2548

    27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

    - 1 มกราคม พ.ศ.2553 (ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ บรูไน พม่า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม) -12 มีนาคม พ.ศ. 2553

    (ไทย)3

    - 1 มกราคม พ.ศ. 2554 (ลาว) -4 มกราคม พ.ศ. 2554 (กัมพูชา) - ยังไม่ใช้บังคับ(อินโดนีเซีย)

    การลดภาษีสินค้า การบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา ทรัพย์สนิทางปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนกิส์ ความรว่มมือทางเศรษฐกิจและนโยบายด้านการแข่งขัน

    2 ที่มา www.dfat.gov.au ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2554

    3 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงการคลังเร่ืองการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรส้าหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2552 และไทยได้ท้าการ notify เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2553 ซ่ึงจะส่งผลให้ AANZFTA มีผลใช้บังคับส้าหรับไทย 60 วันหลังจากนั้น คือ ตั้งแต่วันที ่12 มีนาคม 2553 เป็นต้นไป

  • 7

    2. FTAs ที่อยู่ระหว่างการเจรจา

    ชื่อ วันที่เริ่มเจรจา สถานะล่าสุดของการเจรจา 1. Australia-China FTA Negotiations

    18 เมษายน พ.ศ.2548

    มีการเจรจาไปแลว้ 15 ครั้ง ครั้งล่าสุดจัดขึ้นระหว่างวันที ่28- 30 มิถุนายน 2553 ณ เมืองปักกิ่ง ซ่ึงทั้งสองฝ่ายได้หารือในประเด็นต่างๆ เช่น การค้าสินค้า บริการ ลงทุน กฎถิ่นกา้เนิดสินค้า มาตรการสุขอนามยั กฎระเบยีบทางเทคนิค โดยออสเตรเลียได้เน้นย้้าถึงความต้องการให้มีการรวมข้อบทด้านการจัดซ้ือโดยรัฐ และนโยบายการแข่งขันไว้ใน FTA นี้

    2. Australia-Malaysia FTA Negotiations (MAFTA)

    7 เมษายน พ.ศ.2548

    มีการเจรจาไปแลว้ 8 ครั้ง ครั้งล่าสุดระหว่างวันที ่18-22 ตุลาคม 2553 ณ กรุงแคนเบอร์ร่า ซ่ึงการเจรจามีความคืบหนา้โดยมกีารแลกเปลี่ยนข้อเสนอ (offer) ด้านการเปิดตลาดสินค้า รวมทั้งข้อเสนอเบื้องต้นในการเปิดตลาด (initial market offer) ด้านบริการและการลงทุน นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายได้หารือเกี่ยวกบัการยกร่างข้อบทต่างๆ ในความตกลง

    3. Australia-Gulf Cooperation Council (GCC)* FTA Negotiations

    30 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

    มีการเจรจาไปแลว้ 4 ครั้ง ครั้งล่าสุดระหว่างวันที ่31 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน 2552 ที่ประเทศโอมาน โดยเป็นการเจรจาเร่ืองบริการ การลงทุน ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซ้ือโดยรัฐ กฎถิ่นก้าเนิดสินค้า

    4. Australia-Japan FTA Negotiations

    เมษายน พ.ศ.2550 มีการเจรจาไปแลว้ 12 ครั้ง ครั้งล่าสุดระหว่างวันที่ 7-10 กุมภาพันธ ์2554 ณ กรุงโตเกียว โดยการเจรจามีความคืบหน้าไปในหลายสาขา และได้มีการก้าหนดการเจรจารอบที ่13 ในช่วงวันที่ 11-15 เมษายน 2554 ณ กรุงแคนเบอร์ร่า แต่เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ภยัพิบัติสนึามิในประเทศญี่ปุ่น ท้าใหก้ารเจรจาดังกล่าวต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีก้าหนด

    5. Australia-Korea FTA Negotiations

    11 สิงหาคม พ.ศ.2551

    มีการเจรจาไปแลว้ 5 ครั้ง ครั้งล่าสุดระหว่างวันที ่25-28 พฤษภาคม 2553 ซ่ึงออสเตรเลียและเกาหลีต่างมุ่งหวังให้การเจรจาได้ข้อสรุปโดยเร็ว ทั้งนี้ ในการเจรจารอบลา่สุด ทั้งสองฝ่ายสามารถสรุปร่างข้อบทได้ในหลายประเด็น ได้แก ่มาตรการสุขอนามัย กฎระเบียบทางเทคนิค พิธีการศุลกากร การระงับข้อพพิาท พาณิชยอ์ิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ดี ในประเด็นการค้าสินค้า ทั้งสองฝ่ายยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ โดยออสเตรเลียต้องการให้เกาหลีเปิดตลาดสินค้าเกษตร ส่วนเกาหลีต้องการให้ออสเตรเลียลดภาษีน้าเข้าสินค้าอุตสาหกรรมมากขึ้น

    6. Pacific Agreement on Closer Economic Relations (PACER) Plus

    เมื่อเดือนสิงหาคม 2552 ผู้น้าประเทศสมาชิก PACER Plus ประกาศการเจรจา PACER Plus และล่าสุด เมื่อวันที ่18-19 พฤษภาคม 2554 ได้มีการประชุมรัฐมนตรีการค้าของสมาชิก PACER Plus ณ ประเทศตองกา โดยที่ประชุมได้มีการหารือในหลายประเด็นที่เกีย่วเนือ่งกับการเจรจา PACER Plus รวมทั้งเห็นชอบให้มีการประชุมในระดับเจ้าหน้าที่ชว่งเดือนพฤษภาคม 2554 เพื่อหารือประเด็นต่างๆ เช่น ระเบยีบพธิีการศุลกากร กฎว่าด้วยถิ่นก้าเนิดสินค้า เปน็ต้น

    7. Trans - Pacific Partnership Agreement (TPP)

    มีนาคม พ.ศ. 2553 TPP หรือ ความตกลง P4 เดิมประกอบด้วยสมาชกิ ได้แก ่บูรไน ชิลี นิวซีแลนดแ์ละสิงคโปร์ ต่อมามีประเทศประกาศเข้าร่วมเจรจา TPP เพิ่มเติม ได้แก่ สหรัฐฯ เปรู เวยีดนาม ออสเตรเลียและ มาเลเซีย ซ่ึงมีการเจรจาไปแล้ว 6 ครั้ง ครั้งล่าสุดระหว่างวันที่ 24 มีนาคม-1 เมษายน 2554 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในการเจรจารอบล่าสดุ สมาชิกหารือถึงร่างข้อบท ข้อเสนอการเปิดตลาดสินค้า บริการ การลงทุนและการจัดซ้ือโดยรัฐ รวมทั้งประเด็นใหม่ๆ ในทศวรรษที่ 21 (21st century cross cutting issues) อาทิ seamless production & supply chains เป็นต้น ทั้งนี้ การเจรจารอบถัดไป (รอบที่ 7) ก้าหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 20-24 มิถุนายน 2554 ณ ประเทศเวียดนาม

    8. Indonesia – Australia Comprehensive Economic Partnership Agreement (IA-CEPA)

    เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 นายกรัฐมนตรีออสเตรเลียและประธานาธิบดอีินโดนีเซียประกาศให้มีการเริม่เจรจา FTA ออสเตรเลีย-อินโดนีเซีย ซ่ึงจะเป็นความตกลงแบบ comprehensive ครอบคลุมการค้าสินค้า การลงทุน และความร่วมมือต่างๆ

    9. Australia-India Comprehensive Economic Cooperation Agreement

    เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีการค้าออสเตรเลียและอินเดียไดป้ระกาศเร่ิมการเจรจา Australia-India Comprehensive Economic Cooperation Agreement อยา่งเป็นทางการ หลังจากที่ทั้งสองฝ่ายได้จัดท้าโครงการศึกษาความเป็นไปได้ (Australia-India Feasibility Study) ตั้งแต่ปี 2550 ซ่ึงแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 ที่ผ่านมา

    * กลุ่มประเทศ GCC คือ บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดอิาระเบีย และสหรัฐอาหรับอิมิเรตต์

  • 8

    2. ข้อมูลเศรษฐกิจ 2.1 ภาพรวม

    จากการปฏิรูปทางเศรษฐกิจช่วงปลายทศวรรษที่ 1980 และต้นทศวรรษที่ 1990 ซึ่งรวมถึงการปฏิรูปโครงสร้าง การลดการกีดกันทางการค้า การปล่อยค่าเงินลอยตัว ส่งผลให้ออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจแข็งแกร่งท่ีสุดแห่งหนึ่งในโลก

    เศรษฐกิจของออสเตรเลียมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 19 ปีติดต่อกันนับตั้งแต่ปี 2533 (1990) เป็นต้นมา ซ่ึงไดส้่งผลให้ออสเตรเลียเป็นประเทศท่ีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP per head) สูงเป็นอันดับที่ 11 ของโลกในปัจจุบัน

    ในปี 2553 (2010) ประมาณการว่าเศรษฐกิจของออสเตรเลียขยายตัวประมาณ 2.8% อย่างไรดี ส้าหรับปี 2554 (2011) คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจออสเตรเลียจะขยายตัวลดลงอยู่ที่ระดับ 2.3% สืบเนื่องจากสถานการณ์น้้าท่วมใหญ่ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายปี 2553 (2010)

    แม้ว่าราคาสินค้าในตลาดโลกจะปรับตัวสูงขึ้นและอุปทานสินค้าเกษตรจะลดลงเนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน แตใ่นช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2553 (2010) ออสเตรเลียยังคงมีอัตราเงินเฟ้อในระดับปานกลางอยู่ทีร่ะดับ 2.7% ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากค่าเงินดอลลาร์ออสเตรเลียที่ค่อนข้างแข็งตัว อย่างไรก็ดี มีการคาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อในออสเตรเลียจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยในช่วงไตรมาสแรกของปี 2554 (2011) เนื่องจากการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศสืบเนื่องจากเหตุการณ์น้้าท่วม ทั้งนี้ ส้าหรับอัตราเงินเฟ้อโดยเฉลี่ยของออสเตรเลียในปี 2554 (2011) คาดว่าจะอยู่ที่ระดับ 3.2% ทั้งนี้ แม้ว่าออสเตรเลียจะมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์จะค่อนข้างโดดเดี่ยว และมีประชากรไม่มาก แต่ออสเตรเลียเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจของนักลงทุนต่างประเทศ เนื่องด้วยปัจจัยต่างๆ อาทิ เป็นประเทศที่มีโครงสร้างทางสถาบันที่ทันสมัยและม่ันคงซ่ึงสร้างความแน่นอนให้แก่การด้าเนินธุรกิจ มีอุปสรรคทางการค้าและการลงทุนที่ต่้า (จากข้อมูลของ World Bank การจัดตั้งธุรกิจใหม่ในออสเตรเลียใช้เวลาด้าเนินการเพียง 2 วัน เมื่อเทียบกับประเทศ OECD อ่ืนๆ ที่ใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 20 วัน) มีตลาดแรงงานที่มีความยืดหยุ่นและมีทักษะสูง นอกจากนี้ โอกาสการค้าการลงทุนในออสเตรเลียยังเปิดกว้าง ทั้งภาคการผลิตดั้งเดิมอย่างเกษตรกรรม และเหมืองแร่ (เนื่องจากความต้องการวัตถุดิบจากประเทศเศรษฐกิจใหม่ (Emerging Economy) เช่น จีน อินเดีย) รวมทั้งอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีในระดับสูง เช่น โทรคมนาคม เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นต้น 2.2 ดัชนีเศรษฐกิจ (2553/2010est.)

    ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจต่าง ๆ

    GDP (market exchange rate) : 1,232.60 พันล้านเหรียญสหรัฐ GDP - growth rate : 2.7%

    GDP- per capita (PPP) : 39,810 เหรียญสหรัฐ GDP – composition by sector :

    สาขาเกษตร 4 % สาขาอุตสาหกรรม 24.8% สาขาบริการ 71.2%

    ก าลังคน : 11.62 ล้านคน อัตราการว่างงาน : 5.2 %

    อัตราเงินเฟ้อ : 2.8 %

  • 9

    สาขาการผลิตที่ส าคัญ สินค้าเกษตร : ข้าวสาลี ข้าวบารเ์ลย์ น้้าตาล ผลไม้ โคกระบือ แกะ สัตว์ปีก อุตสาหกรรม : อุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนการขนส่ง

    อาหารแปรรูป เคมีภัณฑ์ เหล็ก ข้อมูลอ่ืน ๆ

    หนี้ (ภายนอกประเทศ) : 1.1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ สกุลเงิน (รหัสย่อ) : ออสเตรเลียน (AUD) อัตราแลกเปลี่ยน : 1 AUD = 1.09 USD

    ปีงบประมาณ : 1 กรกฎาคม – 30 มิถุนายน 2.3 การค้าสินค้า บริการ และการลงทุนระหว่างประเทศ

    การค้าสินค้า4 2553 (2010)

    การค้ารวม ออสเตรเลียมีมูลค่าการค้ารวม 406,345.44 ล้านเหรียญสหรัฐ เพ่ิมข้ึนจากปี 2552 (2009) 29.47 % การส่งออก ออสเตรเลียส่งออกสินค้าเป็นมูลค่า 212,789.46 ล้านเหรียญสหรัฐ เพ่ิมข้ึนจากปี 2552 (2009) 37.71 %

    ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย สหรัฐอเมริกา สินค้าส่งออกส้าคัญ เช่น ถ่านหิน แร่เหล็ก ทองค้า ก๊าซธรรมชาติ น้้ามันดิบ เป็นต้น การน าเข้า ออสเตรเลียน้าเข้าสินค้ามูลค่า 193,555.98 ล้านเหรียญสหรัฐ เพ่ิมข้ึนจากปี 2552 (2009)

    21.53% แหล่งน้าเข้าหลัก ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ไทย สิงคโปร์ สินค้าน้าเข้าส้าคัญ เช่น น้้ามันดิบ น้้ามัน ยานยนต์ ทองค้า ผลิตภัณฑ์เวชกรรม เป็นต้น

    4 World Trade Atlas ณ วันที่ 17 มิถนุายน 2554

  • 10 การค้าบริการ5

    การค้าบริการมคีวามส้าคัญกับเศรษฐกิจของออสเตรเลีย โดยนับตั้งแต่ปี 2547 (2004) มูลค่าการค้าบริการของออสเตรเลียเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราเฉลี่ยเพ่ิมขึ้นปีละประมาณ 8.0%

    ออสเตรเลียเป็นผู้ให้บริการในสาขาต่างๆ ที่มีมาตรฐานระดับโลก เช่น การศึกษา การท่องเที่ยวการสื่อสาร การเงินและการประกันภัย เป็นต้น

    ในปี 2552 (2009) การค้าบริการของออสเตรเลียมีมูลค่าประมาณ 106.8 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ (คิดเป็น 21.1% ของการค้าสินค้าและบริการทั้งหมดของประเทศ) แบ่งเป็นการส่งออกมูลค่า 53 พันล้านเหรียญสหรัฐ (เพ่ิมข้ึน 0.8% จากปีก่อนหน้า) และน้าเข้าเป็นมูลค่า 53.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ (ลดลง 6.7% จากปีก่อนหน้า)

    ตลาดส่งออกบริการที่ส้าคัญของออสเตรเลีย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน อังกฤษ อินเดีย และนิวซีแลนด์ โดยสาขาบริการที่มีการเจริญเติบโตมากในด้านการส่งออกในปี 2552 (2009) ได้แก่ บริการท่องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา (education-related travel service) และบริการท่องเที่ยวอ่ืนๆ เป็นต้น

    ในด้านการน้าเข้า แหล่งน้าเข้าบริการที่ส้าคัญของออสเตรเลีย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สิงคโปร์นิวซีแลนด์ และไทย โดยส้าหรับปี 2552 (2009) สาขาที่มีเติบโตมาก ได้แก่ บริการวิชาชีพ (professional services) และบริการท่องเที่ยวอ่ืนๆ เป็นต้น

    การลงทุน ที่ผ่านมาในแต่ละปี มูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศในออสเตรเลีย (investment inflow) จะสูงกว่า

    การลงทุนของออสเตรเลียในต่างประเทศ (investment outflow) โดยประเทศคู่ลงทุนที่ส้าคัญของออสเตรเลียจะเป็นประเทศพัฒนาแล้ว เช่น นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป อย่างไรก็ดี ในระยะหลังประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเป็นจุดหมายการลงทุนและแหล่งเงินทุนที่ส้าคัญของออสเตรเลียเพ่ิมมากขึ้น ในอดีตภาคการผลิต (manufacturing) เป็นสาขาท่ีดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาในออสเตรเลียมากสุด และในขณะเดียวกันก็เป็นสาขาที่นักลงทุนออสเตรเลียออกไปลงทุนในต่างประเทศมากท่ีสุดเช่นกัน อย่างไรก็ด ีนับแต่ต้นทศวรรษที่ 2000s เป็นต้นมา เหมืองแร่ (mining) กลายเป็นสาขาท่ีดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศในออสเตรเลียได้มากท่ีสุด ส้าหรับการลงทุนในต่างประเทศ นักลงทุนออสเตรเลียออกไปลงทุนในภาคการผลิตมากที่สุด แต่กระนั้น การลงทุนในสาขาเหมืองแร่และการเงินก็เริ่มทวีความส้าคัญเพ่ิมขึ้นส้าหรับนักลงทุนออสเตรเลียในระยะหลังนี้

    สถิติการลงทุนระหว่างประเทศของออสเตรเลีย หน่วย: พันล้านเหรียญสหรัฐ

    รายการ 2549 (2006)

    2550 (2007)

    2551 (2008)

    2552 (2009)

    2553 (2010)

    การลงทุนจากต่างประเทศในออสเตรเลีย 26.4 41.1 47.3 26.0 22.9 การลงทุนของออสเตรเลียในต่างประเทศ 23.9 20.0 38.1 15.5 24.8 ที่มา: Economic Intelligence Unit

    5 Trade in Services Australia, 2009

  • 11

    3. การเมืองและสังคม 3.1 การเมือง

    ในช่วงทศวรรษระหว่าง 2503-2512 (1960-1969) เกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ทั้งทางสังคมและ

    วัฒนธรรมของออสเตรเลีย ความหลากหลายทางเชื้อชาติจากการอพยพเข้าหลังสงครามและการเสื่อมถอยของความเป็นมหาอ้านาจของสหราชอาณาจักร สงครามเวียดนาม (ซึ่งออสเตรเลียได้ส่งทหารเข้าร่วมรบ) มีส่วนท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคม

    ในปี 2505 (1962) ชาวออสเตรเลียได้ออกเสียงอย่างท่วมท้นในการลงประชามติให้รัฐบาลกลางมีอ้านาจออกกฎหมาย ในฐานะตัวแทนของชนพ้ืนเมือง และรวมชนพืน้เมืองเข้าอยู่ในการลงประชามตใินอนาคต ผลของการลงประชามติเกิดจากการรณรงค์อย่างแขง็ขันของชาวออสเตรเลียพ้ืนเมือง และชาวออสเตรเลียทั่วไป และเป็นเครื่องยืนยันอย่างหนักแน่น ว่าชาวออสเตรเลียอยากเห็นรัฐบาลใช้มาตรการ เพ่ือพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ของชุมชนชาวอะบอริจิน และชาวเกาะช่องแคบทอร์เรส

    การข้ึนครองอ้านาจที่ยาวนานที่สุดตั้งแต่หลังสงครามโลก โดยรัฐบาลผสมของพรรคเสรีนิยมและ พรรคชนบท (พรรคแห่งชาติในปัจจุบัน) สิ้นสุดลงในปี 2515 (1972) เมื่อพรรคแรงงานได้รับเลือกเข้ามาบริหารประเทศใน 3 ปีต่อมา มีการเปลี่ยนแปลงที่ส้าคัญ ในแนวนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมของออสเตรเลีย และโครงการออกกฎหมาย เพ่ือการปฏิรูปสาธารณสุข การศึกษา นโยบายต่างประเทศ สวัสดิการสังคม และแรงงานสัมพันธ์ อย่างไรก็ตาม วิกฤตรัฐธรรมนูญได้ส่งผลให้นายกรัฐมนตรี กอฟ วิธแลม ต้องถูกไล่ออกจากต้าแหน่งโดยนายจอห์น เคอร์ ผู้ส้าเร็จราชการ ในการเลือกตั้งครั้งต่อมา ปี 2518 (1975) แนวร่วมของพรรคชาตินิยมและพรรคเสรีนิยม ชนะพรรคแรงงานอย่างถล่มทลาย และปกครองประเทศจนถึง 2526 (1983) (เมื่อพรรคแรงงานกลับเข้ามาบริหารประเทศอีกครั้ง) รัฐบาลผสมของนายจอห์น ฮาวเวิร์ดรับช่วงต่อจากพรรคแรงงาน หลังจากชนะการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2539 (1996) และได้รับการเลือกตั้งอีกในปี 2541 (1998), 2544 (2001) และ 2547 (2004) ในการเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 (2007) พรรคแรงงานกลับมาเป็นรัฐบาลอีกครั้งภายใต้การน้าของนายเควิน รัดด์ แต่จากปัญหาต่างๆที่สะสม ท้าให้ความนิยมของนายรัดด์เสื่อมถอยลง ดังนั้น เมื่อเดือนมิถุนายน 2553 (2010) นางจูเลีย กิลลาร์ดได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าพรรคแรงงานและนายกรัฐมนตรีแทนนายรัดด์

    ทั้งนี้ หลังจากเข้าด้ารงต้าแหน่งนายกรัฐมนตรีได้ไม่นาน นางจูลเลีย กิลลาร์ด ได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนสิงหาคม 2553 (2010) ซึ่งในการเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดดังกล่าว พรรคแรงงานไม่สามารถครองเสียงข้างมากในสภาได้ แต่ท้ายท่ีสุดได้รับการสนับสนุนจากพรรค Green และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอิสระ จึงสามารถจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างน้อยได้ ซ่ึงรัฐบาลของนางจูเลีย กิลลาร์ดในปัจจุบัน ถือเป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อยครั้งแรกในรอบ 70 ปี ของออสเตรเลีย

  • 12

    3.2 สังคม สังคมออสเตรเลียเป็นสังคมที่มีความเป็นสากลนิยมและมีชีวิตชีวามากที่สุดประเทศหนึ่งในโลก มีภาษา

    ที่ใช้สื่อสารกันมากกว่า 200 ภาษาโดยภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีใช้กันทั่วไป นอกจากนี้ ออสเตรเลียขึ้นชื่อว่ามีสื่อพ้ืนเมืองที่เจริญมีชื่อเสียงในเชิงธุรกิจระหว่างประเทศที่ดี มีกิจกรรมทางศาสนา และวัฒนธรรมที่หลากหลาย มีอาหาร ร้านอาหาร แฟชั่น และสถาปัตยกรรมน่าสนใจมากมาย

    4. นโยบายด้านต่างๆของออสเตรเลีย 4.1 นโยบายต่างประเทศ

    นโยบายต่างประเทศของออสเตรเลียมีวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างความมั่นคงและความจริญรุ่งเรืองของประเทศ โดยออสเตรเลียให้ความส้าคัญกับการมีส่วนร่วมในเวทีระหว่างประเทศต่างๆ อาทิ UN, G20 และ WTO รวมทั้งมีบทบาทแข็งขันในการสนับสนุนการด้าเนินงานและแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ เช่น การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ การควบคุมการแพร่กระจายของอาวุธร้ายแรง การต่อต้านการก่อการร้าย การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (climate change) การพัฒนาอย่างยั่งยืน (sustainable development) และการค้ามนุษย์ (people smuggling) เป็นต้น

    ออสเตรเลียเห็นว่าความเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกามีความส้าคัญทั้งในด้านการเมือง ความม่ันคงและเศรษฐกิจ โดยออสเตรเลียเน้นส่งเสริมความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาให้แน่นแฟ้นมากยิ่งข้ึนในทุกมิติ

    ส้าหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก นอกจากออสเตรเลียจะเข้ามามีบทบาทส้าคัญในเวทีความร่วมมือต่างๆ ในภูมิภาค เช่น ASEAN, Asia Pacific Economic Cooperation (APEC), East Asia Summit (EAS), ASEAN Regional Forum (ARF) และ Pacific Island Forum (PIF) ออสเตรเลียยังพยายามเสริมสร้างความสัมพันธ์กับประเทศในภูมภิาคเอเชียแปซิฟิกอย่างต่อเนื่อง โดยในส่วนของประเทศญี่ปุ่นและจีน ซึ่งเป็นสองมหาอ้านาจส้าคัญในภูมิภาค ถึงแม้ว่าออสเตรเลียจะมีข้อขัดแย้งกับประเทศทั้งสองในบางประเด็น แต่ออสเตรเลียก็ยังมุ่งขยายความสัมพันธ์โดยมีการจัดท้าข้อตกลงระหว่างกันในด้านต่างๆ เช่น ความตกลงทางการทหารในการรักษาสันติภาพและการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม (กับญี่ปุ่น) และความตกลงการค้าเสรี (ทั้งกับญี่ปุ่นและจีน) (อยู่ระหว่างการเจรจา)

    นอกจากนี้ ออสเตรเลียยังมีบทบาทส้าคัญในการให้ความช่วยเหลือ (Official Development Assistance: ODA) โดยในระหว่างปี 2552-2553 (2009-2010) ออสเตรเลียได้ใช้งบประมาณในส่วนของ ODA เป็นเงินมากกว่า 3 พันล้านเหรียญออสเตรเลีย และมีนโยบายจะเพ่ิมงบประมาณในส่วนดังกล่าวอีกร้อยละ 0.5 ของรายได้ประชาชาติในช่วงปี 2558- 2559 (2015-2016) เพ่ือช่วยกระดับคุณภาพชีวิตและขจัดความยากจนในประเทศต่างๆ ทั่วโลก

    4.2 นโยบายการค้า

    รัฐบาลออสเตรเลียภายใต้การน้าของนายกรัฐมนตรีจูลเลีย กิลลาร์ด ได้เผยแพร่เอกสารนโยบายการค้า (Gillard Government Trade Policy Statement) เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 (2011) ซึ่งมีสาระส้าคัญ ดังนี้

  • 13

    นโยบายการค้าของรัฐบาลออสเตรเลียปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับธุรกิจของออสเตรเลีย รวมทั้งเพ่ือให้ธุรกิจของออสเตรเลียสามารถเข้าสู่ตลาดต่างประเทศได้ โดยรัฐบาลออสเตรเลียจะสนับสนุนการเปิดเสรีทางการค้าในทุกระดับ (ระดับพหุภาคี ภูมิภาคและทวิภาคี)

    ระดับพหุภาค ีออสเตรเลียจะให้ความส้าคัญกับการเจรจาการค้ารอบโดฮาภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก (WTO) ต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลักดันการเปิดตลาดสินค้าเกษตร ซึ่งออสเตรเลียเป็นแกนน้าของกลุ่ม Cairns Group6 และการเปิดตลาดภาคการค้าบริการซึ่งเป็นแหล่งรายได้ส้าคัญของประเทศ

    ระดับภูมิภาคและทวิภาคี ออสเตรเลียจะสนับสนุนการด้าเนินงานของ Asia Pacific Economic Cooperation (APEC) ต่อไป โดยเห็นว่าการด้าเนินงานภายใต้เอเปคช่วยให้เกิดการลดอุปสรรคทางการค้าการลงทุนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ส้าหรับการจัดท้าความตกลงการค้าเสรี (FTA) ออสเตรเลียจะจัดท้าเฉพาะความตกลงการค้าเสรีที่สอดคล้องกับหลักการ WTO ซึ่งน้าไปสู่เปิดการตลาดอย่างแท้จริง รวมทั้งจะต้องเป็นความตกลงที่สนับสนุนการเปิดเสรีระดับพหุภาคีเท่านั้น โดยจะยึดหลักการส้าคัญ ดังนี้

    ความตกลงการค้าเสรีระดับพหุภาคีน ามาซึ่งประโยชน์สูงสุด ความตกลงการค้าเสรีระดับภูมิภาคและระดับทวิภาคีจะต้องไม่ส่งผลทางลบต่อระบบการค้า

    พหุภาคี และจะต้องท าให้เกิดการเปิดเสรีและลดอุปสรรคทางการค้าอย่างแท้จริง จะไม่แสวงหาสิทธิพิเศษในการเข้าสู่ตลาดของคู่เจรจา โดยต้องการเพียงโอกาสในการเข้าไป

    แข่งขันในตลาดของคู่เจรจาอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม นโยบายต่างประเทศจะไม่มีอิทธิพลต่อการเลือกคู่เจรจา และเนื้อหาสาระของความตกลง

    การค้า จะเปิดโอกาสให้สาธาณชนทราบข้อมูลเกี่ยวกับการเจรจาและมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น

    หรือให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการเจรจา จะมุ่งปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศที่เก่ียวข้องกับการค้า (trade related economic

    reform) แบบฝ่ายเดียว โดยไม่ค านึงว่าประเทศคู่เจรจาจะด าเนินการในลักษณะเดียวกันหรือไม่

    ปัจจุบัน ออสเตรเลียมี FTA จ้านวน 6 ฉบับ ได้แก่ ASEAN-Australia-New Zealand FTA, Singapore-Australia FTA, Thailand-Australia FTA (TAFTA), Australia-United States FTA, Australia-New Zealand Closer Economic Relations และ Australia-Chile FTA และขณะนี้ อยู่ระหว่างการเจรจาความตกลงการค้าเสรีต่างๆ ได้แก่ Trans-Pacific Partnership (TPP), Australia-Korea Free Trade Agreement, Japan-Australia Free Trade Agreement, China-Australia Free Trade Agreement, Malaysia-Australia Free Trade Agreement, Indonesia-Australia Comprehensive Economic Partnership Agreement และ Gulf Cooperation Council Free Trade Agreement 4.3 นโยบายการค้าบริการ และการลงทุน

    ออสเตรเลียมีนโยบายสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดย่อม ซึ่งมีมูลค่าการลงทุนน้อยกว่า 10 ล้านเหรียญออสเตรเลีย สามารถเข้ามาลงทุนได้โดยไม่จ้าเป็นต้องขออนุญาตก่อน

    6 Cairns Group ประกอบด้วย 19 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย โบลิเวีย บราซิล แคนาดา ชิล ีโคลัมเบีย คอสตราริกา กัวเตมาลาอินโดนีเซีย มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ปารากวัย เปรู ฟิลิปปินส ์แอฟรกิาใต้ ไทย และอุรกวยั

  • 14 อย่างไรก็ดี มีธุรกิจบางประเภทที่ได้ก้าหนดเงื่อนไขพิเศษส้าหรับนักลงทุนต่างชาติ และต้องยื่นเสนอขออนุญาตรัฐบาลออสเตรเลียก่อน แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่

    1) ธุรกิจที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กบัดุลยพินิจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

    2) ธุรกิจด้านการเงิน การสื่อสาร การบิน ท่าอากาศยาน การขนส่งสินค้า หนังสือพิมพ์ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้มีการก้าหนดเงื่อนไขเปิดรับการลงทุนแตกต่างกันไป

    3) ธุรกิจที่รัฐบาลออสเตรเลียก้าหนดให้ต้องยื่น proposal เสนออนุญาตก่อน ได้แก่ - การลงทุนธุรกิจที่ให้บริการอยู่แล้วในประเทศออสเตรเลีย และมีมูลค่ามากกว่า 50 ล้าน

    เหรียญออสเตรเลีย - การลงทุนในธุรกิจใหม่โดยมีมูลค่าทั้งหมดตั้งแต่ 10 ล้านเหรียญออสเตรเลียขึ้นไป - การลงทุนแบบ portfolio investment ตั้งแต่ 5% ขึ้นไปในธุรกิจ media - การลงทุนโดยตรงโดยรัฐบาลหรือหน่วยงานราชการต่างชาติ - การครอบครองผลประโยชน์บนที่ดินในตัวเมือง (รวมถึงผลประโยชน์ที่เกิดจาก leasing,

    financing and profit sharing arrangement และการครอบครองผลประโยชน์ใน urban land corporations and trusts) ที่เก่ียวกับ การครอบครอง developed non – residential commercial real estate ในกรณี

    ที่อสังหาริมทรัพย์อยู่ภายใต้ Heritage listing และมีมูลค่าตั้งแต่ 5 ล้านเหรียญออสเตรเลียขึ้นไป

    การครอบครอง developed non-residential commercial real estate ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ไม่อยู่ภายใต้ Heritage listing และมีมูลค่าตั้งแต่ 5 ล้านเหรียญออสเตรเลียขึ้นไป

    การครอบครอง accommodation facilities, vacant urban real estate และ residential real estate เป็นต้น

    กฎระเบียบที่นักธุรกิจต่างชาติควรศึกษาก่อนที่จะลงทุนท้าธุรกิจในออสเตรเลีย ได้แก่ - กฎหมายการจัดตั้งบริษัทและลงทุนในออสเตรเลีย - กฎหมายที่เกี่ยวกับภาษี - กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค - กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า - กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม - กฎหมายแรงงาน

    กฎหมายก้ากับดูแลเกี่ยวกับการลงทุนจากต่างชาติ คือ Foreign Acquisitions and Takeovers Act 1975 (Cth) หรือ FATA โดยอยู่ภายใต้การก้ากับดูแลของ Australian Treasurer และ Foreign Investment Review Board (FIRB)

  • 15

    5. มาตรการด้านภาษี 5.1 ภาษีบุคคลธรรมดา

    การเรียกเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของออสเตรเลียมีสัดส่วน ดังนี้ - 0 A$ - 6,000 A$ 0% - 6,100 A$ - 25,000 A$ 15%

    - 25,001 A$ - 75,000 A$ 30% - 75,001 A$ - 150,000 A$ 40% - มากกว่า 150,000 A$ 45%

    ในกรณีที่ผู้มีรายได้มิใช่ชาวออสเตรเลียและมิได้ท้างานตลอดทั้งปี - 0 A$ - 25,000 A$ 29% - 25,501 A$ - 75,000 A$ 30% - 75,001 A$ - 150,000 A$ 40% - มากกว่า 150,000 A$ 45% 5.2 ภาษีนิติบุคคล

    ภาษีนิติบุคคลกรณีท่ีผู้ประกอบการเป็นผู้อยู่อาศัย (Resident corporations) มีภาระภาษีเท่ากับ 30% ของก้าไรสุทธิ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการแต่ละรายยังต้องมีค่าใช้จ่ายในส่วนภาษีท่ีเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์พิเศษให้แก่พนักงาน (Fringe Benefit Tax: FBT) อีก 48.5% ของเงินเดือนพนักงาน

    5.3 ภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษีการค้าที่มีการเรียกเก็บในออสเตรเลีย (Goods and Service: GST) ซึ่งจะมีรูปแบบคล้ายกับ

    ภาษีมูลค่าเพ่ิมของไทย กล่าวคือ มีการเรียกเก็บเม่ือซื้อสินค้าหรือบริการให้อัตรา 10% ของราคาสินค้าหรือบริการ อัตราดังกล่าวใช้เรียกเก็บท้ังสินค้าที่ผลิตในประเทศและสินค้าน้าเข้า อย่างไรก็ตาม นโยบายได้รับการยกเว้นกับบริการบางประเภท เช่น การศึกษา สุขภาพ และการดูแลเด็กอ่อน

    5.4 ภาษีน าเข้า

    ออสเตรเลียเคยตั้งก้าแพงภาษีน้าเข้าในอัตราที่สูงมากเพ่ือคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศ ต่อมาภายหลังการปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศตั้งแต่ปี 2523 (1980) เป็นต้นมา อัตราภาษีน้าเข้าของออสเตรเลียได้ลดลงเป็นล้าดับตามแผนการลดภาษีของรัฐบาล โดยอัตราภาษีน้าเข้าสินค้าโดยทั่วไปจะอยู่ที่ระดับ 5% ยกเว้นสินค้าในหมวดรถยนต์ (15%) สิ่งทอ (25%) เสื้อผ้าและรองเท้า (15%) เนื่องจากรัฐบาลออสเตรเลียต้องการให้อุตสาหกรรมเหล่านี้มีการปรับตัว จึงชะลอการลดภาษีน้าเข้าลงในระหว่างปี 2543-2547 (2000-2004) อย่างไรก็ดี ในปี 2548 (2005) รัฐบาลจึงมีนโยบายลดภาษีดังกล่าวลง ปัจจุบัน อัตราภาษีน้าเข้าโดยทั่วไปของออสเตรเลียอยู่ในระดับต่้า โดยเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 (2010) ออสเตรเลียมีการปรับลดภาษีน้าเข้าในหมวดสินค้าสิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า และรถยนต์หลายรายการลงอยู่ที่ระดับ 5% และ 10% ซ่ึงส่งผลให้อัตราภาษีน้าเข้าสินค้าเฉลี่ยของออสเตรเลียลดลงจากระดับ 3.8% เมื่อปี 2549 (2006) เหลือ 3.1% โดยอัตราภาษีน้าเข้าเฉลี่ยส้าหรับสินค้าเกษตรอยู่ที่ระดับ 1.4% และอัตราภาษีน้าเข้าเฉลี่ยส้าหรับสินค้าอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 3.4%

  • 16 โครงสร้างอัตราภาษีน าเข้าออสเตรเลีย ปี 2553 (2010)

    ที่มา : Trade Policy Review, 2011

    6. มาตรการที่มิใช่ภาษี ออสเตรเลียเป็นประเทศหนึ่งที่มีการใช้มาตรการที่มิใช่ภาษีมาก ซึ่งอาจจะเป็นอุปสรรคต่อ

    การค้าระหว่างประเทศได้ มาตราการที่มิใช่ภาษีเหล่านั้น ได้แก่ 1) มาตรการสุขอนามัย (Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) ซ่ึงเป็นการ

    ก้าหนดมาตรการต่าง ๆ ที่จะปกป้องชีวิตและสุขภาพของคน สัตว์ และพืชที่จะเกิดอันตรายจากเชื้อโรคและศัตรูพืชต่าง ๆ

    2) มาตรการอุปสรรคทางเทคนิคทางการค้า (Technical Barriers to Trades) ได้แก่ การก้าหนดกฎระเบียบและข้อบังคับทางเทคนิค มาตรฐานและระบบใบรับรองส้าหรับสินค้าส่งออกและน้าเข้า เป็นต้น

    3) มาตรการอื่นๆ (Other Measures) ซ่ึงสามารถดูรายละเอียดมาตรการข้างต้น ได้ที่ Website ของกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ หรือ link ข้อมูลเรื่องมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและสัตว์ มาตรการอุปสรรคทางเทคนิค และมาตรการอ่ืนๆ โดยตรงที่

    http://www.dft.moc.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$11/level4/SPS_AUS_0905.pdf&level4=1304

    http://www.dft.moc.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$11/level4/AUS_TBT_01-04-54.pdf&level4=1305

    http://www.dft.moc.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$11/level4/NTBs_Other.pdf&level4=1307 ตามล้าดับ

    รายการ อัตราภาษี อัตราภาษีทั่วไปเฉลี่ย (ทุกสินค้า) 3.1% สินค้าเกษตร (HS01-24) 1.4% สินค้าอุตสาหกรรม (HS25-97) 3.4%

    สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 5.4 %

    ยานยนต ์ 8.9%

    อุปกรณ์ขนส่ง 12.1%

    http://www.dft.moc.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$11/level4/SPS_AUS_0905.pdf&level4=1304http://www.dft.moc.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$11/level4/SPS_AUS_0905.pdf&level4=1304http://www.dft.moc.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$