38
การจัดการเรียนรู ทีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

การจัดการเรียนรูที่

เนนผูเรียนเปนสําคัญ

Page 2: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

การจัดการศึกษา

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

Page 3: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา ๖ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่ อพัฒนาคนไทยให เปนมนุษยที่

สมบูรณ ทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

Page 4: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

พหุปญญาเพื่อความเปนมนุษยที่สมบูรณ

มนุษยมีสติปญญาอยางนอย 7 ดาน ไดแก ดานภาษา

ดานตรรกะ/ดานคณิตศาสตร ดานมิติสัมพันธ/ศิลปะ

ดานความถนัดทางรางกายและการเคลื่อนไหว ดาน

ดนตรี/จังหวะ ดานมนุษยสัมพันธ ดานความเขาใจตนเอง

และดานความรอบรูธรรมชาติ

Page 5: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ทฤษฏีพหุปญญา

ของการดเนอร

ปญญาดาน

ภาษา

ปญญาดาน

ตรรกและ

คณิตศาสตร

ปญญาดาน มิติสัมพันธปญญาดานรอบ

รูธรรมชาติ

ปญญาดาน

ดนตรี

ปญญาดานการ

เคลื่อนไหว

รางกาย

ปญญาดาน

สัมพันธระหวาง

บุคคล

ปญญาดานรูจัก

ตนเองพหุปญญา

ปญญาดานภาษา

ปญญาดาน

ตรรกะและคณิตศาสตร

ปญญาดาน

มิติสัมพันธ

ปญญาดาน

รอบรูธรรมชาติ

ปญญาดานดนตรี

ปญญาดาน

การเคลื่อนไหว

รางกาย

ปญญาดาน

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

ปญญาดาน

รูจักตนเอง

แผนภาพพหุปญญาของการดเนอร (Spencer,1998)

Page 6: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา 22 “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา

ผู เ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ

พัฒน าตน เ อ ง ไ ด แ ล ะ ถื อ ว า ผู เ รี ย นมี

ความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา

ตองสงเสริมใหผู เรียนสามารถพัฒนาตาม

ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ”

Page 7: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา 23 “ตองเนนความสําคัญทั้ง

ความรู คุณธรรม กระบวนการ

เรียนรูและบูรณาการ”

Page 8: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา 24

1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

2. ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา

Page 9: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา 24 (ตอ)

3. จั ด กิ จ ก ร ร ม ใ ห ผู เ รี ย น ไ ด เ รี ย น รู จ า กประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง

4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระดานต างๆอย างไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา

Page 10: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา 24 (ตอ)

5. สงเสริมสนับสนุนผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ

สภาพแวดลอม สื่อการเรียนและอํานวยความสะดวกเพื่อใหผู

เกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัย

เปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียน

อาจเรียนรูไปพรอมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหลง

วิทยาการประเภทตางๆ

Page 11: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มาตรา 24 (ตอ)

6. จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มี

การประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง

และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียน

ตามศักยภาพ

Page 12: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู

- ความแตกตางระหวางบุคคล

- ทักษะ การคิด การแกปญหา ฝกปฏิบัติ- ความรูและคณุธรรม

- บรรยากาศและสิง่แวดลอมการเรียนรู

- การเรียนรูเกิดขึน้ไดทุกเวลาและสถานที่

Page 13: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

แบบการเรียนรูของผูเรียน

Mc Carthy (2006)

1. ผูเรียนที่ชอบการใชจินตนาการ (imaginative learners)

2. ผูเรียนที่ชอบการวิเคราะห (analytical learners)

3. ผูเรียนที่ชอบใชสามัญสํานึก (common sense learners)

4. ผูเรียนที่ชอบการประยุกตหรือปรับเปลี่ยน (dynamic

learners)

Page 14: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

การจัดการเรียนรู

ชุมชน

ครู/อาจารย

เครือขายครอบครวั

สถานที่

บริษัท

เพื่อน

อินเทอรเน็ต สื่อ

แหลงความรู

Page 15: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

แบบการเรียนรูของผูเรียน (ตอ)

Silver and Hanson (1998)

1. แบบมุงความชํานาญ (Master Style)

2. แบบมุงความเขาใจ (Understanding Style)

3. แบบมุงการแสดงออก (Self-Expressive Style)

4. แบบมุงมนษุยสัมพันธ (Interpersonal Style)

Page 16: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

แนวคิดและความหมายของการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรียนเปนสําคญั

ความหมายดานผูเรียน หมายถึง กระบวนการเรียนรู

ที่ผู เรียนมีสวนรวม เนนการปฏิบัติจริง การพัฒนา

กระบวนการคิด การมีอิสระในการเรียนรูตามความถนัด

และความสนใจดวยวิธีการและแหลงเรียนรูที่หลากหลาย

สามารถนําความรูและประสบการณไปใชได

Page 17: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

แนวคิดและความหมายของการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรียนเปนสําคญั (ตอ)

ความหมายดานผูจัด หมายถึง กระบวนการจัดการ

เรียนรูที่คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล การเนน

ประโยชนสูงสุดของผู เรียนเปนสําคัญ การเคารพใน

ศักดิ์ศรี สิทธิของผู เรียน โดยมีการวางแผนการจัด

ประสบการณเรียนรูอยางเปนระบบ

Page 18: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ผูสอนเปนศูนยกลางผูสอนเปนศูนยกลาง

ผูสอน ผูเรียนความรู

Page 19: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ความรู

ผูเรียนเปนศูนยกลางผูเรียนเปนศูนยกลาง

ผูสอน ผูเรียน

Page 20: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ผูเรียนเปนฝาผูเรียนเปนฝา

วิชาเปนตะปูวิชาเปนตะปู

ครูเปนคอนครูเปนคอน

ตอกเอาตอกเอา......ตอกเอาตอกเอา !!!!(เสียงเรียกรองจากผูเรียนกลุมหนึ่ง)

Page 21: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ฉันไมรูวาเธอเลนเกมอะไรฉันไมรูวาเธอเลนเกมอะไร

เกมนี้เธอเลนมาตั้งแตฉันอยูชั้นประถมศึกษาเกมนี้เธอเลนมาตั้งแตฉันอยูชั้นประถมศึกษา

เธอใหฉันกากบาทเธอใหฉันกากบาท กก.. ขข.. คค.. งง..

ปจจุบันเธอยังเลนเกมนั้นอยูปจจุบันเธอยังเลนเกมนั้นอยู เธอจะสนุกกับเกมเธอจะสนุกกับเกม

ของเธออีกของเธออีกนานมั้ยนานมั้ย ??????

((เสียงเรียกรองจากผูเรียนกลุมหนึ่งเสียงเรียกรองจากผูเรียนกลุมหนึ่ง))

Page 22: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มโนทัศนที่คลาดเคลื่อนในการจัดการเรียนรู

ทีเ่นนผูเรียนเปนสําคัญ

1. ความเขาใจที่ผิด ความสาํเร็จของการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรียนเปนสําคญั อยูที่การที่ครูผูสอนมีวิธีสอนและ

จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

Page 23: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มโนทัศนที่คลาดเคลื่อนในการจัดการเรียนรู

ทีเ่นนผูเรียนเปนสําคัญ (ตอ)

2. ความเขาใจที่ผิด ครูผูสอนควรใหอิสระแกผูเรียน

เพราะผูเรียนสามารถเรียนรูไดเองและรับผิดชอบการ

เรียนรูของตนเองได ดังนั้น จึงควรใหผูเรียนทํากิจกรรม

การเรียนรูตามลําพัง โดยทําหนาที่อํานวยความสะดวกใน

การจัดหาสื่อหรือแหลงเรียนรูเทานั้น ไมตองสอนเนื้อหา

ใดๆ

Page 24: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มโนทัศนที่คลาดเคลื่อนในการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรียนเปนสําคญั (ตอ)

3. ความเขาใจที่ผิด การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียน

เปนสําคัญครูผูสอนไมควรใช วิ ธีสอนแบบ

บรรยาย เพราะเปนวิธีสอนที่เนนบทบาทของครู

มากกวาผูเรียน

Page 25: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มโนทัศนที่คลาดเคลื่อนในการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (ตอ)

4. ความเขาใจผิด การจัดการเรียนรูที่เนน

ผู เ รียนเปนสําคัญครูผูสอนไมควรใหผู เ รียน

ทองจํา เพราะไมทําใหผู เรียนเกิดการพัฒนา

กระบวนการคิด

Page 26: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

มโนทัศนที่คลาดเคลื่อนในการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (ตอ)

5. ความเขาใจที่ผิด การจัดการเรียนรูที่เนน

ผู เรียนเปนสําคัญเปนวิธีการสอนวิธีหนึ่ งหรือ

รูปแบบการสอนที่ครูทุกคนตองปฏิบัติตามขั้นตอน

เหมือนกัน

Page 27: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ความแตกตางระหวางการสอนแบบเดิมกับ

การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง

แบบเดิม

- เนนเนื้อหา

- ผูสอนสอน บอก สั่ง- การสื่อสารทางเดียว

- ผูเรียนจด จํา สอบ ลืม- บรรยากาศปดกั้นความคิด

- ประเมินเนื้อหา

ผูเรียนเปนศูนยกลาง

- เนนกระบวนการและผลงาน

- ผูสอนสนับสนนุใหเกิดการเรียนรู

- การสื่อสารสองทาง

- ผูเรียนเรียนรูรวมกัน/คนควาความรู

ผานกระบวนการคิด

- บรรยากาศสรางสรรคความคิด

- ประเมินกระบวนการและผลงาน

Page 28: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ตัวบงชีก้ารจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

(คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู, 2543)

Page 29: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

ตัวบงชี้การจดัการเรียนรูของผูสอนดานการจดัการเรียนรูที่เนนผูเรียน เปนสําคัญ

1. เตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ2. จัดสิ่งแวดลอมและบรรยากาศที่ปลุกเรา จูงใจ

และเสริมแรงใหผูเรียนเกิดการเรียนรู3. เอาใจใสผูเรียนเปนรายบคุคลและแสดงความ

เมตตาแกผูเรียนอยางทั่วถึง4. จัดกิจกรรมและสถานการณใหผูเรียนได

แสดงออกและคิดอยางสรางสรรค

Page 30: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

5. สงเสริมใหผูเรียนฝกคดิ ฝกทําและฝกปรับปรุงตนเอง

6. สงเสริมกจิกรรมและการเปลี่ยนการเรียนรูจากกลุม พรอมทัง้สังเกตสวนดแีละปรับปรุงสวนดอยของผูเรียน

7. ใชสื่อการสอนเพือ่ฝกการคิด การแกปญหาและการคนพบความรู

ตัวบงชี้การจดัการเรียนรูของผูสอนดานการจดัการเรียนรูที่เนนผูเรียน เปนสําคัญ (ตอ)

Page 31: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

8. ใชแหลงเรียนรูทีห่ลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณกับชีวิตจริง

9. ฝกฝนกิริยามารยาทและวนิัยตามวิถีชีวิตไทย

10. สังเกตและประเมินพฒันาการผูเรียนอยางตอเนื่อง

ตัวบงชี้การจดัการเรียนรูของผูสอนดานการจดัการเรียนรูที่เนนผูเรียน เปนสําคัญ (ตอ)

Page 32: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

เทคนิคการจัดการเรียนรูแบบกลุม

1. เทคนคิประสานความรู (Jigsaw)

2. เทคนคิผลสัมฤทธิ์ของทีม

(Student Teams-Achievement Division - STAD)

3. เทคนคิทีมชวยเหลือ

(Team-Assisted Individualization - TAI)

Page 33: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

เทคนิคการจัดการเรียนรูแบบกลุม (ตอ)

4. เทคนคิทีมแขงขัน (Team Games Tournament- TGT)

5. เทคนคิเรียนรูรวมกัน (Learning Together- LT)

6. เทคนคิกลุมสํารวจความรู (Group Investigation- GI)

Page 34: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

เทคนิคที่สงเสริมกระบวนการคิด

1. เทคนคิแลกเปลี่ยนความคิด (think-pair-share)

2. เทคนคิคิดกลุม คิดคู คดิเดี่ยว (team-pair-solo)

3. เทคนคิรวมกันคิด (numbered heads together)

4. เทคนคิซบุซบิปรกึษา (buzz group)

5. เทคนคิระดมสมอง (brain-stroming)

6. เทคนคิการพูดรอบวง (round robin)

Page 35: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

เทคนิคที่สงเสริมกระบวนการคิด (ตอ)

7. เทคนคิการเขียนรอบวง (round table)

8. เทคนคิการพูดเปนคู (rally robin)

9. เทคนคิการเขียนเปนคู (rally table)

10. การพูดสองวง (inside-outside circle)

11. เทคนคิหมวกความคิด 6 ใบ (six thinking hats)

12. เทคนคิแผนภาพความคิด (mind map)

13. เทคนคิแผนผังกราฟก (graphic organizers)

Page 36: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

รูปแบบการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางรูปแบบการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง

4 MAT4 MAT

STORYLINESTORYLINE

SELFSELF-- DIRECTED LEARNINGDIRECTED LEARNING

PROBLEMPROBLEM-- BASED LEARNINGBASED LEARNING

SYNNECTICS MODELSYNNECTICS MODEL

RESEARCHRESEARCH-- BASED LEARNINGBASED LEARNING

PROJECTPROJECT--BASED LEARNINGBASED LEARNING ฯลฯฯลฯ

Page 37: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต
Page 38: การจัดการเรียนรู · สรุปมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเร ียนรู -ความแตกต

เรียกผูมาศึกษาวาลกูศิษย เออ ผูใดไดคิดบางหรือไมวาเปนศิษยพิเศษของเทศไทย ยกศิษยใหเปนลกูถูกทานยังเพราะมนุษยนอยใหญในโลกนี ้ ยอมรักลูกไมมีเสมอสองเห็นวาลูกมคีากวาเงินทอง ลกูศิษยของครูก็เปนเชนนัน้เอย

(ม.ล. ปน มาลากุล)