19
ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงครั้งที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑ บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ ผังภาค และผังจังหวัด ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๒.๑ นโยบาย วิสัยทัศน และยุทธศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาพื้นทียุทธศาสตรการพัฒนาเมืองในระดับตาง ๆ ไดแก ผังประเทศ ผังภาคกลาง ยุทธศาสตร กลุมจังหวัด ยุทธศาสตรจังหวัดแผนพัฒนาระดับทองถิ่น ซึ่งนโยบายการพัฒนาในระดับตางๆ เหลานี้ลวน กําหนดบทบาทของจังหวัดสมุทรสงครามใหมีความสอดคลองกัน รายละเอียดดังตอไปนี๒.๑.๑ ผังประเทศ ผังประเทศเปนผังนโยบาย (Policy Plan) ระยะยาวที่กําหนดกรอบการพัฒนาและการบริหาร จัดการพื้นที่ของประเทศ เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการสรางความเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชนบท โดย ไดกําหนดลําดับความสําคัญของชุมชนใหสอดคลองกับบทบาทหนาที่ เพื่อรองรับจํานวนประชากรและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ใหเชื่อมโยงกับโครงสรางพื้นฐาน โดยการจัดทําผังประเทศของกรมโยธาธิการและผัง เมือง ไดมีการกําหนดบทบาทและวิสัยทัศนของประเทศไวในชวงระยะเวลา ๕ ป ๑๕ ป ๓๐ ป และ ๕๐ ป ขางหนา โดยจะเนนวิสัยทัศนในระยะสั้นและระยะปานกลาง คือ ๕ ป และ ๑๕ ปขางหนา อันเปนกาวแรก ที่สําคัญของการวางผัง ดังนีผังประเทศยังไดมีการกําหนดผังนโยบายการพัฒนาพื้นที่ประเทศไทย พ.ศ.๒๖๐๐ โดยพิจารณา จากตําแหนงเชิงยุทธศาสตรของประเทศ และภาพรวมของแนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ใน รูปแบบของผังระบบชุมชนเมือง การใชประโยชนที่ดิน และการกระจายตัวของกิจกรรมตางๆ ลงบนพื้นที่ของ ประเทศ โดยใหความสําคัญในการกระจายความเจริญที่เนนการเพิ่มสมดุลของระบบเมือง และการพัฒนา เปนกลุมเมืองที่มีกิจกรรมและความเจริญทางเศรษฐกิจใกลเคียงกัน รวมทั้งสงเสริมใหศูนยกลางชุมชนลําดับ รองมีความเขมแข็งมากขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองและไดรับประโยชนจากความเชื่อมโยงระหวางภูมิภาค เนื้อหาของผังนโยบายรวมของประเทศทั้งหมดประกอบดวยประเด็นหลัก ไดแก การกระจายตัวของ ประชากรและแรงงาน การพัฒนาเศรษฐกิจ การจัดระบบของชุมชนเมืองตามบทบาทหนาที่ที่เหมาะสม การใชประโยชนที่ดินใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การคมนาคมและขนสง โครงสรางพื้นฐาน และพลังงาน

บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑

บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ ผังภาค และผังจังหวัด

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒.๑ นโยบาย วิสัยทัศน และยุทธศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาพื้นที่

ยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองในระดับตาง ๆ ไดแก ผังประเทศ ผังภาคกลาง ยุทธศาสตร กลุมจังหวัด ยุทธศาสตรจังหวัดแผนพัฒนาระดับทองถ่ิน ซึ่งนโยบายการพัฒนาในระดับตางๆ เหลาน้ีลวนกําหนดบทบาทของจังหวัดสมุทรสงครามใหมีความสอดคลองกัน รายละเอียดดังตอไปน้ี

๒.๑.๑ ผังประเทศ

ผังประเทศเปนผังนโยบาย (Policy Plan) ระยะยาวที่กําหนดกรอบการพัฒนาและการบริหารจัดการพื้นที่ของประเทศ เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการสรางความเช่ือมโยงการพัฒนาเมืองและชนบท โดยไดกําหนดลําดับความสําคัญของชุมชนใหสอดคลองกับบทบาทหนาที่ เพื่อรองรับจํานวนประชากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ใหเช่ือมโยงกับโครงสรางพื้นฐาน โดยการจัดทําผังประเทศของกรมโยธาธิการและผงัเมือง ไดมีการกําหนดบทบาทและวิสัยทัศนของประเทศไวในชวงระยะเวลา ๕ ป ๑๕ ป ๓๐ ป และ ๕๐ ปขางหนา โดยจะเนนวิสัยทัศนในระยะสั้นและระยะปานกลาง คือ ๕ ป และ ๑๕ ปขางหนา อันเปนกาวแรกที่สําคัญของการวางผัง ดังน้ี

ผังประเทศยังไดมีการกําหนดผังนโยบายการพัฒนาพื้นที่ประเทศไทย พ.ศ.๒๖๐๐ โดยพิจารณาจากตําแหนงเชิงยุทธศาสตรของประเทศ และภาพรวมของแนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ในรูปแบบของผังระบบชุมชนเมือง การใชประโยชนที่ดิน และการกระจายตัวของกิจกรรมตางๆ ลงบนพื้นที่ของประเทศ โดยใหความสําคัญในการกระจายความเจริญที่เนนการเพิ่มสมดุลของระบบเมือง และการพัฒนาเปนกลุมเมืองที่มีกิจกรรมและความเจริญทางเศรษฐกิจใกลเคียงกัน รวมทั้งสงเสริมใหศูนยกลางชุมชนลําดับรองมีความเขมแข็งมากข้ึน สามารถพึ่งพาตนเองและไดรับประโยชนจากความเช่ือมโยงระหวางภูมิภาค เน้ือหาของผังนโยบายรวมของประเทศทั้งหมดประกอบดวยประเด็นหลัก ไดแก การกระจายตัวของประชากรและแรงงาน การพัฒนาเศรษฐกิจ การจัดระบบของชุมชนเมืองตามบทบาทหนาที่ที่เหมาะสม การใชประโยชนที่ดินใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การคมนาคมและขนสง โครงสรางพื้นฐาน และพลังงาน

Page 2: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๒

๒.๑.๒ ผังภาคกลาง ป พ.ศ. ๒๖๐๐

การวางแนวทางพัฒนาในระดับตางๆ ของกรมโยธาธิการและผังเมือง ซึ่งแบงออกเปน การวางผังพัฒนาในระดับประเทศ ระดับภาค ระดับอนุภาค พื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามถูกจัดอยูในพื้นที่ ภาคกลาง ซึ่งไดมีการกําหนดวิสัยทัศนในการพัฒนาพื้นที่โดยแบงออกเปน ๔ ระยะ คือ - วิสัยทัศนในระยะ ๕ ป เปนแหลงผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ เปนสวนหน่ึงของ แหลงทองเที่ยวดานประวัติศาสตรและธรรมชาติของประเทศ เปนพื้นที่อนุรักษสิ่งแวดลอม และเปนประตูการคาชายแดนไทย-พมา - วิสัยทัศนในระยะ ๑๕ ป ภาคกลางเปนแหลงผลิตและสงออกผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษเปนพื้นที่อนุรักษเขมขน มีการจัดการใชประโยชนที่ดินและอาคารอยางมีประสิทธิภาพ มีความนาอยูตามวิถีชีวิต วัฒนธรรม และเศรษฐกิจชุมชน ศูนยกลางของภาคไดรับการพัฒนาเปนเมืองศูนยกลางรวมทั้งที่อยูในแนวแกนและพื้นที่ชายแดนชุมชนเมืองและชนบท มีความเช่ือมโยงเปนเครือขายมากข้ึน เปนชุมชนแหงการเรียนรู มีความเขาใจในสิทธิชุมชนและฐานทรัพยากรเพื่อดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน เปนศูนยพัฒนาทรัพยากรมนุษย ศูนยศึกษานานาชาติ ศูนยวิจัยและพัฒนาดานการเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร และเปนแหลงอุตสาหกรรมเหล็ก วัสดุกอสรางและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส - วิสัยทัศนในระยะ ๓๐ ป ภาคกลางเปนศูนยกลางเกษตรอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีสูง ศูนยอุตสาหกรรมสะอาดที่ใชเทคโนโลยีสูง ศูนยกลางการขนสงทางบก ศูนยวิจัยและพัฒนา (R&D) ทรัพยากรมนุษยทางการเกษตร อุตสาหกรรม และพลังงานทดแทนที่ใชเทคโนโลยีสูงและสอดคลองกับบทบาทและทรัพยากรธรรมชาติของภาคกลาง มีความสมดุลระหวางเมืองและชนบท เปนพื้นที่ที่มีขนาดเล็กจะเติบโตอยางมั่นคงจนเปนศูนยกลางความเจริญระดับรอง ดวยการวางแผนของทองถ่ิน เปนภาคที่สามารถผลิตพลังงานทดแทนใชไดเอง มีการสะสมทุนทางปญญาของทองถ่ินมากข้ึน มีขบวนการฟนฟูชุมชนทองถ่ินใหมีความเขมแข็ง และรูจักการจัดการใชประโยชนที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ - วิสัยทัศนในระยะ ๕๐ ป ภาคกลางเปนภาคที่ใชพลังงานทดแทนเพื่อการขนสงและการใชชีวิตประจําวันเปนนิเวศนคร (Eco-Energy City) เปน Holistic Approach ที่คนรุนใหมอยูกับความทันสมัยแตไมทําลายอดีต ทรัพยากรธรรมชาติ และศิลปกรรม และประชาชนมีสวนรวมในการวางแผนกําหนดแนวคิดและมีองคความรูในการบูรณาการอยางหลากหลายในระดับชุมชนและในระดับพื้นที่ มีฐานเศรษฐกิจครบวงจรและใชเทคโนโลยีสูงในการควบคุมมลพิษ ดานการเกษตรปลอดสารพิษ อุตสาหกรรมเหล็ก วัสดุกอสราง อิเล็กทรอนิกส และการทองเที่ยวดานประวัติศาสตรที่เปนมรดกโลก การทองเที่ยวทางธรรมชาติและชายฝงทะเลแหงหน่ึงของประเทศ ในสวนของแนวคิดการพัฒนาจะแบงพื้นที่ออกเปน ๓ สวนคือ พื้นที่สงวนและอนุรักษ พื้นที่พัฒนา และพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ - พื้นที่อนุรักษ เนนการอนุรักษพื้นที่ชุมนํ้าระดับนานาชาติ ดอนหอยหลอด และพื้นที่ชายฝงทะเล โดยการวางแผนการพัฒนาและควบคุมการใชประโยชนที่ดินเพื่อปองกันมิใหเกิดผลกระทบตอพื้นที่ชายฝงทะเล ทั้งจากการกัดเซาะชายฝงที่เกิดจากสิ่งปลูกสรางที่รุกล้ําลงไปในทะเล และการปนเปอนของนํ้าเสียจากชุมชนและอุตสาหกรรมที่บุกรุกพื้นที่ชายฝงทะเล - พื้นที่พัฒนา แบงออกเปน (๑) พื้นที่พัฒนาเมือง เนนการพัฒนาที่ไมรุกล้ําพื้นที่เกษตรกรรมช้ันดี และจํากัดขนาดของเมือง (๒) พื้นที่พัฒนาเกษตรกรรม โดยเนนการพัฒนาไมผลและไมยืนตน (๓) พื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรม เนนการพัฒนาเขตหรือนิคมอุตสาหกรรมการประมงครบวงจร - พื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ ไดแก พื้นที่เสี่ยงภัยดานแผนดินไหว ดินถลม และอุทกภัย

Page 3: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๓

สําหรับพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวาซึ่งอยูในในผังภาคกลางถูกกําหนดบทบาทใหเปนชุมชนศูนยกลางลําดับทีส่ี่ มีบทบาทความสําคัญเปนชุมชนศูนยกลางระดับอําเภอที่มีรัศมีการใหบริการแกชุมชนระดับรองลงไป พื้นที่ภายในอําเภอและอําเภอใกลเคียงภายในจังหวัด โดยเนนการทําหนาที่บริหารราชการและการปกครอง การคาและบริการ ศูนยบริการทางการเกษตรเปนหลัก

๒.๑.๓ ยุทธศาสตรกลุมจังหวัด

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวาจัดอยูในพื้นที่กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง (จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยไดกําหนดวิสัยทัศนของกลุมจังหวัดใหเปน “กลุมจังหวัดท่ีเปนศูนยกลางการผลิตและแปรรูปสินคาประมงและเกษตรแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ และเปนเสนทางคมนาคมท่ีสําคัญสูภาคใตทามกลางสภาพแวดลอมท่ียั่งยืน” โดยจังหวัดสมุทรสงครามถูกกําหนดบทบาทในระดับกลุมจังหวัดใหเปนแหลงผลิตสินคาประมง การเกษตร และแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มีสภาพแวดลอมที่ดี โดยมียุทธศาสตรการพัฒนาในระดับกลุมจังหวัด ดังน้ี ยุทธศาสตรท่ี ๑ : การพัฒนากลุมจังหวัดใหเปนศูนยกลางการผลิตและแปรรูปสินคาประมงและเกษตร ซึ่งยุทธศาสตรดังกลาวจะสงเสริมบทบาทของจังหวัดสมุทรสงครามใหเปนแหลงผลิตภัณฑแปรรูปประมง และสรางมูลคาเพิ่มแกผลิตภัณฑเกษตร ยุทธศาสตรท่ี ๒ : การพัฒนาแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร วัฒนธรรมและสุขภาพซึ่งจะทําใหจังหวัดสมุทรสงครามมีบทบาทเปนพื้นที่การทองเที่ยวทางเลือกใหม โดยเนนการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม ยุทธศาสตรท่ี ๓ : การพัฒนาสภาพแวดลอมชายฝงและสิ่งแวดลอมเมือง เพื่อมุงเนนใหจังหวัดสมุทรสงครามและเมืองสมุทรสงครามมีแนวทางการจัดการปญหาสภาพแวดลอมชายฝงและสิ่งแวดลอมเมือง

๒.๑.๔ ยุทธศาสตรจังหวัดสมุทรสงคราม

จากยุทธศาสตรกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง จึงไดมีการกําหนดบทบาทของจังหวัดสมุทรสงครามใหสอดรับกับยุทธศาสตรในระดับกลุมจังหวัด เพื่อขับเนนบทบาทของพื้นที่ใหมีความเดนชัดย่ิงข้ึน โดยจังหวัดสมุทรสงคราม ไดกําหนดวิสัยทัศนการพัฒนาวา “เปนเมืองแหงอาหารทะเลและศูนยกลางกุงแมนํ้า ผลไมปลอดภัยจากสารพิษ ศูนยกลางการพักผอนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษทางแมนํ้าลําคลองระดับชาติ ดินแดนแหงประชาชนรักถ่ินกําเนิด อนุรักษสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมอันดีงาม” โดยมียุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดที่สําคัญ คือ ยุทธศาสตรท่ี ๑ : การพัฒนาและสงเสริมจังหวัดใหเปนเมืองอาหารทะเลและศูนยกลางกุงแมนํ้า ผลไมปลอดสารพิษ เพื่อพัฒนาและยกระดับสินคาการแปรรูปผลผลิตการประมงและเกษตร โดยมีมาตรการในการควบคุมและยกระดับภาคประมงใหไดมาตรฐาน และปลอดภัยจากสารพิษ รวมทั้งการเสริมสรางเครือขายการเรียนรูดานเทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตรท่ี ๒ : การพัฒนาใหจังหวัดเปนศูนยกลางการพักผอนและการทองเท่ียวเชิงอนุรักษแมนํ้าลําคลองในระดับชาติ ปลูกจิตสํานึกใหชาวจังหวัดสมุทรสงครามรักถ่ินกําเนิด อนุรักษสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมดีงาม โดยเนนการพัฒนาและสงเสริมแหลงทองเที่ยว สิ่งอํานวยความสะดวกใหไดมาตรฐาน มุงเนนและสงเสริมการตลาดและประชาสัมพันธการทองเที่ยว การเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนและทอง ถ่ินในการดูแลและจัดการทรัพยากรการทองเที่ยว การพัฒนาสินคา OTOP

Page 4: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๔

การเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีแกประชาชนในเชิงรุก สงเสริมความเปนเมืองนาอยู และความมั่นคงปลอดภัยของประชาชน ยุทธศาสตรท่ี ๓ : ดํารงรักษาความเปนเมืองท่ีมีระบบนิเวศสามนํ้า การสงเสริมความเปนเมืองนาอยูและรักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในจังหวัดสมุทรสงคราม

๒.๑.๕ แผนพัฒนาระดับทองถ่ิน

ปจจุบันผังเมืองรวมเมืองอัมพวา ครอบคลุมพื้นที่อําเภออัมพวา รวมเปน ๓ เทศบาลตําบล และ ๑๐ องคการบริหารสวนตําบล โดยแผนพัฒนาที่สําคัญของแตละทองถ่ินมีดังน้ี

๑) แผนพัฒนาเทศบาลตําบลอัมพวา วิสัยทัศนการพัฒนาเทศบาลตําบลอัมพวา กําหนดใหเปนศูนยกลางของการทองเที่ยวทางลํา

คลองของจังหวัดสมุทรสงคราม สงเสริมและรักษาวิถีชีวิตชุมชน ทําการเกษตรแบบชีวอินทรีย เปนเมืองสําหรับการทองเที่ยวพักผอนเชิงอนุรักษ คนมีการศึกษาและวินัย ทุกดวงใจ ใฝคุณธรรม กาวนําดานเศรษฐกิจ ทุกชีวิตอยูดีกินดี โดยมียุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาในชวง ๓ ป ๕ ดานดังน้ี

- ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน - ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ - ยุทธศาสตรการพัฒนาดานดานสังคม - ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการเมืองการบริหาร

แผนพัฒนาเทศบาลตําบลอัมพวา มีการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน โดยพัฒนาระบบสาธารณูปการ ไฟฟา ปะปา และพัฒนาการใชประโยชนที่ดิน เชน การปรับปรุงถนนและทําทางเดินเทา ริมคลอง การกอสรางและปรับปรุงเข่ือนกันตลิ่งริมแมนํ้าแมกลอง และการปรับปรุงภูมิทัศนเพื่อสงเสริม การทองเที่ยวของชุมชน รวมทั้งแผนพัฒนาทางดานเศรษฐกิจในเรื่องสงเสริมอาชีพ เพิ่มรายไดและ การสงเสริมการทองเที่ยว ใหมีการจัดการสงเสริมและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่

๒) แผนพัฒนาเทศบาลตําบลเหมืองใหม ในแผนพัฒนาตําบลเหมืองใหม เนนใหเปนเมืองที่มีสภาพแวดลอมที่ดี ปราศจากมลพิษ บานเมืองสะอาดเรียบรอย การทั่วถึงของบริการข้ันพื้นฐาน และการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงเกษตรในเขตเทศบาลตําบลใหมีศักยภาพและสถานที่ทองเที่ยวหลายแหง โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวทางนํ้า โดยเฉพาะคลองแควออมที่มีบรรยากาศและธรรมชาติที่สวยงาม เพื่อใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศนที่เปนที่นิยม ซึ่งจะทําใหเกิดการกระจายตัวของรายไดนํามาสูการเพิม่พูนเศรษฐกิจของชุมชนทําใหพึ่งพาตนเองได และในแผนพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานเนนการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสรางพื้นฐาน รวมถึงการจัดทําผังเมืองรวม เชน การกอสรางสะพานทางเดินเทา การกอสรางและปรังปรุงผิวถนน รวมถึงการกอสรางโปะทาเทียบเรือ

๓) แผนพัฒนาเทศบาลตําบลสวนหลวง แผนพัฒนาสนับสนุนตําบลนาอยู โดยพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานใหทั่วถึงและเพียงพอ โดยไดมาตรฐานและสอดคลองกับผังเมืองรวม และการพัฒนาสาธารณสุขระบบนิเวศและสภาพภูมิทัศนของชุมชนใหมีความรมรื่นในพื้นที่ริมเข่ือนภายในตําบลพรอมทั้งปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณตางฯ เชน หนาวัดแวนจันทร วัดบางนางลี่ หนาวัดวรภูมิ พรอมทั้งขุดคลองลํากระโดงสาธารณะทุกแหง และในแผนพัฒนาดาน

Page 5: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๕

เศรษฐกิจไดสนับสนุนการกอต้ังศูนยการทองเที่ยวเชิงอนุรักษทางการเกษตร โดยสงเสริมพัฒนาดานการเกษตรย่ังยืน ถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรและเพื่อพัฒนาทรัพยากรในทองถ่ินใหเกิดการสรางรายได สรางอาชีพ ใหกลายเปนธุรกิจในชุมชน เพิ่มมูลคาของผลผลิตในชุมชนใหมั่นคงตลอดไป

๔) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลเหมืองใหม การพัฒนาตําบลเหมืองใหมในแผนพัฒนายุทธศาสตร เนนการพัฒนาระบบไฟฟา ประปา กอสรางและปรับปรุงถนน สะพานและทางเดินเทาทั้งทางบกและริมนํ้าใหกระจายไปทั่วทั้งตําบลเพือ่พฒันาระบบการจราจร และสงเสริมแผนพัฒนาดานเศรษฐกิจใหควบคูไปกับการพัฒนากลุมอาชีพ การเกษตรและคุณภาพของผลผลิต โดยเนนหลักเศรษฐกิจพอเพียง พรอมทั้งสงเสริมแผนพัฒนาใหเกิดการสงเสริม ดานทรัพยากรธรรามชาติและสงแวดลอม และการทองเที่ยวการเกษตรเชิงอนุรักษ โดยการบํารุงรักษาแหลงนํ้าและขุดลอกลํากระโดง จัดหาเรือเก็บและกําจัดวัชพืชและขยะ พรอมทั้งปรับปรุงภูมิทัศนริมนํ้า

๕) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลทาคา แผนพัฒนาสงเสริมโครงสรางพื้นฐานที่ทั่วถึงภายในตําบล โดยการกอสรางและปรับปรุงถนน สะพาน ทางเดินเทา และลําคลอง และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สําคัญ ซึ่งจะสอดคลองกับ การสนับสนุนการทองเที่ยวตลาดนํ้าทาคาที่มีการพัฒนาเสนทางลัดเขาสูตลาดนํ้าโดยทางเดินเทา และปรับปรุงภูมิทัศนรอบตลาด รวมทั้งการขุดลอกตลองลํากระโดงสาธารณะทุกแหง แผนพัฒนาดานเศรษฐกิจเนนการเพิ่มรายไดจากการเพิ่มประสิทธิภาพดานเกษตรและการทองเที่ยวตลาดนํ้า พรอมทั้งพัฒนาระบบการกําจัดขยะมูลฝอยและสรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในตําบล

๖) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลวัดประดู แผนพัฒนาสนับสนุนเรื่องแหลงนํ้าในการขยายเขตประปาหมูบานใหไดมาตรฐาน สนับสนุนการขุดลอกคูคลอง รวมถึงการแกไขปญหานํ้าเพื่อการเกษตรและเพื่ออุปโภค บริโภค ดานโครงสรางพื้นฐานเนนการกอสราง ปรับปรุงถนน ขยายเขตทาง ทางเทา และสะพานใหไดมาตรฐาน พรอมทั้งสนับสนุนการวางผังเมืองอยางมีระบบ ทั้งผัง เมืองรวม ผังเมืองรวมจังหวัดและผังเมืองตําบล ภาคเศรษฐกิจสงเสริมอาชีพในภาคการเกษตรใหมีการรวมตัวกัน สนับสนุนการจัดตลาดนัดชุมชน ออกรานคาจําหนายสินคาเกษตรและผลิตภัณฑของทองถ่ิน พรอมทั้งสงเสริมพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

๗) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลบางชาง แผนพัฒนาของตําบลบางชางไดสนับสนุนการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานในทุกหมูบาน พรอม

ทั้งปรับปรุงภูมิทัศนในชุมชน ทั้งริมถนนและริมคลอง พรอมทั้งจัดทําผังตําบล และต้ังโครงการเกี่ยวกับอนุรักษคลอง สงเสริมวิถีชีวิตริมคลองและสิ่งแวดลอมในชุมชน พรอมทั้งสงเสริมการทองเที่ยวตามลําคลอง โดยเฉพาะการสนับสนุนตลาดนํ้าวัดปากงาม ดานสิ่งแวดลอมจะสนับสนุนการกําจัดขยะ ขุดลอกคูคลอง การกําจัดสิ่งปฏิกูลทั้งในสวนและในคลอง

๘) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลบางแค แผนพัฒนาตําบลบางแคสงเสริมการพัฒนาดานคุณภาพชีวิต สรางความเปนระเบียบและมีความปลอดภัย โดยดานโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภคใหเพียงพอตอความตองการ โดยพัฒนาการคมนาคมการจราจรทั้งทางบกและทางนํ้า พรอมทั้งจัดทําผังเมืองรวม ดานการพัฒนาสงเสริมการทองเทีย่วจะสงเสริมแหลงทองเที่ยวทางนํ้า และการทองเที่ยวการเกษตรเชิงอนุรักษ พรอมสรางความเขมแข็งของ

Page 6: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๖

ชุมชนในการดูแลทรัพยากรดานการทองเที่ยว ซึ่งตองใหมีประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและนํ้าเสีย

๙) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลปลายโพงพาง แผนพัฒนาของตําบลปลายโพงพาง มีการสนับสนุนดานโครงสรางพื้นฐาน ระบบประปา ไฟฟา และระบบโทรคมนาคม โดยการพัฒนาระบบการจราจร กอสรางถนน ปรับปรุงทอระบายนํ้า และสะพานทางเดินขาม พรอมทั้งขุดลอกคูคลองสาธารณะ และสงเสริมดานเศรษฐกิจใหประชาชนมีอาชีพ พัฒนางานดานเกษตร ยกระบบมาตรฐานสินคาพรอมทั้งต้ังศูนยแสดงสินคาและภูมิปญญาทองถ่ิน รวมทั้งสนับสนุนดานการทองเที่ยวในตําบล ปรับปรุงทัศนียภาพโดยรอบพื้นที่โฮมสเตยเพื่อสงเสริมและดึงดูดนักทองเที่ยว และจัดศูนยบริการนักทองเที่ยว รวมทั้งสรางจิตสํานึกในรักษาในกิจกรรม ประเพณีและภูมิปญญาทองถ่ิน และยังปรับปรุงสภาพดินรวมถึงการปองกันนํ้าเค็ม

๑๐) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลแควออม รูปแบบการพัฒนาพื้นที่ในตําบลการกอสรางและปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน ไดแก ถนน

สะพานใหไดมาตรฐานและเพียงพอเพื่อความสะดวกในการอยูอาศัยและสนับสนุนการทองเที่ยว และการสงเสริมการพาณิชย การเกษตรใหมีการขนสงอยางมีประสิทธิภาพ และขยายเขตไฟฟาและไฟสาธารณะใหทั่วถึงในตําบล สนับสนุนการรวมกลุมอาชีพเพื่อพัฒนาสินคาเกษตรและจัดต้ังศูนยจําหนายผลิตภัณฑภูมิปญญาทองถ่ิน ในดานสิ่งแวดลอมพัฒนาระบบคูคลองและแหลงนํ้าตามธรรมชาติใหใชไดทุกฤดูกาลรวมถึงระบบจํากัดขยะ

๑๑) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลแพรกหนามแดง แผนพัฒนาเพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิต โดยการสงเสริมอาชีพใหแกประชาชน โดยการสงเสริมการรวมกลุมเกษตรกรเพื่อต้ังศูนยถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล พัฒนาและสงเสริมการเรียนรูของคนในตําบลดานประเพณีทางศาสนาและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย พัฒนาสาธารณะสุขแบบครบวงจร รวมถึงการสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษสิ่งแวดลอม พรอมทั้งบํารุงรักษาถนนใหเช่ือมตอกันทุกหมูบาน ปรับปรุงสะพาน ทางเทาและทาเทียบเรือ และสงเสริมชวยเหลอืคนชราและคนพิการที่มีฐานะยากจนใหชวยเหลือตัวเองได

๑๒) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลยี่สาร แผนพัฒนาดานเศรษฐกิจของตําบลย่ีสารมุงเนนการสงเสริมอาชีพใหกับประชาชนและผูมีรายไดนอย จัดต้ังกลุมอาชีพ และจัดทําโครงการอนุรักษพันธนํ้าเพื่อประโยชนอยางย่ังยืน สรางรานคาจําหนายสินคาผลิตภัณฑของทองถ่ินและศูนยบริการนักทองเที่ยว พรอมทั้งปรับปรุงภูมิทัศนโดยรอบ เขาย่ีสารและบริเวณรอบศาลปูเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว ดานโครงสรางพื้นฐานจะจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกในการสัญจรทางนํ้า ขุดลอกคลองรองนํ้าใหเปนเสนทางคมนาคมสูแหลงชุมชมแลสรางถนนใหเช่ือมตอกันทุกหมูบาน ซึ่งในดานทรัพยากรแบะสิ่งแวดลอมจะปลูกฝงจิตสํานึกและสงเสริมการปลูกปาชายเลน พรอมทั้งตราขอบัญญัติทองถ่ินเรื่องที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม รวมถึงการกําจัดขยะกอนทิ้ง การแยกขยะ และสรางเตาเผาไรมลพิษ พรอมทั้งบังคับใชขอบัญญัติทองถ่ินเรื่องการบําบัดนํ้าเสีย โดยการต้ังโครงการรณรงคจัดทําบอดักไขมันในทุกครัวเรือน

Page 7: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๗

๑๓) แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลบางนางลี่ แผนพัฒนาของตําบลบางนางลี่ในดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานจะพัฒนาระบบสาธารรปูโภคและสาธารณูปการเพื่อใหสอดคลองกับการทองเที่ยว และจัดทําผังเมืองตําบล พรอมทั้งบริหารการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและนํ้าเสีย รวมทั้งพัฒนาแหลงนํ้าเพื่ออุปโภคและบริโภค ดานการทองเที่ยวจะสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและปรับปรุงภูมิทัศนของตําบล พัฒนาลําคลองและลําปะโดงสาธารณะและบริเวณสถานที่ราชการ ดานสาธารณสุขและคุณภาพชีวิต จะสงเสริมการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดลอมในครัวเรือนใหมีประสิทธิภาพ ใหประชาชนแยกขยะอยางถูกวิธี รณรงคติดต้ังบอดักไขมันในครัวเรือน และสรางเตาเผาขยะสองขางทางเพื่อใหประชาชนใชรวมกัน

๒.๒ มาตรการทางผังเมืองระดับตางๆ ที่เกี่ยวของ

๒.๒.๑ รางผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรสงคราม

การวางผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรสงครามเปนการวางแผนทางดานกายภาพเพื่อกอใหเกิดการพัฒนาในภาพรวมและสนองตอบตอยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด ซึ่งทางจังหวัดสมุทรสงครามไดตระหนักถึงปญหาที่จะเกิดข้ึนจากการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต และมีความมุงมั่นที่จะทําใหจังหวัดสมุทรสงครามกาวไปสูการพัฒนาที่ย่ังยืน จึงนํามาตรการดานผังเมืองมาเปนแนวทางในการพัฒนาจังหวัด ซึ่งเปนแผนพัฒนาประเภทหน่ึงที่มุงมั่นในการพัฒนาพื้นที่ตางๆ ของจังหวัดสมุทรสงครามภายใตการพิจารณาถึงภาพรวมของจังหวัด โดยใชมาตรการดานผังเมืองเปนเครื่องมือในการพัฒนาประกอบดวย (รูปท่ี ๒.๒.๑-๑)

Page 8: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๘

ที่มา : สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสมทุรสงคราม, ๒๕๕๐.

รูปท่ี ๒.๒.๑-๑ แผนผังการใชประโยชนท่ีดินในอนาคตจังหวัดสมุทรสงคราม

Page 9: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๙

รูปแบบการใชประโยชนที่ดินออกเปน ๕ ประเภท ดังน้ี (๑) ที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) มี ๕ ชุมชน ไดแก เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม เทศบาลตําบลอัมพวา เทศบาลตําบลกระดังงา เทศบาลตําบลเมืองใหม และเทศบาลตําบลบางนกแขวก (๒) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) (๓) ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) (๔) ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมชายฝงแมนํ้า ลําคลอง (สีเขียวออน)

(๕) ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการประมง (สีฟา) ปจจุบัน ผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรสงครามอยูในข้ันตอนการพิจารณาคํารอง

สําหรับในเขตผังเมืองรวมเมืองอัมพวามีที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) มากที่สุด รองลงมาคือ ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) ที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) และที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมชายฝงแมนํ้าลําคลอง (สีเขียวออน) ตามลําดับ

๒.๒.๒ ผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม

ผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ไดประกาศเปนกฎกระทรวงประกาศใชบังคับเปนผังเมืองรวมครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๙ มีอายุการใชบังคับ ๕ ป โดยมีพื้นที่วางผังทั้งหมดประมาณ ๒๓.๗๓ ตารางกิโลเมตร และไดหมดอายุลงในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๔ ตอจากน้ันไดมีการปรับปรุงผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม ครั้งที่ ๑ ประกาศบังคับใชเปนกฎกระทรวงฉบับที่ ๓๓๖ เมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๐ โดยไดขยายขอบเขตผังเมืองรวม มีเน้ือที่รวมประมาณ ๔๗.๙ ตารางกิโลเมตร ซึ่งหมดอายุบังคับใชลงในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ซึ่งในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๔ ไดมีการประเมินผลผังเมืองรวมและเมื่อผังหมดอายุจึงไดทําการขยายระยะเวลาบังคับใชผังเมืองรวมฉบับเดิมออกไปอีก ๕ ป หมดอายุในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งในระหวางที่ดําเนินการปรับปรุงผังเมืองรวมสมุทรสงคราม ครั้งที่ ๒ น้ันเพื่อไมใหผังเมืองรวมขาดอายุจึงไดทําการตออายุผังเมืองรวมฉบับเดิมออกไปอีก ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ ปและหมดอายุลงในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๒

ผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม พ.ศ.๒๕๔๐ (ปรับปรุงครั้งที่ ๑) มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนแนวทางการพัฒนา การดํารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวของหรือชนบทในดานการใชประโยชนในทรัพยสิน การคมนาคมและขนสง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดลอมในแนวเขตตามแผนที่ทายกฎกระทรวง ประกอบดวย พื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม หรือตําบลแมกลองทั้งหมด และพื้นที่นอกเขตเทศบาลโดยครอบคลุมพื้นที่บางสวนขององคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ องคการบริหารสวนตําบลบางแกว องคการบริหารสวนตําบลบานปรก องคการบริหารสวนตําบลทายหาด องคการบริหารสวนตําบลบางขันแตก องคการบริหารสวนตําบลแหลมใหญ และองคการบริหารสวนตําบลบางจะเกร็ง

Page 10: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๐

ผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม พ.ศ.๒๕๔๐ (ปรับปรุงครั้งที่ ๑) ประกอบดวย แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภททายกฎกระทรวงฉบับที่ ๓๓๖ (พ.ศ.๒๕๔๐) และแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงทายกฎกระทรวงฉบับที่ ๓๓๖ (พ.ศ.๒๕๔๐) มีรายละเอียดดังน้ี

(๑) ที่ดินประเภททีอ่ยูอาศัยหนาแนนนอย (๒) ที่ดินประเภททีอ่ยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (๓) ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (๔) ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ (๕) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(๖) ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (๗) ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา (๘) ที่ดินประเภทอนุรักษสภาพแวดลอมเพื่อการทองเที่ยว (๙) ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา (๑๐) ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

๒.๓ โครงการพัฒนาที่สงผลกระทบตอชุมชน

๒.๓.๑ โครงการอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา

โครงการอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา เปนโครงการตอเน่ืองที่เทศบาลตําบลอัมพวา รวมกับคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และมูลนิธิชัยพัฒนา ในการดําเนินการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม และฟนฟูสภาพเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนริมนํ้าคลองอัมพวาและบริเวณโดยรอบ ซึ่งเริ่มดําเนินการมาต้ังแตปลายป พ.ศ. ๒๕๔๓ จนถึงปจจุบัน

การดําเนินโครงการอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา เริ่มตนระหวางปลายป พ.ศ. ๒๕๔๓ ถึงตนป พ.ศ. ๒๕๔๔ จากการที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “โครงการจัดทําแผนแมบทและแผนปฏิบัติการเพื่อการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมแมนํ้า คู คลอง ในพื้นที่ลุมนํ้าภาคตะวันตก” ซึ่งทางคณะผูวิจัยไดเสนอความเห็นใหขยายขอบเขตของงานใหครอบคลุมพื้นที่ชุมชนริมนํ้า และไดคัดเลือกชุมชนอัมพวาเปนพื้นที่ศึกษาตัวอยาง พรอมทั้งไดเสนอยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที่แบบองครวม (holilistic approach) บนหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน (sustainable development) โดยกําหนดใหการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมแมนํ้า คู คลอง เปนหน่ึงในยุทธศาสตรหลักสําหรับการพัฒนาที่ย่ังยืน นอกจากน้ีคณะผูวิจัยยังไดนําเอาแนวความคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีสวนรวม (participatory action research) มาประยุกตใชในพื้นที่ชุมชนอัมพวาซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาตัวอยาง ผลการศึกษาวิจัยทําใหทราบถึงปญหาและความตองการของประชาชนในชุมชน นําไปสูการเสนอแนะยุทธศาสตรในการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมแมนํ้า คู คลอง และชุมชนริมนํ้าในภาพรวม และการเสนอแนะใหมีการศึกษาวิจัยตอเน่ืองเพื่อจัดทําแผนยุทธศาสตรการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมของชุมชนอัมพวาในรายละเอียด

ในป พ.ศ. ๒๕๔๕ เทศบาลตําบลอัมพวา ไดรับการคัดเลือกใหเขาอยูใน “โครงการนํารอง เพื่อการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมแมนํ้า คู คลอง” ซึ่งเปนโครงการที่สืบเน่ืองจาก “โครงการจัดทํา

Page 11: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๑

แผนแมบทและแผนปฏิบัติการเพื่อการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมแมนํ้า คู คลอง ในพื้นที่ลุมนํ้า ภาคตะวันตก” ใหทําการศึกษาเพื่อกําหนดระเบียบขอบังคับในการใชประโยชนคลอง การใชที่ดินริมฝง และจัดทําแนวทางการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เพื่อใหเกิดผลดีแกการอนุรักษและ การพัฒนาสภาพแวดลอมคลองอัมพวาอยางแทจริง ทางเทศบาลฯจึงไดมอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนผู ศึกษาวิจัย “โครงการนํารองเพื่อการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมคลองอัมพวา” ซึ่งมีเน้ือหาแบงออกเปน ๒ สวน คือ การจัดทํากรอบแนวทางการอนุรกัษและพัฒนาคลองและชุมชนริมนํ้ารวมถึงการกําหนดระเบียบการใชประโยชนลําคลองและพื้นที่ริมฝง และการจัดทํากรอบแนวทางการพัฒนาการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ โดยใชการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีสวนรวมอยางเต็มรูปแบบ

ผลการศึกษาทําใหไดกรอบแนวคิดหลักในการดําเนินการอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา และการพัฒนาการทองเที่ยวซึ่งตอยอดและขยายรายละเอียดจากงานศึกษาวิจัยที่ไดดําเนินการกอนหนาน้ัน มีลักษณะเปนยุทธศาสตรการดําเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ครอบคลุมองคประกอบหลักของชุมชน ๔ ดาน ไดแก องคประกอบทางกายภาพ องคประกอบ ทางเศรษฐกิจ องคประกอบทางสังคมและวัฒนธรรม และองคประกอบทางการเมือง หลักการสําคัญ คือการสรางความสมดุลขององคประกอบทั้ง ๔ ดาน โดยมีการกําหนดแนวทางการดําเนินการที่มีความยืดหยุน เปดโอกาสใหผูบริหารทองถ่ินและชุมชนจัดลําดับความเรงดวน หรือปรับเปลี่ยนรายละเอียดปลีกยอยของแผนงานในการนําไปปฏิบัติไดตามความเหมาะสม

ในปเดียวกัน คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดจัดทํา “โครงการสถาปตยอาสา” ข้ึน โดยจัดเปนกิจกรรมภาคฤดูรอนสําหรับนิสิตที่สนใจงานดานการอนุรักษและฟนฟูชุมชน ใหออกปฏิบัติการภาคสนามในพื้นที่ ชุมชนอัมพวาและพื้นที่ใกลเคียง เพื่อเรียนรูเกี่ยวกับวิถีชีวิตในทองถ่ิน จัดกิจกรรมเพื่อสรางจิตสํานึกในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมสําหรับเยาวชนในพื้นที่ ซึ่งตอมาไดพัฒนาเปน “คายสิ่งแวดลอมศิลปกรรม”นอกจากน้ียังใชเปนโอกาสในการจัดเก็บขอมูลภาคสนาม จัดทํานิทรรศการยอย และจัดทําเอกสารเผยแพรขอมูลการทองเที่ยวใหกับชุมชนอัมพวา

ในระหวางป พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๘ จังหวัดสมุทรสงคราม ไดรับการคัดเลือกใหเปนหน่ึงในพื้นที่ดําเนิน “โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม (Thailand cultural Environment)” ซึ่งไดรับการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการและผูเช่ียวชาญจากสํานักงานใหความชวยเหลือทางวิชาการแหงประเทศเดนมารก (DANIDA) และการสนับสนุนดานบุคลากรและสถานที่ฝายไทยจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม โดยในสวนของ “โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม จังหวัดสมุทรสงคราม” มีคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนที่ปรึกษาทางวิชาการ ในประเทศ โครงการดังกลาวมีกิจกรรมและการดําเนินการหลายประการ ที่สําคัญไดแก

๑) การจัดทํา “ระบบเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม (cultural environment conservation system, CECS)”1 ซึ่งเปนคูมือสําหรับการสํารวจ ประเมิน และจัดทําทะเบียนสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม (หรือมรดกทางวัฒนธรรม) ของทองถ่ิน โดยพัฒนาตอยอดจากระบบ “SAVE & CHIP (survey of architectural values in the environment and cultural heritage in planning)” ของประเทศเดนมารก การสํารวจแบงออกเปน ๒ ระดับ คือ “การศึกษาระดับกวาง” เพื่อสรุปภาพรวม ของพื้นที่จังหวัด และ “การศึกษาระดับรายละเอียด” หรือระดับชุมชน ในพื้นที่ชุมชนคลองอัมพวา 1 โดยความรวมมือระหวางที่ปรึกษาทางวิชาการฝายไทย ซ่ึงประกอบดวย คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

Page 12: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๒

๒) การนําเอาระบบเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรมไปทดลองใชในการสํารวจและ

บันทึกสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม โดยในการศึกษาระดับกวาง สามารถระบุชุมชนที่เปนแหลงมรดก

ทางวัฒนธรรมที่สําคัญในจังหวัดสมุทรสงครามได ๒๐ แหง สวนในการศึกษาระดับรายละเอียดในพื้นที่

ชุมชนอัมพวา สามารถระบุกลุมอาคารและองคประกอบที่มีคุณคาของชุมชนไดโดยละเอียด

๓) การวิจัยดานเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนอัมพวา

๔) การสรางจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม โดยอาศัยกระบวนการมีสวน

รวมของชุมชน ผานการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดกิจกรรม และเอกสารเผยแพร ฯลฯ

๕) การจัดทําหนังสือ “แผนที่สิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรมจังหวัดสมุทรสงคราม” และ “แผนที่

มรดกทางวัฒนธรรมชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม”

๖) การจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศ (ทะเบียนสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม) จากขอมูล ที่สํารวจได

๗) การจัดทําโครงการสาธิตการปรับปรุงซอมแซมอาคารที่มีคุณคาทางสถาปตยกรรมตามหลักการอนุรักษเพื่อเปนตัวอยางใหกับชุมชน ประกอบดวยอาคารสํานักงานเทศบาลตําบลอัมพวา ๑ หลัง หองแถวไมริมนํ้าของมูลนิธิชัยพัฒนาจํานวน ๔ คูหา และอาคารบานเรือนของประชาชนจํานวน ๑๗ ราย โดยสํานักงานใหความชวยเหลือทางวิชาการของประเทศเดนมารก (DANIDA) ใหการสนับสนุนคาใชจายในการซอมแซมโครงสรางและองคประกอบหลักของอาคารรอยละ ๕๐ และเจาของอาคารที่ไดรับอนุมัติจายเองรอยละ ๕๐ ดําเนินการซอมแซมอาคารทั้งหมดแลวเสร็จสมบูรณในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

๘) การฝกอบรมบุคลากรและการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและตางประเทศ “โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรมชุมชนริมคลองอัมพวา” เปดโอกาสใหมีการสานตอ

แนวความคิดและการดําเนินการตอเน่ืองจาก “โครงการนํารองเพื่อการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมคลองอัมพวา” จนนําไปสูการจัด “ตลาดนํ้าอัมพวา” ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยในเบื้องตนเทศบาลตําบลอัมพวามีแนวความคิดที่จะเช่ือมโยงกจิกรรมของตลาดนํ้าเขากับการน่ังเรือชมหิ่งหอยในตอนคํ่า และหลีกเลี่ยงไมใหกิจกรรมตลาดนํ้าซ้ําซอนกับตลาดนํ้าดําเนินสะดวก จึงจัดเปนตลาดนํ้ายามเย็น ซึ่งตอมาไดพัฒนาปรับเปลี่ยนเปนตลาดนํ้าที่มีกิจกรรมต้ังแตกอนเที่ยงไปจนถึงยามคํ่าอยางในปจจุบัน ในขณะเดียวกันการปรับปรุงซอมแซมอาคารในโครงการสาธิตก็ชวยใหเจาของอาคารบางรายสามารถใชอาคารรองรับกิจกรรมการทองเที่ยว เชน ใชเปนโฮมสเตย และรานขายของที่ระลึก

ในชวงกลางป พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ “ศิลปนกลุมนักอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม” ไดจัดนิทรรศการผลงานทางศิลปะ “เรื่องราวอันงดงามที่อัมพวา” ข้ึนที่ หอ ศิลปจ ามจุรี จุ ฬาล งกรณมหา วิทยาลั ย เพื่ อ เ ผยแพร เสนห และความงดงามของ ชุมชนอัมพวาแกสาธารณชน ขณะเดียวกัน ก็ไดเริ่มโครงการจัดทําศูนยขอมูลชุมชนอัมพวา เพื่อรวมรวมและเผยแพรขอมูลเกี่ยวกบัมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนอัมพวา รวมทั้งจัดทําสินคาที่ระลึกตนแบบเพื่อเปนตัวอยางสําหรับชุมชน ตอมาในชวงปลายป พ.ศ. ๒๕๔๘ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดจัดงาน “สุดยอดหมูบานอุตสาหกรรมและผาทอไทยครั้งที่ ๔ : เจาฟานักอนุรักษแผนดิน” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ศูนยการคาอิมแพค เมืองทองธานี โดยจําลองเอาตลาดนํ้าอัมพวาไปแสดงในงาน ทําใหตลาดนํ้าอัมพวาเปนที่รูจักของคนทั่วไปมากย่ิงข้ึน ประกอบกับมีสื่อตาง ๆ เชน ภาพยนตร หนังสือพิมพ วารสาร และรายการทีวี เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนอัมพวามากข้ึน ทําใหความนิยมทองเที่ยวตลาดนํ้าและชุมชนอัมพวาเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว

Page 13: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๓

ในป พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐ มูลนิ ธิชัยพัฒนา ไดทําการปรับปรุง เรือนแถวริม นํ้าที่ ไดรับ การบริจาคจากนางสาวประยงค นาคะวรังค และบริเวณลานดานหลังใหเปนพื้นที่รองรับกิจกรรมการทองเที่ยว รวมทั้งจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวจากบริเวณตลาดนํ้าปากคลองอัมพวาเขามาในบริเวณดานในคลองมากข้ึน โดยเทศบาลฯไดกอสรางบันไดคอนกรีตขนาดใหญเพิ่มข้ึนเพื่อใหพอคาแมคาจอดเรือขายอาหารใหนักทองเที่ยวไดสะดวกย่ิงข้ึน เริม่มีการเปดพื้นที่ทองเที่ยวบริเวณดานในคลองมากข้ึน

นอกจากการดําเนินการดังกลาวขางตนแลว ยังมีการดําเนินการของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของอีกมากมาย เชน การกอสรางบันไดคอนกรีตสาธารณะ การปรับปรุงอาคารอเนกประสงค การสรางเข่ือนหินทิ้ง การปรับปรุงทางเทา การปรับปรุงและกอสรางสะพานคนเดินขามคลองอัมพวาโดยเทศบาลตําบลอัมพวา การกอสรางและปรับปรุงอาคารพิพิธภัณฑในอุทยาน ร. ๒ โดยมูลนิธิพระบรมราชานุสรณพระบาทสมเ ด็จพระพุทธเลิศหลานภาลั ย การ วิจัยและพัฒนาดานอาหาร ขนม เครื่ อง ด่ืม โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา การบูรณปฏิสังขรณกุฏิไมและหอระฆังของวัดพระยาญาติ และการรื้อฟนและจัดกิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรมประเพณีและการทองเที่ยวโดยจังหวัดสมุทรสงคราม เทศบาลตําบลอัมพวา และหนวยงานที่เกี่ยวของอื่น ๆ อีกหลายหนวยงาน (ตารางท่ี ๒.๓.๕-๑)

Page 14: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๔

ตารางท่ี ๒.๓.๕-๑ สรุปโครงการวิจัย กิจกรรม และเหตุการณสําคัญที่เกิดข้ึนภายในพื้นที่เทศบาลตําบล อัมพวา ต้ังแตเริ่มการดําเนินการอนุรักษและฟนฟูชุมชนจนถึงปจจุบัน

ป พ.ศ. โครงการวิจัย/กิจกรรม/เหตุการณสําคัญ ผูดําเนินการ/ผูรับผิดชอบหลัก ๒๕๔๔ โครงการจัดทําแผนแมบทและแผนปฏิบัติการเพื่อ

การอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมแมนํ้า คู คลอง ในพื้นที่ลุมนํ้าภาคตะวันตก (เฉพาะสวนของกรณีศึกษา : ชุมชนอัมพวา)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และเทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๔๕-๒๕๔๖ โครงการนํารองเพื่อการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมคลองอัมพวา

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และเทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๔๖-๒๕๔๘ โครงการอนุรักษส่ิงแวดลอมศิลปกรรม ชุมชนคลองอัมพวา

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และเทศบาลตําบลอัมพวา โดยไดการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการและผูเชี่ยวชาญตางประเทศจากรัฐบาลเดนมารก

๒๕๔๕-ปจจุบัน โครงการสถาปตยอาสา คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๕๔๖ ชุมชนริมคลองอัมพวาไดรับรางวัลอนุรักษสถาปตยกรรมดีเดน จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ

-

๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๗

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตรเรือนแถวไมริมนํ้าและสวนผลไมซ่ึงนางสาวประยงค นาคะวรังค บริจาคใหแกมูลนิธิชัยพัฒนา

มูลนิธิชัยพัฒนา

๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๗ - ปจจุบัน

การจัดตลาดนํ้าอัมพวา (จัดเฉพาะวันศุกร เสาร อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ)

เทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๔๘ นิทรรศการผลงานทางศิลปะ “เรื่องราวอันงดงามที่อัมพวา” ที่หอศิลปจามจุรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับศิลปนกลุมนักอนุรักษส่ิงแวดลอมศิลปกรรม

๒๕๔๘ การจัดงาน “สุดยอดหมูบานอุตสาหกรรมและผาทอไทยครั้งที่ ๔ : เจาฟานักอนุรักษแผนดิน” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ศูนยการคาอิมแพค เมืองทองธานี มีการจําลองตลาดนํ้าอัมพวา หลังจากน้ัน ไดบริจาคอาคารไมและเรือพายที่ใชจัดแสดงใหกับมูลนิธิชัยพัฒนา โดยนําอาคารมาสรางใหมในพื้นที่ดานหลังเรือนแถวริมนํ้าที่ไดรับบริจาคจากนางสาวประยงค นาคะวรังค สวนเรือพายนํามาใชจัดตลาดนํ้าบริเวณดานหนาศูนยขอมูลชุมชนอัมพวา

กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม รวมกับเทศบาลตําบลอัมพวา

Page 15: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๕

ตารางท่ี ๒.๓.๕-๑ สรุปโครงการวิจัย กิจกรรม และเหตุการณสําคัญที่เกิดข้ึนภายในพื้นที่เทศบาลตําบล อัมพวา ต้ังแตเริ่มการดําเนินการอนุรักษและฟนฟูชุมชนจนถึงปจจุบัน (ตอ)

ป พ.ศ. โครงการวิจัย/กิจกรรม/เหตุการณสําคัญ ผูดําเนินการ/ผูรับผิดชอบหลัก ๒๕๔๘-ปจจุบัน โครงการศูนยขอมูลชุมชนอัมพวา คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

รวมกับเทศบาลตําบลอัมพวา และมูลนิธิชัยพัฒนา

๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๙

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเยี่ยมชุมชนริมคลองอัมพวา และทรงติดตามความกาวหนาการดําเนินงานของมูลนิธิชัยพัฒนา

มูลนิธิชัยพัฒนา

๒๕๔๙-๒๕๕๐ การปรับปรุงเรือนแถวริมนํ้าที่ไดรับบริจาคจากนางสาวประยงค นาคะวรังค

มูลนิธิชัยพัฒนา

๒๕๕๐ การจัดงาน “กาลครั้งหน่ึง ณ อัมพวานคราแหงวัฒนธรรม” เพื่อสนับสนุนการอนุรักษวัฒนธรรม

กระทรวงวัฒนธรรม รวมกับจังหวัดสมุทรสงคราม และเทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๕๐-๒๕๕๑ การกอสรางบันไดคอนกรีตสาธารณะสําหรับจัดตลาดนํ้า

เทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๕๐-๒๕๕๒ การบูรณะปฏิสังขรณพระอุโบสถ พระปรางค อาคารสําคัญ และเมรุ ในวัดอัมพวันเจติยาราม

กรมศิลปากร

๒๕๕๐-๒๕๕๒ การกอสรางกลุมเรือนไทย การบูรณะกลุมเรือนไทยหมู ๕ หลัง และการปรับปรุงการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ

มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

๒๕๕๐-๒๕๕๓ การวิจัยและพัฒนาดานอาหาร ขนม เครื่องดื่ม มหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา รวมกับเทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๕๑ การจัดสรางศาลาพักผอนริมฝงแมนํ้าแมกลองจํานวน ๒ หลัง

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ T.U. Berlin และTianjin University

๒๕๕๑ การปรับปรุงอาคารอเนกประสงคริมแมนํ้าแมกลอง

เทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๕๑ ชุมชนอัมพวาไดรับรางวัล “Honorable Mention” จาก “UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards for Cultural Heritage Conservation ๒๐๐๘”

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนผูจัดทําเอกสารเสนอตอยูเนสโก

๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๑

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปดโครงการ "อัมพวา-ชัยพัฒนานุรักษ" (ชื่อพระราชทานสําหรับโครงการปรับปรุงเรือนแถวริมนํ้า กลุมอาคาร ลานกิจกรรม และสวนผลไม รวมถึงการจัดกิจกรรมดานวัฒนธรรมของมูลนิธิชัยพัฒนา)

มูลนิธิชัยพัฒนา

Page 16: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๖

ตารางท่ี ๒.๓.๕-๑ สรุปโครงการวิจัย กิจกรรม และเหตุการณสําคัญที่เกิดข้ึนภายในพื้นที่เทศบาลตําบล อัมพวา ต้ังแตเริ่มการดําเนินการอนุรักษและฟนฟูชุมชนจนถึงปจจุบัน (ตอ)

ป พ.ศ. โครงการวิจัย/กิจกรรม/เหตุการณสําคัญ ผูดําเนินการ/ผูรับผิดชอบหลัก ๒๑ ธันวาคม

๒๕๕๑ พิธีมอบรางวัลการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมจากองคการยูเนสโก (รางวัลเกียรตินิยม จากการประกวด “UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards ๒๐๐๘)

มูลนิธิชัยพัฒนา รวมกับเทศบาลตําบลอัมพวา และจังหวัดสมุทรสงคราม

กุมภาพันธ ๒๕๕๒ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ีเสด็จเปดอาคารพิพิธภัณฑหลังใหมภายในอุทยาน ร. ๒

มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

๒๕๕๒ โครงการจัดทําพิพิธภัณฑมรดกทางวัฒนธรรมอัมพวาในอุทยาน ร. ๒

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

๒๕๕๒-๒๕๕๓ การจัดสรางเขื่อนหินทิ้ง ปรับปรุงทางเทา การปรับปรุงและกอสรางสะพานคนเดินขามคลองอัมพวา

เทศบาลตําบลอัมพวา

๒๕๕๒-๒๕๕๓ การปฏิสังขรณกุฏิไมและหอระฆังวัดพระยาญาติ วัดพระยาญาติ

๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๓

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปดพิพิธภัณฑมรดกทางวัฒนธรรมอัมพวาในอุทยาน ร. ๒

มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

๒๕๕๓-๒๕๕๔ โครงการอัมพวาสีสันแหงความยั่งยืน บริษัท ทีโอเอ เพนท (ประเทศไทย) จํากัด รวมกับเทศบาลตําบลอัมพวา

การอนุรักษและฟนฟูชุมชนและพัฒนาการทองเที่ยวของชุมชนอัมพวาข้ึนถึงจุดสูงสุดในป พ.ศ.

๒๕๕๑ เมื่อชุมชนอัมพวาไดรับรางวัล “Honorable Mention” จาก “UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards for Cultural Heritage Conservation 2008” ซึ่งเปนผลสืบเน่ืองจากการดําเนิน “โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม” ปจจุบัน อาคารริมนํ้าสวนใหญไดรับการปรับปรุงซอมแซมและปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย จากที่อยูอาศัยหรือถูกทิ้งราง มาเปนการใชประโยชนเพื่อการทองเที่ยว มีการตอเติมและกอสรางอาคารเพิ่มข้ึน รวมทั้งมีการพัฒนาพื้นที่ดานหลังอาคารเพื่อใชในกิจกรรมการทองเที่ยวเพิ่มมากข้ึน

การอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา เปนการดําเนินงานอยางตอเน่ืองโดยการมีสวนรวมของคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เทศบาลตําบลอัมพวา และหนวยงานที่เกี่ยวของอีกหลายหนวยงาน ผลจากการดําเนินโครงการอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา ทําใหชุมชนอัมพวามีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จากชุมชนเล็ก ๆที่เกือบจะไมมีใครรูจัก กลายเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่สําคัญแหงหน่ึงของประเทศ การอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชนทั้งดานกายภาพ ดานเศรษฐกิจ และดานสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนและพื้นที่ใกลเคียง

การเปลี่ยนแปลงทางดานกายภาพที่สําคัญไดแก การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและอาคาร ในพื้นที่เทศบาลตําบลอัมพวา ซึ่งพบวา มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและอาคารมากที่สุดบริเวณชุมชนริมนํ้าในคลองอัมพวา ซึ่งเปนศูนยกลางการทองเที่ยวของชุมชน โดยมีการขยายตัวของการใชที่ดิน

Page 17: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๗

เพื่อการพาณิชยกรรมอยางมาก และมีการเปลี่ยนแปลงการใชอาคารจากที่อยูอาศัยและไมมีการใชประโยชนเปนหลัก มาเปนการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมการทองเที่ยวเปนหลัก

การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ สวนใหญเปนผลสืบเน่ืองจากการพัฒนาการทองเที่ยวชุมชนในเขตเทศบาลตําบลอัมพวาและพื้นที่ใกลเคียง จํานวนนักทองเที่ยวที่แวะมาเยือนจังหวัดสมุทรสงครามเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว และมีนักทองเที่ยวที่พักแรมในพื้นที่เพิ่มมากข้ึนอยางตอเน่ือง สงผลใหมีการขยายตัวของธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวในจังหวัดสมุทรสงครามอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะสถานที่พักแรม รานอาหารและรานขายของที่ระลึกสําหรับนักทองเที่ยว นอกจากน้ี ยังสงผลใหชาวประมงและชาวสวนมีตลาดใหมสําหรับขายผลผลิต และสามารถขายผลผลิตไดราคาสูงข้ึนอีกดวย

การเปลี่ยนแปลงทางดานสังคมและวัฒนธรรมที่เห็นไดชัดเจนที่สุดก็คือการฟนฟูประเพณีด้ังเดิม และการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของทองถ่ิน เชน การฟนฟูการลอยกระทงสายซึ่งทําจากกาบกลวย การฟนฟูการใสบาตรทางนํ้า การฟนฟูศิลปะการทําอาหารและขนม การแสดงดนตรีไทย การแสดง หุนกระบอก การพัฒนางานหัตถกรรมทองถ่ิน ฯลฯ นอกจากน้ียังพบวา การฟนฟูตลาดนํ้าอัมพวา สงผลใหเกิดกระแสการอนุรักษและฟนฟูชุมขนในวงกวาง โดยเฉพาะการฟนฟูตลาดเการิมนํ้าและตลาดนํ้าด้ังเดิม รวมทั้งการพัฒนาตลาดนํ้าแหงใหม นอกจากน้ี การดําเนินโครงการอนุรักษและฟนฟูชุมชนอัมพวา ยังสงผลใหการยายถ่ินออกนอกพื้นที่ของคนหนุมสาวลดนอยลง และยังดึงดูดคนหนุมสาวจํานวนหน่ึงใหยายกลับเขามาในพื้นที่อีกดวย

๒.๓.๒ โครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ

“โครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ” มีที่มาจากการที่นางสาวประยงค นาคะวะรังค ไดนอมเกลาฯ ถวายที่ดินประกอบดวย สวนผลไม เรือนแถวไมริมคลองอัมพวาและบานพักอาศัย ในที่ดินจํานวน ๕ แปลง พื้นที่รวม ๒๑ ไร ๑๒ ตารางวา ในตําบลอัมพวา อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อใชประโยชนในกิจกรรมของมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดพระราชทานพระราชดํารใิหสํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา นําที่ดินไปพัฒนาและอนุรักษเพื่อใหเกิดประโยชนตอชุมชน และไดพระราชทานนามโครงการน้ีวา “โครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ” สํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนาไดใชนอมนําเอาหลักการพัฒนา "ภูมิสังคม" และแนวพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มาใชในการดําเนินการ โดยมีเปาหมายอยูที่การมีสวนรวมระหวางสํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนาและชุมชนอัมพวาในการอนุรักษและฟนฟูวิถีการดํารงชีวิตของชุมชนอัมพวาใหสามารถอยูไดอยางเขมแข็ง เรียบงาย ย่ังยืน และมีความสุข ทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอยางรวดเร็วของสังคม พื้นที่โครงการแบงออกเปนสวนตาง ๆที่สําคัญ คือ

ลานวัฒนธรรมนาคะวะรังค เปนลานอเนกประสงคสําหรับการแสดงและกิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ิน ซึ่งจะมีการจัดกิจกรรมตางๆ เหลาน้ี หมุนเวียนปละ ๓ ครั้ง ในชวงเดือนเมษายน สิงหาคม และธันวาคม เพื่อเลาเรื่องราวความเปนมา รูปแบบ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมพื้นบานของชุมชนอัมพวา กิจกรรมตางๆ ไดแก การเสวนาเชิงวิชาการเกี่ยวกับประวัติศาสตรชุมชนวิถีชีวิต และวัฒนธรรมชาวอัมพวาและชุมชนลุมแมนํ้าแมกลอง การบรรเลงดนตรีไทย การฉายภาพยนตรกลางคลอง และการจําหนายสินคาทองถ่ินของอัมพวา เปนตน

รานกาแฟโบราณ “ชานชาลา” เปนรานจําหนายเครื่องด่ืมและอาหารพื้นบาน มีการหมุนเวียนอาหารที่มีรสชาติดีและมีฝมือของชาวอัมพวามาจําหนาย ไดตกแตงรานใหมีเอกลักษณเฉพาะตัวคือ มีลักษณะเหมือนชานชาลาสถานีรถไฟแมกลอง เปดใหบริการทุกวันศุกร-อาทิตย เวลา ๑๑.๐๐-๒๑.๐๐ น.

Page 18: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๘

หองนิทรรศการชุมชน เปนพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน แมกลองและอัมพวา มีการจัดรูปแบบและเน้ือหาของนิทรรศการใหหมุนเวียนและสอดคลองกับเน้ือหาการ จัดกิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ิน โดยหึความสําคัญกับการใหความรู และความเขาใจเกี่ยว กับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนอัมพวา เพื่อสรางความภาคภูมิใจใหแกชุมชน สงเสริม เผยแพร และประชาสัมพันธความรู ภูมิปญญาและผลิตภัณฑของชุมชนและทองถ่ิน

สวนสาธิตการเกษตรเพ่ือการเรียนรู เปนการจัดการพื้นที่สวนผลไม เพื่อใหเปนแหลงเรียนรูถึงภูมิปญญาและวิถีชีวิตทองถ่ินอัมพวาในดานการ เกษตร ที่ยังเปนแหลงแลกเปลี่ยนความรูระหวางนักวิชาการเกษตร เกษตรกรชาวสวน และผูสนใจ

รานคาชุมชน อยูริมถนนประชาอุทิศ ใกลสวนสาธิตการเกษตร จัดเปนรานคาใหชุมชนตางๆ ในเขตเทศบาลตําบลอัมพวาเชาพื้นที่เพื่อจําหนาย หรือจัดแสดงสินคา เพื่อใหชุมชนอัมพวาไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานและสรางรายไดใหชาวอัมพวา

๒.๓.๓ โครงการปรับปรุงภูมิทัศนตลาดนํ้าอัมพวา

โครงการปรับปรุงภูมิทัศนตลาดนํ้าอัมพวา เปนความรวมมือระหวางเทศบาลตําบลอัมพวาและธนาคารอาคารสงเคราะหในการปรับปรุงภูมิทัศนของตลาดนํ้าอัมพวา เพื่อสานตอนโยบายการแสดงความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ในดานสิ่งแวดลอมของธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) โดยธนาคารอาคารสงเคราะห สนับสนุนงบประมาณ ๕ ลานบาทในการปรับภูมิทัศนตลาดนํ้าอัมพวา เพื่อเปนโครงการตนแบบและยกระดับสถานที่ทองเที่ยวไทยดึงดูดนักทองเที่ยวทั่วโลก อีกทั้งเปนการสงเสริมการทองเที่ยวไทยตามนโยบาย “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” เพื่อสรางภาพลักษณใหมและยกระดับสถานที่ทองเที่ยวไทยใหมีความสวยงามตามมาตรฐานสากล ใหสมกับที่ไดรับรางวัล “Honourable Mention” จาก "UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards for Cultural Heritage Conservation”

ในระยะที่ ๑ ไดดําเนินการเสร็จสิ้นและสงมอบเมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๕๒ และภายหลังมีการดําเนินการปรับปรุงตอในระยะ ๒- ๓ และมีการดําเนินการเสร็จและสงมอบเมื่อเดือนกันยายน ๒๕๕๓ นอกจากน้ีธนาคารอาคารสงเคราะหยังสนับสนุนพิพิธภัณฑขนมไทยอัมพวาเฉลิมพระเกียรติ และไดจัดใหมีพิธีสงมอบอาคารอเนกประสงคและสนามเด็กเลน ใหแก ร.ร.วัดบางนางลี่ใหญ รวมทั้งทางธนาคารยังเนนสงเสริมใหประชาชนในพื้นที่ที่ทําการคาขายไดมีรายไดจากการทองเที่ยวมากข้ึน โดยมอบรมขนาด ๓๖ น้ิว จํานวน ๓๐๐ คัน รมขนาดใหญพิเศษ ๕๐ น้ิว จํานวน ๓๐๐ คัน ผาใบจํานวน ๒๔๗ อัน ปายรานคา จํานวน ๓๐๐ อัน และแผนที่การทองเที่ยวชุมชนตลาดนํ้าอัมพวา จํานวน ๑๐,๐๐๐ ชุด ใหกับชุมชน อัมพวาทั้งตลาดนํ้า และตลาดบกฝงบรเิวณถนนโชติธรรมรงค ถนนพวงสมบูรณ ถนนเลียบนที ถนนเลียบคลองอัมพวา ระยะทางรวมประมาณ ๖๐๐ เมตร

๒.๓.๔ โครงการกอสรางทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงคราม

โครงการกอสรางทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงครามมีวัตถุประสงคเพื่อรองรับและระบายปริมาณจราจรที่เพิ่มมากข้ึนของจังหวัดสมุทรสงคราม ใหเกิดความสะดวกรวดเร็วปลอดภัยและลดการจราจรติดขัดการสูญเสียนํ้ามัน และเวลาเปนการเพิ่มศักยภาพของระบบเครือขายคมนาคมทางหลวงใหกับจังหวัดสมุทรสงคราม และเสนทางเลือกลงสูภาคใตและลดปริมาณจราจรที่จะเขามาใชทางหลวงสายหลักคือทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕ สายธนบรุี-ปากทอที่มีปริมาณการจราจรสูง

Page 19: บทที่ ๒ นโยบายของเมืองที่ ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/060/02/... · 2014-07-23 · นโยบายของเมืองที่กําหนดจากผังประเทศ

ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) บทที่ ๒ สภาพทั่วไปของพ้ืนที่ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา

ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒-๑๙

ปจจุบันเสนทางหลักของจังหวัดสมุทรสงครามที่สามารถขามแมนํ้าแมกลองไดคือ ทางหลวงแผนดินสาย ๓๕ ธนบุรี-ปากทอขามแมนํ้าแมกลองที่สะพานสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเพียงจุดเดียวในชวงตามแนวยาวริมสองฝงของแมนํ้ากลองบริเวณกลางตัวเมืองสมุทรสงครามน้ี ประมาณ ๑๐ กิโลเมตรมีแหลงชุมชนธุรกิจการคา แหลงธุรกิจจังหวัดสมุทรสงคราม ที่ปดเช่ือมชุมชนเมื่องสมุทรสงครามริมฝงแมนํ้าแมกลองแผกระจายอยูริมสองฝงของแมนํ้าแมกลองระหวางและอุตสาหกรรมที่สําคัญอยูอยางหนาแนนทั้งสองฝงของแมนํ้าแมกลองโดยประชาชนผูใชทางจะสามารถมีเสนทางเลือกที่จะใชทางเลีย่งเมอืงสมุทรสงครามในชวงที่จะกอสรางน้ีขามแมนํ้าแมกลองไปมาจากฝงตะวันออกจังหวัดสมุทรสงครามไปสูฝงตะวันตก และเสนทางสูจังหวัดราชบุรี เพชรบุรี และภาคใตไดโดยไมตองเขาสูทางหลวงแผนดินหมาย ๓๕ สายธนบุรี-ปากทอซึ่งเปนเสนทางสายหลักเพียงสายเดียวที่สามารถขามแมนํ้าแมกลองบริเวณจังหวัดสมุทรสงครามได

สํานักกอสรางสะพาน กรมทางหลวง มีโครงการกอสรางทางหลวงหมายเลข ๓๐๙๓ ตอนทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงคราม รวมทั้งสะพานขามทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ และแมนํ้าแมกลอง เน่ืองมาจากทางหลวงหมายเลข ๓๐๙๓ ในปจจุบันคือทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงครามที่เปดรองรับการจราจร ๒ ชวงและยังไมเช่ือมตอเน่ืองกันตอนกลางบริเวณแมนํ้าแมกลอง แบงออกเปนชวงแรกที่ฝงทิศเหนือของเมืองสมุทรสงคราม มีจุดเริ่มตนจากทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕ สายธนบุรี-ปากทอตัดผานเสนทางรถไฟและทางหลวงหมายเลข ๓๐๙๒ (สมุทรสงครามไปสมุทรสาคร) และจนถึงสะพานขามคลองแมกลองปลายสะพานตอเช่ือมเปนถนนรูปตัว U (Slip Road) กับทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ (สมุทรสงครามไป อําเภอบางแพ) สวนทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงครามอีกชวงหน่ึงอยูฝงทิศตะวันตกของเมืองสมุทรสงคราม เปดเช่ือมชุมชนเมอืงสมุทรสงครามริมฝงแมนํ้าแมกลองฝงทิศตะวันตกและมีทิศไปสูอําเภอปากทอ ซึ่งในการขนสงสญัจรระหวางชุมชนพักอาศัยแหลงธุรกิจการคา และอุตสาหกรรมที่หนาแนนของจังหวัดสมุทรสงครามมีทิศทางแผกระจายอยูริมสองฝงของแมนํ้าแมกลอง มีเพียงสะพานสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย (สะพานขามแมนํ้าแมกลอง) เพียงสะพานเดียวที่อยูในทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕ สายธนบุรี-ปากทอรองรับปริมาณการจราจรสายหลักเสนทางเดียวจากกรุงเทพฝงธนบุรีที่ ผานจังหวัดสมุทรสงครามสูจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ลงสูภาคใต โดยเฉพาะในชวงเทศกาลและวันหยุดสําคัญจะประสบปญหาปริมาณการจราจรสูงและหนาแนนมาก ดังน้ันกรมทางหลวงจึงไดเรงรัดทําการออกแบบชวงเช่ือมตอระหวาง ทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงคราม ๒ ชวงที่เปดบริการไปแลวแตยังไมบรรจบกันเพื่อใหชุมชนโดยเฉพาะอยางย่ิงจังหวัดสมุทรสงครามสามารถมีเสนทางเลือกที่สามารถประหยัดระยะทาง เวลาและหลีกเลี่ยงปริมาณการจราจรติดขัดที่เดิมตองมุงออมไปใชสะพานขามแมนํ้าแมกลองบนทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕ สายธนบุรี-ปากทอ โครงการกอสรางทางหลวงหมายเลข ๓๐๙๓ ตอนทางเลี่ยงเมืองสมุทรสงครามน้ีประกอบดวยงานกอสรางสะพานความยาว ๙๒๑ เมตร ขามทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๕ (บางแพ-สมุทรสงคราม) และตัวสะพานตอเน่ืองขามแมนํ้าแมกลองไปสูฝงตะวันตกของแมนํ้าแมกลองบริเวณริมวัดพวงมาลัย รวมงานกอสรางถนนตัดใหมความยาวประมาณ ๑ กิโลเมตร ใชงบประมาณการกอสราง๒๘๓,๗๐๐,๒๙๘.๓๐ บาท ระยะเวลากอสราง ๖๐๐ วัน