35
1 แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ-3) ..................................... 1. ปกนอก 2. รองปก 3. ปกใน 4. บทคัดย่อภาษาไทย 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 6. กิตติกรรมประกาศ 7. สารบัญ 8. สารบัญตาราง 9. สารบัญภาพ / แผนภูมิ / อื่น ๆ (ถ้ามี) 10. บทที่ 1 บทนา 11. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 12. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 13. บทที่ 4 ผลการวิจัย 14. บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 15. บรรณานุกรม 16. ภาคผนวก (แบบ ว-สอศ-2) (ผู้ทรงคุณวุฒิ, เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย , แบบสอบถาม หรืออื่น ๆ) 17. ประวัติผู้วิจัย 18. สันเล่มรายงานการวิจัย (ระบุ ชื่องานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย ปีพ.ศ.ท่ทาเสร็จ) หมายเหตุ ใช้รูปแบบอักษร TH SarabunPSK

แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

1

แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ-3) .....................................

1. ปกนอก 2. รองปก 3. ปกใน 4. บทคัดย่อภาษาไทย 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 6. กิตติกรรมประกาศ 7. สารบัญ 8. สารบัญตาราง 9. สารบัญภาพ / แผนภูมิ / อ่ืน ๆ (ถ้ามี)

10. บทที่ 1 บทน า 11. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง 12. บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 13. บทที่ 4 ผลการวิจัย 14. บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 15. บรรณานุกรม 16. ภาคผนวก (แบบ ว-สอศ-2)

(ผู้ทรงคุณวุฒิ, เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย , แบบสอบถาม หรืออื่น ๆ) 17. ประวัติผู้วิจัย 18. สันเล่มรายงานการวิจัย (ระบุ ชื่องานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย ปีพ.ศ.ที่ท าเสร็จ)

หมายเหตุ ใช้รูปแบบอักษร TH SarabunPSK

Page 2: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

1

แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการวิจัย

เรื่อง จักรยานบ้าบัดน ้าเสีย

Wastewater treatment bike

ชื่อผู้ท้างานวิจัย นาย นนทชัย ทาบทองเรือง

ชื่อผูท้้างานวิจัย นาย ราชศักดิ์ ผลาผล ชื่อผูท้้างานวิจัย นาย หลวงแสง ตาเมอืง

ประจ้าปีการศึกษา 2559

ปีพุทธศักราชการ 2559 -2560 วิทยาลัยการอาชพีนครปฐม อาชีวศึกษาจังหวดันครปฐม

ส้านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Page 3: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

2

หัวข้อวิจัย จักรยานบ าบัดเสีย ผู้ด้าเนินการวิจัย 1. นาย นนทชัย ทาบทองเรือง 2. นาย ราชศักดิ์ ผลาผล 3. นาย หลวงแสง ตาเมือง ที่ปรึกษา 1. นาย ชัยยุทธ ราษฎร์สภา 2. นาย สมัฤทธิ์ เจริญวิกกัย 3. นางสาว ธัญชนก ผิวค า หน่วยงาน วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม/ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ/ แผนกช่างไฟฟ้าก าลัง ปี พ.ศ. 2559 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพ่ือประดิษฐ์จักรยานบ าบัดน้ าเสีย เก็บขยะสิ่งสกปรกภายในแหล่งน้ าได้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ สิ่งประดิษฐ์ซึ่งได้แก่อาจารย์แผนกช่างไฟฟ้าก าลัง วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้จัดท าแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย และ แบบประเมินวัดประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย โดยน าจักรยานบ าบัดน้ าเสียมาท าการทดลองตามหัวข้อในแบบประเมิน โดยจัดท าแบบประเมินในการบ าบัดน้ าเสียแบ่งเป็นหัวข้อการใช้งานในด้านต่าง ๆ แล้วแปลเป็นคะแนนเพ่ือให้ง่ายต่อการหาค่าประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย นักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพนครปฐมจ านวน 5 คน และผู้เชี่ยวชาญที่ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย จ านวน 3 คน เป็นผู้ประเมินผล สถิติที่ใช้ในงานวิจัย สถิติที่ใช้ในงานวิจัย ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลเก็บรวบรวมคะแนนจากการทดลองที่ผู้ประเมินผลการทดลองประเมินให้ น าคะแนนที่ได้จากการทดลองมาท าการหาค่าเฉลี่ยระดับคะแนนเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย และจากการทดลองมาท าการหาค่าเฉลี่ยระดับคะแนนเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาระดับความพึงพอใจของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ผลการวิจัยมีดังนี้ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.71 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ด้านการประเมินที่มีระดับสูงที่สุดคือ ความปลอดภัย มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.88 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ส่วนด้านการประเมินที่มีระดับต่ าที่สุดคือ ประสิทธิภาพในการท างาน มีระดับคะแนน 4.42 อยู่ในเกณฑ์ดี

Page 4: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

3

Research Title Wastewater treatment bike Researcher Mr. Nontachai Tabthongrueng Mr. Ratchasak Palapol Mr. luangseng tamueng Research Consultants Mr. Chaiyuth Radsapa Mr. Samrid charoenwiggai Miss Tanchanok Phewkham Organization Nakornpathom Industrial and Community Education College Year 2016

This research aims to devise the bike wastewater. Garbage impurities within the water. Population and sample Expert assessment Artifacts, including Vocational Education Department. Genesis Career College Tools used in research The researchers conducted surveys of user satisfaction with the performance of the bike, water treatment and sewage treatment rate measures the performance of the bike. By wastewater bike was conducted based on the evaluation form. The preparation of the assessment in the wastewater divided into use in various fields, and then translated into a score to make it easier to measure the performance of the bike wastewater Student Career College Pathom 5 persons and professionals. use Bikes sewage number three was evaluators. The statistics used in research The statistics used in research The researchers collected data from the trial, the trial evaluation to assess. The scores from the trials to the average grade for use in analyzing the efficiency of wastewater treatment cycle. The trial was conducted to determine the average grade is used to analyze the data for the satisfaction of the bike wastewater. The results were as follows: Grade point average of 4.71 in very good shape. The rate is the highest level of security is a grade point average of 4.88 in very good shape. The assessment levels are lowest. Performance scores 4.42 favorably.

Page 5: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

4

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่องจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ที่ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีก็เพราะได้รับการ ช่วยเหลือจากอาจารย์ นาย สัมฤทธิ์ เจริญวิกกัย และผู้ปกครองของคณะผู้จัดท า ที่ให้ค าปรึกษาและให้ค าแนะน าตลอดเวลาของการด าเนินงานจนท าให้ โครงงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก าหนดไว้ คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณท่านที่ให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่างๆ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานเรื่อง จักรยานบ าบัดน้ าเสีย เรื่องนี้จะเกิดประโยชน์ต่อวงการศึกษาต่อไป

2559

คณะผู้วิจัย

Page 6: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

5

สารบัญ

หน้า บทคัดย่อภาษาไทย 2 บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 3 กิตติกรรมประกาศ 4 สารบัญ 5 สารบัญตาราง 6 สารบัญภาพ 7

บทที่ 1 บทน้า ความเป็นมาและความส าคัญ 9 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 9 ขอบเขตการวิจัย 9 ข้อจ ากัด (ถ้ามี) 9 สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) 9 ค าจ ากัดความที่ใช้ในงานวิจัย 9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 9

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง 11 -.น้ า 11 -.การบ าบัดน้ าเสีย 12 -การบ าบัดน้ าเสียขั้นสูง 13

บทที่ 3 วิธีด้าเนินการวิจัย 16 ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง16 เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 16 การเก็บรวบรวมข้อมูล 18 การวิเคราะห์ข้อมูล 18 บทที่ 4 ผลการวิจัย 22 ประสิทธิภาพของการใช้จักรยานบ าบัดน้ าเสีย 22 ประสิทธิภาพของการใช้จักรยานบ าบัดน้ าเสีย 24

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 25 สรุปผลการวิจัย 25 อภิปรายผล 25 ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ 25 ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป 25

หน้า

Page 7: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

6

บรรณานุกรม บรรณานุกรมภาษาไทย 27

ภาคผนวก ภาคผนวก ก ประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย 29 ภาคผนวก ข ประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย 30

ประวัติผู้วิจัย 31

Page 8: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

7

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า 1.1 จักรยานบ าบัดน้ าเสีย 10 2.1 น้ าเสีย 11 2.2 น้ าเสียจากแหล่งชุมชน 12 2.3 น้ าเสียจากกิจกรรมอุตสาหกรรม 12 2.4 2.5 2.6 3.1 3.2 3.3 3.4

การดักกรวดทราย การบ าบัดน้ าเสียขั้นที่สอง การบ าบัดน้ าเสียขั้นสูง ออกแบบโครงสร้าง ประกอบจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ตรวจสอบการใช้งานของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย บ าบัดน้ าเสีย

13 13 14 17 17 17 18

Page 9: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

8

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า 1.1 ขั นตอนการด้าเนินงาน 10 4.1 แสดงผลการประเมินจักรยานบ าบัดน้ าเสีย 22 4.2 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจ าแนกตามเพศ 23 4.3 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจ าแนกตามอายุ 23 4.4 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจ าแนกตามระดับการศึกษา 23 4.5 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

24

Page 10: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

9

บทท่ี 1 บทน้า

ความเป็นมาและความส้าคัญ

ปัจจุบันมีแหล่งน้ าที่มีปัญหาน้ าเสียที่เกิดจากการปล่อยของเสียลงแหล่งน้ า ท าให้น้ าขาดออกซิเจน จึงเกิดการเน่าเสีย รวมไปถึงการทิ้งขยะลงในแหล่งน้ า ขยะไม่สามารถย่อยสลายได้ก็ท าให้น้ าเน่าเสียได้เช่นกัน เมื่อมีขยะในแหล่งน้ าเป็นจ านวนมากสัตว์น้ าต่างๆที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ าได้รับอาหารจากขยะก็ท าให้สัตว์น้ าค่อยๆตายและเน่าเสียในแหล่งน้ าอีก ผู้จัดท าได้เห็นว่าขยะมีส่วนส าคัญในการท าให้น้ าเน่าเสีย จึงได้จัดท าเครื่องบ าบัดน้ าเสีย และสามารถเก็บขยะได้ เพ่ือให้ลดการเกิดการเน่าเสียในแหล่งน้ าโดยใช้วัสดุหลักที่เป็นจักรยานมาพัฒนาให้เป็นเครื่องบ าบัดน้ าเสีย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพ่ือน าอุปกรณ์เหลือใช้มาท าให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. เพ่ือเก็บขยะในแหล่งน้ าและสามารถบ าบัดน้ าเสียได้ดี

ขอบเขตการวิจัย

สิ่งที่ศึกษา จักรยานบ าบัดน้ าเสีย ระยะเวลา 1 เดือน สถานที่ คลองบริเวรบ้านเลขที่ 45/18 หมู่ 1 ต.บางแก้ว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม 73120

ข้อจ้ากัด

จักรยานบ าบัดน้ าเสีย หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการบ าบัดน้ าเสีย มีผลท าให้น้ ามีคุณภาพดีขึ้น และสามารถเก็บสิ่งสกปรก เช่น ใบไม้ ถุงพลาสติก แก้วพลาสติก ฯลฯ ภายในแหล่งน้ าได้

ค้าจ้ากัดความที่ใช้ในงานวิจัย

จักรยานบ าบัดน้ าเสีย หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการบ าบัดน้ าเสีย มีผลท าให้น้ ามีคุณภาพดีขึ้น และสามารถเก็บสิ่งสกปรก เช่น ใบไม้ ถุงพลาสติก แก้วพลาสติก ฯลฯ ภายในแหล่งน้ าได้

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั

1. สามารถเก็บขยะในแหล่งน้ าได้ และบ าบัดน้ าเสียได้ดี 2. มีคุณภาพและมีการใช้งานยาวนาน 3. ประหยัดงบประมานในการซื้อเครื่องบ าบัดน้ าเสีย 4. น าสิ่งของเหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

Page 11: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

10

ตารางท่ี 1.1 ขั นตอนการด้าเนินงาน ล าดับที่ ขั้นตอนการด าเนินงาน ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย 1 ศึกษาข้อมูลในการท าโครงการ 2 ออกแบบโครงร่าง จักรยานบ าบัดน้ าเสีย 3 จดัท าชิ้นงานและทดสอบการใช้งาน 4 จัดท ารูปเล่ม 5 ประเมินการใช้จักรยานบ าบัดน้ าเสีย

ภาพที่ 1.1 จักรยานบ าบัดน้ าเสีย

Page 12: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

11

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

2. แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาโครงงาน เรื่อง เครื่องบ าบัดน้ าเสียรักษาสิ่งแวดล้อม คณะผู้ศึกษา ได้ค้นคว้า รวบรวม ข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซด์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยขอน าเสนอตามล าดับ ดังนี้

2.1 น้ า เป็นปัจจัยส าคัญในการด ารงชีวิตน้ าถูกน ามาใช้ในการอุปโภคและบริโภค และน้ าเมื่อใช้แล้วก็จะถูกปล่อยทิ้ง ออกสู่แหล่งน้ าธรรมชาติอีกครั้งหนึ่งระบบหมุนเวียนดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นเมื่อถูกน ามาใช้ในครัวเรือนการเกษตร และการอุตสาหกรรม ในอัตราสูงและถูกปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ าในลักษณะ ของน้ าเสียที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถที่แหล่งน้ าธรรมชาติจะปรับตัวได้ทัน ท าให้แหล่งน้ ามีคุณภาพเลวลงและในที่สุดก็กลายเป็นน้ าเน่าเสียสิ่งมีชีวิตที่เคยอาศัยอยู่ในน้ าก็ไม่อาจด ารงชีวิต อยู่ต่อไปได้อีก

ภาพที่ 2.1 น้ าเสีย

สภาพความเน่าเสียของน้ าในแม่น้ าล าคลองซึ่งมีลักษณะเป็นสีด าคล้ าและส่งกลิ่นเหม็นคงเป็นภาพที่เราเคยเห็นจนชินตา และอาจมีหลายท่านเคยตั้งค าถามว่าน้ าเสียสีด าคล้ าในคลองเหล่านี้มาจากไหนและมีทางจะกลับมาใสเหมือนเดิมได้หรือไม่? น้ าเสียมาจากไหน

น้ าเสีย หมายถึง น้ าที่มีสารใด ๆ หรือสิ่งปฏิกูลที่ไม่พึงปรารถนาปนอยู่ การปนเปื้อนของสิ่งสกปรกเหล่านี้ จะท าให้ คุณสมบัติของน้ าเปลี่ยนแปลงไปจนอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถน ากลับมาใช้ประโยชน์ได้ สิ่งปนเปื้อนที่อยู่ในน้ าเสีย ได้แก่ น้ ามัน ไขมัน ผงซักฟอก สบู่ ยาฆ่าแมลง สารอินทรีย์ที่ท าให้เกิดการเน่าเหม็นและเชื้อโรคต่าง ๆ ส าหรับแหล่งที่มาของ น้ าเสียพอจะแบ่งได้เป็น 2 แหล่งใหญ่ ๆ ดังนี้

2.1.1. น้ าเสียจากแหล่งชุมชน มาจากกิจกรรมส าหรับการด ารงชีวิตของคนเรา เช่น อาคารบ้านเรือน หมู่บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม โรงแรม ตลาดสด โรงพยาบาล เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าความเน่าเสียของคูคลองเกิดจากน้ าเสียประเภทนี้ ถึงประมาณ 75%

Page 13: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

12

ภาพที่ 2.2 น้ าเสียจากแหล่งชุมชน

2.1.2. น้ าเสียจากกิจกรรมอุตสาหกรรม ได้แก่น้ าเสียจากขบวนผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมรวมทั้งน้ าหล่อเย็นที่มี ความร้อนสูง และน้ าเสียจากห้องน้ าห้องส้วมของคนงานด้วยความเน่าเสียของคุคลองเกิดจากน้ าเสียประเภทนี้ประมาณ 25% แม้จะมีปริมาณไม่มากนัก แต่สิ่งสกปรกในน้ าเสียจะเป็นพวกสารเคมีที่เป็นพิษและพวกโลหะหนักต่าง ๆ รวมทั้งพวก สารอินทรีย์ต่าง ๆ ที่มีความเข้มข้นสูงด้วย

ภาพที่ 2.3 น้ าเสียจากกิจกรรมอุตสาหกรรม

2.1.3 กรรมวิธีในการบ าบัดน้ าเสีย การบ าบัดน้ าเสียให้เป็นน้ าที่สะอาดก่อนปล่อยทิ้งเป็นวิธีการหนึ่งในการแก้ไขปัญหาแม่น้ าล าคลองเน่าเสีย โดยอาศัยกรรมวิธีต่าง ๆ เพ่ือลดหรือท าลายความสกปรกที่ปนเปื้อนอยู่ในห้องน้ าได้แก่ ไขมัน น้ ามัน สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ สารพิษ รวมทั้งเชื้อโรคต่างๆ ให้หมดไปหรือให้เหลือน้อยที่สุดเมื่อปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ าก็จะไม่ท าให้แหล่งน้ านั้นเน่าเสีย อีกต่อไป ขั้นตอนในการบ าบัดน้ าเสีย

2.1.4 เนื่องจากน้ าเสียมีแหล่งที่มาแตกต่างกันจึงท าให้มีปริมาณและความสกปรกของน้ าเสียแตกต่างกันไปด้วยในการ ปรับปรุง คุณภาพของน้ าเสียจ าเป็นจะต้องเลือกวิธีการที่เหมาะสมส าหรับกรรมวิธีในการปรับปรุงคุณภาพของน้ าเสียนั้นก็มีหลายวิธีด้วยกันโดยพอจะแบ่งขั้นตอนในการบ าบัดออกได้ดังนี้ การบ าบัดน้ าเสียขั้นเตรียมการ (Pretreatment) เป็นการก าจัดของแข็งขนาดใหญ่ออกเสียก่อนที่น้ าเสียจะถูกปล่อยเข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสีย เพื่อป้องกันการอุดตันท่อน้ าเสีย และเพ่ือไม่ท าความเสียหายให้แก่เครื่องสูบน้ า การบ าบัดในขั้นนี้ได้แก่

การดักด้วยตะแกรง เป็นการก าจัดของแข็งขนาดใหญ่โดยใช้ตะแกรง ตะแกรงท่ีใช้โดยทั่วไปมี 2 ประเภทคือ ตะแกรงหยาบและตะแกรงละเอียด

การบดตัดเป็นการลดขนาดหรือปริมาตรของแข็งให้เล็กลง ถ้าสิ่งสกปรกที่ลอยมากับน้ าเสียเป็นสิ่งที่เน่าเปื่อยได้ต้องใช้เครื่องบดตัดให้ละเอียด ก่อนแยกออกด้วยการตกตะกอน

Page 14: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

13

2.1.5 การดักกรวดทราย เป็นการก าจัดพวกกรวดทรายท าให้ตกตะกอนในรางดักกรวดทราย โดยการลดความเร็วน้ าลง

การก าจัดไขมันและน้ ามันเป็นการก าจัดไขมันและน้ ามันซึ่งมักอยู่ในน้ าเสียที่มาจากครัว โรงอาหาร ห้องน้ า ปั๊มน้ ามัน และโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิดโดยการกักน้ าเสียไว้ในบ่อดักไขมันในช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้น้ ามันและไขมันลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ าแล้วใช้เครื่องตักหรือกวาดออกจากบ่อ

ภาพที่ 2.4 การดักกรวดทราย 2.2 การบ าบัดน้ าเสียขั้นที่สอง (Secondary Treatment)

เป็นการก าจัดน้ าเสียที่เป็นพวกสารอินทรีย์อยู่ในรูปสารละลายหรืออนุภาคคอลลอยด์ โดยทั่วไปมักจะเรียกการบ าบัด ขั้นที่สองนี้ว่า "การบ าบัดน้ าเสียด้วยขบวนการทางชีววิทยา" เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่ต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลาย หรือท าลายความสกปรกในน้ าเสีย การบ าบัดน้ าเสียในปัจจุบันนื้อย่างน้อยจะต้องบ าบัดถึงขั้นที่สองนี้ เพ่ือให้น้ าเสียที่ผ่าน การบ าบัดแล้วมีคุณภาพมาตรฐานน้ าทิ้งที่ทางราชการก าหนดไว้ การบ าบัดน้ าเสียด้วยขบวนการทางชีววิทยาแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ขบวนการที่ใช้ออกซิเจน เช่น ระบบบ่อเติมอากาศ ระบบแคติเวตเตดสลัดจ์ ระบบแผ่นหมุนชีวภาพ ฯลฯ และ ขบวนการที่ไม่ใช้ออกซิเจน เช่น ระบบถังกรองไร้อากาศ ระบบถังหมักตะกอน ฯลฯ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับชนิดของจุลินทรีย์ ที่ท าหน้าที่ย่อยสลาย

ภาพที่ 2.5 การบ าบัดน้ าเสียขั้นที่สอง 2.3 การบ าบัดน้ าเสียขั้นสูง (Advanced Treatment)

เป็นการบ าบัดน้ าเสียที่ผ่านการบ าบัดในขั้นที่สองมาแล้ว เพื่อก าจัดสิ่งสกปรกบางอย่างที่ยังเหลืออยู่ เช่น โลหะหนัก หรือเชื้อโรคบางชนิดก่อนจะระบายน้ าทิ้งลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะการบ าบัดขั้นนี้มักไม่นิยมปฏิบัติกัน เนื่องจากมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่ายสูง นอกจากผู้บ าบัดจะมีวัตถุประสงค์ในการน าน้ าที่บ าบัดแล้วกลับคืนมาใช้อีกครั้ง

Page 15: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

14

ภาพที่ 2.6 การบ าบัดน้ าเสียขั้นสูง

2.3.1 ปัญหาของทรัพยากรน้ าปัญหาส าคัญ ๆ ที่เกิดข้ึน คือ

1. ปัญหาการมีน้ าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผลเนื่องจากการตัดไม้ท าลายป่า ท าให้ปริมาณน้ าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสียหายต่อพืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์

2. ปัญหาการมีน้ ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ท าให้เกิดน้ าท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน 2.3.2 ปัญหาน้ าเสียเป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ท าให้เกิดน้ าเสีย ได้แก่

1. น้ าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลที่ถูกทิ้งสู่แม่น้ าล าคลอง 2. น้ าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 3. น้ าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้ าล าคลอง 4. น้ าเสียที่เกิดขึ้นนี้ ส่งผลเสียหายทั้งต่อสุขภาพอนามัย เป็นอันตราย

ต่อสัตว์น้ า และมนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ท าให้ไม่สามารถน าน้ าในแหล่งน้ ามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรม (ทรัพยากรน้ า, 2557:เว็บไซด์)

2.4 ผลกระทบของน้ าเสียต่อสิ่งแวดล้อม 1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย 2. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงน าโรคต่าง ๆ 3. ท าให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ า และอากาศ 4. ท าให้เกิดเหตุร าคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้ าโสโครก 5. ท าให้เกิดการสูญเสยีทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ าที่มีสีด าคล้ าไปด้วยขยะ 6. ท าให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น จ านวนสัตว์น้ าลดลง 7. ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว

2.6 ประโยชน์ ทางตรง : ลดปริมาณสารอินทรีย์ ตะกอนแขวนลอย และ สารอาหาร ได้แก่ สารประกอบไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส ทางอ้อม : ท าให้เกิดสมดุลของระบบนิเวศน์ และสภาพแวดล้อม เป็นที่อยู่อาศัย และแหล่ง อาหารของสัตว์ และสามารถใช้เป็น ที่พักผ่อนหย่อนใจ และศึกษาทางธรรมชาติ ข้อดี เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพทั้งทางด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการด าเนินงาน และด้านเทคนิคในการบ าบัดน้ าเสีย ดังนี้

Page 16: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

15

1. ค่าก่อสร้างไม่แพงเมื่อเทียบกับระบบบ าบัดชนิดอ่ืน ๆ 2. ค่าด าเนินงานและการควบคุมดูแลระบบค่อนข้างต่ า 3. การด าเนินงานและการดูแลระบบเป็นไปตามระยะเวลา ต่างจากระบบอ่ืน ๆ 4. ระบบมีเสถียรภาพแม้ว่าสภาวะแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป 5. สภาพแวดล้อมเป็นที่อยู่อาศัย และแหล่งอาหารของสัตว์ชนิดต่าง ๆ ไม่มีผลกระทบต่อชุมชน

2.7 ข้อเสีย

1. ต้องใช้พื้นมากกว่าระบบบ าบัดน้ าเสียทั่ว ๆ 2. ประสิทธิภาพในการบ าบัดอาจจะน้อยกว่าระบบบ าบัดน้ าเสียทั่ว ๆ ไป เพราะยังต้องขึ้นอยู่

กับปั่นของแรงคน

Page 17: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

16

บทท่ี 3 วิธีด้าเนินการวิจัย

ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยคณะผู้วิจัยได้ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ สิ่งประดิษฐ์ซึ่งได้แก่ อาจารย์แผนกช่างไฟฟ้าก าลัง นักเรียนวิทยาลัยการอาชีพนครปฐม แผนกช่างไฟฟ้าฟ้าก าลัง ชั้น ปวช.3/2 จ านวน 10 คน เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เครื่องมือในการวิจัย และการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

วัสดุและอุปกรณ์ เหล็กฉาก ขนาด 1.5 นิ้ว จ านวน 2 เส้น เหล็กแบน ขนาด 1.5นิ้ว จ านวน 1 เส้น ท่อเหล็กประปา ขนาด 1.5นิ้ว จ านวน 2 เมตร โคลงจักรยานเก่า จ านวน 1 โคลง ทุน่ลอยน้ า จ านวน 2 ทุน่ ใบพัด จ านวน 2 ใบ ตะแกลง จ านวน 1 อัน ตุ๊กตาเพลา จ านวน 4 ตัว โซ่จักรยาน จ านวน 4 เส้น สเตอร์จักรยาน จ านวน 4 อัน น๊อต จ านวน 20 ตัว สี จ านวน 2 กระปุก ทินเนอร์ จ านวน 1 ขวด แปลงทาสี จ านวน 2 อัน

เครื่องมือที่ใช ้

สว่านเจาะเหล็ก ตู้เชื่อม หินเจียร ค้อน, คีม, ไขควง, ปะแจ

Page 18: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

17

ขั นตอนการประดิษฐ์ 1. ออกแบบโครงสร้างจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

ภาพที่ 3.1 ออกแบบโครงสร้าง

2. ประกอบจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

ภาพที่ 3.2 ประกอบจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

3. ตรวจสอบการใช้งานของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

ภาพที่ 3.3 ตรวจสอบการใช้งานของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

Page 19: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

18

4. บ าบัดน้ าเสีย

ภาพที่ 3.4 บ าบัดน้ าเสีย การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.4.1 เก็บรวบรวมคะแนนจากการทดลองท่ีผู้ประเมินผลการท าลองประเมินให้ น าคะแนนที่ได้จากการทดลองมาท าการหาค่าเฉลี่ยระดับคะแนนเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย 3.4.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม มีขั้นตอนและวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ 1. ผู้วิจัยน าแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างเพ่ือกรอกแบบสอบถามพร้อมทั้งเก็บรวบรวมแบบสอบถามส่งคืนผู้วิจัย 2. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องในการกรอกข้อมูลแบบสอบถามแต่ละคน จ านวน 15 คน 3. การลงรหัสแบบสอบถาม ผู้วิจัยน าแบบสอบถามที่ผ่านการกรอกข้อมูลแล้วไปท าการออกรหัสโดยแบ่งเป็นรหัสหน่วยงานและรหัสเลขที่ของแบบสอบถาม 4. การตรวจนับให้คะแนน ผู้วิจัยท าการตรวจผลการกรอกข้อมูลในแต่ละหัวจ้อพร้อมทั้งท าการให้รหัสไว้เพื่อให้ง่ายต่อการน าข้อมูลไปใช้งาน 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยท าการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามทั้งหมดลงในตารางเพ่ือน าไปด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล แบบประเมินวัดประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย 1. จัดท าแบบประเมินในการบ าบัดน้ าเสียแบ่งเป็นหัวข้อการใช้งานในด้านต่าง ๆ แล้วแปลเป็นคะแนนเพ่ือให้ง่ายต่อการหาค่าประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย มากที่สุด ให้มีค่าคะแนนเป็น 5 มาก ให้มีค่าคะแนนเป็น 4 ปานกลาง ให้มีค่าคะแนนเป็น 3 น้อย ให้มีค่าคะแนนเป็น 2 น้อยที่สุด ให้มีค่าคะแนนเป็น 1 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

Page 20: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

19

ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่าเป็นเครื่องมือในการวิจัย มีข้ันตอนวิธีการสร้างดังนี้ ศึกษาแนวทางการสร้างแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่าจากเอกสารต่าง ๆ เกี่ยวกับข้ันตอนและวิธีการสร้างที่เป็นแนวคิดทฤษฎี เนื้อหา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นแนวทางในการก าหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ส าหรับก าหนดประเด็นหลักและประเด็นย่อย ให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระตามวัตถุประสงค์แล้วน ามาสร้างแบบสอบถาม ด าเนินการร่างแบบสอบถามโดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 2 ตอนคือ ตอนที่ 1 เป็นค าถามเก่ียวกับข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคลได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ตอนที่ 2 เป็นค าถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย จ านวน 5 หัวข้อ ลักษณะค าถามเป็นแบบประเมินค่า (Rating Scale) โดยให้คะแนนเป็น 5 ระดับคือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 3. น าแบบสอบถามฉบับร่างให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องตรงตามเนื้อหา (Content Validity) เพ่ือให้ได้แบบสอบถามท่ีมีข้อความตรงประเด็นครอบคลุมเนื้อหา มีความเหมาะสมด้านการใช้ภาษาและถ้อยค า 4. ด าเนินการแก้ไขแบบสอบถาม เมื่อแก้ไขเรียบร้อยแล้วน าไปให้ครูที่ปรึกษาพิจารณาความถูกต้องและเหมาะสม 5. น าแบบสอบถามที่ผ่านการพิจารณาจากครูที่ปรึกษาเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านเพ่ือตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา 6. น าแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่านมาด าเนินการปรับปรุงแก้ไขและให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบอีกครั้ง 7. ก าหนดค่าน้ าหนักแบบสอบถาม โดยก าหนดให้ค่าคะแนนดังนี้ มากที่สุด ให้มีค่าคะแนนเป็น 5 มาก ให้มีค่าคะแนนเป็น 4 ปานกลาง ให้มีค่าคะแนนเป็น 3 น้อย ให้มีค่าคะแนนเป็น 2 น้อยที่สุด ให้มีค่าคะแนนเป็น 1 8. จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพ่ือน าไปใช้เก็บข้อมูล การทดสอบการใช้งาน น าจักรยานบ าบัดน้ าเสีย มาท าการทดลองตามหัวข้อในแบบประเมิน โดยจัดท าแบบประเมินในการบ าบัดน้ าเสียแบ่งเป็นหัวข้อการใช้งานในด้านต่าง ๆ แล้วแปลเป็นคะแนนเพ่ือให้ง่ายต่อการหาค่าประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย (นักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพนครปฐมจ านวน 5 คน และบุคคลภายนอกที่ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย จ านวน 3 คน เป็นผู้ประเมินผล) การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. เก็บรวบรวมคะแนนจากการทดลองท่ีผู้ประเมินผลการท าลองประเมินให้ น าคะแนนที่ได้จากการทดลองมาท าการหาค่าเฉลี่ยระดับคะแนนเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม มีขั้นตอนและวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้

Page 21: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

20

1. ผู้วิจัยน าแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างเพ่ือกรอกแบบสอบถามพร้อมทั้งเก็บรวบรวมแบบสอบถามส่งคืนผู้วิจัย 2. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องในการกรอกข้อมูลแบบสอบถามแต่ละคน จ านวน 19 คน 3. การลงรหัสแบบสอบถาม ผู้วิจัยน าแบบสอบถามที่ผ่านการกรอกข้อมูลแล้วไปท าการออกรหัสโดยแบ่งเป็นรหัสหน่วยงานและรหัสเลขที่ของแบบสอบถาม 4. การตรวจนับให้คะแนน ผู้วิจัยท าการตรวจผลการกรอกข้อมูลในแต่ละหัวข้อพร้อมทั้งท าการให้รหัสไว้เพ่ือให้ง่ายต่อการน าข้อมูลไปใช้งาน 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยท าการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามทั้งหมดลงในตารางเพ่ือน าไปด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง น าผลของคะแนน ที่ได้จากการท าแบบทดสอบการใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย มาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย การแปลผลคะแนนที่ได้จากแบบสอบถาม การตีค่าเฉลี่ยน้ าหนักประสิทธิภาพของการใช้จักรยานบ าบัดน้ าเสีย ก าหนดดังนี้ 4.50-5.00 ความหมาย มีประสิทธิภาพดีมาก 350-4.49 ความหมาย มีประสิทธิภาพดี 2.50-3.49 ความหมาย มีประสิทธิภาพปานกลาง 1.50-2.49 ความหมาย มีประสิทธิภาพน้อย 1.00-1.49 ความหมาย มีประสิทธิภาพไม่ผ่าน 2. การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม น าข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าเฉลี่ย (x̄ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การแปลผลคะแนนที่ได้จากแบบสอบถาม ส าหรับการตีค่าเฉลี่ยน้ าหนักของแบบสอบถามตามรายการข้อค าถามและรายการก าหนดดังนี้ 4.50-5.00 ความหมาย มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด 350-4.49 ความหมาย มีความพึงพอใจในระดับมาก 2.50-3.49 ความหมาย มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง 1.50-2.49 ความหมาย มีความพึงพอใจในระดับน้อย 1.00-1.49 ความหมาย มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. ค่าสถิติร้อยละ (Percentage) สูตรการหาค่าร้อยละ (Percentage)

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ f แทน ความถี่ท่ีต้องการแปลงให้เป็นค่าร้อยละ

100N

fp

Page 22: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

21

N แทน จ านวนความถี่ทั้งหมด 2. ค่าเฉลี่ย (x̄ ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สูตรการหาค่าคะแนนเฉลี่ย (x̄ ) X = x n เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ย X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดของกลุ่ม n แทน จ านวนของคะแนนในกลุ่ม สูตรการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = nX2 - (X)2

n(n – 1) เมื่อ S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ค่าคะแนน n แทน จ านวนคะแนนในแต่ละกลุ่ม แทน ผลรวม

Page 23: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

22

บทท่ี 4 ผลการวิจัย

จักรยานบ าบัดน้ าเสีย ผู้วิจัยได้ท าการประดิษฐ์ขึ้นเพ่ือเป็นอุปกรณ์เสริมในการบ าบัดน้ าเสียและเก็บขยะได้ โดยสามารถท าโดยการทดสอบประสิทธิภาพและความพึงพอใจการท างานของสิ่งประดิษฐ์ มีดังนี้ 4.1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ตารางที่ 4.1 แสดงผลการประเมินจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

ด้านการประเมิน ระดับคะแนนเฉลี่ย

ผลการประเมิน

1. สามารถน าไปใช้งานได้จริง 4.50 ดีมาก 2. ความทนทานต่อการใช้งาน 4.30 ดี 3. รูปร่างเหมาะสมต่อการใชง้าน 4.60 ดีมาก 4. การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า 4.50 ดีมาก 5. น้ าหนักของสิ่งประดิษฐ์เหมาะสมต่อการใช้งาน 4.50 ดีมาก 6. ความปลอดภัยในการใช้งานสิ่งประดิษฐ์ 4.60 ดีมาก 7. ความเหมาะสมของวัสดทุี่ใช้ประดิษฐ์ 4.60 ดีมาก 8. เทคนิคการออกแบบและระบบการท างานไม่ยุ่งยากซับซ้อน สะดวกต่อผู้ใช้งาน 4.70 ดีมาก

9. ความคุ้มค่าในการลงทุน 4.40 ดี 10. สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณชิย์ได ้ 4.80 ดีมาก

ระดับคะแนนเฉลี่ยทุกด้าน 4.55 ดีมาก ผลการประเมินเพ่ือหาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ปรากฏว่า มีคะดับคะแนนเฉลี่ย 4.55 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ด้านการประเมินที่มีระดับสูงที่สุดคือ สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ได้ มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.80 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ส่วนด้านการประเมินที่มีระดับต่ าที่สุดคือ ความทนทานต่อการใช้งาน มีระดับคะแนน 4.30 อยู่ในเกณฑ์ด ี 4.2 ผลการประเมินประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ผลการศึกษาประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสียครั้งนี้ก าหนดให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ทดลองใช้ โดยส ารวจความพึงพอใจในการทดลองใช้งาน ตามความเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้มีดังนี้

Page 24: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

23

4.2.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป 1) เพศ ตารางที่ 4.2 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจ าแนกตามเพศ เพศ จ านวน (คน) ร้อยละ ชาย 8 80.00 หญิง 2 20.00 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 4.2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00เป็นเพศหญิง จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 2) อายุ ตารางที่ 4.3 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจ าแนกตามอายุ อายุ จ านวน (คน) ร้อยละ 15-30 ปี 8 80.00 31-46 ปี 2 20.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 4.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 15-30 ปี จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ช่วงอายุที่มีจ านวนน้อยที่สุดคือระหว่าง 31-46 ปี จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 3) ระดับการศึกษา ตารางที่ 4.4 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจ าแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ ประถมต้น ประถมปลาย อ่ืน ๆ - ปวช. - ปวส. - ปริญญาตรี - ปริญญาโท

3 5 2

30.00 50.00 20.00

รวม 10 100.00 จากตารางที่ 4.4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับ ปวช. จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 และระดับ ปวส. จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับ และระดับปริญญาโท จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00

Page 25: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

24

4.2.2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ตารางที่ 4.5 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

รายการความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ 1. สามารถน าไปใช้งานได้จริง 4.40 มาก 2. ความทนทานต่อการใช้งาน 4.30 มาก 3. รูปร่างเหมาะสมต่อการใชง้าน 4.30 มาก 4. การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า 4.80 มากที่สุด 5. น้ าหนักของสิ่งประดิษฐ์เหมาะสมต่อการใช้งาน 4.40 มาก 6. ความปลอดภัยในการใช้งานสิ่งประดิษฐ ์ 4.30 มาก 7. ความเหมาะสมของวัสดทุี่ใช้ประดิษฐ์ 4.40 มาก 8. เทคนิคการออกแบบและระบบการท างานไม่ยุ่งยากซับซ้อน สะดวกต่อผู้ใช้งาน 4.50 มากที่สุด

9. ความคุ้มค่าในการลงทุน 4.20 มาก 10. สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณชิย์ได้ 4.30 มาก

รวม 4.39 มาก จากตารางที่ 4.6 พบว่าประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสียในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.39 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.80 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือความคุ้มค่าในการลงทุน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20

Page 26: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

25

บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างอุปกรณ์ท่ีน ามาบ าบัดน้ าเสีย มีการออกแบบโครงสร้างจักรยานบ าบัดน้ าเสีย โดยมีการศึกษาข้อมูลในเรื่องหลักการท างานของจักรยาน กลไกของการถีบและปั่นจักรยาน หลักการท างานของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย หลักการในการประดิษฐ์คือใช้กลไกการถีบและการปั่นของจักรยานท าให้ใบพัดและตะแกลงให้เกิดการเคลื่อนที่เพ่ือให้บ าบัดน้ าและเก็บขยะภายในแหล่งน้ า เมื่อประดิษฐ์เสร็จสิ้นแล้วได้น าสิ่งประดิษฐ์ไปทดลองใช้งานเพ่ือทดสอบหาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้งาน 5.1.1 จักรยานบ าบัดสามารถบ าบัดน้ าเสียได้ 5.1.2 จักรยานสามารถเก็บขยะภายในแหล่งน้ าได้ 5.1.3 รูปร่างมีความเหมาะสมในการใช้งาน 5.1.4 สามารถปรับระดับได้ตามความต้องการ 5.1.5 น้ าหนักมีความเหมาะสมต่อการใช้งาน ข้อเสนอแนะจากการประเมิน - ควรพัฒนาให้การใช้งานได้ง่ายขึ้นโดยเปลี่ยนจากการปั่นจักรยานเป็นการใช้มอเตอร์ - ควรปรับแต่งรูปทรงจักรยานให้มีที่บังแดดและที่กันน้ ากระเด็นข้างหลัง ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ 1.คณะผู้จัดท าโครงงานเรื่องจักรยานบ าบัดน้ าเสีย เพื่อลดปัญหาน้ าเสียของแหล่งน้ าต่างๆ จกัรยานบ าบัดน้ าเสียนี้ยังไม่เหมาะสมผู้น้ าหนักมากเกินไป ดังนั้นส าหรับผู้ที่ใช้สนใจโครงงานชิ้นนี้สามารถโครงงานชิ้นนี้ไปเป็นแนวทางในการศึกษาต่อและพัฒนาให้รับน้ าหนักให้ได้มากกว่าเดิม และสามารถน าไปใช้งานได้จริง ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป จกัรยานบ าบัดน้ าเสียนี้ยังไม่เหมาะสมผู้น้ าหนักมากเกินไป ดังนั้นส าหรับผู้ที่ใช้สนใจโครงงานชิ้นนี้สามารถโครงงานชิ้นนี้ไปเป็นแนวทางในการศึกษาต่อและพัฒนาให้รับน้ าหนักให้ได้มากกว่าเดิม และสามารถน าไปใช้งานได้จริง อภิปรายผล

ผลการวิจัยเรื่องเรื่องจักรยานบ าบัดน้ าเสีย การประเมินเพ่ือหาประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย ปรากฏว่า มีคะดับคะแนนเฉลี่ย 4.55 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ด้านการประเมินที่มีระดับสูงที่สุดคือ สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ได้ มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.80 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ส่วนด้านการประเมินที่มีระดับต่ าที่สุดคือ ความทนทานต่อการใช้งาน มีระดับคะแนน 4.30 อยู่ในเกณฑ์ด ี

Page 27: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

26

ประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสียในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.39 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.80 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือความคุ้มค่าในการลงทุน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 ข้อเสนอแนะในการน้าผลการวิจัยไปใช้

- ควรพัฒนาให้การใช้งานได้ง่ายขึ้นโดยเปลี่ยนจากการปั่นจักรยานเป็นการใช้มอเตอร์ - ควรปรับแต่งรูปทรงจักรยานให้มีที่บังแดดและที่กันน้ ากระเด็นข้างหลัง

ข้อเสนอแนะในการท้าวิจัยครั งต่อไป

- ควรพัฒนาให้การใช้งานได้ง่ายขึ้นโดยเปลี่ยนจากการปั่นจักรยานเป็นการใช้มอเตอร์

- ควรปรับแต่งรูปทรงจักรยานให้มีที่บังแดดและที่กันน้ ากระเด็นข้างหลัง

Page 28: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

27

บรรณานุกรม บรรณานุกรมภาษาไทย http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter3/chapter3_water13.htm http://www.pcd.go.th/info_serv/water_wt.html

Page 29: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

28

ภาคผนวก

Page 30: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

29

ภาคผนวก ก

. ประสิทธิภาพของจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

Page 31: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

30

ภาคผนวก ข

ประสิทธิผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานจักรยานบ าบัดน้ าเสีย

Page 32: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

31

ประวัติผู้วิจัย นักเรียน นักศึกษา

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายวิทธิยากร มิตรมาตย์ Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr. Witthiyakorn Mitmart

2. เลขหมายบัตรประจ าตัวประชาชน 1739901756091 3. ระดับการศึกษา ปวช. ชัน้ปีที่ 3 ปวส. ชั้นปีที่…….. ทล.บ. ชั้นปีที่

................. สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง สาขางานไฟฟ้าก าลัง ระยะเวลาที่ใช้ท าวิจัย 1 ภาคเรียน

4. ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่อยู่ 23/298 หมู่ 8 ต าบลอ้อมใหญ่ อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73160 (email) [email protected]

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นาย ศิรสิทธิ์ สุนิหู Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr. Sirasit Sunihu 2. เลขหมายบัตรประจ าตัวประชาชน 1739901795950

3. ระดับการศึกษา ปวช. ชั้นปีที่ 3 ปวส. ชั้นปีที่............ ทล.บ. ชัน้ปีที่.................

สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง สาขางานไฟฟ้าก าลัง ระยะเวลาที่ใช้ท าวิจัย 1 ภาคเรียน

4 ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 36/1 หมู่ 3 ต าบลขุนแก้ว อ าเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

(e-mail) [email protected] 1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นาย อนุพงษ์ หาญเชิงชัย

Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr. Auupong Hauchoengchal 2. เลขหมายบัตรประจ าตัวประชาชน 1409600243993

3. ระดับการศึกษา ปวช. ชั้นปีที่ 3 ปวส. ชั้นปีที่............ ทล.บ. ชัน้ปีที่.................

สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง สาขางานไฟฟ้าก าลัง ระยะเวลาที่ใช้ท าวิจัย 1 ภาคเรียน

4 ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 38/19 หมู่ 6 ต าบลหอมเกร็ด อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

(e-mail) [email protected]

Page 33: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

32

ระเบียบการส่งต้นฉบับรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

ส านักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบในการก าหนดมาตรฐานการพิมพ์รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ตรวจรูปแบบการพิมพ์ (Format) รูปแบบการอ้างอิงเอกสาร (Style) ในเนื้อหารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การก าหนดลักษณะของรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ที่นักวิจัยจะต้องน าส่งส านักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

ส านักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาจึงได้ก าหนดระเบียบการส่งต้นฉบับรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ไว้ ให้นักวิจัยยึดเป็นแนวทางในการส่งต้นฉบับ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และส านักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาสามารถตรวจสอบต้นฉบับ เพ่ือให้รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์มีคุณภาพและมีรูปแบบเดียวกัน

1. การเตรียมต้นฉบับ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ขนาดของต้นฉบับ พิมพ์หน้าเดียวบนกระดาษขนาดเอ 4 โดยก าหนด

เว้นระยะห่างระหว่างขอบกระดาษด้านบนและซ้ายมือ 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) ด้านล่างและขวามือ 2.54 เซนติเมตร (1 นิ้ว)

1.2 รูปแบบอักษรและการจัดวางต าแหน่ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษใช้รูปแบบอักษร TH SarabunPSK พิมพ์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เวิร์ด โดยตั้ งค่า Spacing (ระยะห่าง) ดังนี้ ค่า Before (ก่อน) เท่ากับ 0 , ค่า After (หลัง) เท่ากับ 0, ค่า Line Spacing (ระยะห่างบรรทัด) เท่ากับ 1 หรือ Single และขนาด ชนิดของตัวอักษร รวมทั้งการจัดวางต าแหน่ง มีดังนี้

1.2.1 หัวกระดาษ ประกอบด้วย เลขหน้า ขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา ต าแหน่งชิดขอบกระดาษด้านขวา

1.2.2 ชื่อรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ คลิกท่ีต าแหน่งนี้ให้เป็นแถบสีด า และพิมพ์ชื่อเรื่องภาษาไทย ขนาด 20 ชนิดตัวหนา ต าแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษ

1.2.3 ชื่อผู้วิจัย ขนาด 20 ชนิดตวัหนา ต าแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษ ใต้ชื่อเรื่อง 1.2.4 หน่วยงานหรือสังกัดของผู้วิจัย ขนาด 20 ชนิดตวัหนา

ต าแหน่งกึ่งกลางหน้ากระดาษใต้ชื่อผู้วิจัย 1.2.5 หัวข้อของบทคัดย่อไทย ภาษาไทย ขนาด 16 ชนิดตัวหนา ต าแหน่งชิดขอบกระดาษด้านซ้าย 1.2.6 เนื้อหาบทคัดย่อไทย ภาษาไทย ขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพ์เป็น 1 คอลัมน์ บรรทัดแรกเว้น 1 Tab จากขอบกระดาษ ด้านซ้าย และพิมพ์ให้ชิดขอบทั้งสองด้าน 1.2.7 หัวข้อเรื่องภาษาไทย 18 ชนิดตัวหนา ต าแหน่งกึ่งกลาง หน้ากระดาษ 1.2.8 หัวข้อย่อย ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ขนาด 16 ชนิด

ตัวธรรมดาระบุหมายเลขหน้าหัวข้อย่อย โดยเรียงตามล าดับหมายเลข

ต าแหน่ง เว้น 1 Tab จากขอบกระดาษด้านซ้าย 1.2.9 เนื้อหา ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพ์เป็น 1 คอลัมน์ และพิมพ์ให้ชิดขอบทั้งสองด้าน

Page 34: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

33

1.2.10 บรรณานุกรม ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ขนาด 16 ชนิด

ใช้แบบ APA 6th (American psychology Association) 2. การเรียงล้าดับเนื อหาต้นฉบับ

เนื้อหา ภาษาไทยที่มีค าศัพท์ภาษาอังกฤษ ควรแปลเป็นภาษาไทยให้มากที่สุด (ในกรณีที่ค าศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นค าเฉพาะที่แปลแล้วไม่ได้ความหมายชัดเจนให้ทับศัพท์ได้) และควรใช้ภาษาที่ผู้อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน หากใช้ค าย่อต้องเขียนค าเต็มไว้ครั้งแรกเนื้อหาเรียงล าดับดังนี้

2.1 ปกในและปกนอก โดยชื่อเรื่อง ควรสั้น และกะทัดรัด ความยาวไม่ควรเกิน 100 ตัวอักษร ชื่อเรื่องภาษาไทย พร้อมรายชื่อผู้วิจัย (ถ้ามีผู้วิจัยมากกว่า 3 คน ให้ระบุชื่อผู้วิจัย 3คนและคณะ)

2.2 บทคัดย่อ เขียนเฉพาะภาษาไทย สรุปสาระส าคัญให้เข้าใจง่าย ความยาว ไม่ควรเกิน 15 บรรทัด ใช้อักษรตัวตรง จะใช้ตัวเอนเฉพาะศัพท์วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย และขอบเขตของการวิจัยวิธีการวิจัย รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ วิธีการเก็บข้อมูล จ านวนและลักษณะของกลุ่มที่ศึกษาผลการวิจัย รวมถึงระดับนัยส าคัญทางสถิติ (ถ้ามีการทดสอบ) บทคัดย่อที่ดี ควรมีความถูกต้อง โดยระบุจุดประสงค์และเนื้อหาของเรื่องตามที่ปรากฏในรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เช่น ค าย่อ ค าที่ไม่คุ้นเคยให้เขียนเต็มเมื่อกล่าวถึงครั้งแรก ไม่จ าเป็นต้องอ้างเอกสาร พยายามเขียนให้สั้นที่สุด ลักษณะของการรายงานมากกว่าการประเมิน จึงไม่ควรมีค าวิจารณ์ นอกจากรายงานผล ข้อมูลตัวเลขที่ส าคัญที่ได้จากการวิจัย

2.3 กิตติกรรมประกาศ คือ ข้อความแสดงความขอบคุณบุคคล สถาบันและ/หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพ่ือเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อมูล และผู้ที่อนุญาตให้ใช้ข้อเขียนหรือเครื่องมือในการวิจัย ข้อความดังกล่าวควรเขียนเรียบๆ โดยเขียนเป็นภาษาทางวิชาการ การระบุชื่อบุคคลให้ระบุชื่อจริงพร้อมนามสกุลและค าน าหน้า ห้ามใช้ชื่อเล่น ถ้าเป็นบุคคลที่มียศ/ต าแหน่งทางวิชาการ และต าแหน่งหน้าที่การงาน ให้ระบุไว้ด้วย กิตติกรรมประกาศนี้ให้พิมพ์ไว้ ต่อจากบทคัดย่อ ความยาวไม่เกิน 1 หน้า ท้ายข้อความระบุชื่อผู้เขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พร้อมปีที่ท าเสร็จ หากผู้เขียนรายงานวิจัยมีมากกว่า 1 คน ให้ใช้ค าว่า “คณะผู้วิจัย”

2.4 สารบัญ เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบส าคัญทั้งหมดของรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ พิมพ์เลขหน้าก ากับ โดยเริ่มนับจากบทคัดย่อเป็นหน้า ก

2.5 สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งต าแหน่งหน้าของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ ในรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ พิมพ์เรียงล าดับต่อจากส่วนสารบัญ

2.6 สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งต าแหน่งหน้าของ รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ ทั้งหมดที่มีอยู่ในรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ พิมพ์ขึ้นหน้าใหม่เรียงต่อจากสารบัญตาราง 2.7 บทที่ 1 บทน า ประกอบด้วย ความเป็นมาและความส าคัญ, วัตถุประสงค์ของการวิจัย,กรอบแนวคิดในการวิจัย, ขอบเขตการวิจัย, สมมติฐานการวิจัย, นิยามศัพท์ และประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจัย

Page 35: แบบรายงานการวิจัย (วสอศ 3¸‡านแข่งขัน...1 แบบรายงานการว จ ย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการว

34

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ตามล าดับ โดยหน้าแรกของแต่ละบทที่ ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้า แต่นับหน้า

ส่วนหน้าถัดไป พิมพ์เลขหน้าก ากับทุกหน้า 2.8 ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติ

ผู้เขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โดยให้เขียนเป็นความเรียง ความยาวไม่เกิน 1 หน้า มีเนื้อหาดังต่อไปนี้ - ชื่อ นามสกุล พร้อมค าน าหน้า - ถ้ามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิ์ ให้ใส่ไว้ด้วย - วัน เดือน ปี และสถานที่เกิด - วุฒิการศึกษา ตั้งแต่ขั้นปริญญาบัณฑิต หรือเทียบเท่าขึ้นไป - สถานศึกษาและปี พ.ศ. ที่ส าเร็จการศึกษา - ประสบการณ์การท างาน ชื่อผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ - รางวัล หรือทุนการศึกษาที่ได้รับ ระบุเฉพาะที่ส าคัญ - ต าแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน และสถานที่ท างานตามล าดับ

โดยหน้าแรกของหัวข้อ ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้า แต่นับหน้า ส่วนหน้าถัดไป พิมพ์เลขหน้าก้ากับทุกหน้า