784

 · การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ก

    ค ำน ำ

    การจัดประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเป็น

    เวทีให้นักวิชาการ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ในหลากหลายสาขาวิชา ได้ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์

    และงานวิจัย โดยร่วมน าเสนอบทความวิชาการ ผลงานวิจัย และสิ่งประดิษฐ์ เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน

    คณะกรรมการด าเนินการจัดประชุมวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาบทความ คณะกรรมการด าเนินงาน

    ผู้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้ให้การสนับสนุนทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมท าให้การจัดประชุมวิชาการในครั้งนี้ประสบผลส าเร็จ

    คณะกรรมการด าเนินงาน

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ข

    สำรจำกรองอธิกำรบดี วิทยำเขตศรีรำชำ

    จากนโยบายของประเทศ ที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างโอกาสในการแข่งขันและ

    เพื่อให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง จึงจ าเป็นที่จะต้องมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิด

    การน าไปใช้งาน การประชุมทางวิชาการจึงเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการเผยแพร่ผลงานวิจัย ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิด

    เครือข่ายการวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จึงได้ก าหนดจัดการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 ประจ าปี 2561

    “The 3rd KU SRC Annual Conference 2018” เป็นการจัดประชุมต่อเนื่องที่ก่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง

    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับหน่วยงานภายนอก ด้านการวิจัยและหน่วยงานเอกชนที่มีชื่อเสียง อีกทั้งเป็นช่องทางในการ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานวิจัย ในหลากหลายสาขาวิชา ระหว่างนักวิชาการ นักวิจัย นิสิต นั กศึกษา และบุคคลทั่วไป ซึ่ง

    ตอบสนองต่อนโยบายของประเทศที่มุ่งเน้นการพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างโอกาสในการแข่งขัน ตลอดจนนโยบาย

    ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เป็นเวทีให้คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา และบุคคล

    ทั่วไปได้ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และงานวิจัย โดยให้การสนับสนุน การเผยแพร่ และถ่ายทอดผลงานวิจัยสู่

    สังคม ในรูปแบบของการประชุมวิชาการระดับชาติ ซึ่งเป็นเวทีหนึ่งในการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และงานวิจัย และ

    เพือ่เป็นการสร้างเครือข่ายนักวิจัยภายในประเทศต่อไป

    ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณผู้สนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน รวมทั้งผู้ด าเนินงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ช่วยให้การจัด

    ประชุมวิชาการในครั้งนี้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ซึ่งได้ด าเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เป็นครั้งที่ 3 และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    วิทยาเขตศรีราชา คาดว่าจะได้รับความร่วมมืออีกในโอกาสต่อไป

    รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญะ เกียรติวัฒน์ รองอธิการบดีวิทยาเขตศรีราชา

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ค

    หัวข้อในกำรประชุม

    1. นวัตกรรมและเทคโนโลยี (Innovation and Technology)

    2. วิทยาศาสตร์และวทิยาศาสตร์ประยุกต์ (Sciences and Applied Sciences)

    3. วิทยาศาสตร์การเดินเรือและเทคโนโลยี (Marine Science and Technology)

    4. วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)

    5. เศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตรป์ระยุกต์ (Economics and Applied Economics)

    6. การเงินและบญัชี (Finance and Accounting)

    7. การจัดการ (Management)

    8. การตลาด (Marketing)

    9. ธุรกิจระหว่างประเทศ (International Business)

    10. โลจิสติกส์ (Logistics)

    11. กิจการให้บริการและการท่องเที่ยว (Hospitality and Tourism)

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ง

    ผู้ทรงคุณวุฒิในกำรพิจำรณำบทควำม

    มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ผศ.ดร. สุภัทร พัฒน์วชิัยโชติ ผศ.ดร. ฐิติมา ไชยะกุล ผศ.ดร. ฐิติกร พัตนพิบูล ผศ.ดร. ปารเมศ ก าแหงฤทธิรงค์ ผศ.ดร. อนันต์ บรรหารสกุล รศ.ดร. เกียรติทวี ชูวงศ์โกมล ผศ.ดร. สิรางค์ กลั่นค าสอน รศ.ดร. ฐิติวรรณ ศรีเจริญ ผศ.ดร. บุญธรรม วงศ์ไชย ดร. สุนีย์รัตน์ วฒุิจินดานนท์ ผศ.ดร. ไพโรจน์ ทองประศรี ผศ.ดร. กันตภณ คูหาพัฒนกุล ดร. ศุภวัฒน์ ชัยเกษม ผศ.ดร. ทรงพร หาญสันต ิผศ.ดร. สมภพ จรุงธรรมโชต ิ ดร. ดาราพร ผุสิงห ์ผศ.ดร. ศิริชัย วัฒนาโสภณ ดร. ศุภาภาส ค าโตนด ผศ.ดร. สถาพร เชื้อเพ็ง ผศ.ดร. จุฑามาศ ทวไีพบลูย์วงษ์ ผศ.ดร. สุภัทรชัย ชมพนัธุ ์ ผศ.ดร. โชติกา หยกทองวัฒนา ผศ.ดร. เพ็ญสุดา พันฤทธิ์ด า ดร. สุวพร เหลืองขมิ้น ผศ.ดร. ประภาพรรณ เกษราพงศ์ รศ.ดร. เกียรติยุทธ กวีญาณ ผศ.ดร. เชฎฐา ช านาญหล่อ รศ.ดร. ธนรัตน์ แต้วัฒนา ดร. ธเนศ วงศ์หงษ์ ดร. ไพรีพินาศ พิมพสิาร ดร. ธีร์ เชาวนนทปัญญา ดร. ศิริรัตน์ จึงรุ่งเรืองถาวร ผศ.ดร. ยอดชาย เตียเปิ้น ผศ.ดร. ณัฐนันท์ ต.เทียนประเสริฐ ผศ.ดร. สาริณี อุ่ยตระกูล ดร. นรารัก บุญญานาม ดร. พงศกร บ ารุงไทย รศ.ดร. ประชุมพร คงเสรี ดร. จิราภรณ์ ประดับวงษ ์ ผศ.ดร. อัควรรณ์ แสงวิภาค ผศ.ดร. รจนา ประไพนพ ดร. วรญา เนื่องมัจฉา ผศ.ดร. สุรศักดิ์ เพิ่มทรัพย์ทวี ผศ.ดร. เฉลิมพงษ์ เสนารักษ์ ดร. ทองใส จ านงการ ดร. ประพิมพรรณ ลิ่มสุวรรณ ์ดร. ชลดา โกมนิทรชาติ ดร. ศิรินุช อินละคร ดร. นภัสวรรณ์ ช านาญเวช ผศ.ดร. ปัญญา แขน้ าแก้ว ดร. มาลินี พรหมขัติแก้ว ผศ.ดร. ราตรี วงศ์ปัญญา ดร. ไพลิน ศรีสุรัติสิร ิ ดร. กฤษณันท์ มะลิทอง ผศ.ดร. นาตยา คล้ายเรือง ดร. วรยศ ละม้ายศรี

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า จ

    ดร. พัชรา ศรีพระบ ุ ผศ.ดร. ณัฐศักดิ์ บุญมี ผศ.ดร. สมพล สกุลหลง ผศ.ดร. นุชนารถ รัตนสุวงศช์ัย ผศ.ดร. นัฎฐวิกา จันทร์ศร ี รศ.ดร. สิริกร กาญจนสุนทร ผศ.ดร. วุฒิพงศ์ อาจริยอาจอง ผศ.ดร. พุทธชาติ โปธบิาล ดร. ศิริวรรณ ไชยสูรยกานต์ ดร. มุกข์ดา สุขธาราจาร ดร. ชาตินักรบ แสงสวา่ง ผศ.ดร. ศุภชาต เอ่ียมรัตนกูล ดร. กิติยา ทัศนะบรรจง

    จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ผศ.ดร. ชนัตต์ รัตนสุมาวงศ ์

    มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ ดร. อรษา ตันติยะวงศ์ษา ผศ.ดร. กัมปนาท เทียนน้อย รศ.ดร. ณพล อยู่บรรพต ผศ.ดร. สุวรรธนา เทพจิต ดร. กมลนัทธ์ มีถาวร

    มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลตะวันออก ดร. สุธีรา อานามวงษ ์ ดร. นันทพร พึ่งสงัวร

    มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ ดร. ธีระศักดิ์ สมศักดิ์ รศ.ดร. พานิช อินต๊ะ

    มหำวิทยำลัยกรุงเทพ ผศ.ดร. รวิพรรณ สุภาวรรณ์

    มหำวิทยำลัยขอนแก่น ดร. ฐิติพงศ์ จ ารัส

    มหำวิทยำลัยนเรศวร ดร. สุวรรณี ทองรอด

    มหำวิทยำลัยบูรพำ ดร. ปิยะวัฒน์ ชนินทร์คระกูล ผศ.ดร. อัครา ธรรมมาสถิตย์กุล ดร. เนตรดาว ชัยเขต ผศ.ดร. กัญลิน จิรัฐชยุต ดร. ศรัญยา แสงลิ้มสุวรรณ ดร. การุณ สุขสองห้อง

    มหำวิทยำลัยมหิดล ดร. ธีรธร ยูงทอง ดร. ภาวัต อุปถัมภ์เชื้อ

    มหำวิทยำลัยรำชภัฎพระนคร ผศ.ดร. จักรพันธ์ กิตตินรรัตน ์ ผศ.ดร. ณัฏฐ์ มากุล

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฉ

    มหำวิทยำลัยรำชภัฏมหำสำรคำม ผศ.ดร. พิทยวัฒน์ พนัธะศรี

    มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร. สุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล ดร. นายณัฏฐพัชร มณโีรจน ์ผศ.ดร. สุวิมล เฮงพัฒนา

    มหำวิทยำลัยศรีปทุม ผศ.ดร. สุพัฒตรา เกษราพงศ ์ ดร. มาโนช พรหมปัญโญ

    มหำวิทยำลัยศิลปำกร รศ.ดร. ประกร รามกุล ผศ.ดร. อภิญญา อิงอาจ ดร. สมคิด ภูมิโคกรักษ์

    มหำวิทยำลัยหอกำรค้ำไทย รศ.ดร. ขนิษฐา จิตชินะกุล ผศ.ดร. ธเนศ เวศร์ภาดา

    มหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนี ดร. พีชญาดา พื้นผา

    ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชำติ ดร. นุวงศ์ ชลคปุ

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ช

    ประวัติ Keynote Speaker

    ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรรมการบริหารสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ าและการเกษตร

    รำงวัลที่ได้รับ (โดยย่อ)

    รางวัลผู้น าวิทยาศาสตร์พลังงานทางเลือกดีเด่นแห่งชาติ สาขาเทคโนโลยี Solar PV

    รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย ประจ าปี 2540

    ASEAN Science and Technology Meritorious Award (1996)

    Gold Medal (1969)

    George Young Bursary (1966), Grey, Law and Watt Scholarship (1971) of the University of Glasgow

    Royal Prize, awarded by HM the King for being the first in the National Examination of Secondary School Students (Science Program) (1965)

    ประวัติกำรท ำงำน (โดยย่อ)

    คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    คณบดีคณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    รักษาการคณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    รองผู้อ านวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

    ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

    เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

    คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ

    คณะกรรมการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ด้านการศึกษา

    รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ซ

    ประวัติ Keynote Speaker

    รองศำสตรำจำรย์ ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ คณะท างานสรรหา คัดเลือก และเจรจาผู้ลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกรมธนารักษ์ กรรมการผู้จัดการ Myandawei Industrial Estate Company Limited กรรมการบริหาร บริษัท ปรีชากรุ๊ป จากัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่ปรึกษาคณะกรรมการสถาบันอุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร วาระปี 2559-2561 กรรมการสภาวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-อาเซียน (THAI-ASEAN Cultural and Economic Council)

    รำงวัล เกียรติคุณท ำงก ำรศึกษ ำและอื่นๆ (โดยย่อ)

    อุตสาหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาการจัดการการผลิตทางอุตสาหกรรม) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (พ.ศ. 2555)

    Young Entrepreneur’93 (by Bangkok Post & INSEAD & Seagramme)

    Asian Institute of Management Award 1994 (on IEAT behalf)

    นักบริหารพัฒนาองค์กรดีเด่นจากสมาคมช่างภาพผู้สื่อข่าวแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2544)

    เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย

    ประวัติกำรท ำงำน (โดยย่อ)

    กรรมการบริหาร องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

    กรรมการบริหาร องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อสมท.)

    ประธานกรรมการบริหาร องค์การตลาด

    กรรมการบริหาร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (เมื่อคร้ังสังกัดกระทรวงมหาดไทย)

    กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จากัด (สุวรรณภูมิ)

    กรรมการบริหาร การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย

    ประธานที่ปรึกษา การรถไฟแห่งประเทศไทย

    กรรมการบริหาร องค์การรถไฟฟ้ามหานคร

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฌ

    ผู้ว่าการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(พ.ศ. 2533-2542)

    กรรมการบริหาร บริษัท ปตท. ส ารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)

    ประธานกรรมการ คณะกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

    กรรมการบริหาร ศูนย์อิเล็กทรอนิคส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

    กรรมการบริหาร องค์การจัดการน้ าเสีย

  • AGENDA - The 3 rd KU SRC Annual Conference August 30, 2018

    Library Building , Kasetsart University Sriracha Campus

    08:00 – 09:00 Registration and Upload Presentation File to the Computer

    09:00 – 10:00 Opening Ceremony and Best Paper Award by Dr. Krissanapong Kiratikara (Chairman of KU Council)

    10:00 – 11:00 Keynote Speaker: Assoc.Prof.Dr. Somchet Thinaphong 11:00 – 11:15 Preparation for Presentation

    SESSION B1 Sciences and

    Applied Sciences

    SESSION C1 Management

    SESSION D1 Engineering

    SESSION E1 Finance and Accounting

    Room B (4rd floor) Room C (4th floor) Room D (3rd Floor) Room E (2nd Floor) 11:15 – 11:30 ID011 ID001 ID006 ID020

    11:30 – 11:45 ID042 ID005 ID012 ID022

    11:45 – 12:00 ID051 ID016 ID014 ID054

    11.30-13.30 Lunch (Library Building) (1st Floor) SESSION A2

    Management SESSION B2 Sciences and

    Applied Sciences

    SESSION C2 Marketing

    SESSION D2 Engineering

    SESSION E2 Economics and

    Applied Economics & Logistic

    Room A (4th Floor) Room B (4rd floor) Room C (4th floor) Room D (3rd Floor) Room E (2nd Floor)

    13:00 – 13:15 ID013 ID052 ID007 ID035 ID002 13:15 – 13:30 ID019 ID053 ID032 ID036 ID040

    13:30 – 13:45 ID021 ID059 ID043 ID038 ID047

    13:45 – 14:00 ID023 ID060 ID049 ID048 ID058 14:00 – 14:15 ID027 ID061 ID056 ID064 ID096

    14:15 – 14:30 ID029 ID062 ID063 ID066 ID097

    14:30 – 14:45 ID030 ID068 ID065 ID067 14:45 – 15:00 ID033 ID109 ID079 ID0112 15:00 – 15:15 Break

    SESSION A3 Management

    SESSION B3 Sciences and

    Applied Sciences

    SESSION C3 Marketing & Management

    SESSION D3 Engineering

    SESSION E3 Innovation and

    Technology Room A (4th Floor) Room B (4rd floor) Room C (4th floor) Room D (3rd Floor) Room E (2nd Floor)

    15:15 – 15:30 ID044 ID072 ID085 ID041 ID004

    15:30 – 15:45 ID050 ID075 ID093 ID091 ID046

    15:45 – 16:00 ID055 ID077 ID099 ID094 ID081

    16:00 – 16:15 ID057 ID078 ID102 ID100 ID098

    16:15 – 16:30 ID074 ID080 ID103 ID110

    16:30 – 16:45 ID076 ID082 ID104 16:45 – 17:00 ID084 ID083 ID111

    17:00 – 17:15 ID092 ID095

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฌ

    สารบัญ Topic: Innovation and Technology หน้า

    ID004 The Complex Network of Cooperative Students and Study the Acceptability Factor from the Establishment by Using Graph Theory

    1

    ID046 Vulnerability Assessment of Groundwater: Case Study in Ratchaburi Province 9 ID081 Development for Open Educational Resource (MOOC) on Service Use of Thaksin

    University 21

    ID098 Effect of Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, Price Value on Intention to Use Prompt Pay Service of Student in Udon Thani Rajabhat University

    31

    Topic: Sciences and Applied Sciences หน้า ID011 Case study: Thermal discomfort in a small office in Chonburi, Thailand 40 ID042 Effects of Thickness of ZnO Nanoparticle Layer on Electron Transport in

    Perovskite Solar Cells 46

    ID051 Analysis of long-range transport of PM2.5 influences on Air Pollution in northern Thailand using HYSPLIT Model

    55

    ID052 Comparison on Confidence Interval for Population Mean with some Items Nonresponse under Unequal Probability Sampling without Replacement

    62

    ID053 Selection of Yeast Stain for Pineapple Wine Production 70 ID059 Influence of Cleaning Using Water on the Performance of Photovoltaic Panels 76 ID060 Efficiency and performance comparison of a single and double-axis sun tracking

    PV system 84

    ID061 Efficiency and Performance Analysis of a 300 kW Grid-tied Solar Power Generation System

    95

    ID062 Biosorption of lead in wastewater by living and non-living cell of Bacillus cereus EF4

    105

    ID068 The study of optimal condition for immobilization Bacillus pumilus LWW9 on tea waste biomass

    115

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ญ

    Topic: Sciences and Applied Sciences หน้า ID072 Health Status and Health Behavior of the Elderly in Bangkhla Municipal of

    Chachoengsao Province 123

    ID075 DFP-Cosine Similarity for Sentence Similarity with Latent Semantic Analysis 134 ID077 Determination of Chlorpyrifos and Carbendazim residues in Shallots and Garlics

    in Phayao Province 142

    ID078 Investing in ThaiDEX SET50 ETF using Fisher transform indicator 148 ID080 Plant Growth Promoting and Antifungal Activities of Actinomycetes from

    Kantulee Peat Swamp Forest 156

    ID082 Treatment of Zinc ion from Wastewater by used Aluminium Dross from Auto Parts Manufacturing

    166

    ID083 Treatment of Used Coolant Oil via Modified Fenton Reaction using Waste from Auto Parts Manufacturing

    177

    ID095 Type and Content of Purine Base in Twenty Local Vegetables 187 ID109 Lead removal onto adsorbent from black rice husk and white rice husk ash 193

    Topic: Engineering หน้า ID006 Development of an Underwater Glider 200 ID012 Design Prototype of Intelligent Rotary Car Parking System 205 ID014 Development of a Fish Robot 211 ID035 Development of Incoming Sampling Plan : A Case Study of Auto Parts Assembly

    line 217

    ID036 Reducing waste in coating process: a case study in a cosmetic packaging industry 227 ID038 Flood Hazard Map and Evaluation of Economic Loss in Chonburi Province 235 ID041 Development of Equipment for Measuring the Rapid Chloride Penetration in

    Concrete 244

    ID048 Harmonic Reduction Technique for 3-Phase 17-Level of T-type Inverter by Shifting the Switching Angles

    253

    ID064 The Effect of Water Mass Flow Rate on Solar PV/T Rooftop Performance with Cooling by Oscillating Heat pipe

    263

    ID066 Performance Enhancement of Solar Photovoltaic/Thermal System 272

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฎ

    Topic: Engineering หน้า by using Water Cooling

    ID067 Thermal Performance of Flat Plate Solar Collectors using Graphene Nano-Fluid as a Working Fluid

    282

    ID091 Strength Characteristics of Bottom Ash Stabilized Soft Clayey Soil 293 ID094 Simulation of an Indoor Air Ventilation System for the Carbon Dioxide Control 303 ID100 Effect of aramid fiber on chloride penetration resistance and electrical resistivity

    of concrete 313

    ID110 The study of Slope Stability by Limit Equilibrium Method using KUslope program : Case Study of Kasetsart University Sriracha Campus

    320

    ID0112 Applied Genetic Algorithm for selection variety of economic crops for intercropping

    327

    Topic: Economics and Applied Economics หน้า ID002 Consumer Behavior and Factors Affecting Decision to Buy Organic Shrimp in

    Bangkok 333

    ID040 Design and Development of Chantaboon’s reed mat products for chantaburi reed mat weaving housewife group

    340

    ID047 Environment Valuation for Eco-Tourism Management, Samae San Island, Chonburi Province

    350

    ID058 Analysis of Determinants of Online Goods and Services Consumption in Digital Economy Era of Resident in Thailand

    363

    ID096 Human development on the labor productivity in plastics industry 377 ID097 Analysis of Debt on Royal Thai Armed Forces Headquarters Savings and Credit

    Cooperative Limited of Noncommissioned Officers 386

    Topic: Finance and Accounting หน้า ID020 Performance of Fixed Income Mutual Fund in Thailand 397 ID022 An ability to forecast market liquidity – Evidence from South East Asia Mutual

    fund industry 407

    ID054 The Development of Accounting Knowledge Using Project-Based Learning 419

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฏ

    Topic: Management หน้า ID001 Online Marketing Business Strategies that Affect Behavior through Networking

    Online Facebook Fanpage in Chonburi 432

    ID005 Participation in waste management of people in Wattananakon Metropolitan Municipality. Wattananakon District Sakaeo Province

    442

    ID013 People participation in sub-district living enhancement project in Watthananakhon Sub-district, Watthananakhon District, Sa Kaeo Province

    453

    ID016 Business strategies of tattoo parlors : Case Study in Mueang district, Lampang province

    460

    ID019 Service marketing mix and service quality affecting satisfaction the use of rented sports fields in Mueang district, Lampang province

    469

    ID021 Marketing mix affecting decision making of tourists in choosing guesthouse services in Mueang district, Lampang province

    481

    ID023 Community Participation in Water Resources Management of Wangtarn Village, Luang Nuea Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province

    493

    ID027 Perception of Leadership Styles Affecting the Performance of Production Staff of Prachinburi Glass Industry Co., Ltd.

    500

    ID029 Desirable Core Competency of Employee for Islamic Cooperative in 5 Southern Border Provinces

    509

    ID030 Development guidelines for loan repayment of members of the Agricultural Cooperative Ltd.

    520

    ID033 Intraorganizational Communication Types and Organizational Commitment : A Case Study of Rajamangala University of Technology Srivijaya

    528

    ID044 Wisdom of Community Resources Management in the Mae Sa Watershed, Chiang Mai Province

    539

    ID050 The Competency for Human Resources in Retail Business 545 ID055 Cha Payom Tea Franchise Consumption Behaviors in Mueang District, Lampang

    Province 556

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฐ

    Topic: Management หน้า ID057 The Development of Database Management for Durable Goods in the Supply

    Department of the University 566

    ID074 Factors Affecting Satisfactions and Willingness to Pay for Ecotourism Choices of People in Bangkok

    573

    ID076 Influential Factors on the Physical Responsibility of E-waste Management: A Case Study of LED Lamp in the Hotel of Tourism Area (Bang Saen and Nearby)

    588

    ID084 Mungrai Customary Law: Water Resource Management of Lanna People’s Wisdom with Consumers on the Upper Mae Ngad River Basin, Chiang Mai Province

    595

    ID092 Factors affecting decision making in choosing the services of Hot pan pork (Moo Krata) buffet restaurants in Mueang district, Lampang province

    605

    Topic: Marketing หน้า ID007 An Online Survey: Behavior and Factors Influencing the Consumers’ Vitamin

    Supplement Consumption 616

    ID032 Marketing Mix Factors Affecting Decision to Purchase Healthy Snacks and Desserts of Consumers in Hatyai District, Songkhla Province

    626

    ID043 Creativity Capabilities of Tourism Business in Thailand 638 ID049 A Comparative Study of Online Repurchase Intention towards Travel Package

    between Generation X and Generation Y 650

    ID056 Social Media Communication, Electronic Word of Mouth Communication and Intention to Purchase Breast Pump Product of New Mother in Thailand

    657

    ID063 A Study of Existy Strategy on Facebook Live 669 ID065 The development of green marketing and environmental marketing to

    consumers Chanthaburi province 680

    ID079 Marketing communication of a Luxury Brand through Instagram Influencers 688 ID085 Factors Affecting E-Money Usage of Consumers in Bangkok 700 ID093 Ground Service Factors Influencing Service Quality of Low Cost Airlines at Don

    Mueang International Airport 708

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    หน้า ฑ

    Topic: Marketing หน้า ID099 Knowledge Sharing Intention: Individual Factor Perspectives and Influence of

    Organizational Culture 716

    ID102 Social Network Development Perspective on Forest Restoration in Nan Province 728 ID103 The Satisfaction of Thai Passengers to Service of Lampang Airport 738 ID104 Female Consumer Behavior of Fitness Club in Bangkok: The Determinants of

    Decision Making Process 747

    ID111 Training and Development, Employee’s Performance and Job Satisfaction: A Case Of Low Cost Airline in Udontani Airport

    757

  • The 3rd KU SRC

    Topic:

    Innovation and Technology

    Annual Conference 2018

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    ID004

    การจ าลองเครือข่ายซับซ้อนนักศึกษาสหกิจและศึกษาปัจจัยการตอบรับอย่างอย่างยืนจากสถานประกอบการโดยใช้ทฤษฎีกราฟ

    The Complex Network of Cooperative Students and Study the Acceptability Factor from the Establishment by Using Graph Theory

    ศิริเรือง พัฒน์ช่วย1*, ศิวะพร วิวัฒน์ภิญโญ2 และ วรตุม์ บุญเลี่ยม3

    1,2,3สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ์*E-mail: [email protected] , [email protected]

    ,[email protected]

    Siriruang Phatchuay1*, Siwaphon Viwatpinyo2 and Waroot Boonliam3 1,2,3Faculty of Industry and Technology Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Prachuap Khiri

    *E-mail: [email protected] , [email protected] ,[email protected]

    บทคัดย่อ การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อท าการวิเคราะห์ข้อมูลของการเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษาของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยท าการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการโดยใช้ทฤษฏีกราฟในรูปแบบเครือข่ายความซับซ้อน (Complex Network) โดยใช้โปรแกรม Pajek เป็นเครื่องมือในการจ าลองเครือข่ายและน าเสนอการจดักลุ่มโครงการสหกิจศึกษาด้วยเทคนิคการท าเหมืองข้อมูลแบบ Density -based spatial clustering of applications with noise (DBSCAN) ด้วยโปรแกรม Orange canvas จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่น ามาวิเคราะห์ Component 1 และ Component 2 นั้น สามารถน าไปวิเคราะห์แบบ DBSCAN และน าข้อมูลที่ได้ท าการวิเคราะห์แบบ K-mean และ Linear algebra เพื่อท าการจัดกลุ่มแบ่งประเภทสถานประกอบการ ท าให้เห็นปัจจัยการจัดกลุ่มที่ชัดเจนมากขึ้น จะเห็นว่ามหาวิทยาลัยส่งนักศึกษาออกสหกิจศึกษาไปสถานประกอบการที่เป็นเอกชนอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 80 และปัจจัยการตอบรับนักศึกษาอย่างต่อเนื่องสรุปได้ 5 ประเด็น ค าหลัก สหกิจศึกษา, สถานประกอบการ, การจ าลองเครือข่ายซบัซ้อน, ทฤษฎีกราฟ Abstract The purpose of this study was to analyze the data of Rajamangala University of Technology Rajamangala University. The relationship between the cooperative education program and the enterprise is analyzed using the Complex Network graph theory. The Pajek program is a tool for network simulation and presentation of clustering. The data for Component 1 and Component 2 analysis can be analyzed using the DBSCAN model by Orange canvas program. The data was analyzed by K- means and Linear Algebra to perform group classification. The more obvious clustering factors are. The University sends students to co-

    1

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    op to the first private sector. 80% of the students and the continuous response to the students show that 5 issues. Keywords: Cooperative Education, Establishment, Complex Network, Graph Theory 1. บทน า

    จากการเข้าร่วมโครงการสหกิจของนักศึกษาท าให้เห็นการเช่ือมโยงกับสถานประกอบการแบบเครือข่าย (Complex Network) โดยใช้ทฤษฎีกราฟ (Graph Theory) ได้ชัดเจนโดยแต่ละคณะจะมีสถานประกอบการเฉพาะกลุ่ม อาทิ เ ช่น ด้านอุตสาหกรรม ด้านบริหารธุรกิจ ด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าสถานประกอบการที่ทางคณะจะส่งเด็กเข้าร่วมโครงการนั้นตอบรับทุกสถานประกอบการ หรือแม้แต่การตอบรับนั กศึ กษา เข้ า ร่ วม โคร งการสหกิ จ ในปี ถั ด ไป สถานประกอบการเหล่านี้ก็มีการปฏิเสธเกิดขึ้นส าหรับการับนักศึกษา ทั้งนี้เพื่อมองถึงประโยชน์ที่สถานประกอบการจะได้รับ คือมีนักศึกษาที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของสถานประกอบการช่วยงานตลอดปีการศึกษา ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะใช้เทคนิคการท าเหมืองข้อมูล [1] เพื่อท าการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าร่วมโครงการสหกิจของสถานประกอบการและการการตอบรับนักศึกษาอย่างยั่งยืนต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ว่ามีปัจจัยอะไรบ้าง เพื่อจะได้น ามาแก้ไขและพัฒนาโครงการสหกิจของมหาวิทยาลัยต่อไป โดยงานวิจัยนี้ใช้ทฤษฎีกราฟ [2] น าเสนอการจ าลองเครือข่าย (Complex network) ของการเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา และท าการประยุกต์วิเคราะห์แบบ DBSCAN และน าข้อมูลที่ได้ท าการวิเคราะห์แบบ K-mean และ Linear algebra เพื่อท าการจัดกลุ่มแบ่งประเภทสถานประกอบการต่อไป 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้ศึกษาทฤษฎี และงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการศึกษาส าหรับวิจัยครั้งนี้ ตลอดจนวิธีการ เทคนิค ที่ใช้ในการด าเนินงานวิจัย ประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ 2.1 สหกิจศึกษา (Co-operative Education) เป็นระบบการศึกษาที่เน้นประสบการณ์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงานจริงในองค์ กรผู้ ใ ช้บัณฑิต (Work-based learning) โดยให้

    นักศึกษาไปปฏิบัติงานจริงเต็มเวลา และได้ท างานตรงตามสาขาวิชาวิชาชีพและมีประโยชน์ต่อองค์กรผู้ใช้บัณฑิต ซึ่งก าหนดงานเป็น โครงง านพิ เศษที่ ส ามารถท าส า เร็ จได้ ภายใน 4 เดือน โดยองค์กรผู้ ใ ช้บัณฑิตจะจัดหาพี่เลี้ยง (Mentor หรือ Job Supervisor) ท าหน้าที่ก ากับและดูแล การท างานของนักศึกษาสหกิจศึกษา ช่วยให้บัณฑิตสามารถเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ ที่เป็นความต้องการขององค์ผู้ใช้บัณฑิตได้เป็นอย่างดี โครงการสหกิจศึกษา เป็นระบบการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิตอย่างมีระบบโดยใน [3] ได้ศึกษาและก าหนดปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมในการศึกษาด้านวิศวกรรมความร่วมมือกับสถานประกอบการโดยการควบคุมส าหรับการมีสิทธิ์ข้อมูลระยะยาวและหลายตัวแปรจาก 6 สถาบันที่แตกต่างกันแต่ละที่มีโครงการเข้าร่วมสหกิจศึกษา และใน [4] ได้สร้างขีดความสามารถและความร่วมมือการศึกษาขององค์กรสถาบันการศึกษาและน าเสนอข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์สหกิจศึกษาขององค์กรสถาบันการศึกษา ถือเป็นกุญแจส าคัญในการด าเนินการตามแผนส าหรับการให้ความรู้และปลูกฝังเยาชนซึ่งถือว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพของการปฏิรูปการศึกษาด้านวิศวกรรม 2.2 เครือข่ายซับซ้อน (Complex Network) เป็นลักษณะการเช่ือมโยงแบบโลกใบเล็ก(Small world) คือ เครือข่ายซับซ้อนซึ่งมีอยู่มากมายทุกหนทุกแห่ง ทั้งในธรรมชาติและมนุษย์สร้ างขึ้น มี โครงสร้ างประกอบด้วยจุด nodes (vertices) จ านวนมากที่เช่ือมโยงกันด้วยเส้น links (edges) โดย [5] ท าการจ าลองเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสร้างแบบจ าลองในอนาคตส าหรับวิศวกรรมเครือข่ายเป็นสิ่งส าคัญมาก เพราะเครือข่ายได้ขยายอย่างต่อเนื่อง และการพัฒนาต้องเป็นไปตามแผนกรอบหลักสูตรเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระยะที่ 7 โดยจะทดสอบและจ าลองเครือข่ายในอนาคตที่ถูกต้อง นอกจากนี้ [6] ได้ศึกษาการจ าลองเครือข่ายซับซ้อนของหลอดเลือดในสมอง ลักษณะ

    2

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    เซลล์ ชีววิทยาของสิ่ งมี ชีวิต เพื่อเป็นประโยชน์ในทางการแพทย์ 2.3 การหาค่าความเป็นศูนย์กลางของระบบเครือข่าย (Betweenness Centrality) เป็นวิธีการน าเสนอจุดที่มีความส าคัญ โดยที่ [7] ได้ศึกษาวิธีการระบุของยีนมะเร็งเต้านม โดยท าการหาจ านวนของยีน ที่จะเป็นมะเร็งเต้านมแสดงในลักษณะกราฟ เช่น TP53 BRCA 1 แต่ลักษณะยีนที่ได้ออกมาในลักษณะจุดศูนย์กลางของกราฟ ยังสามารถที่จะน าไปวิเคราะห์ถึงโรคอื่นท่ีวิเคราะห์ได้จากกลุ่มยีนอีก

    kjik

    jik

    g

    gib

    ,)( (1)

    แสดงสมการทางคณิตศาสตร์ Betweenness Centrality หรือ )(ib ศูนย์รวมกิจกรรม i ซึ่ง ikg คือ จ านวนเส้นทางที่สั้นที่สุดจากศูนย์รวมกิจกรรม j ไปยังศูนย์รวมกิจกรรม ikjk #, และ jikg จ านวนเส้นทางที่สั้นที่สุดจากศูนย์รวมกิจกรรม j ไปยังศูนย์รวมกิจกรรม k ที่ต้องผ่าน i 2.4 ทฤษฏีกราฟ โดยกราฟ (Graph) ประกอบด้วยโหนด (Nodes) และเส้นเช่ือม (Edge) เขียนสัญลักษณ์ได้ G = (N, E)

    N1

    N5

    N4

    N3N2

    N6

    E1E2

    E5

    E4

    E3

    E7

    E6

    รูปที่ 1 องค์ประกอบของกราฟ

    ซึ่งกราฟ (Graph) ประกอบด้วยโหนดจ านวน 6 โหนด เมื่อ N(G) = {N1, N2, N3, N4, N5, N6}, เส้นเช่ือมจ านวน 7 เส้น เมื่อ E(G) = {E1, E2, E3, E4, E5, E6, E7} } เขียนความสัมพันธ์ระหว่างโหนดคือ E={{N1, N2}, {N1, N5}, {N2, N3}, {N2, N6}, {N3, N4}, {N4, N5}, {N5, N6}} 2.5 เทคนิคการจัดกลุ่ม เทคนิค Density-based spatial clustering of applications with noise ( DBSCAN) เกิดจากความหนาแน่นจากการจัดกลุ่มเชิงพื้นที่ของการประยุกต์ใช้งานกับเสียงรบกวนแนวความคิดหลักของความหนาแน่นของวิธีการจัดกลุ่มตามคือการหาภูมิภาคของความ

    หนาแน่นสูงและความหนาแน่นต่ าที่มีความหนาแน่นสูงภูมิภาคถูกแยกออกจากพื้นที่ที่มีความหนาแน่นต่ า วิธีการเหล่านี้สามารถท าให้มัน ง่ายที่จะค้นพบกลุ่มมากกว่าโดยเฉพาะความหนาแน่นจากการจัดกลุ่มเชิงพื้นที่ของการประยุกต์ใช้งานกับเสียงรบกวน ขั้นตอนวิธีการจัดกลุ่ม DBSCAN แสดงให้เห็นช่องทางของความสามารถค้นพบกลุ่มของรูปร่างโดยสามารถแยกแยะความแตกต่างเสียงโดยใช้วิธีการเข้าถึงพื้นที่ละมีประสิทธิภาพแม้ส าหรับฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ขนาดใหญ่ โดยใน [8] ได้น า วิธีการจัดกลุ่ม DBSCAN มาใช้เพื่อดูพื้นที่ที่แตกต่างกันของความหลากหลายของพฤติกรรมของการใช้ไฟฟ้า ส าหรับภูมิภาคต่างๆ เพื่อระบุแผนการจ่ายไฟที่แตกต่างกัน เนื่องจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจจีนและการปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพของผู้คน โดยมองที่ความแตกต่างในระดับภูมิภาคในการใช้พลังงานมีมากขึ้นและลักษณะการบริโภคของภูมิภาคต่างๆมีความหลากหลาย ทั้งนี้ เพื่อตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นส าหรับการผลิตไฟฟ้ารัฐกริดคอร์ปอเรชั่นจึงเริ่มสร้างความเข้มแข็งในการสร้างสมาร์ทกริดด้วยข้อมูลดิจิตอลออโตเมช่ันเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในการให้บริการที่มีคุณภาพได้ดียิ่งข้ึน 2.6 เทคนิคการท าเหมืองข้อมูล เป็นเทคนิคเพื่อค้นหารูปแบบ (pattern) ของจากข้อมูลจ านวนมหาศาลโดยอัตโนมัติ โดยเทคนิคเหมืองข้อมูล [1] ใช้ขั้นตอนวิธีจากวิชาสถิติ การเรียนรู้ของเครื่อง และ การรู้จ าแบบ ทั้งนี้นักวิจัยได้น าเทคนิคการท าเหมืองข้อมูล มาท าการประยุกต์วิเคราะห์แบบ DBSCAN และน าข้อมูลที่ได้ท าการวิเคราะห์แบบ K-mean และ Linear algebra เพื่อท าการจัดกลุ่มแบ่งประเภทสถานประกอบการ 2.7 โปรแกรม Pajek เป็นโปรแกรมส าหรับการวิเคราะห์โ คร งสร้ า ง เ ครื อข่ า ยทางสั งคม โดยมี จุ ด เ ด่ น ได้ แก่ความสามารถส าหรับการวิเคราะห์ชุดข้อมูลขนาดใหญ่ ในกลุ่มต่างๆ ในเครือข่าย เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก [9] ซึ่งมี [10] ได้น าเสนอการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม (SNA) กับการศึกษาเครือข่ายปฏิสัมพันธ์ทางชีววิทยา อีกทั้ง [11] ได้ใช้ซอฟต์แวร์ Pajek เพื่อจ าลองแบบจ าลองส าหรับการประเมินเครือข่ายหุ้น

    3

    https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    2.8 โปรแกรม Orange canvas เป็นโปรแกรมการท าเหมืองข้อมูล [1] โดยสร้างแบบจ าลองใช้งานง่าย เป็นโปรแกรม (open source) รองรับทุกแพลตฟอร์ม โดยใน [12] ได้น า โปรแกรม Orange canvas ไปท าการวิเคราะห์ SOM (self-organizing maps) เพื่อแสดงการท านายผลวิดี โอออนไลน์ ที่มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลายช่องทาง ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลถึงกัน 3. วิธีด าเนินการ งานวิจัยนี้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับจ าลองเครือข่ายและปัจจัยที่มีผลต่อการตอบรับการเข้าร่วมโครงการสหกิจของสถานประกอบการด้วยเทคนิค DBSCAN ในรูปแบบต่าง ๆ โดยการด าเนินงานประกอบด้วย 5 ขั้นตอน

    รูปที่ 2 ขั้นตอนการด าเนินการวิจัย

    จากรูปที่ 2 ขั้นที่ 1 ศึกษาข้อมูลของโครงการสหกิจของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ว่ามีคณะใดที่เข้าร่วมโครงการสหกิจและรวบรวมรายช่ือสถานประกอบการที่แต่ละคณะได้ท าการส่งนักศึกษาออกสหกิจ

    ขั้นตอนที่ 2 กระบวนการประมวลผล โดยท าการคัด เลือกแอททริบิ วต์ที่ ใ ช้ ในการด า เนินงาน จากนั้นด าเนินการแปลงข้อมูลในแต่ละแอททริบิวต์ให้อยู่ในรูปแบบ

    โปรแกรม Pajek และโปรแกรม Orange ส าหรับน าไปประมวลผล

    ขั้ น ตอนที่ 3 ใ ช้ โ ป รแกรม Pajek วิ เ ค ร า ะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการโดยใช้ ทฤษฏีกราฟในรูปแบบเครือข่ายความซับซ้อน (Complex Network)

    ขั้นตอนที่ 4 ประกอบด้วย 2 ส่วนคือใช้โปรแกรม Orange เพื่อท าการจัดกลุ่ม และด้วยใช้โปรแกรม weka เพื่อจ าแนกข้อมูล โดยเลือกชุดทดสอบเป็นชุดฝึกสอน(Use training set)

    ขั้นตอนที่ 5 คือ การน าผลการวิเคราะห์จากการประมวลผลในขั้นที่ 3 และขั้นที่ 4 มาสรุปผลลัพธ์

    4. ผลการวิจัย

    จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ จากเว็บไซต์ ของงานสหกิจศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์กลุ่มข้อมูลทั้งหมด ได้ท าการแบ่งข้อมูลส าหรับใช้ในการทดสอบออกเป็น 3 กลุ่มเพื่อน าไปใช้วิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ของการท าวิจัย ซึ่งมีขั้นตอนการทดลองและสรุปผลดังต่อไปนี้

    4.1 การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการโดยใช้ ทฤษฎีกราฟในรูปแบบเครือข่ายความซับซ้อน (Complex Network) สามารถที่จะวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างพื้นฐานได้ดังรูปที่ 3

    รูปที่ 3 โครงสร้างเครือข่ายแบบซับซ้อนโครงการสหกิจศึกษา

    จากรูปที่ 3 แสดงถึงลักษณะของเครือข่ายซับซ้อน โดยการท างานแสดงลักษณะการเช่ือมต่อของโหนดต่างๆ ท่ีติดต่อกัน ในลักษณะกราฟ ท าให้เห็นถึงภาพรวมของงานสห

    4

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    กิจศึกษา โดยกลุ่มตัวอย่างท้ังหมด 268 โหนด มาท าการวิเคราะห์ และจ าลองผลในลักษณะ Complex Network

    4.2 การจัดกลุม่สถานประกอบการด้วยเทคนิค Density -based spatial clustering of applications with noise (DBSCAN)

    รูปที่ 4 การวิเคราะห์แบบ DBSCAN

    จากรูปที่ 4 แสดงข้อมูลการวิเคราะห์แบบ DBSCAN ดังนี ้Component 1 คือ (X) Component 2 คือ (Y)

    Component*1*และ*Component*2*ใช้ส าหรับปรับระยะมุมมองในด้านต่างๆ โดยให้สามารถน ามาค านวณได้ง่ายขึ้น และท าให้เห็นปัจจัยการจัดกลุ่มที่ชัดเจนมากขึ้น โดยแสดงการวิเคราะห์แบบ DBSCAN สรุปผลจากการวิเคราะห์ได้น าหน่วยงานเอกชนเป็นตัวหลักในการวิเคราะห์วงกลม วงที่ใกล้ที่สุดท าให้เห็นว่ามีสาขาที่เข้าร่วมกับเอกชนมากที่สุดอยู่หนึ่งสาขาโดยที่ต้องท าการวิเคราะห์ว่าสาขาไหนอยู่ใกล้วงกลมมากท่ีสุดถ้าใกล้มากก็หมายความว่าร่วมงานกนัมาก

    4.3 การวิเคราะห์ลักษณะการจัดกลุ่มด้วยเทคนิค K-mean

    รูปที่ 5 การวิเคราะห์แบบ K-mean

    จากรูปที่ 5 แสดงการวิเคราะห์แบบ K-means สามารถแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อย โดยน ามาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสาขาวิชาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกับสถานประกอบการที่เข้าร่วมการรับนักศึกษาออกสหกิจในหน่วยงานของตนเองโดยข้อมูลที่วิเคราะห์ คือ ดูกลุ่มข้อมูลย่อยว่าสาขาวิชาต่างๆ ส่งนักศึกษาออกสหกิจไปในหน่วยงานใดบ้าง โดยจากการวิเคราะห์หน่ วยงานที่รับนักศึกษาออกสหกิจมากสุดได้แก่หน่วยงาน เอกชน รองลงมาเป็นหน่วยงาน รัฐบาลและหน่วยงานรัฐวิสาหกิจตามล าดับ

    4.4 การวิเคราะห์แบบ Linear algebra

    รูปที่ 6 การวิเคราะห์แบบ Linear algebra

    แสดงการวิเคราะห์แบบ Linear algebra สามารถวิเคราะห์ข้อมูลมาได้โดยน ากลุ่มข้อมูลมาวิเคราะห์โดยมี จ านวนนักศึกษา สาขาวิชาและหน่วยงานที่เข้าร่วม โดยการวิเคราะห์นั้นจะหากลุ่มข้อมูลโดยวิเคราะห์จากกลุ่มข้อมูลต่างๆ ทีละกลุ่มและแบ่งสาขาโดยจะวัดไดว้่าสาขาแตล่ะสาขาแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งจากผลของการวิเคราะห์กลุ่มข้อมูลอยู่ตรงส่วนกลางมากกว่าส่วนอื่น จากการค านวณด้วยจ านวนคนพบว่ามีการรับนักศึกษาออกสหกิจจ านวน 1 คน โดยแต่ละสาขาวิชาจะแบ่งตามสีต่างๆ ผลที่ได้ คือ สาขาการบัญชีมีจ านวนสถานประกอบการมากกว่าสาขาอื่น นั้นหมายความว่าสาขาการบัญชีมีนักศึกษามากและมีสถานประกอบการรองรับไม่เพียงพอซึ่งดูได้จากมีนักศึกษาจ านวนมากเข้าร่วมสถานประกอบการแห่งเดียวโดยที่ดูจากการวิเคราะห์ Linear algebra ซึ่งมีจุดที่รับนักศึกษามากที่สุดในทุกสาขา 4.5 การจัดกลุ่มแบ่งประเภทสถานประกอบการ ตารางที่ 1 การจดักลุม่แบ่งประเภทสถานประกอบการ

    5

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    ประเภทสถานประกอบการ

    ร้อยละ

    บริษัทเอกชน 80 รัฐบาล 8

    รัฐวิสาหกิจ 12

    จากตารางที่ 1 สามารถแบ่งกลุ่มสถานประกอบการหลักออกได้เป็ 3 กลุ่ม โดยนักศึกษาที่ได้ออกสหกิจจะเข้ารว่มโครงการสหกิจศึกษาแต่ละที่มากกว่า 1 คน ซึ่งจะเห็นได้ว่าจ านวนนักศึกษาที่เข้าร่วมสหกิจศึกษากับสถานประกอบการที่เป็นเอกชนอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมา คือ รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 12 และ รัฐบาลร้อยละ 8 โดยแสดงในลักษณะกราฟดังรูปที่ 7

    รูปที่ 7 การเข้ารว่มสหกจิแบ่งตามกลุ่มประเภทสถาน

    ประกอบการ

    4.6 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าร่วมโครงการสหกิจของสถานประกอบการด้วยเทคนิค Information Gain การเลือกฟีเจอร์โดยการค านวณค่า Information Gain เพื่อใช้เป็นค่าน้ าหนักในการคัดเลือกฟีเจอร์นั้น โดยท าการเลือกข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง Train Set

    จากปัจจัยการตอบรับของนักศึกษาสหกิจสามารถสรุปได้ คือ

    1. สถานประกอบการยอมรับนักศึกษาสหกิจศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยนักศึกษาต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา 30 ช่ัวโมง

    2. ในกรณีที่หลักสูตรด าเนินการระบุรายวิชาเตรยีมความพร้อมสหกิจศึกษาไว้ในแผนการศึกษา นักศึกษาต้องผา่นการเรียนรายวิชาดังกล่าว

    3. การรับนักศึกษาสถานประกอบการไม่ได้มองเกรดเฉลี่ยว่าต้องสูง เพราะการรับนักศึกษาเข้าไป สามารถที่จะปรับพ้ืนฐานให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมได้

    4. การรับนักศึกษาสหกิจ สถานประกอบการอยากได้แบบหลายสถาบัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กัน ไม่ได้ผูกติดว่าต้องเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยใดเป็นหลัก 5. ในกรณีที่ทางมหาวิทยาลัย ส่งนักศึกษาสหกิจอย่างต่อเนื่อง ทางสถานประกอบการยินดีตอบรับเสมอ

    รูปที่ 8 การจัดกลุ่มปัจจยัการรับนักศึกษา จากรูปที่ 8 แสดงการการจัดกลุ่มปัจจัย ในแต่ละ

    สถานประกอบการ สามารถรองรับนักศึกษาได้หลากหลายต าแหน่งงาน เพราะบางสถานประกอบการมีขนาดใหญ่ มีหลายแผนก ท าให้นักศึกษาสามารถลงในต าแหน่งที่แตกต่างกันได้ โดยแยกออกเป็นความคล้ายคลึงกันในแต่ละสาขา โดยบางต าแหน่งงาน มีการรับนักศึกษา 2 สาขาที่มีความคล้ายเคียงกัน เพื่อสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น

    ปัจจัย A : นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์การออกแบบอาคารสถานท่ี ปัจจัย B : นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ตกแต่งภาพกราฟฟิก ที่ได้จากปัจจัย A เพื่อน าไปพัฒนาเว็บไซต์บริษัท

    5. สรุป ผลการศึกษาการจ าลองความสัมพันธ์เครือข่ายและศึกษาปัจจัยการตอบรับนักศึกษาสหกิจอย่างยั่งยืน นั้นโดยจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากเจ้าหน้าที่ และผู้ดูแลงานสหกิจศึ กษา และข้อมู ลจากเว็บ ไซต์ โดย แสดง

    6

  • การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

    ความสัมพันธ์ของข้อมูลโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการโดยใช้ ทฤษฎีกราฟในรูปแบบเครือข่ายความซับซ้อน (Complex Network) จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่น ามาวิเคราะห์ Component 1 และ Component 2 นั้น สามารถน าไปวิเคราะห์แบบ DBSCAN และน าข้อมูลที่ได้ท าการวิเคราะห์แบบ K-mean และ Linear algebra เพื่อท าการจัดกลุ่มแบ่งประเภทสถานประกอบการ ท าให้เห็นปัจจัยการจัดกลุ่มที่ชัดเจนมากขึ้น จะเห็นว่ามหาวิทยาลัยส่งนักศึกษาออกสหกิจศึกษาไปสถานประกอบการที่เป็นเอกชนอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 80 และปัจจัยการตอบรับนักศึกษาอย่างต่อเนื่องสรุปได้ 5 ประเด็น กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ ได้ รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ สัญญาหมายเลข A55/2560 เอกสารอ้างอิง [1] A. Shobanadevi; G. Maragatham, "Data mining

    techniques for IoT and big data — A survey " , International Conference on Intelligent Sustainable Systems (ICISS),2017,pp.607-610.

    [2] V. L. Shivraj; M. A. Rajan; P. Balamuralidhar, "A graph theory based generic risk assessment framework for internet of things ( IoT) " , IEEE International Conference on Advanced Networks and Telecommunications Systems (ANTS),2017,pp.1-6.

    [3] N. M. Ramirez, J. B. Main,