13
การประหยัดพลังงานกับ การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) การประหยัดพลังงานกับการลดภาวะโลกรอน (Global Warming) นายโกเมท ทองภิญโญชัย ภาวะโลกรอน (Global Warming) ภาวะโลกรอนเปนปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลกทีมนุษยชาติจะตองตระหนักรวมกันวา เปนผลจากกิจกรรมตางๆของมนุษยเปนประการสําคัญ โดยเฉพาะกิจกรรมตางๆที่เกิดจากการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจและสังคมโลกอยางรวดเร็วเมื่อ ไมกี่ทศวรรษที่ผานมาโดยใชการปฏิวัติอุตสาหกรรมเปนภาคนํา จนกลายเปนสังคมอุตสาหกรรม และเกิดการขยายตัวทางสังคมในทุกมิติ โดยเฉพาะในภาคการคมนาคมขนสงเพื่อรองรับกิจการ อุตสาหกรรม หรือการเผาปาเพื่อรองรับขยายตัวของเมืองนั้น อาจ กลาวไดวา เปนตนเหตุที่สําคัญของการเกิดมลพิษทางอากาศหลาย ประการ อาทิ การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ขึ้นสู ชั้นบรรยากาศ และดูดกลืนเอารังสีความรอนที่แผออกจากผิวโลก จนทําใหพลังงานความรอนบนผิวโลกและในชั้นบรรยากาศสะสม เพิ่มมากขึ้น สงผลสะทอนกลับคืนสูผิวโลก หรือที่เรียกกันวา ภาวะ เรือนกระจก (Greenhouse Effect)” และสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และเกิดกระทบตอสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ เชน การเกิดภาวะแหงแลงยาวนาน ธารน้ําแข็งขั้วโลกละลาย ระดับน้ําทะเลเพิ่มสูงขึ้น ความรอนในมหาสมุทรเพิ่มสูงขึ้น เกิดไฟปาทีรุนแรงและบอยครั้ง ปาในเขตภูเขาสูงแหงแลง เปนตน โบสถวัดขุนสมุทราวาส จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเคยอยูหางจากฝงทะเล กิโลเมตร ปจจุบัน พื้นที่โบสถบางสวนกําลังจมน้ําทะเล (แหลงที่มา : วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ, “โลกรอนความจริงที่ทุกคนตอง น้ําทวม โรคระบาด และการหายไปของ ชาวนา บทเรียนเมื่อโลกรอนมาเยือนไทย”, นิตยสารสารคดีพิเศษ ฉบับที๒๖๕ ปที๒๓ เดือนมีนาคม ๒๕๕๐) อัยการจังหวัดประจํากรม สํานักงานวิชาการ สํานักงานอัยการสูงสุด

การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

การประหยัดพลังงานกับ การลดภาวะโลกรอน (Global Warming)

การประหยดัพลังงานกับการลดภาวะโลกรอน (Global Warming)

นายโกเมท ทองภิญโญชัย∗

ภาวะโลกรอน (Global Warming)

ภาวะโลกรอนเปนปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลกที่มนุษยชาติจะตองตระหนักรวมกันวา เปนผลจากกิจกรรมตางๆของมนุษยเปนประการสําคัญ โดยเฉพาะกิจกรรมตางๆที่เกิดจากการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจและสังคมโลกอยางรวดเร็วเมื่อไมกี่ทศวรรษที่ผานมาโดยใชการปฏิวัติอุตสาหกรรมเปนภาคนํา จนกลายเปนสังคมอุตสาหกรรม และเกิดการขยายตัวทางสังคมในทุกมิติ โดยเฉพาะในภาคการคมนาคมขนสงเพื่อรองรับกิจการ

อุตสาหกรรม หรือการเผาปาเพื่อรองรับขยายตัวของเมืองนั้น อาจกลาวไดวา เปนตนเหตุที่สําคัญของการเกิดมลพิษทางอากาศหลายประการ อาทิ การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ขึ้นสูช้ันบรรยากาศ และดูดกลืนเอารังสีความรอนที่แผออกจากผิวโลก จนทําใหพลังงานความรอนบนผิวโลกและในชั้นบรรยากาศสะสม

เพิ่มมากขึ้น สงผลสะทอนกลับคืนสูผิวโลก หรือที่เรียกกันวา “ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect)” และสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและเกิดกระทบตอส่ิงมีชีวิตบนพื้นโลกรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ เชน การเกิดภาวะแหงแลงยาวนาน ธารน้ําแข็งขั้วโลกละลาย ระดับน้ําทะเลเพิ่มสูงขึ้น ความรอนในมหาสมุทรเพิ่มสูงขึ้น เกิดไฟปาที่รุนแรงและบอยครั้ง ปาในเขตภูเขาสูงแหงแลง เปนตน

โบสถวัดขุนสมุทราวาส จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเคยอยูหางจากฝงทะเล ๑ กิโลเมตร ปจจุบันพ้ืนที่โบสถบางสวนกําลังจมน้ําทะเล

(แหลงที่มา : วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ, “โลกรอนความจริงที่ทุกคนตอง – น้ําทวม โรคระบาด และการหายไปของชาวนา บทเรียนเมื่อโลกรอนมาเยือนไทย”, นิตยสารสารคดีพิเศษ ฉบับที่ ๒๖๕ ปที่ ๒๓ เดือนมีนาคม ๒๕๕๐)

อัยการจังหวัดประจํากรม สํานักงานวิชาการ สํานักงานอัยการสูงสุด

Page 2: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๒ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming)

เหตุการณโศกนาฏกรรมจากพายุเฮอรริเคนซึ่งเปนพายุที่ทวีความรุนแรงตามระดับความรอนของน้ําทะเล พายุ “เฮอริเคนแคทรินา” ซึ่งเปนพายุขนาด 5 อันเปนระดับสูงสุด และมีความเร็วลมที่ศูนยกลาง 175 ไมลตอช่ัวโมง ไดออนกําลังลงเหลือระดับ 4 มีความเร็วลม 125 ไมลตอช่ัวโมงมุงหนาขึ้นสูฝงเมืองนิวออรลีนส รัฐหลุยเซียนาจากอาวเม็กซิโก เปนพายุที่สรางหายนะรายแรงที่สุดแกมนุษยชาติ

(แหลงที่มา : Amanda Ripley, “How Did This Happen ?”, Time : An American Tragedy, Sunday, Sep. 04, 2005)

(แหลงที่มา : United Nations Environment Programme (UNEP), After the Tsunami : Rapid Environmental Assessment)

เหตุการณจากกรณีมหันตภัยคลื่นยักษสึนามิ เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ที่ทําใหมีผูเสียชีวิตไมตํ่ากวา ๒ แสนคนนั้น นักวิทยาศาสตร พบวา หากบริเวณชายฝงมีสภาพเปนปาชายเลนอุดมสมบูรณ จะสามารถบรรเทาความรุนแรงของคลื่นยักษสึนามิ ไดเปนอยางดี

จากการประเมินโดยคณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) ในรายงานโลกรอน ฉบับที่ ๓ เกี่ยวกับการปองกันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือการลดภาวะโลกรอน ไดบงชี้ถึงสภาวการณการปนเปอนของกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศที่เร่ิมมีมากอนการปฏิวัติอุตสาหกรรม หรือในชวงเวลาระหวางป พ.ศ. ๒๕๑๓ – ๒๕๔๗ ไดเพิ่มสูงขึ้นถึงรอยละ ๗๐ และไดคาดการณในอีก ๒ - ๓ ทศวรรษหนาหรือราวประมาณป พ.ศ.๒๕๗๗ จะเพิ่มสูงขึ้นประมาณรอยละ ๒๕ – ๙๐ โดยเฉพาะปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจการภาคพลังงานจะสูงถึงรอยละ ๔๕ – ๑๑๐ และนั่นยอมหมายถึง “อุณหภูมิของโลกจะสูงขึ้น ๐.๒ – ๐.๕ องศาเซลเซียส” ดวยเชนเดียวกัน

Page 3: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๓ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) จากการวิเคราะหและประเมินโดยแบบจําลองในระดับโลกของรายงาน IPCC ยังพบวา ประเทศไทยถูกจัดอยูในกลุมประเทศที่มีความเสี่ยงที่จะไดรับผลกระทบจากจากภาวการณเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศหรือภาวะโลกรอน และจากกรณีเชนวานี้ อาจทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับปรากฏการณหรือมหันตภัยทางธรรมชาติที่ไมพึงประสงคอยางไมอาจหลีกเล่ียงได อาทิ การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ภัยแลง น้ําทวม การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทะเลและชายฝง การสูญพันธุของสิ่งมีชีวิต รวมทั้ง การผันแปรของกระแสน้ําอุนและกระแสน้ําเย็น น้ําทะเลมีความเปนกรดสูงขึ้น ความรุนแรงของการกัดเซาะพื้นที่ชายฝง ตราบใดที่ “แนวทางการปองกันมิใหอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง” ยังไมถูกกําหนดใหเปนวาระเรงดวนที่จะตองบริหารจัดการอยางจริงจัง

แนวทางการปองกันมิใหอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง

จากกิจกรรมของมนุษยที่เปนผลใหเกิดการสะสมความหนาแนนของภาวะเรือนกระจกมากขึ้น และทําใหพื้นผิวและชั้นบรรยากาศของโลกรอนขึ้นอยางรวดเร็ว จนเกิดปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) หรือ “ภาวะโลกรอน” และกอใหเกิดผลกระทบตอระบบสิ่งแวดลอมในทางกายภาพหรือชีวภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งภาวการณการเพิ่มขึ้นของระดับน้ําทะเลจากการละลายของธารน้ําแข็งและภูเขาน้ําแข็งในบริเวณตางๆของพื้นผิวโลก ตลอดจนการฟนตัวของระบบนิเวศทางธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่คอนขางรุนแรงดังกลาวนั้น ไดกลายเปนวาระสําคัญยิ่งของเวทีการประชุมสหประชาชาติวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๕ ซ่ึงผูแทนของหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทยไดรวมลงนามและรับรองเอกสารที่สําคัญ ๕ ฉบับ คือ ปฏิญญาริโอวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (The Rio Declaration on Environment and Development) แผนปฏิบัติการ ๒๑ (Agenda 21) คําแถลงเกี่ยวกับหลักการในเรื่องปาไม (Statement of Principles on Forests) กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) และอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity) โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ที่นานาประเทศไดเขาเปนภาคีและใหสัตยาบัน จนเปนผลใหเกิดมติรับรองพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol to the United Nations Framework Convention on Climate Change ) ลวนเปนแรงผลักดันใหแตละประเทศตระหนักและใหความสําคัญกับการหาทางปองกันไมใหอุณหภูมิโลกเปลี่ยนแปลงหรือแนวทางลดภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ตอมาในคราวประชุมคณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) คณะกรรมการ ฯ เห็นวา หนทางของการลดความหนาแนนของ

Page 4: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๔ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) ภาวะกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศนั้น นอกจากจะตองไมทําใหความหนาแนนของกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นจากระดับสูงสุดที่ปรากฏอยูในปจจุบันแลว มนุษยยังจะตองพยายามลดความหนาแนนของภาวะกาซเรือนกระจกใหลดลงอยางจริงจังและตอเนื่องอีกดวย โดยไดกําหนดทางเลือกที่สําคัญของการลดการปลอยกาซเรือนกระจกไวในรายงานโลกรอน ฉบับที่ ๓ ดังกลาวขางตนไวหลายประการ อาทิ - การลดการใชพลังงานเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยเฉพาะในกิจการบางประเภทที่เปนแหลงกําเนิดของกาซเรือนกระจกที่สําคัญ เชน ดานพลังงาน รัฐบาลควรจะตองสนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและกําหนดมาตรฐานการปลอยกาซเรือนกระจกในระดับประเทศ โดยคณะกรรมาธิการระหวางประเทศวาดวยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) ไดเสนอแนวทางการลดการใชพลังงานฟอสซิล โดยใชกลไกทางเศรษฐศาสตรเปนมาตรการจูงใจ เชน นโยบายสนับสนุนการลงทุนในภาคพลังงานทดแทนหรือพลังงานหมุนเวียนและสนับสนุนการใชพลังงานสะอาดเปนทางเลือกดานพลังงานใหแกประเทศภาคี การใชกลไกของราคาน้ํามันเชื้อเพลิง ราคาของตลาดคารบอนเครดิต เพื่อนําไปใชเปนมาตรการลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดอีกทางหนึ่ง ดานการคมนาคมและขนสง รัฐบาลควรจะตองสนับสนุนและพัฒนาระบบการขนสงและคมนาคมใหมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสภาพของสิ่งแวดลอม ตลอดจนลดกาซเรือนกระจกใหนอยลง ดานอาคาร รัฐบาลควรจะสนับสนุนใหงานการกอสรางอาคารประหยัดพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการรณรงคใหมนุษยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รูปแบบวัฒนธรรม และทางเลือกการบริโภคพลังงานเสียใหมที่เกี่ยวพันการใชพลังงานในอาคาร โดยหันมาใชเทคโนโลยีที่ลดการปลอยกาซเรือนกระจก และใชพลังงานทดแทนเพิ่มมากขึ้น ดานอุตสาหกรรม รัฐบาลควรจะตองสนับสนุนใหพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและใชวัสดุอุปกรณที่มีประสิทธิภาพ สะอาด และปลอดภัยตอส่ิงแวดลอม นอกจากนี้ ในดานเกษตรกรรมเกี่ยวกับการใชที่ดิน ดานปาไม ดานการจัดการของเสีย รัฐบาลจะตองดําเนินการใหมีความสอดคลองเชื่อมโยงกับระบบการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอมอยางสมดุลแทจริง - การใหความสําคัญกับการรักษาและเพิ่มพูนแหลงดูดซับ (sinks) และแหลงเก็บกัก (reservoirs) กาซเรือนกระจก รัฐจะตองสนับสนุนและสงเสริมใหมีระบบการจัดการพัฒนาอยางยั่งยืน ดวยการลดการทําลายและรักษาไวซ่ึงความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการจัดใหมีกระบวนการสรางทดแทนทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษยไดนํามาใชเพื่อการอุปโภคบริโภคและการสรางมูลคาทางเศรษฐกิจตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน เปนตน โดยเฉพาะกลยุทธในดานการลดการปลอยกาซเรือนกระจกนั้น ในพิธีสารเกียวโตไดจํากัดการปลอยกาซเรือนกระจกแกบรรดาประเทศที่พัฒนาแลวเพื่อลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกใหไดในระดับต่ํากวาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในป พ.ศ.๒๕๓๓ ประมาณรอยละ ๕

Page 5: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๕ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) โดยจะตองดําเนินการใหไดภายในชวงป พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๕ สวนในกรณีของประเทศที่กําลังพัฒนา เชน ประเทศไทย ก็อาจเขารวมโครงการการลดปลอยกาซเรือนกระจกไดโดยสมัครใจตามศักยภาพของประเทศ ดวยเหตุนี้ กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) จึงเปนเครื่องมือที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่ถูกนํามาใชดวยความคาดหวังของการปองกันมิใหอุณหภูมิโลกเปลี่ยนแปลงสาระ มีเนื้อหาสาระโดยสังเขปดังนี้

กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM)

ก. การดําเนินโครงการ

...จากกรณีที่ประชุมสมัชชาระหวางประเทศไดตกลงกันกําหนดความหมาย วัตถุประสงค และวิธีการเกี่ยวกับกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM)” ไวในพิธีสารเกียวโต อาจกลาวไดวา “กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญประการหนึ่งตอการปองกันมิใหอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงหรือลดภาวะโลกรอน” ทั้งนี้ เนื่องจาก กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ไดถูกกําหนดขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือประเทศที่กําลังพัฒนาซึ่งเปนประเทศที่ไมปรากฏในบัญชีรายชื่อทายผนวก ๑ ของพิธีสารไดบรรลุถึงการพัฒนาอยางยั่งยืน และเพื่อใหมีสวนชวยเหลือประเทศที่ถูกกําหนดในบัญชีรายชื่อทายผนวก ๑ ของพิธีสาร จํากัดและลดปริมาณการปลอยกาซที่มีศักยภาพในการทําใหโลกรอน เชน คารบอนไดออกไซด (CO2) ไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFCs) เปนตน จากโครงการประเภทตาง ๆ ไดแก อุตสาหกรรมพลังงาน โรงงานอุตสาหกรรมและการกอสราง การขนสง การปลอยกาซธรรมชาติจากการขนสงเชื้อเพลิง กระบวนการผลิตสินคาประเภทแร อุตสาหกรรมเคมี การผลิตเหล็ก การผลิตและการบริโภคสารฮาโลคารบอนและซัลเฟอรเฮกซาฟลูโอไรด สารละลาย การเกษตร การเผาทุงหญาและเศษพืช การทิ้งและการกําจัดขยะมูลฝอยและของเสีย โครงการประเภทตาง ๆ ที่จะเขาสูกลไกการพัฒนาที่สะอาดนั้น ตองเปนความสมัครใจ (Voluntary participation) ของเจาของโครงการ โดยจะตองออกแบบลักษณะของโครงการและจัดทําเอกสารประกอบโครงการ (Project Design Document : PDD) เพื่อกําหนดขอบเขตของโครงการ วิธีการคํานวณการลดกาซเรือนกระจก วิธีการในการติดตามผลการลดกาซ การวิเคราะหผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เพื่อพิสูจนใหไดวา การดําเนินโครงการจะสามารถลดปริมาณกาซที่กอใหเกิดภาวะเรือนกระจกไดจริง โดยปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกที่เปนผลจากการดําเนินโครงการ(Project Emission) นั้น จะตองนอยกวาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกรณีที่ไมมีโครงการ (Baseline Emission) และเมื่อไดรับคํารับรองจากรัฐบาลของประเทศที่โครงการนั้นตั้งอยู ดังเชน กรณีที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติออกหนังสือรับรองแกผูพัฒนาโครงการของ

Page 6: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๖ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) เอกชนจํานวน ๗ โครงการ ประกอบดวย โครงการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) จํานวน ๕ โครงการ และโครงการผลิตไฟฟาจากชีวภาพ (Biogass) จํานวน ๒ โครงการ ตามที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติเสนอแลว โครงการดังกลาวจะตองขอขึ้นทะเบียนจากคณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Executive Board of Clean Development Mechanism : CDM EB) และเมื่อคณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาดเห็นวาโครงการสามารถลดกาซเรือนกระจกไดจริง คณะกรรมการ CDM BR จะออกใบรับรองเครดิตหรือท่ีเรามักเรียกขานกันวา “คารบอนเครดิต” (Certification Emission Reductions : CERs) ใหแกโครงการ หลังจากนั้นเจาของโครงการอาจนําเครดิตหรือ CERs ดังกลาวเขาสูระบบการซื้อขายกัน (Emission Trading) ไดตลอดวัฏจักรของการดําเนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดในระหวางกลุมประเทศที่พัฒนาแลวกับกลุมประเทศกําลังพัฒนา โดยในปจจุบันจะทําการซื้อขายในตลาดของกลุมสหภาพยุโรป และตลาดในประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเปนแหลงตลาดคารบอนขนาดใหญ

ข. ผลท่ีจะไดรับจากโครงการตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด

จากความพยายามของเหลานานาประเทศเพื่อปองกันมิให อุณหภูมิโลกเปลี่ยนแปลงหรือลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยโครงการ CDM อาจกลาวไดวา เปนอีกหนึ่งนวัตกรรมที่สรางแรงจูงใจใหมนุษยซ่ึงเปนทั้งผูสรางและผูทําลายในระบบสิ่งแวดลอม หันมาใหความสําคัญตอการรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดการกับแหลงกําเนิดของกาซเรือนกระจก ซ่ึงนอกจากจะกอใหเกิดผลทางดานการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมในพื้นที่ที่เปนตั้งของโครงการแลว ยังเปนโครงการไปสูรูปแบบกระบวนการลดการใชทรัพยากรประเภทพลังงานหรือเชื้อเพลิงและลดปริมาณของของเสียที่เกิดจากกระบวนการการผลิตแลว ยังเปนหนทางใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีใหมๆ ที่ไมทําลายระบบสิ่งแวดลอม เชน โครงการพลังงานทดแทนที่ใชพืชผลทางการเกษตรเปนวัตถุดิบเขาสูกระบวนการผลิตแทนพลังงานประเภทเชื้อเพลิง ซ่ึงนับเปนจุดเปล่ียนผานไปสูมิติของการรักษาระบบสิ่งแวดลอมที่เอ้ือประโยชนตอคุณภาพชีวิตของมนุษยและเพิ่มทางเลือกในการประกอบกิจการที่เปนประโยชนตอสภาวะแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพแทจริง

ประเทศไทยกับภาวะโลกรอน

สองทศวรรษที่กําลังจะกาวผานไป นับแตเมื่อไดเกิดการประชุมสหประชาชาติ

วาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๕ ในสวนของประเทศไทยภายหลังจากที่ไดเขาเปนภาคีและใหสัตยาบันตอ UNFCCC และพิธีสารเกียวโตแลว การรณรงคใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญของการลดการปลอยกาซ

Page 7: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๗ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) เรือนกระจกหรือลดภาวะโลกรอนไดดําเนินการอยางจริงจัง และไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนอยางชัดเจนเปนรูปธรรมมากขึ้น ไมวาจะโดยกระบวนการลดการปลอยกาซเรือนกระจก และการเพิ่มพูนและรักษาไวซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเปนแหลงดูดซับและเก็บกักกาซเรือนกระจก โดยเฉพาะในสวนภาครัฐนั้น ไดกําหนดกรอบนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไวในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนวาระจําเปนที่จะตองเรงรัดดําเนินการในแตละดานอยางชัดเจน อาทิ - ในดานการประหยัดพลังงานเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก จะตองเรงพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดมลพิษ และควบคุมมลพิษทางอากาศจากภาคการขนสง อุตสาหกรรม กอสราง การเผาในที่โลง และการปลอยกาซเรือนกระจก ที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเรงปรับปรุงระบบขนสงมวลชนที่ปราศจากมลพิษ เชน รถไฟฟา เปนตน สนับสนุนการใชเครื่องยนตและพลังงานสะอาด โดยเฉพาะในระบบขนสงสาธารณะ ตลอดจน สงเสริมการวิจัย พัฒนา และประยุกตใชเทคโนโลยีสะอาด เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี เพื่อชวยใหเกิดการประหยัด ทรัพยากร พลังงาน และลดมลพิษ รวมทั้งการผลิตพลังงานทดแทนจากพืชและชีวมวล และสนับสนุนมาตรการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism - CDM) และจากการดําเนินการตามแผนอนุรักษพลังงาน คาดวา ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน โดยในสวนของการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน จะสามารถลดใชพลังงานเชิงพาณิชยลงจาก ๙๑,๘๗๗ พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ เหลือ ๘๑,๕๒๓ พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ หรือลดการใชพลังงานโดยไมเกิดประโยชนไดประมาณรอยละ ๑๒.๗ หรือประมาณ ๑๐,๓๕๔ พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ ซ่ึงอาจจําแนกเปนภาคการคมนาคมขนสงรอยละ ๒๑ ภาคอุตสาหกรรมรอยละ ๙ ภาคบานพักอาศัยรอยละ ๔ และในสวนการพัฒนาพลังงานทดแทน จะมีการใชพลังงานอื่นๆ เพิ่มขึ้นรอยละ ๙.๒ ของความตองการใชพลังงานขั้นสุดทาย หรือทดแทนการใชพลังงานเชิงพาณิชยประมาณ ๗,๕๓๐ พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ

- ในดานการเพิ่มพูนและรักษาไวซ่ึงแหลงดูดซับและเก็บกักกาซเรือนกระจก จะตองเรงฟนฟูพรอมทั้งอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ กําหนดเขตการใชที่ดิน รวมทั้งโครงสรางพื้นฐาน และบริการสาธารณะ เพื่อใหสามารถควบคุมผลกระทบมิใหเกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่และความสามารถในการบริหารจัดการ ควบคูไปกับการนําเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรมาใชในการควบคุมดูแลการใชและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การสรางเสริมวินัยและประสิทธิภาพการใชทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตใหเปนไปอยางประหยัด ไดประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจสูงสุดและมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมนอยที่สุด นอกจากนี้ เพื่ออนุวัติการใหเปนไปตามพิธีสารเกียวโตและเปนไปตามกรอบนโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมภายใตแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติดังกลาว คณะรัฐมนตรียังไดมีมติเห็นชอบตอการดําเนินงานของพิธีสารเกียวโตกรณีการใชคารบอนเครดิต

Page 8: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๘ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) (Carbon Credit) ในประเทศไทยอีกดวย โดยระบุใหโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ตองเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเปนรายกรณี และจากอดีตที่ผานมา คณะรัฐมนตรีไดสนับสนุนใหมีโครงการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) และโครงการผลิตไฟฟาจากชีวภาพ (Biogass) จํานวน ๗ โครงการตามที่คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติเสนอดังกลาวขางตน เปนโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด และจะไดพิจารณาใหดําเนินการเพิ่มเติมในอนาคตตอไป

กฎหมาย : การปองกันมิใหอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง

จากกฎกติกาของการดําเนินโครงการตามกลไกการพัฒนาที่สะอาดซึ่งที่นํามาใชเปนเครื่องมือประการหนึ่งเพื่อใหประเทศกําลังพัฒนาไดบรรลุถึงแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืนและการลดการปลอยกาซที่มีศักยภาพในการทําใหโลกรอน เชน คารบอนไดออกไซด (CO2) มีเทน (CH4) ที่เกิดจากกิจการหรือโครงการของมนุษยนั้น ไดกําหนดให “กฎหมาย” เปนเงื่อนไขที่สําคัญประการหนึ่งในการดําเนินการดังกลาว ดังจะเห็นไดจากกรณีที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติออกหนังสือรับรองแกผูพัฒนาโครงการของเอกชนจํานวน ๗ โครงการดังกลาวขางตน ตามที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติเสนอ คณะรัฐมนตรีไดกําหนดเงื่อนไขวาผูมีอํานาจตามพิธีสารโตเกียวสงวนสิทธิ์ในการระงับโครงการที่ไดรับหนังสือรับรองได หากปรากฏวาโครงการเหลานั้นไมปฏิบัติตาม “กฎหมายภายใน” ของประเทศไทย หรือไมปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือหลักเกณฑที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติกําหนด โดยกฎหมายที่อาจนํามาใชประกอบการพิจารณาควบคูไปกับการดําเนินของโครงการ CDM หรือแหลงกําเนิดมลพิษอื่น ๆ ในเบื้องตนนี้ อาจแยกพิจารณาไดดังนี้ ก. กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจก ในสวนของประเทศไทยนั้น อาจกลาวไดวา กฎหมายหลายฉบับซ่ึงเปรียบเสมือน “กฎหมายแมบท” ไดถูกตราขึ้นใชบังคับโดยมีวัตถุประสงคหรือมีบทบัญญัติเอ้ือประโยชนตอการนําไปบังคับใชเพื่อการรักษาส่ิงแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งทางตรงและทางออม อาทิ - ในดานการควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจก กฎหมายหลายฉบับ เชน พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญญัติการจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ เปนตน เปนมาตรการพื้นฐานที่จะนําไปสูการกําหนดมาตรการควบคุมเกี่ยวการปลอยกาซเรือนกระจกออกสูช้ันบรรยากาศโดยหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ เชน คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ คณะกรรมการควบคุมอาคาร กระทรวงอุตสาหกรรม เปนตน โดยหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของดังกลาวอาจอาศัยอํานาจตามที่กฎหมายบัญญัติไวกําหนดมาตรการตาง ๆ ขึ้นใชบังคับเพื่อควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจก เชน

Page 9: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๙ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) การกําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป การกําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดสําหรับการปลอยทิ้งอากาศเสีย น้ําเสีย หรือการปลอยทิ้งของเสียหรือมลพิษอื่นใดจากแหลงกําเนิดออกสูส่ิงแวดลอม เปนตน หรือ - การใชมาตรการทางเศรษฐศาสตรเพื่อควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจก ซ่ึงหนวยงานที่เกี่ยวของอาจกําหนดใหมีมาตรการทางเศรษฐศาสตรเพื่อควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจกจากแหลงกําเนิด ทั้งนี้ ภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย ดังเชน ในกรณีของบางประเทศ เชน ประเทศอังกฤษ ซ่ึงไดออกขอบังคับภายใตกฎหมายสิ่งแวดลอม อาทิ The Environment Act และ The Pollution Prevention and Control Act เพื่อกําหนดเงื่อนไขควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจก รวมทั้งจัดเก็บคาปลอยกาซเรือนกระจกแกโครงการหรือกิจการบางประเภท เชน กิจการดานพลังงาน อุตสาหกรรมแร เปนตน ซ่ึงในการออกใบอนุญาตส่ิงแวดลอม (environmental license) โดยกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการเก็บคาปลอยมลพิษทางอากาศที่กอใหเกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกตามสัดสวนของการปลอยกาซเรือนกระจกตอป เปนตน ข. กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการใชลังงาน ในดานการประหยัดพลังงาน แมจะไมมีผูใดปฏิเสธไดวา “ความจําเปนในการบริโภคพลังงาน” ไดกลายเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญของการอํานวยความสะดวกในวิถีชีวิตประจําวันของมนุษยก็ตาม แตเราก็ไมอาจปฏิเสธไดเชนกันวา “การบริโภคพลังงาน” โดยเฉพาะในการดํา เนินกิจการในบางสาขา อาทิ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการขนสงและคมนาคม ภาคการผลิตไฟฟา เปนตนเหตุอันสําคัญยิ่งของการปลอยกาซเรือนกระจกสูช้ันบรรยากาศที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน การประหยัดพลังงานเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกสูช้ันบรรยากาศลดนอยลง จึงถือเปนหนาที่ของทุกคนจะตองรวมมือกันดําเนินการทั้งภาครัฐ เอกชน หรือประชาชน โดยในสวนของภาครัฐ ก็อาจจะตองเรงรัดขับเคลื่อนนโยบายการอนุรักษ พัฒนา และสงเสริมการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ สมดุลกับสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ ควบคูไปกับการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ อาทิ พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ เปนตน เพื่อสงเสริมการใชพลังงานแบบผสมผสาน และสนับสนุนใหมีการพัฒนาการใชประโยชนจากกาซธรรมชาติซ่ึงเปนทรัพยากรภายในประเทศ ใหเปนแหลงพลังงานหลักของประเทศอยางจริงจัง รวมทั้ง สงเสริมการสํารวจ พัฒนา จัดหาและใชพลังงานทดแทนอยางมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแนวใหมเพื่อการประหยัดพลังงาน กําหนดมาตรฐานการประหยัดพลังงานในเครื่องจักรอุปกรณและวัสดุของโรงงานอุตสาหกรรม ยานพาหนะ ตลอดจนมุงเนนการจัดการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิต และสรางเสถียรภาพดานราคาของพลังงาน ดวย

Page 10: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๑๐ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) มาตรการการเงินการคลัง และแนวทางการบริหารจัดการที่เหมาะสม ทดแทนการใชพลังงานฟอสซิลและการเผาไหมเชื้อเพลิงที่เปนตนเหตุของการเกิดกาซเรือนกระจก

ค. กฎหมายเกี่ยวกับการรักษาและเพิ่มพูนแหลงดูดซับ (sinks) และแหลงเก็บกัก (reservoirs) กาซเรือนกระจก ในกรณีเชนวานี้ หนวยงานของของรัฐที่เกี่ยวของอาจอาศัยอํานาจตามกฎหมายหลายฉบับเพื่อควบคุมและลดการทําลาย รวมทั้งรักษาไวซ่ึงความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติซ่ึงเปนแหลงดูดซับ (sinks) และแหลงเก็บกัก (reservoirs) กาซเรือนกระจกอยางยั่งยืน เชน

- การกําหนดเขตพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติ หรือมีระบบนิเวศนที่แตกตางจากพื้นที่อ่ืนโดยทั่วไป หรือเปนพื้นที่ตนน้ําลําธาร ใหเปนเขตพื้นที่คุมครองหรือสงวนไวเพื่อรักษาสภาพปา ทรัพยากรธรรมชาติอ่ืน หรือเมื่อรัฐเห็นสมควรกําหนดบริเวณที่ดินแหงใดที่มีสภาพธรรมชาติเปนที่นาสนใจใหคงอยูในสภาพธรรมชาติเดิม เพื่อสงวนไวใหเปนประโยชนตอการศึกษาและความรื่นรมยของประชาชน หรือเพื่อการอนุรักษโดยเฉพาะ ทั้งนี้ อาจดําเนินการโดยอาศัยอํานาจตามความในพระราชบัญญัติตาง ๆ เชน พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ .ศ .๒๕๓๕ พระราชบัญญัติป าสงวนแหงชาติ พ .ศ .๒๕๐๗ พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๔ พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ.๒๔๘๔ เปนตน - ในดานการจัดการเกี่ยวกับพื้นที่สีเขียวของเมืองนั้น หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของอาจอาศัยอํานาจตามความในกฎหมายบางฉบับ เชน พระราชบัญญัติการผังเมือง ๒๕๑๘ เพื่อวาง จัดทํา และดําเนินการเกี่ยวกับผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะในบริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวของหรือชนบท เพื่อสรางหรือพัฒนาเมืองหรือสวนของเมืองขึ้นใหมหรือแทนเมืองหรือสวนของเมืองที่ไดรับความเสียหายเพื่อใหมีหรือทําใหดียิ่งขึ้นซ่ึงสุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความเปนระเบียบ ความสวยงาม การใชประโยชนในทรัพยสิน ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อสงเสริมการเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอม เพื่อบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ เปนตน แตมาตรการทางกฎหมายดังกลาวขางตนจะนําไปบังคับใชเพื่อรองรับตอปรากฏการณหรือภาวะโลกรอนไดมากนอยเพียงใด จะตองทําการศึกษาวิเคราะหกฎหมายแตละฉบับอยางละเอียดลึกซึ้งและพิมพเผยแพรในโอกาสตอไป

ปญหาการบังคับใชกฎหมายการลดภาวะโลกรอน

จากกรณีที่ปญหาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและการปลอยกาซเรือนกระจกออกสูช้ันบรรยากาศจนเปนผลใหระบบสิ่งแวดลอมตกอยูในภาวะวิกฤต และนานาอารยประเทศไดหันมาใหความสําคัญตอการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในเชิงนิติศาสตรอยางจริงจังมากขึ้นนั้น ในสวนของประเทศไทย แมรัฐจะใหความสําคัญตอปญหาดังกลาวโดยกําหนดใหเปนนโยบายแหง

Page 11: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๑๑ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) รัฐที่สําคัญประการหนึ่งตองสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล รวมทั้งมีสวนรวมในการสงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญมาตั้งแตป พ.ศ.๒๕๑๗ ก็ตาม แตเนื่องจาก กฎหมายหลายฉบับที่มีผลใชบังคับเพื่อการรักษาสิ่งแวดลอมไมวาโดยทางตรงและทางออม ทั้งในดานการควบคุมการปลอยมลพิษหรือการรักษาไวซ่ึงความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ไดถูกบัญญัติขึ้นดวยวัตถุประสงคและขอบเขตของเนื้อหาสาระของกฎหมายในแตละชวงเวลาที่แตกตางกัน เมื่อถูกนําไปบังคับใชภายใตกรอบกําหนดเชิงนโยบายจากหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของหลายหนวยงาน (stakeholders) จะมีขอบเขตครอบคลุมทั้งหนวยงานที่เปนผูรักษาการใหเปนไปตามกฎหมาย และหนวยงานอื่นที่มีหนาที่ในการรักษาสิ่งแวดลอมดวยเชนกัน รวมทั้ง หนวยงานในกระบวนการยุติธรรม อาทิ ตํารวจ อัยการ ศาล และผูที่มีสวนไดเสียหรือถูกโตแยงสิทธิจากการบังคับใชกฎหมาย อาจสงผลใหการบังคับใชกฎหมายเหลานั้นที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความแตกตางของวัตถุประสงคของการพัฒนาเศรษฐกิจ เมือง และสังคม กับการรักษาสิ่งแวดลอม ซ่ึงอยูภายใตการบังคับใชกฎหมายตางฉบับและตางหนวยงานนั้น ตองประสบกับปญหาและอุปสรรคไมนอย ดังเชน - กรณีความจําเปนในการสรางถนนเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองพาดผานพื้นที่ที่มีลักษณะเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารหรือมีระบบนิเวศนตามธรรมชาติที่แตกตางจากพื้นที่อ่ืนโดยทั่วไป หรือมีระบบนิเวศนตามธรรมชาติที่อาจถูกทําลายหรืออาจไดรับผลกระทบกระเทือนจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยไดโดยงายหรือเปนพื้นที่ที่มีคุณคาทางธรรมชาติหรือศิลปกรรมอันควรแกการอนุรักษ และไดถูกกําหนดใหเปน “พื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม” ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ ตามขอเรียกรองของประชาชนในพื้นที่ หรือ - กรณีการสํารวจธรณีวิทยาเพื่อทําแผนที่ทางธรณีวิทยาของประเทศเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติในเขตบริเวณที่ดินที่มีสภาพธรรมชาติเปนที่นาสนใจและควรรักษาใหคงอยูในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไวใหเปนประโยชนแกการศึกษาและความรื่นรมยของประชาชนโดยถูกกําหนดใหเปน “เขตอุทยานแหงชาติ” แมการสํารวจธรณีวิทยาจะมิไดเปนการทําลายธรรมชาติหรือสภาพแวดลอมหรือขัดกับพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ แตอยางใดก็ตาม นอกจากนี้ กฎหมายหลายฉบับซ่ึงไดประกาศใชบังคับมาเปนเวลานานหรือมีความลาสมัยนั้น เนื้อหาสาระของกฎหมายอาจกอใหเกิดปญหาและอุปสรรคการนํามาประยุกตใชเพื่อรองรับตอกรณีภาวะโลกรอนไมนอย กรณีเชนวานี้ หากมีหนวยงานกลาง อาทิ สํานักงานอัยการสูงสุด ในฐานะ “คณะกรรมการวาดวยการประสานงานเพื่อบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับ

Page 12: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๑๒ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) ส่ิงแวดลอม” ภายใต “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการประสานงานเพื่อบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๐” ที่มีหนาที่ประสานงานกับหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของเพื่อเรงรัดการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม เสนอแนะใหหนวยงานของรัฐออกกฎกระทรวง ขอบังคับ ขอบัญญัติทองถ่ิน ระเบียบ หรือประกาศ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม พิจารณาและกําหนดมาตรการเพื่อใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบังคับ ขอบัญญัติทองถ่ิน ระเบียบหรือประกาศที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และติดตามใหมีการปฏิบัติตามมาตรการดังกลาว ยังอาจทําหนาที่เปนองคกรกลางเพื่อสรางกระบวนการในการประสานงานและการทํางานรวมกันระหวางหนวยราชการที่เกี่ยวของกับการบังคับใชกฎหมาย รวมทั้งการกําหนดมาตรการการจัดสรรการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การบริหาร และหนาที่ของหนวยงานตางๆทุกภาคสวน ไมวาหนวยงานของรัฐทั้งในสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ิน หรือเอกชนและประชาชน แบบองครวม (holistic approach) ในเชิงบูรณาการ (Integration) ใหชัดเจน ตลอดจน พัฒนากลไกและกระบวนการจัดการที่เนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ซ่ึงจะเปนหนทางนําไปสูกระบวนการบังคับใชกฎหมายเพื่อรองรับตอภาวการณโลกรอนไดอยางเปนระบบเครือขายและเปนเอกภาพเปนไปตามเจตนารมณของกฎหมายและเอื้อประโยชนตอการอยูรวมกันระหวาง “มนุษยชาติ” และ “ส่ิงแวดลอม” ไดอยางกลมกลืนและยั่งยืนแทจริง อางอิง

กระทรวงการตางประเทศ, The Centre for Our Common Future และสมาคมเพื่อชีวิตและส่ิงแวดลอม, แผนปฏิบัติการ ๒๑ เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (แปลและเรียบเรียงจาก The Earth Summit’s Agenda for Change), ๒๕๓๗

สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน สํานักงานอัยการสูงสุด และมูลนิธิเอเชีย โดยการสนับสนุนจากธนาคารโลก (The World Bank) และกองทุนพัฒนาประเทศญี่ปุน (JSDF), คูมือการใหความชวยเหลือทางกฎหมายสําหรับผูประสบภัยคล่ืนยักษสึนามิ, (พิมพคร้ังที่ ๒), ๒๕๔๙

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๓๗, วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๕, วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๕ และวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๐

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, การดําเนินงานตามอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกลไกการพัฒนาที่สะอาดภายใตพิธีสารเกียวโตในประเทศไทย

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, สาระนารู : การดําเนินโครงการตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด & Carbon Credit, ตุลาคม ๒๕๔๙

Page 13: การลดภาวะโลกร้อน (Global Warming)eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/999/04/400080501.pdf · การประหยัดพลัับงงานก

๑๓ การประหยัดพลังงานกับ

การลดภาวะโลกรอน (Global Warming) สํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) กระทรวงพลังงาน, แผนอนุรักษพลังงานและแนวทาง หลักเกณฑ เงื่อนไขและลําดับความสําคัญของการใชจายเงินกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงานระยะที่ 3 (ในชวงป 2548-2554) วันชัย ตันตวิทิยาพิทักษ, โลกรอน ความจริงที่ทุกคนตอง – น้ําทวม โรคระบาด และการหายไปของชาวนา บทเรยีนเมื่อโลกรอนมาเยือนไทย,นิตยสารสารคดีพิเศษ ฉบับที่ ๒๖๕ ปที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๐

United Nations Framework Convention on Climate Change Kyoto Protocol to the United Nations Framework Convention on Climate Change The Greenhouse Gas Emissions Trading Scheme Regulations 2005

Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC), A report of Working Group I of the Intergovernmental Panel on Climate Change, Summary for Policymakers United Nations Environment Programme (UNEP), Climate Change 2007: Impacts, Adaptation and Vulnerability (Working Group II Contribution to the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) Fourth Assessment Report (Summary for Policymakers), April 2007

United Nations Environment Programme (UNEP), Climate Change 2007 : Mitigation of Climate Change (Working Group III contribution to the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) Fourth Assessment Report (Summary for Policymakers) Bangkok, Thailand, May 2007 United Nations Environment Programme (UNEP), After the Tsunami : Rapid Environmental Assessment

Amanda Ripley, “How Did This Happen ?”, Time : An American Tragedy, Sunday, Sep. 04, 2005