16
เสนอโดย สำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557 1 ความก้าวหน้าการดาเนินการ เพื่อจัดตั้งสถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (TFCC) ------------------------------------------------------------------------------------------ ความจาเป็นของระบบการรับรองด้านป่าไม้ (Forest Certification) แนวทางการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้หรือพื้นที่สีเขียวตามนโยบายรัฐบาลให้ประสบความสาเร็จนั้นจาเป็นต้อง กาหนดทิศทางไว้ ๓ แนวทาง คือ (๑) การป้องกันพื้นที่ป่าไม้ซึ่งเป็นพื้นที่อนุรักษ์ไม่ให้ถูกบุกรุกเปลี่ยนสภาพไป เป็นรูปแบบการใช้ประโยชน์อื่น (๒) การดาเนินการปลูก บารุง ดูแลรักษา ฟื้นฟูพื้นที่ซึ่งรัฐดูแลรักษาหรือยึดคืน หรือดูแล ให้เปลี่ยนเป็นป่าไม้หรือให้คงความอุดมสมบูรณ์ป่าและ (๓) การส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ภาคเอกชนปลูกไม้ทั้งไม้โตเร็วและไม้เนื้อแข็ง รอบตัดฟันปานกลางและยาว ในพื้นที่ส่วนบุคคล หัวไร่ ปลายนา แนวรั้ว ขอบทาง หรือพื้นที่สาธารณะประโยชน์ต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตามไม้ที่ปลูกนั้นต้องตัดได้ ใช้ได้ และขาย ได้ อย่างถูกกฎหมายทั้งตลาดในและต่างประเทศ ประเด็นที่เป็นที่น่าสนใจ คือ ความต้องการเอกสารรับรองว่าเป็นไม้ถูกกฎหมาย หรือ Legal products ซึ่งเกิดขึ้นได้จากการทา Due Deligence System โดยมีกรมป่าไม้ เป็นผู้ออกหนังสือรับรองนั้นใหซึ่งเป็นหลักฐานในการควบคุมไม้ หรือ CoC แต่นั้น หมายถึง ไม้นั้นต้องมีแหล่งที่มาที่ถูกรับรองว่าถูกกฏหมาย มาก่อน หรือมีการรับรองว่าเป็นไม้ที่มาจากการจัดการที่ยั่งยืน กลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มธุรกิจซึ่งซื้อมาและขาย ไป โดยการนาเข้าไม้จากต่างประเทศเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ประเทศไทยมีความจาเป็นที่จะต้องมีระบบการรับรองด้านป่าไม้ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการรับรองไม้ ถูกกฏหมาย และมีระบบการจัดการอย่างยั่งยืน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การดาเนินการที่ผ่านมา ตลอดระยะเวลามากกว่า 2 ปีท่คณะทางานได้สรุปให้กรมป่าไม้ ดาเนินการเป็น NGB จนถึงปัจจุบันแม้ มีการประชุมติดตามและดาเนินการมา กว่า 5 ครั้ง พบว่าไม่มีความก้าวหน้าใด ๆ อีกประการที่สาคัญ ภาคเอกชนไม่ให้การยอมรับกรมป่าไม้ เป็น NGB เนื่องจากภาพความไม่โปร่งใส ที่เกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน อีกทั้ง พรบ.การอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ไม่ได้ครอบคลุมการ ดาเนินงานของกรมป่าไม้ และประการสุดท้ายคือ ความไม่เป็นหน่วยงานอิสระ (Independent Organization) อย่างแท้จริงตามข้อกาหนดของ PEFC ปัจจุบันผู้ประกอบการมีความเดือดร้อนอย่างมาก อันเนื่องมีข้อจากัดในการส่งออกไม้หรือผลิตภัณฑ์ จากไม้ไปต่างประเทศได้ เช่น สมาคมไม้ยางพาราไทย แจ้งว่าจากเดิมซึ่งเคยส่งออกได้มูลค่า 60,000 ล้านบาท

ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

1

ความก้าวหน้าการด าเนินการ

เพื่อจัดตั้งสถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (TFCC) ------------------------------------------------------------------------------------------

ความจ าเป็นของระบบการรับรองด้านป่าไม้ (Forest Certification)

แนวทางการเพ่ิมพ้ืนที่ป่าไม้หรือพ้ืนที่สีเขียวตามนโยบายรัฐบาลให้ประสบความส าเร็จนั้นจ าเป็นต้องก าหนดทิศทางไว้ ๓ แนวทาง คือ (๑) การป้องกันพ้ืนที่ป่าไม้ซึ่งเป็นพื้นที่อนุรักษ์ไม่ให้ถูกบุกรุกเปลี่ยนสภาพไปเป็นรูปแบบการใช้ประโยชน์อ่ืน (๒) การด าเนินการปลูก บ ารุง ดูแลรักษา ฟื้นฟูพ้ืนที่ซึ่งรัฐดูแลรักษาหรือยึดคืนหรือดูแล ให้เปลี่ยนเป็นป่าไม้หรือให้คงความอุดมสมบูรณ์ป่าและ (๓) การส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ภาคเอกชนปลูกไม้ทั้งไม้โตเร็วและไม้เนื้อแข็ง รอบตัดฟันปานกลางและยาว ในพ้ืนที่ส่วนบุคคล หัวไร่ ปลายนา แนวรั้ว ขอบทาง หรือพ้ืนที่สาธารณะประโยชน์ต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตามไม้ที่ปลูกนั้นต้องตัดได้ ใช้ได้ และขายได ้อย่างถูกกฎหมายทั้งตลาดในและต่างประเทศ

ประเด็นที่เป็นที่น่าสนใจ คือ ความต้องการเอกสารรับรองว่าเป็นไม้ถูกกฎหมาย หรือ Legal products ซึ่งเกิดขึ้นได้จากการท า Due Deligence System โดยมีกรมป่าไม้ เป็นผู้ออกหนังสือรับรองนั้นให้ ซึ่งเป็นหลักฐานในการควบคุมไม้ หรือ CoC แต่นั้น หมายถึง ไม้นั้นต้องมีแหล่งที่มาที่ถูกรับรองว่าถูกกฏหมายมาก่อน หรือมีการรับรองว่าเป็นไม้ที่มาจากการจัดการที่ยั่งยืน กลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มธุรกิจซึ่งซื้อมาและขายไป โดยการน าเข้าไม้จากต่างประเทศเพ่ือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์

ประเทศไทยมีความจ าเป็นที่จะต้องมีระบบการรับรองด้านป่าไม้ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการรับรองไม้ถูกกฏหมาย และมีระบบการจัดการอย่างยั่งยืน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การด าเนินการที่ผ่านมา ตลอดระยะเวลามากกว่า 2 ปีที่คณะท างานได้สรุปให้กรมป่าไม้ ด าเนินการเป็น NGB จนถึงปัจจุบันแม้มีการประชุมติดตามและด าเนินการมา กว่า 5 ครั้ง พบว่าไม่มีความก้าวหน้าใด ๆ อีกประการที่ส าคัญ ภาคเอกชนไม่ให้การยอมรับกรมป่าไม้ เป็น NGB เนื่องจากภาพความไม่โปร่งใส ที่เกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน อีกทั้ง พรบ.การอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ไม่ได้ครอบคลุมการด าเนินงานของกรมป่าไม้ และประการสุดท้ายคือ ความไม่เป็นหน่วยงานอิสระ (Independent Organization) อย่างแท้จริงตามข้อก าหนดของ PEFC ปัจจุบันผู้ประกอบการมีความเดือดร้อนอย่างมาก อันเนื่องมีข้อจ ากัดในการส่งออกไม้หรือผลิตภัณฑ์จากไม้ไปต่างประเทศได้ เช่น สมาคมไม้ยางพาราไทย แจ้งว่าจากเดิมซึ่งเคยส่งออกได้มูลค่า 60,000 ล้านบาท

Page 2: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

2

ต่อปี ปัจจุบันเหลือเพียง 10,000 ล้านบาทเท่านั้น ธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ต้องพ่ึงพาไม้น าเข้าจากต่างประเทศ ธุรกิจที่เกี่ยวกับเยื่อ เช่น Wood Pelet , Torrefied Pellet กระดาษ ไม้อัด ไม้บาง และวัสดุแผ่น ก็ประสบปัญหา นอกจากนี้ยังมีโอกาสใหม่ในด้านพลังงานทดแทน แนวทางการด าเนินการอย่างเป็นระบบ

๑. การจัดตั้งองค์กรอิสระขึ้นเพ่ือท าหน้าที่บริหารจัดการเกี่ยวข้องกับระบบการรับรองด้านป่าไม้ หรือ TFCC โดยให้ภาคส่วนที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรอิสระ สถาบันการศึกษา NGOs อ่ืน เข้ามาเป็นสมาชิก และด าเนินการตรวจสอบ ให้การรับรองไม้ที่ถูกกฎหมาย ให้เป็นไปอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ และใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานองค์กร

๒. ผลักดัน และสนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการก าหนดมาตรฐาน ด าเนินการระบบมาตรฐานการจัดการไม้เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ให้ครอบคลุมบริบทของการปลูกไม้ทุกประเภทของประเทศไทย ทั้งการปลูกป่าภาคเอกชนรายใหญ่ เกษตรกรรายย่อย การปลูกไม้บนคันนา การปลูกเสริมในระบบวนเกษตร โครงการธนาคารต้นไม้ สวนยางพารา และไม้นอกเขตป่าไม้ (Tree outside Forest:TOF) และเป็นมาตรฐานที่องค์กรระดับนานาชาติให้การรับรองwfh

๓. ปรับปรุงและแก้ไขข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัย และเป็นกฎหมายที่ส่งเสริมในการสร้างป่าเศรษฐกิจอย่างแท้จริง

๔. จัดการฝึกอบรม ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ ให้มีการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ภายใต้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม วิธีชีวิต ชุมชนของประเทศไทย

Page 3: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

3

ภาพที่ ๑ โครงสร้างและระบบว่าด้วยการมาตรฐานการจัดการไม้เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ภายใต้บริบทของ

ประเทศไทย

การด าเนินงานและความก้าวหน้า - ปัจจุบัน (พ.ย. 58) ก. การด าเนินงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (เฉพาะที่ทราบ)

วันที่ กิจกรรม ผลการด าเนินงาน พ.ศ. 2547 คณะกรรมการวิชาการคณะที่

915 (มาตรฐานระบบการจัดการป่าไม้แบบยั่งยืน มอก. 14061

*ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3295 (พ.ศ.2547) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม ระบบการจัดการป่าไม้แบบยั่งยืน : ข้อก าหนด หมายเหตุ : (1) มาตรฐานนี้จะต้องมีรายงานจ านวน 4 เล่ม ข้อก าหนดเป็นเล่มที่ 1 ปัจจุบันคาดว่ายังไม่มีเล่มอื่น ๆ (2) ข้อก าหนดนี้อาศัยแนวทางของ FSC ซึ่ง ออป.ได้มีการด าเนินการจัดท า FSM เพ่ือใช้ส าหรับ ออป.

Page 4: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

4

วันที่ กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 27-29 เม.ย.58 มีการประชุม ที่พัทยา มีมิติที่ประชุมให้กรมป่าไม้ด าเนิน NGB หากไม่

สามารถด าเนินการได้ ให้คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พิจารณาด าเนินการ

- มีการตั้งคณะอนุกรรมการที่ 4 * ยังไม่เปิดเผยผลการด าเนินงาน * - มีข่าวการประชุมคณะฯ 915 ** 22 ธันวาคม 2558 **

หมายเหตุ : (1) การด าเนินการของกรมป่าไม้เพ่ือเป็น NGB ไม่มีความก้าวหน้าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา (2) ตัวแทนของกรมป่าไม้ที่เข้าร่วมประชุม ไม่มีอ านาจตัดสินใจหรือให้ความเห็น รวมมอบหมาย

คนที่ไม่มีความรู้ หรือ ทราบความก้าวหน้าเข้าร่วมประชุม หรือ ผู้เข้าร่วมประชุมเปลี่ยนบุคคลบ่อย / การเสนอของผู้แทนกรมป่าไม้ เป็นความเห็นส่วนบุคคล (ส่วนตัว

(3) กรมป่าไม้ ไม่เป็นที่ยอมรับจากภาคเอกชนและเกษตรกร ในเรื่องความโปร่งใสและธรรมาภิบาล และความไมแ่น่นอนด้านนโยบายรวมถึงการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบตามการโยกย้าย

ข. การด าเนินการของคณะท างานจัดตั้ง TFCC

วันที่ กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 21 ก ร ก ฏ า ค ม 2557

ประชุมเ พ่ือท าความเข้าใจ PEFC

คณะวนศาสตร์ แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามสถานการณ์ดด้านป่าไม้และการรับรองด้านป่าไม้และจัดประชุม

31 มีนาคม 2558 การจัดท าหลักเกณฑ์การรับรองป่าไม้ไทยและ การทบทวนมาตรฐานการจัดการปาไม้อยางอย่างยั่งยืนแห่งชาติ

การท าความเข้าใจเกี่ยวกับ PEFC และ การรับฟังการด าเนินการของประเทศมาเลเซีย หรือ MTCC

10 สิงหาคม 2558 การประชุมเพ่ือปรึกษาหารือโครงการรับรองด้านป่าไม้ (TFCS)

รับฟังความคิดเห็นและการสร้างกอบการด าเนินการ รวมถึงการจัดท าโครงการน าร่องในพ้ืนที่จังหวัดสระแก้ว

07 กันยายน 2558 การประชุมเพ่ือรับฟังความคิดเห็นการจัดท าโครงการการรับรองด้านป่าไม้

การสร้างกรอบการด าเนินงาน / แนวคิดการจัดตั้งสภาการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ หรือ TFCC (Thailand Forest Certification Council) ภาคเอกชน และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับไม้ยางเข้าร่วม

Page 5: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

5

วันที่ กิจกรรม ผลการด าเนินงาน - มีผู้เข้าร่วม 34 คน

13 พ.ย. 2558 การประชุมเพ่ือก าหนดทิศทางของนโยบาย การรับรองด้านป่าไม้

-ที่ประชุมมีมติให้จัดตั้ง TFCC และท าหน้าที่เป็น NGB โดยเสนอผ่านสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย -การยางแห่งประเทศไทย เข้าร่วมเป็นครั้งแรก กลุ่มธุรกิจไม้อ่ืน ๆ เข้าร่วมรวมถึงไม้พลังงาน - มีผู้เข้าร่วมประชุม 52 คน

17 พ.ย. 2558 เสนอ TFCC และการเป็น NGB เข้าในที่ประชุมคณะกรรมการเกษตรอุตสาหกรรม ของ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ที่ประชุมรับทราบและด าเนินการ โดยประสานงานกับคุณสุวัจน์ ซึ่งมีประสบการณ์ในการจัดท าระบบการรับรอง

20 พ.ย. 2558 มีบันทึกอย่างเป็นทางการถึงประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

หนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ ศธ 0513.10608/1010 ลงวันที่ 20 พ.ย. 58

8 ธ.ค. 2558 ประชุมคณะท างานฝ่ายเลขาฯ สอท.

-

10 ธ.ค. 2558 ประชุมเพ่ือพิจารณาข้อเสนอในการจัดตั้งสถาบัน

-

ภาระหน้าที่ของ TFCC และ NGB 1. หน้าที่ของ TFCC

1.1 ด าเนินการเป็น NBG เพ่ือให้เป็นองค์กรอิสระที่มีกฎหมายรับรอง เพื่อเป็นสมาชิกของหน่วยงานหรือองค์กรระหว่างประเทศ 1.2 ผลักดัน สนับสนุน ร่วมกันสร้างมาตรฐานการรับรองไม้เศรษฐกิจของประเทศ ทั้งมาตรฐานหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน (SFM) และมาตรฐานการรับรองแหล่งที่มาของไม้ (CoC) รวมถึงมาตรฐานของผู้ตรวจรับรอง (CB) 1.3 ให้การสนับสนุน ส่งเสริม ให้มีการปลูกไม้เศรษฐกิจและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับรองในรูปแบบต่าง ๆ

Page 6: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

6

1.4 จัดฝึกอบรม ให้แก่ผู้ประกอบการ เกษตรกร ในการจัดท าเอกสารและการด าเนินการเพ่ือเข้าสู่กระบวนการรับรอง 1.5 จัดฝึกอบรม เพ่ือยกระดับการเป็นหน่วยตรวจรับรอง (CB) และผู้ตรวจประเมิน (Auditor) 1.6 การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้มีการปลูกไม้เศรษฐกิจที่ถูกกฎหมาย มีการจัดการที่ยั่งยืน และสามารถค้าขายได้โดยเสรี 2. หน้าทีข่อง NGB

2.1 การเข้าเป็นสมาชิกขององค์กรรับรองไม้ระหว่างประเทศ เช่น PEFC 2.2 ควบคุมการใช้ตราสัญลักษณ์ (Logo) ของ TFCC ซึ่งเป็นมาตรฐานของประเทศไทยซึ่งเทียบกับ

มาตรฐาน PEFC ในการรับรอง SFM และ CoC 2.3 การข้ึนทะเบียน CB และการด าเนินการเพ่ือให้การด าเนินการตรวจประเมินของ CB ไปไปอย่างมี

คุณภาพ ตามมาตรฐาน 2.4 การรับรองความถูกต้องตามกฎหมายของไม้ หรือ การรับรองแหล่งก าเนิดของไม้ จากสวนป่าหรือไม้

ปลูก (CO) โดยการสร้างข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับกรมป่าไม้ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.5 ส าหรับไม้ที่ข้ึนทะเบียนสวนป่ากับกรมป่าไม้ จะต้องได้รับการรับรอง หรืออนุญาตจากกรมป่าไม้ก่อน

** หมายเหตุ : (1) TFCC อาจพิจารณาด าเนินการเป็น NGB หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้ต้องเป็นมติของสมาชิก (2) NGB ต้องเป็นองค์กรที่มีลักษณะเป็นอสิระ

ประมาณค่าใช้จ่ายของ TFCC 1. ค่าใช้จ่ายตั้งต้น

1.1 ค่ า ธ ร ร ม เนี ย ม ใ นกา รขึ้ นทะเบียนเป็นสมาชิกของ PEFC

26,000$/ป ี(780,000฿/ปี)

** TFCC อ า จ มี ก า ร เ จ ร จ า ใ ห้ค่าใช้จ่ายถูกลงเช่น ฟรีแรกเข้า 3 ปี เป็นต้น

1.2 ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ใช้ โลโก้ PEFC เพ่ือการรับรอง

1$ ต่อ 1ha/ปี

1.3 ค่าจัดท าเอกสารการเทียบเคียงมาตรฐาน หรือ Endorement

Page 7: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

7

1.4 ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม ระดมความคิดเห็น

1.5 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

2. รายได้ของหน่วยงาน 2.1 ค่าธรรมเนียมการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยตรวจรับรอง (CB) 2.2 ค่าธรรมเนียมการใช้ Logo ในการรับรอง FM หรือ CoC 2.3 การจัดการฝึกอบรม 2.4 รายได้อ่ืน ๆ 3. รายจ่ายของหน่วยงาน TFCC 3.1 ค่าจ้าง เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จ านวน 2-3 คน 3.2 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหาร 3.3 ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ วัสดุส านักงาน 3.4 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม (เฉพาะการรับรอง FM รวม TOF) ** TOF = Tree Out side Forest **

1. กรณี ไม้ยางพารา ควรท าการรับรองเป็นกลุ่ม หรือ Group Certified โดยค่าตรวจประเมินนั้นภาครัฐ หรือการยางแห่งประเทศไทยเป็นผู้รับผิดชอบจ่ายใช้ เกษตรกร 120% เพ่ือสนับสนุนให้เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราที่ต้องปฏิบัติและด าเนินการเพ่ือการจัดการที่ยั่งยืน ประมาณการค่าใช้จ่ายในการตรวจรับรองนั้น ประมาณ ไร่ละ 1 บาทต่อปี

2. กรณีไม้ในโครงการธนาคารต้นไม้ (Tree Bank) เป็นการรับรองระบบงาน โดย ธกส. เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการตรวจรับรอง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายประมาณ ต้นละ 10 สตางค ์

3. เกษตรกรผู้ปลูกไม้โตเร็วให้มีการตรวจรับรองเป็นแบบ Group Certified ตลอดอายุของรอบตัดฟัน

4. เอกชนรายใหญ่ตรวจรับรองเป็น Plot Certified (รับรองรายแปลง) 5. สหกรณ์สวนป่า ตรวจรับรองระบบงาน (แบ่งเป็นกลุ่มจังหวัด) 6. สวนป่าภาครัฐ รับรองระบบงานและตรวจประเมินแบบ Plot Certified เช่น SFM ของ ออป.

หากมีการรับรองระบบงานนี้ ออป.สามารถน าไปรับรองการจัดการสวนป่าไม้ทุกสวน เป็นต้น (ออป.เป็นการปลูกป่าภาครัฐ อาจต้องปฏิบัติตามระเบียบ พ.ร.บ.สวนป่า แก้ไข พ.ศ. 2558 ก่อน)

Page 8: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

8

ภาคผนวก 1 การด าเนินการของ TFCC ที่จะท าหน้าที่ NGB ซึ่งจะไม่มีลักษณะเป็น Conflict of Interest Wood = Good / ถ้าเป็นไม้ก็จะดีกว่าวัตถุดิบอ่ืน Legal = Better / ถูกกฎหมายก็ดีกว่า Certified = Best / ผ่านการรับรองก็จะดีที่สุด -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (TFCC) เป็นองค์กรอิสระ และมีความเป็นกลาง แต่เนื่องจากหน่วยงานดังกล่าวนี้ จ าเป็นต้องมีสังกัดหรือมีองค์กรตามกฎหมายให้การรับรอง เพ่ือที่จะให้ TFCC ด าเนินการเป็น NGB (National Governing Body) ซึ่ง NGB นี้ จะต้องเป็นหน่วยงานทางปกครอง หรือเป็นองค์กรของรัฐที่มีความเป็นอิสระ และประเทศไทยมี NGB ได้แค่ 1 เดียวเท่านั้น (สาเหตุที่ไม่ได้ให้ TFCC เป็นองค์กร ภายใต้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นั้นเนื่องจาก ณ ปัจจุบัน มก.ยังไม่มี อธิการบดี และผู้บริหารที่เป็นถาวรหรือไม่พร้อม)

การก่อตั้ง TFCC ภายใต้สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (F.T.I.หรือ สอท.) นั้น ก็ถือเป็นองค์กรของรัฐหรือรัฐจัดตั้งขึ้น และเป็นองค์กรประเภท Non-Profit ท าให้การด าเนินการเพ่ือให้ TFCC ด าเนินการเป็น NGB นั้นก็สามารถด าเนินการได้ ตามข้อก าหนดขององค์กรระหว่างประเทศ อีกทั้ง สอท. ยังมีสมาชิกที่เป็นเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกือบทุกภาคส่วน จึงมีความเหมาะสม หน่วยงานราชการ เช่น กรมป่าไม้ มีองค์ประกอบหลายอย่างที่เป็นข้อขัดแย้งในการเป็น NGB เช่น ไม่เป็นอิสระ อย่างแท้จริง, มีภาพลักษณ์ เรื่องความไม่โปร่งใสและขาดธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กร, ถูกแทรกแซงจากอ านาจทางการเมืองหรืออ่ืน ๆ ได้ง่าย และ ไม่เป็นที่ยอมรับของภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และเกษตรกร ซึ่งสะท้อนจากการประชุม ปรึกษาหารือ ในหลาย ๆ ครั้ง

TFCC เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยสมาชิก คณะกรรมการบริหารที่ถูกก าหนดไว้เป็นระเบียบชัดเจน เช่น

สถาบันการศึกษา องค์กรอิสระ นักวิชาการ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกลุ่มภาคเอกชน TFCC จะถูกตรวจสอบหรือประเมินประสิทธิภาพและศักยภาพจากองค์กรระหว่างประเทศ ที่เรียกว่า IAF ซ่ึง TFCC จะต้องปฏิบัติและด าเนินการให้เป็นไปตามกฏเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานในระดับสากล

การด าเนินการด้านการรับรองของ TFCC นั้น เป็นรูปแบบของการตรวจรับรองแบบ Third Party โดย

มีองค์กรอ่ืน เป็นหน่วยรับรองระบบงาน หรือ AB (Accreditation Body) และมีหน่วยงานก าหนดมาตรฐาน หรือ SB (Standardizing Body) และหน่วยรับรอง หรือ CB (Certified Body) ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนกับ NGB และได้รับการรับรองจาก AB แล้วน ามาตรฐานนั้นไปใช้ตรวจรับรองไม้หรือสวนไม้เศรษฐกิจดังกล่าว

Page 9: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

9

Certified Body (CB) จึงเป็นองค์กรได้รับการรับรองและถูกจัดตั้งขึ้นตามข้อก าหนด องค์การ

อุตสาหกรรมป่าไม้ (ออป.) , กรมป่าไม้ หรือ สมอ. ซึ่งเป็นผู้ก าหนดมาตรฐาน (SB) จะมาท าหน้าที่เป็น CB ไม่ได้ แต่อาจท าหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้แก่เกษตรกร หรือผู้ประกอบการได้ CB จะต้องประกอบด้วยบุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถ และผ่านการรับรองให้เป็น Auditor และต้องมี ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) ตามที่ถูกก าหนดไว้ใน ISO/ICE 17021 และ ISO/ICE 17065 การด าเนินการตรวจรับรองจึงต้องด าเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน ขั้นต่ าที่ก าหนด ซึ่ง CB รวมถึง Auditor อาจถูกแขวน (ข้ึนบัญชีด า) หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต หากการด าเนินการไม่เป็นไปตามข้อก าหนด หรือบกพร่อง หรือไร้ประสิทธิภาพ

TFCC ซึ่งท าหน้าที่เป็น NGB จึงจ าเป็นต้องรักษาระดับของมาตรฐานการตรวจรับรองให้เป็นไปตาม

ข้อก าหนดในระดับนานาชาติหรือนานาชาติให้การรับรองหรือยอมรับ รวมทั้งด าเนินการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพให้กับองค์กร หน่วยงานรับรอง (CB) รวมถึงผู้ประกอบการ เกษตรกรผู้ปลูกไม้ ให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจและด าเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน รวมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพของบุคลากรในองค์กรให้มีความพร้อมส าหรับการด าเนินการรับรองไม้เศรษฐกิจของประเทศ จัดท าระบบฐานข้อมูล พัฒนาหรือน าเทคโนโลยีต่าง ๆ มาช่วยสนับสนุนในการด าเนินการของ TFCC เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ ประชาชน และการปลูกไม้เศรษฐกิจของประเทศ

Page 10: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

10

ภาคผนวก 2 (ประมาณการค่าใช้จ่าย) 1. ค่าใช้จ่ายค่าสมาชิก ซึ่ง TFCC (NGB) จ่ายค่าสมาชิกให้แก่ PEFC

ปีแรก (2016) 10,000$ (350,000) ปีที่ 2 (2017) 20,000$ (700,000) หลังจากปีที่ 3 (2018 - ) 28,000 $ (980,000) ** ค่าในวงเล็บหน่วยเป็น (บาท)

2. ค่าธรรมเนียมการใช้โลโก้ ซึ่ง NGB ต้องจ่ายให้ PEFC ปีแรก (2016) ปีที่ 2 (2017) หลังจากปีที่ 3 (2018 - )

3. ค่าใช้จ่ายของ CB ต้องช าระให้แก่ AB เพ่ือตรวจ CB ( **ราคาอ้างอิงจาก สมอ.) - ค่าใบค าขอ 1,000 บาท - ค่าตรวจ 30,000 บาท/วัน - Witness (พยาน) 15,000 บาท/วัน 4. ค่าใช้จ่ายของเจ้าของสวน/เกษตรกร ต้องจ่ายให้แก่ CB เป็นค่าตรวจรับรอง 4.1 การตรวจรับรองสวนป่าเศรษฐกิจ-

- ค่า Auditor 7,000 บาท/วัน/คน - Co-Auditors 5,000 บาท/วัน/คน - Expert 5,000 บาท/วัน/คน

ขนาดพ้ืนที่ จ านวนคน ระยะเวลาในการตรวจ < 5,000 ไร่ - Auditor 1 คน

- Co-Auditor 1 คน - Expert 1 คน

2 วัน

5,000 – 10,000 ไร่ - Auditor 1 คน - Co-Auditor 2 คน - Expert 2 คน

3 วัน

> 10,000 ไร่ - Auditor 1 คน - Co-Auditor 3 คน - Expert 3 คน

4-5 วัน

Page 11: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

11

4.2 การตรวจรับรองไม้บนคันนา - ยังไม่ได้ประเมิน 4.3 การตรวจรับรองไม้ตามโครงการธนาคารต้นไม้ - ยังไม่ได้ประเมิน 4.4 การตรวจรับรองไม้ยางพารา - ยังไม่ได้ประเมิน 4.5 การตรวจรับรองไม้เพ่ือพลังงานไฟฟ้า (Bio-mass) - ยังไม่ได้ประเมิน

Page 12: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

12

ภาคผนวก 3 (ร่าง)คณะกรรมการบริหารสถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (TFCC)

ประธานคณะกรรมการบริหาร (Chairperson) ผศ.ดร.นิคม แหลมสัก คณะกรรมการบริหาร (Council Board Member)

1) ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน 2) ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน 3) อธิบดีกรมป่าไม้ หรือผู้แทน 4) อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร หรือผู้แทน 5) อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน หรือผู้แทน 6) ผู้อ านวยการองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 7) คณบดีคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8) ส านักงานมาตรฐานผลิตภันฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) 9) ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.) 10) ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มก.อช.) 11) ส านักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (สปก.) 12) ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 13) ผู้แทนสภาหอการค้าไทย 14) ผู้แทน RECOFTC 15) ผู้แทนสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16) ผู้แทนกลุ่มธุรกิจธนาคารไทย 17) ผู้แทนกลุ่มธุรกิจเยื่อและกระดาษไทย 18) ผู้แทนกลุ่มธุรกิจไม้บาง ไม้อัด และไม้สับ 19) ผู้แทนกลุ่มธุรกิจไม้แปรรูป และเฟอร์นิเจอร์ 20) ผู้แทนกลุ่มธุรกิจส่งออกผลิตภัณฑ์จากไม้อ่ืน ๆ 21) ผู้แทนกลุ่มธุรกิจไม้พลังงาน 22) ผู้แทนกลุ่มไม้ยางพารา 23) ผูัแทนสหกรณ์สวนไม้ ภาคเอกชน 24) ผู้แทนสมาคมโรงไฟฟ้าชีวมวล

Page 13: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

13

สมาชิกถาวร (Normal Member) 1) กรมป่าไม้ (RFD) 2) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (FIO) 3) การยางแห่งประเทศไทย (RAOT) 4) สมาคมธุรกิจไม้โตเร็ว (FGTA) 5) สมาคมเยื่อและกระดาษไทย (TPPIA) 6) สมาคมธุรกิจไม้ 7) สมาคมธุรกิจไม้ยางพาราไทย 8) สหกรณ์สวนไม้ 9) สมาคมโรงไฟฟ้าชีวมวล

แนวทางการด าเนินการและที่มาของประธานบอร์ดและคณะกรรมการ

1. ประธานมีวาระการด ารงต าแหน่ง 4 ปี อยู่ในวาระติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระและมีอายุไม่เกิน 70 ปี 2. คณะกรรมการโดยต าแหน่งของหน่วยงาน ต้องแจ้งรายชื่อภายใน 15 วันหลังมีการเปลี่ยนแปลง 3. คณะกรรมจากสัดส่วนสมาคมและกลุ่มภาคเอกชน มีวาระ 3 ปี ด ารงต าแหน่งติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ

ทั้งนีจ้ะต้องได้รับการรับรองจากท่ีประชุมใหญ่ของหน่วยงานหรือองค์กรนั้น

Page 14: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

สถาบันการรับรองไม้เศรษฐกิจแห่งชาติ (โครงการจัดตั้ง) Thai Forest Certification Council

เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม คณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลยัเกษตรศำสตร์ : 4-12-2557

14

ภาคผนวกที่ 4 (กรอบเวลา)

มาร่วมกันผลักดัน TFCC เพ่ือให้ด าเนินการรับรองไม้เศรษฐกิจของประเทศไทย…เพ่ือการผลิกโฉมใหม่ของวงการ

ไม้เศรษฐกิจ….รวดเร็ว…โปร่งใส…เป็นธรรม

กฎหมายป่าไม…้ต้องไปบังคับใช้ในที่ป่าไม ้

Page 15: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

 

PEFC – Programme for the Endorsement of Forest Certification World Trade Center 1, 10 Route de l'Aéroport, PO Box 636, 1215 Geneva, Switzerland t +41 22 799 4540, f +41 22 799 4550, w www.pefc.org 

 

PEFC Council Members August 2015

National Governing Bodies (with Endorsed Certification Systems) 

1. Argentine Forest Certification System (CERFOAR) Argentina 

2. Australian Forestry Standard (AFS)  Australia 

3. PEFC Austria  Austria 

4. Republican Association of Forest Certification System Belarus 

5. PEFC Belgium  Belgium 

6. Brazilian Forest Certification Programme (CERFLOR) Brazil 

7. PEFC Canada  Canada 

8. Chile Forest Certification Corporation (CERTFOR) Chile 

9. China Forest Certification Council (CFCC) China 

10. PEFC Czech Republic  Czech Republic 

11. PEFC Denmark  Denmark 

12. Estonian Forest Certification Council Estonia 

13. PEFC Finland  Finland 

14. PEFC France  France 

15. PAFC Gabon  Gabon 

16. PEFC Germany  Germany 

17. Indonesian Forestry Certification Cooperation (IFCC) Indonesia 

18. PEFC Ireland  Ireland 

19. PEFC Italy  Italy 

20. PEFC Latvia  Latvia 

21. PEFC Luxembourg  Luxembourg 

22. Malaysian Timber Certification Council (MTCC) Malaysia 

23. PEFC Netherlands  Netherlands 

24. PEFC Norway  Norway 

25. PEFC Poland  Poland 

26. PEFC Portugal  Portugal 

27. PEFC Russia  Russia 

28. Slovak Forest Certification Association Slovakia 

29. Institute for Forest Certification  Slovenia 

30. PEFC Spain  Spain 

31. PEFC Sweden  Sweden 

32. PEFC Switzerland  Switzerland 

33. PEFC UK  UK

34. PEFC USA:    American Tree Farm System (ATFS) and United States 

  Sustainable Forestry Initiative (SFI)

35. PEFC Uruguay  Uruguay 

 

Page 16: ความก้าวหน้าการด าเนินการ158.108.68.27/TFCC/iDocument/TFCC_D01.pdf · 2015. 12. 17. · เสนอโดย ส ำนักงำนประสำนกำรพัฒนำนวัตกรรม

 

2 of 2

 

National Governing Bodies (without Endorsed Certification Systems) 

36. Cameroonian Association of the Pan African Forestry Certification Cameroon 

37. Network for Certification and Conservation of Forests (NCCF) India 

38. Sustainable Green Ecosystem Council (SGEC) Japan 

39. PEFC Lithuania  Lithuania 

40. New Zealand Forest Certification Association (NZFCA) New Zealand 

 

 

International Stakeholder Members

1. APP Timber 

2. Association Technique Internationale des Bois Tropicaux (ATIBT)

3. Building and Wood Worker’s International (BWI)

4. Confederation of European Forest Owners (CEPF)

5. Confederation of European Paper Industries (CEPI)

6. Earth Focus Foundation 

7. European Network of Forest Entrepreneurs (ENFE)

8. European Timber Trade Federation (ETTF)

9. European Tissue Symposium (ETS) 

10. Fibria 11. International Council of Forest and Paper Associations (ICFPA)12. International Family Forestry Alliance (IFFA)

13. International Paper 14. Meadwestvaco 

15. Metsä Group 

16. Purinusa Ekapersada (APP) 17. Regional Community Forestry Training Center for Asia and the Pacific (RECOFTC) 

18. Smurfit Kappa 

19. Stora Enso 20. Suzano Pulp and Paper 21. Union of Silviculturists of Southern Europe (USSE)22. Weyerhaeuser Company 

 

 

Extraordinary Members 

1. European Confederation of Woodworking Industries (CEI‐Bois)

2. European Landowners' Organization (ELO)

3. Fédération Européenne des Communes Forestières (FECOF)

4. Manufacturers of Educational & Commercial Stationery European Association (MECSEA)

5. Union of European Foresters (UEF)