12
การศึกษาแนวทางและขั้นตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศ 1 GUIDELINES AND PROCEDURES FOR INTERNATIONAL FREE TRADE NEGOTIATIONS ศิริพร สัจจานันท รองศาสตราจารยประจําสาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บทคัดยอ การศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางและขั้นตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศมีวัตถุประสงค เพื่อ (1) วิเคราะหกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทย (2) เปรียบเทียบกรอบและกระบวนการเจรจาของ ไทยกับประเทศตางๆ (3) เสนอแนะกรอบการ และกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยที่เหมาะสม การ วิจัยครั้งนี้ใชขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวของและขอมูลปฐมภูมิจากการสนทนากลุมและการสัมภาษณเชิงลึกจากกลุตัวอยางเฉพาะเจาะจง ผลการวิจัยพบวา (1) กระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยในชวงที่ผานมาภายใตรัฐธรรมนูญ ฉบับป 2540 เปนชวงที่กระบวนการเจรจาดําเนินไปอยางรวดเร็ว ดวยบทบาทของฝายบริหารที่เขมแข็งและมิตองขอความ เห็นชอบในการจัดทําความตกลงจากรัฐสภา ภายหลังเมื่อมีการบังคับใชรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 ไดมีบทบัญญัติใหการ จัดทําความตกลงระหวางประเทศที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุนตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภากอน รวมทั้งเปด โอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในกระบวนการอยางกวางขวางมากขึ้นกวาเดิม (2) จากการศึกษาเปรียบเทียบกรอบ และกระบวนการเจรจาของไทยกับประเทศตางๆ ไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุและสาธารณรัฐเกาหลี พบวา สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่ไดวางกฎระเบียบในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการเจรจาที่เปดโอกาสในภาคสวนตางๆ ได รวมกันพิจารณาตั้งแตฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร และภาคประชาสังคม ในทุกขั้นตอน คลายคลึงกับสหภาพยุโรป ในขณะทีญี่ปุนและสาธารณรัฐเกาหลีบทบาทของภาคประชาสังคมมีคอนขางนอย บทบาทในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการเจรจาอยู ที่ฝายบริหารและผูมีสวนไดเสียภาคธุรกิจขนาดใหญเปนหลัก (3) ขอเสนอแนะสําหรับกรอบและกระบวนการเจรจาการคา เสรีระหวางประเทศของไทยที่เหมาะสมควรเริ่มจากการกําหนดแผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ เปน ภาพรวมของนโยบาย และมีตัวชี้วัดตางๆ ในการพิจารณาผลกระทบดานตางๆ และการประชาพิจารณกอนนําเสนอตอ รัฐสภาเพื่อเปนกรอบในการเจรจาตอไป คําสําคัญ: กรอบการเจรจา กระบวนการเจรจาการคาเสรี 1 บทความนี้เปนสวนหนึ่งของรายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางและขั้นตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศโดยการ สนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ .. 2554

การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

  

การศึกษาแนวทางและขัน้ตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศ1 GUIDELINES AND PROCEDURES FOR INTERNATIONAL FREE TRADE NEGOTIATIONS

ศิริพร สัจจานันท

รองศาสตราจารยประจําสาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

บทคัดยอ การศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาแนวทางและขั้นตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศ” มีวัตถุประสงคเพ่ือ (1) วิเคราะหกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทย (2) เปรียบเทียบกรอบและกระบวนการเจรจาของไทยกับประเทศตางๆ (3) เสนอแนะกรอบการ และกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยที่เหมาะสม การวิจัยครั้งนี้ใชขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวของและขอมูลปฐมภูมิจากการสนทนากลุมและการสัมภาษณเชิงลึกจากกลุมตัวอยางเฉพาะเจาะจง ผลการวิจัยพบวา (1) กระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยในชวงที่ผานมาภายใตรัฐธรรมนูญฉบับป 2540 เปนชวงที่กระบวนการเจรจาดําเนินไปอยางรวดเร็ว ดวยบทบาทของฝายบริหารท่ีเขมแข็งและมิตองขอความเห็นชอบในการจัดทําความตกลงจากรัฐสภา ภายหลังเมื่อมีการบังคับใชรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 ไดมีบทบัญญัติใหการจัดทําความตกลงระหวางประเทศที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุนตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภากอน รวมท้ังเปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในกระบวนการอยางกวางขวางมากขึ้นกวาเดิม (2) จากการศึกษาเปรียบเทียบกรอบและกระบวนการเจรจาของไทยกับประเทศตางๆ ไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี พบวาสหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่ไดวางกฎระเบียบในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการเจรจาที่เปดโอกาสในภาคสวนตางๆ ไดรวมกันพิจารณาตั้งแตฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร และภาคประชาสังคม ในทุกขั้นตอน คลายคลึงกับสหภาพยุโรป ในขณะที่ญี่ปุนและสาธารณรัฐเกาหลีบทบาทของภาคประชาสังคมมีคอนขางนอย บทบาทในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการเจรจาอยู

ที่ฝายบริหารและผูมีสวนไดเสียภาคธุรกิจขนาดใหญเปนหลัก (3) ขอเสนอแนะสําหรับกรอบและกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยที่เหมาะสมควรเริ่มจากการกําหนดแผนยุทธศาสตรเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืนของประเทศ เปนภาพรวมของนโยบาย และมีตัวชี้วัดตางๆ ในการพิจารณาผลกระทบดานตางๆ และการประชาพิจารณกอนนําเสนอตอรัฐสภาเพื่อเปนกรอบในการเจรจาตอไป คําสําคัญ: กรอบการเจรจา กระบวนการเจรจาการคาเสรี

                                                            1บทความนี้เปนสวนหน่ึงของรายงานการศึกษาวิจัยเร่ือง “การศึกษาแนวทางและขั้นตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศ” โดยการ

สนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2554

Page 2: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

53   

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

ABSTRACT

The objectives of the study “Guidelines and Procedures for International Free Trade Negotiations” are to (1) analyze procedures for free trade negotiations of Thailand (2) compare negotiating framework and procedures between Thailand and other countries (3) recommend appropriate negotiating framework and procedure for Thailand’s Free Trade Negotiations. This study employed secondary data from relevant documents and primary data from focus groups and in-depth interviews with purposive samples.

The results show that (1) the process of negotiating free trade in the past under the Constitution Act of 2540 has proceeded rapidly because of the role of the strong government team and having no need for getting approval from the Parliament. Later, when the Constitution Act of 2550 has come to enforce, the international agreement that are binding on trade and investment must get prior approval from the Parliament. Also, there are more widely opportunities for all sectors to participate in the negotiating procedures. (2) The comparative study of the framework and process of negotiations in various countries including USA, EU, Japan and the Republic of Korea show that the United States of America has laid down rules and regulations for negotiating process that provide large opportunities for various sectors to participate, the legislative sector, the administrative sector and the civil society, in all stages of negotiations. That is similar to the European Union, while Japan and the Republic of Korea, the role of civil society are quite a few the negotiating process has dominated by the role of the administrative body and the large businesses of the countries. (3) Recommendations for an appropriate framework and procedures for Thailand’s Free Trade Negotiations are that there should be a strategic plan for sustainable development of the Country as a policy scenario and set the indicators in considering various impacts from the Free Trade Agreements. Public hearing have to be done prior to submit the framework of negotiations to the Parliament for further consideration. Keywords: Negotiating Framework, Free Trade Negotiations Procedures

Page 3: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

54 บทความวิจัย  

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

1. ความเปนมาของการศึกษา ที่ประชุมสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ.2553 ไดพิจารณาระเบียบวาระ การปองกันผลกระทบตอสุขภาวะและสังคมจากการคาเสรีระหวางประเทศ ซึ่งไดรับทราบและตระหนักถึงเจตนารมณ บทบัญญัติ และมาตรการปองกันผลกระทบจากการคาเสรีระหวางประเทศ

ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพ พ.ศ.2552 มติสมัชชาสุขภาพแหงชาติครั้งที่ 1 ที่ 1.2 (การเขาถึงยาถวนหนาของประชากรไทย) ซึ่งตอมาไดพัฒนาเปนนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนา

ระบบยาแหงชาติ และมติที่ 1.4 (การมีสวนรวมของภาคประชาชนในการกําหนดนโยบายการเจรจาการคาเสรี) และครั้งที่ 2 มติที่ 2.5 (ยุทธศาสตรนโยบายแอลกอฮอลระดับชาติ) และ แผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557

ที่ประชุมดังกลาวมีความหวงใยและกังวลตอผลกระทบดานลบจากการคาเสรีในสินคาที่มีผลตอสุขภาวะและสังคม เชน เครื่องดื่มแอลกอฮอลและยาสูบ และการคุมครองทรัพยสินทางปญญาในสินคาคุณธรรมไดแก ยาและเทคโนโลยีดานสุขภาพ รวมถึงสถานการณที่รายการสินคาดังกลาว ถูกรวมเขากับรายการสินคาธรรมดาอื่นในความตกลงการคาเสรี และกังวลตอชองวางของระบบในการกําหนดกรอบการเจรจาการคาเสรีทุกระดับทั้งที่มีผลบังคับใชแลว หรือกําลังอยูระหวางการเจรจา และท่ีจะมีการเจรจาในอนาคต รวมท้ังไดตระหนักถึงขอจํากัดของกลไกและกระบวนการที่เกี่ยวของกับการเจรจาการคาระหวางประเทศดานสินคาที่มีผลตอสุขภาวะและสังคม และดานบริการที่เกี่ยวเนื่อง รวมถึงการดําเนินการอยางบูรณาการ การมีสวนรวม การนํามาปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม และการใชความรูทางวิชาการ รวมทั้งขอจํากัดในการดําเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแหงชาติในการเจรจาจัดทําความตกลงการคาเสรี

แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยที่บังคับใชอยูในปจจุบัน ในมาตรา 190 ระบุขอบเขตเงื่อนไขของหนังสือสัญญาระหวางประเทศที่ฝายบริหารจะตองเสนอขอความเห็นชอบจากฝายนิติบัญญัติกอนไปแสดงเจตนาผูกพัน เพ่ิมการมีสวนรวมของรัฐสภาและภาคประชาชนต้ังแตขั้นตอนเริ่มตนการเจรจา รวมท้ังกําหนดใหมีการจัดทํากฎหมายเฉพาะดานการเจรจาจัดทําหนังสือสัญญา

และขอตกลงระหวางประเทศ (ในขณะนี้ยังไมมีกฎหมายเฉพาะดังกลาวใชบังคับ) แตกลไกและกระบวนการที่เกี่ยวของกับการเจรจาที่รวมทุกภาคสวนในสังคมยังไมมีความชัดเจน โดยเฉพาะในสวนของภาคประชาชนวาจะเขาไปมีสวนรวมในขั้นตอนใดไดบาง ดวยวิธีการใด อยางไร ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองศึกษากลไก กระบวนตั้งแตขั้นตอนเริ่มดวยการเจรา จนถึงขั้นตอนสุดทาย ที่ประเทศไทยไดเคยดําเนินการมา และกําลังดําเนินอยูในปจจุบัน รวมทั้งที่จะดําเนินการตอไปในอนาคต เพ่ือใหเกิดความชัดเจน โปรงใส ผูมีสวนไดสวนเสียโดยเฉพาะในสินคาและบริการที่มีผลตอสุขภาวะและสังคมใหสามารถเขาถึงกระบวนการเจรจาไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคมโดยรวม

2. วัตถุประสงคของการศึกษา

2.1 เพ่ือศึกษากระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยที่ไดดําเนินการเสร็จส้ินแลว และกําลังดําเนินอยูในปจจุบัน หรือจะมีการดําเนินการในอนาคต

2.2 เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบกรอบและกระบวนการเจรจาของประเทศไทยกับประเทศตางๆ ที่มีความสําคัญเชิงเศรษฐกิจการคากับประเทศไทย

2.3 เพ่ือเสนอแนะกรอบ และกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยที่เหมาะสม 3. วิธีการศึกษา 3.1 ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของกับการเจรจาการคา ทั้งที่เปนทฤษฎีการเจรจาและกระบวนการเจรจาของไทยและของประเทศที่ไดคัดเลือกมาศึกษาในรายงานฉบับนี้ 3 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี กับอีก 1 กลุมประเทศ คือ สหภาพยุโรป สํ าห รั บก า ร เ ลื อ กศึ กษา กร ะบวนกา ร เ จ ร จ าขอ งสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรปเนื่องจากเปนประเทศ/กลุมประเทศที่มีการพัฒนากระบวนการเจรจามานาน อยางเปนระบบ และประเทศตางๆ มักจะใชอางอิงถึง สําหรับญี่ปุนเปนประเทศที่มีความสําคัญเชิงเศรษฐกิจการคาของประเทศไทย สาธารณรัฐเกาหลี เปนประเทศกําลังพัฒนาในระบบประชาธิปไตยในทวีปเอเชีย เชนเดียวกับประเทศไทย

Page 4: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

55   

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

จึงไดนํามาใชเปนตัวแทนของกระบวนการเจรจาของประเทศกําลังพัฒนาที่อาจเทียบเคียงกับประเทศไทยได 3.2 จัดสนทนากลุมยอย (focus group) โดยเชิญผูแทนของหนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมทั้งหมด ที่มีสวนเกี่ยวของกับการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทย มีทั้งภาครัฐ ไดแก กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํ านักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย กรมสนับสนุนบริ ก า ร สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กองวิจัยตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ภาคเอกชน ไดแก สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาหอการคาไทย สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป และองคกรพัฒนาเอกชน/มูลนิธิตางๆ ไดแก มูลนิธิคุมครองผูบริโภค กลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรีภาคประชาชน โดยมีการจัดประชุม 2 ครั้ง นอกจากนี้ ไดใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (indept interview) กับกลุมตัวอยางเฉพาะเจาะจง

(purposive sampling) ที่ไดเขาไปมีสวนรวมในการเจรจาการคาเสรีของไทยในอดีต ทั้งภาครัฐและเอกชน 3.3 หลังจากนั้นจึงนําผลที่ไดจากการศึกษาขอมูลทุติยภูมิในขอ 3.1 และขอมูลปฐมภูมิจากขอ 3.2 มาวิเคราะหและจัดทําผลการศึกษานําเสนอตอที่ประชุมเพ่ือใหขอคิดเห็นอีกครั้ งหนึ่ ง กอนจัดทํารายงานผลการศึกษา 4. ขอบเขตการศึกษา เปนการศึกษาเปรียบเทียบกรอบการเจรจาและกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของประเทศตางๆไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี กับประเทศไทย ในประเด็นตางๆ ต้ังแต 1) การริเริ่มแนวคิดการเปดเจรจา 2) การพัฒนากรอบการเจรจา 3) ระหวางการเจรจา และ 4) การติดตาม/ประเมินนโยบายหลังจากลงนามแลว ตลอดจนบทบาทของผูมีสวนได ส วน เ สีย ความโปร ง ใส และธรรมาภิบาล ของกระบวนการเจรจาทั้งหมด

5. ผลการศึกษา 5.1 การเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทยในชวงที่ผานมา (รัฐธรรมนูญฉบับป 2540) ไดเริ่มมาตั้งแตป พ .ศ . 2542 สมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ที่ ไดมีการศึกษาความเปนไปไดของการเจรจาแลว แตก็ยังไมมีการดําเนินการใดๆ ตอมาชวงรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร (2544-2549) เปนชวงที่ไดเริ่มดําเนินการเจรจาจัดทําความตกลงการคาเสรีกับประเทศตางๆ หลายประเทศ จุดแข็งของนโยบายการเจรจาจัดทําความตกลงการคาเสรีของไทยในยุคนั้น คือกระบวนการเจรจาดําเนินไปไดอยางรวดเร็ว ดวยบทบาทของฝายบริหารหรือรัฐบาลที่เขมแข็ง ทําใหการเลือกประเทศเจรจา กรอบการเจรจา การดําเนินการสรุปผลการเจรจาทําไดอยางรวดเร็ว สําหรับจุดออนหรือขอวิพากษวิจารณที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดทําความตกลงการคาเสรี ในชวงกอนใชรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 มีหลายประเด็นที่สําคัญ ไดแก ความโปรงใสมีจํากัด ขาดการตรวจสอบและถวงดุลของฝายนิติบัญญัติและการมีสวนรวมของผูที่มีสวนไดสวนเสีย จากจุดออนหรือขอวิพากษวิจารณตางๆ ขางตนนํามาซึ่งการแกไขบทบัญญัติในสวนที่เกี่ยวของ ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 ในมาตรา 190 ที่มีการแกไขจุดออนตางๆ ขางตน อยางไรก็ตามแนวทางและขั้นตอนกระบวนการเจรจาการคาเสรีระหวางประเทศของไทย ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 จะมีความชัดเจนตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญไดนั้นจําเปนตองมีกฎหมายเฉพาะมารองรับตามที่ไดกําหนดไวในมาตรา 190 วรรค หา แหงรัฐธรรมนูญดังที่กลาวมาแลว2 มารองรับ ซึ่งในชวงเวลาที่ผานมาไดมีความพยายามจากฝายรัฐบาลและฝายตางๆ ที่เกี่ยวของ ไดเสนอรางพระราชบัญญัติ ซึ่งเปนกฎหมายเฉพาะมารองรับการเจรจาจัดทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศตามมาตรา 190 วรรคหา จํานวน 3 ฉบับ (กระทรวงการตางประเทศ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และกลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรีภาคประชาชน) แตก็ยังไ ม ส า ม า ร ถ ห า ข อ ส รุ ป ใ น เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง ร า งพระราชบัญญัติที่เปนที่ยอมรับของทุกฝายได แมวาโดยหลักการสําคัญๆ ของแตละรางที่นําเสนอจะไมแตกตางกัน                                                             2 รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 190 วรรคหา กําหนดใหมีกฎหมายวาดวยการกําหนดขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวางหรือมีผลผูกพันดานการคา หรือการลงทุน อยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาวโดยคํานึงถึงความเปนธรรมระหวางผูที่ไดรับประโยชนกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั้นและประชาชนทั่วไป

Page 5: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

56 บทความวิจัย  

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

แตรางของกระทรวงการตางประเทศนับเปนรางที่มีรายละเอียดในประเด็นตางๆ คอนขางนอย เปนการใหอํานาจของฝายบริหารในการใชดุลพินิจคอนขางมาก เมื่อเทียบกับรางฯ ของฝายสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และกลุมศึกษาข อตกลง เขตการค า เสรีภาคประชาชน ที่ มีรายละเอียดในประเด็นตางๆ คอนขางมาก ทําใหมีความชัดเจนมากขึ้น ในประเด็นนิยามของหนังสือสัญญาที่เขาขายตามมาตรานี้หรือไมนั้ น นับเปนประเ ด็นสําคัญของร างพระราชบัญญั ติฉบับนี้ ซึ่ ง ในร างของกระทรวงการตางประเทศมิไดใหนิยามของหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบดานเศรษฐกิจและสังคมอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันทางการคา การลงทุนและงบประมาณอยางมีนัยสําคัญ เนื่องจากผูเสนอ3 เห็นวาจะเปนการลงรายละเอียดมากเกินไป ซึ่งจะทําใหขาดความยืดหยุน จึงใชวิธีกําหนดแนวทางคือใหคณะรัฐมนตรีเปนผูกําหนดโดยพิจารณาจากขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะของกระทรวงการตางประเทศ ซึ่งทางกระทรวงการตางประเทศจะเปนหนวยงานที่รวบรวมขอคิดเห็นจากหนวยราชการที่เกี่ยวของตางๆ เพ่ือนําเสนอตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเพื่อพิจารณา4 สําหรับรางของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มีรายละเอียดของการกําหนดนิยามวาหนังสือสัญญาใดจะเขาขายที่ตองเขาสูรัฐสภาหรือไมนั้น ไดกําหนดใหมีกลไกคือคณะกรรมการประสานการเจรจาหนังสือสัญญาระหวางประเทศเพื่อมาทําหนาที่พิจารณา ในขณะท่ีรางของกลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรีภาคประชาชนเสนอใหกระทรวงการตางประเทศยังคงมีหน าที่ รั บผิ ดชอบหลั ก แต จ ะต อ งหารื อและรั บฟ งขอเสนอแนะจากสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในกระบวนการจัดทําหนังสือสัญญาท่ีสําคัญคือกระบวนการรับฟงความคิดเห็น รางฯ ของกระทรวงการตางประเทศเนนการจัดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับกรอบการเจรจา และรายงานผลการวิจัยผานเครือขายสารสนเทศของหนวยงานที่รับผิดชอบเปนหลัก แตรางของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและรางของกลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรีภาคประชาชนกําหนดใหสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทําหนาที่บริหารจัดรับ

                                                            3 กองสนธิสัญญา กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ 4 จากสรุปสาระสําคัญจากเวทีรับฟงความคิดเห็นเร่ืองกฎหมายวาดวยการกําหนดขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 วันที่ 26 สิงหาคม 2552 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด หลักสี่ กรุงเทพฯ

ฟงความคิดเห็นของประชาชนอยางเปนอิสระและเปนกลางโดยใหจัดทําอยางนอย 2 ขั้นตอน ในขั้นตอนแรกคือกอนการชี้แจงวัตถุประสงค กรอบและประเด็นการเจรจาหนังสือสัญญาเพ่ือขอความเห็นชอบจากรัฐสภา และขั้นตอนที่สอง ภายหลังจากการเจรจากอนการขอความเห็นชอบจากรัฐสภา ซึ่งจะเปนการเพิ่มความชัดเจน และโปรงใส เปดโอกาสใหทุกฝายเขามามีสวนรวมมาก วารางฯ ของกระทรวงการตางประเทศที่เนนการรับฟงความคิดเห็นผานเครือขายสารสนเทศเปนหลัก ซึ่งเปนขอจํากัดเนื่องจากมีผูที่ไดรับผลกระทบที่ไมสามารถเขาถึงเครือขายสารสนเทศไดอย างสะดวก เชน กลุม เกษตรกร ทํ า ให ไม เกิดประสิทธิผลในกระบวนการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนอันเปนหัวใจของการใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ5 อีกประเด็นหนึ่งคืองานศึกษาวิจัยผลกระทบจากการจัดทํ าหนั ง สือ สัญญา ร างฯ ของกระทรวงการตางประเทศ ระบุใหหนวยงานที่รับผิดชอบเปนผูดําเนินการจัดจางองคกรภายนอกที่เปนอิสระใหดําเนินการศึกษาวิจัย ซึ่งที่ผานมาพบวาในหลายเรื่องยังไมเปนที่ยอมรับ สําหรับรางฯ ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและกลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรี กําหนดใหสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยเปนผูบริหารงานวิจัยซึ่งนาจะเพิ่มความโปรงใส และใหการศึกษาวิจัยมีความเปนอิสระตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ6 ไดดีกวา โดยหนวยงานที่รับผิดชอบการเจรจาก็จะสงรางขอตกลงและวัตถุประสงคของการดําเนินการวิจัยใหสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยพิจารณาและดําเนินการบริหารจัดการงานวิจัยตอไป ในประเด็นสุดทายคือ การตรวจสอบกระบวนการเจรจา ในรางฯ ของกระทรวงการตางประเทศ มิไดระบุร า ย ล ะ เ อี ย ด ใ น ป ร ะ เ ด็ น นี้ ใ น ข ณ ะ ที่ ร า ง ข อ งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และรางของกลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรี ไดระบุไวชัดเจนใหมีนักวิชาการ ผูแทนองคกรประชาสังคม ผูแทนภาคเอกชน และผูมีสวนไดสวนเสีย รวมเปนกรรมาธิการวิสามัญของรัฐสภาติดตาม

                                                            5 มาตรา 303 (3) ประกอบกับมาตรา 303(3) กําหนดวา คณะรัฐมนตรีตองจัดทํากฎหมายวาดวยการกําหนดขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาใหแลวเสร็จภายในหนึ่งปนับแตวันที่แถลงนโยบายตอรัฐสภาซึ่งตรงกับวันที่ 18 กุมภาพันธ 2552 โดยกฎหมายดังกลาวตองมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการจัดทําหนังสือสัญญา การตรวจสอบถวงดุลระหวางคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา มีความโปรงใส มีประสิทธิภาพ ใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง รายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยที่มีความเปนอิสระซึ่งดําเนินการกอนการเจรจาทําหนังสือสัญญาโดยไมมีการขัดกันระหวางประโยชนของรัฐกับผลประโยชนของผูศึกษาวิจัยไมวาในชวงเวลาใดของการบังคับใชหนังสือสัญญา 6 มาตรา 303 (3) ที่ไดอางมาแลว

Page 6: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

57   

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

ตรวจสอบการเจรจา การจัดรับฟงความคิดเห็น และการพิจารณารางกฎหมายที่เกี่ยวของ อันนับเปนการตรวจสอบถวงดุลระหวางฝายบริหาร กับฝายรัฐสภา สอดคลองกับเจตนารมณที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ7 ดวย

อยางไรก็ตาม แมจะยังไมมีกฎหมายเฉพาะดานการเจรจาจัดทําหนังสือสัญญาหรือความตกลงระหวางประเทศมาบังคับใช แตหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะกรมเจรจาการคาระหวางประเทศในฐานะที่มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบในสวนที่เกี่ยวของกับความตกลงการคาระหวางประเทศ ก็ไดจัดทําขั้นตอนและกระบวนการเจรจาความตกลงหลังรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 ใชบังคับไวเ พ่ือการดําเนินงานของกรมซึ่งเปนองคกรรับผิดชอบหลัก โดยแบงขั้นตอนการเจรจาออกเปน 5 ขั้นตอนหลัก (ภาพที่ 1) ไดแก

ข้ันตอนท่ี 1 กอนการเจรจา จะมีการศึกษารวบรวมขอมูลความเปนไปไดในการจัดทําความตกลง การรวบรวมขอมูลจากทุกภาคสวน เพ่ือจัดทํากรอบการเจรจาเพ่ือนําเสนอคณะรัฐมนตรี และรัฐสภาเพื่ออนุมัติกรอบการเจรจาตอไป

ข้ันตอนที่ 2 ระหวางการเจรจา มีการรับฟงความคิดเห็นจากทุกภาคสวนเพ่ือจัดทําทาทีของไทยในเ รื่ อ ง ต า ง ๆ แ ล ะ ร า ย ง า น ค ว า ม คื บ ห น า ใ ห แ กคณะกรรมาธิการฯ /สภาท่ีปรึกษา รวมทั้งการเผยแพรขอมูล

                                                            7 มาตรา 303 (3) ที่ไดอางมาแลว

ข้ันตอนที่ 3 การเจรจาเสร็จสิ้น มีการสรุปผลการเจรจานําเสนอตอคณะรัฐมนตรี รวมทั้งการเตรียมการมาตรการเยียวยาผู ไดรับผลกระทบ การเตรียมการการใชสิทธิประโยชนที่ไดจากการเจรจา รวมท้ังการเผยแพรผลการเจรจาและลงนามในเบื้องตน

ข้ันตอนท่ี 4 กอนการแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน นําเสนอมาตรการเยียวยา มาตรการใชสิทธิประโยชน รายละเอียดในหนังสือสัญญา เพ่ือเสนอใหรัฐสภาเห็นชอบ หลังจากนั้น หากรัฐสภาเห็นชอบก็จะมีการปรับปรุงกฎหมายภายในเพื่อรองรับ และรัฐบาลจะดําเนินการใหสัตยาบันความตกลงนั้นๆ ตอไป

ข้ันตอนท่ี 5 หลังความตกลงมีผลใชบังคับ ในขั้นตอนนี้จะเปนขั้นตอนการปฏิบัติตามพันธกรณีตามความตกลงนั้นๆ พรอมๆ ไปกับการดําเนินมาตรการเยียวยา และการติดตามประเมินผลของการปฏิบัติตามพันธกรณี โดยจะมีการเผยแพรใหประชาชนไดรับรูเปนระยะๆ

ขั้นตอนตางๆ อาจนําเสนอเปนลักษณะของ Flow Chart ไดดังภาพที่ 1

Page 7: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

58 บทความวิจัย  

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

ภาพที่ 1 กระบวนการเจรจาความตกลงที่เริ่มเจรจาภายหลังรัฐธรรมนูญฉบับ 2550 มาตรา 190 มีผลใชบังคับ ที่มา : กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

Page 8: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

59   

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

5.2 การศึกษาเปรียบเทียบกรอบ/กระบวนการและขั้นตอนการเจรจาของประเทศตางๆ เปรียบเทียบกับประเทศไทย พบวา

1) สหรัฐอเมริกา ผูแทนการคาสหรัฐ (USTR) ริเริ่มการเจรจาโดยการคัดเลือกคูเจรจามิ ไดมาจากเหตุผลในทางเศรษฐกิจเปนหลัก โดยจะเชื่อมโยงการคากับนโยบายตางประเทศ ครอบคลุมเรื่องตางๆ อยางกวางขวางทั้งการคาสินคา บริการ การลงทุน ทรัพยสินทางปญญา ส่ิงแวดลอม มาตรฐานแรงงาน มีลักษณะเปน WTO Plus โครงสรางระบบการเมืองภายในที่มีการคานอํานาจระหวางฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ บทบาทของฝายรัฐสภามีอยูทุกขั้นตอนของการเจรจา บทบาทของกลุมผลประโยชนและภาคประชาสังคมมีอยูกวางขวาง ทั้งในชวงที่อยูระหวางการดําเนินการของฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ มีความโปรงใส มีกระบวนการเจรจาที่ชัดเจน ต้ังแตฝายนิติบัญญัติและฝายบริหาร การเขารวมของภาคเอกชน และประชาสังคมในการกําหนดนโยบายมีทั้งขั้นตอนมีการจัดตั้ง Open Government Initiatives ในป 2510 เพ่ือเพ่ิมความโปรงใสและการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

2) ญี่ปุน กระทรวงเศรษฐกิจการคาและอุตสาหกรรม และกระทรวงการตางประเทศริเริ่มการเจรจา โดยการคัดเลือกคูเจรจาจะเนนการสรางเครือขายการผลิตที่สงเสริมการขยายตัวของธุรกิจขามชาติของญี่ปุนมากกวาเหตุผลเชิงมูลคาการคาเพียงอยางเดียว ไมครอบคลุมเนื้อหามากเทากับสหรัฐอเมริกา แตมีการจัดทําความรวมมือทางเศรษฐกิจดานตางๆ เชน การใหความชวยเหลือทางเทคนิคและพยายามกันสินคาเกษตรหลักออกจากการเจรจา โครงสรางระบบราชการที่มีอํานาจในการกําหนดนโยบายการคา มากกวาภาคการเมืองและรัฐสภา บทบาทของฝายรัฐสภามีนอยเปนเพียงรับรองความตกลงตามขั้นตอนเทานั้น บทบาทกลุมผลประโยชนที่ผลักดันการเจรจามีมากทั้งสหพันธธุรกิจญี่ปุน (Nippon Keidanren) ในภาคธุรกิจอุตสาหกรรม และสหภาพกลาง

ของสหกรณการเกษตรญี่ปุน (Ja Zenchu) ที่มีอิทธิพลตอการนําสินคาเกษตรออกจากการเจรจา ขาดบทบาทของภาคประชาสังคม บทบาทการตรวจสอบถวงดุลจากฝายนิติบัญญัติมีนอย

3) สหภาพยุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ริเริ่มการเจรจาโดยการขอ negotiating directives จากคณะมนตรียุโรป โดยการคัดเลือกคูเจรจาจะดําเนินตามนโยบาย

Global Europe ครอบคลุมเนื้อหาในเรื่องตางๆ อยาง

กวางขวางมีลักษณะเปน WTO-plus คณะกรรมการดานนโยบายการคาของสหภาพยุโรปที่เปนผูศึกษา จัดทําป ร ะ ช า พิ จ า รณ ต า ง ๆ เ พ่ื อ ใ ห ข อ เ ส น อ แ น ะ ต อคณะกรรมาธิการยุโรป จะมีบทบาทในการกําหนดประเด็นเจรจาคอนขางมาก บทบาทของคณะกรรมาธิการยุโรปซึ่งเปนฝายบริหารของสหภาพยุโรปมีบทบาทสูงในการเสนอรางความตกลงตางๆ บทบาทของฝายนิติบัญญัติหรือฝายการเมืองคือคณะมนตรีและสภายุโรป จะมีไมมากนัก ภาคประชาสังคม สามารถเขาไปรวมกระบวนการกําหนด

นโยบายในที่ประชุม Stakeholder Consultation รวมท้ังเปนสวนหน่ึงของคณะกรรมการสังคมและเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป และรวมในการจัดทํา Impact Assessment ของสหภาพยุโรป มีการกําหนดขั้นตอนและวิธีการที่ชัดเจน รวมท้ังกระบวนการมีสวนรวมของภาคสวนตางๆ แตก็ไดรับการวิพากษวิจารณจากองคกรพัฒนาเอกชน ถึงโอกาสอันจํากัดในการเขาไปมีสวนรวมกําหนดทาทีและการตรวจสอบ

4) สาธารณรัฐเกาหลี ที่ประชุมรัฐมนตรีวาดวยกิจการเศรษฐกิจภายนอก เปนผูตัดสินใจการริเริ่มเจรจาโดยมีคณะกรรมการความตกลงการคาเสรีเปนผูเสนอ ครอบคลุมเนื้อหาที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมและภาคบริการที่เกาหลีมีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบและไมเนนการเจรจาดานสินคาเกษตร บทบาทของฝายบริหารมีสูงมาก สามารถดําเนินการเจรจาไปไดโดยไมจําเปนตองขอความเห็นชอบกรอบการเจรจาจากรัฐสภากอน กลุมผลประโยชนที่เปนตัวแทนของภาคธุรกิจขนาดใหญหรือ Chaebol มีมาก ในการกําหนดทิศทางการเจรจาโดยฝายบริหารจะปรึกษาหารือกับกลุมนี้ เปนหลักสวน กลุมเกษตรกรมีบทบาทนอย ภาคประชาสังคมยังมีบทบาทนอย แมวาจะสามารถเขารวมการทําประชาพิจารณกอนการเจรจาได แตโอกาสในการเขารวมกําหนดนโยบายในขั้นตอนการเจรจามีนอยมาก มีโครงสรางกระบวนการและขั้นตอนในการเจรจาชัดเจน แตขาดบทบาทภาคประชาสังคมและการตรวจสอบถวงดุลจากฝายนิ ติ บัญญั ติ

Page 9: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

60 บทความวิจัย  

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

5) ไทย กระทรวงพาณิชย (กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ) และกระทรวงการตางประเทศแนวทางการคัดเลือกคูเจรจาในอดีต (กอนป 2550) ไมชัดเจนนัก ขึ้นอยูกับฝายบริหาร แตหลังจากป 2550 ไดกําหนดแนวทางวาจะคัดเลือกเจรจากับประเทศที่สามารถบรรลุเปาหมายในการเจรจาของไทยได ไมมีความชัดเจนวาจะเปดเสรีหรือไมเปดเสรีภาคเศรษฐกิจใด แตไดกําหนดเปาหมายในการเจรจาไว อาทิ เพ่ิมการสงออก หาแหลงวัตถุดิบ หาแหลงทุนและแหลงไปลงทุน เปนตน บทบาทของฝายบริหารมีสูงมาก กอนป 2550 แตหลังจากนั้นบทบาทของภาคสวนตางๆ ทั้งรัฐสภาและภาคประชาชนมีมากขึ้น กอนป 2550 บทบาทของรัฐสภาจํากดั ภาคเอกชนเนนสมาคมธุรกิจขนาดใหญ 3 สมาคม ภายหลังป 2550 บทบาทของรัฐสภามีมากขึ้นตามมาตรา 190 บทบาทของ

กลุมผลประโยชนและภาคประชาสังคมมีกวางขวางมากขึ้น กอนป 2550 ความโปรงใส และหลักเกณฑแนวทางตางๆ ในกระบวนการเจรจาไมชัดเจน หลังป 2550 มีความชัดเจนตามมาตรา 190 ที่ใชเปนกรอบในการกําหนดกระบวนการเจรจา

ทั้งนี้หากเปรียบเทียบกรอบและกระบวนการเจรจาของประเทศไทยกับประเทศตางๆ ขางตนใน 6 ประเด็น ของกระบวนการเจรจาตั้งแต 1) การริเริ่มการเจรจา 2) การพัฒนากรอบเนื้อหาของการเจรจา 3)ปจจัยที่สงผลตอการเจรจา 4) บทบาทผูมีสวนไดเสีย 5) ความโปรงใสและธรรมาภิบาลของกระบวนการเจรจา และ 6) การติดตามผลการเจรจา อาจสรุปไดดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบขั้นตอนกระบวนการเจรจาของประเทศตางๆ ไดดังน้ี กระบวนการ

เจรจา สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สหภาพยุโรป สาธารณรัฐ

เกาหลี ไทย

การริเร่ิมการเจรจา

USTR โดยการคัดเลือกคูเจรจามิไดมาจากเหตุผลในทางเศรษฐกิจเปนหลัก โดยจะเช่ือมโยงการคากับนโยบายตางประเทศ

METI และ MOFA โดยการคัดเลือกคูเจรจาจะเนนการสรางเครือขายการผลิตที่สงเสริมการขยายตัวของธุรกิจขามชาติของญี่ปุนมากกวาเหตุผลเชิงมูลคาการคาเพียงอยางเดียว

คณะกรรมาธิการยุโรป โดยการขอ negotiating directives จากคณะมนตรียุโรป โดยการคัดเลือกคูเจรจาจะดําเนินตามนโยบาย Global Europe

ที่ประชุมรัฐมนตรีวาดวยกิจการเศรษฐกิจภายนอก เปนผูตัดสินใจการริเร่ิมเจรจาโดยมีคณะกรรมการความตกลงการคาเสรีเปนผูเสนอ

กระทรวงพาณิชย (กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ) และกระทรวงการตางประเทศแนวทางการคัดเลือกคูเจรจาในอดีต (กอนป 2550) ไมชัดเจนนัก ขึ้นอยูกบัฝายบริหาร แตหลังจากป 2550 ไดกําหนดแนวทางวาจะคัดเลือกเจรจากับประเทศที่สามารถบรรลุเปาหมายในการเจรจาของไทยได

การพัฒนากรอบเนื้อหาการเจรจา

ครอบคลุมเร่ืองตางๆ อยางกวางขวางทั้งการคาสินคาบริการ การลงทนุ ทรัพยสินทางปญญา ส่ิงแวดลอม มาตรฐานแรงงาน มีลักษณะเปน WTO Plus

ไมครอบคลุมเนื้อหามากเทากับสหรัฐอเมริกา แตมีการจัดทําความรวมมือทางเศรษฐกิจดานตางๆ เชน การใหความชวยเหลือทางเทคนิคและพยายามกนัสินคาเกษตรหลักออกจากการเจรจา

ครอบคลุมเนือ้หาในเร่ืองตางๆ อยางกวางขวางมีลักษณะเปน WTO-plus

ครอบคลุมเนือ้หาที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมและภาคบริการที่เกาหลีมีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบและไมเนนการเจรจาดานสินคาเกษตร

ไมมีความชัดเจนวาจะเปดเสรีหรือไมเปดเสรีภาคเศรษฐกิจใดแตไดกําหนดเปาหมายในการเจรจาไว อาทิ เพิ่มการสงออก หาแหลงวัตถุดิบ หาแหลงทุนและแหลงไปลงทนุ เปนตน

ปจจัยสงผลการเจรจา

โครงสรางระบบการเมืองภายในที่มีการคานอํานาจระหวางฝายบริหารและฝายนิตบิัญญัต ิ

โครงสรางระบบราชการที่มีอํานาจในการกําหนดนโยบายการคา มากกวาภาคการเมืองและรัฐสภา

คณะกรรมการดานนโยบายการคาของสหภาพยุโรปที่เปนผูศึกษา จัดทําประชาพิจารณตางๆ เพื่อใหขอเสนอแนะตอคณะกรรมาธิการยุโรป จะมีบทบาทในการกําหนดประเด็นเจรจาคอนขางมาก

บทบาทของฝายบริหารมีสูงมาก สามารถดําเนินการเจรจาไปไดโดยไมจําเปนตองขอความเห็นชอบกรอบการเจรจาจากรัฐสภากอน

บทบาทของฝายบริหารมีสูงมาก กอนป 2550 แตหลังจากนัน้บทบาทของภาคสวนตางๆ ทั้งรัฐสภาและภาคประชาชนมีมากขึน้

Page 10: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

61   

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

กระบวนการเจรจา

สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สหภาพยุโรป สาธารณรัฐเกาหลี ไทย

บทบาทผูมีสวนไดสวนเสีย

• บทบาทของฝายรัฐสภามีอยูทุกขั้นตอนของการเจรจา

• บทบาทของกลุมผลประโยชนและภาคประชาสังคมมีอยูกวางขวาง ทั้งในชวงที่อยูระหวางการดําเนินการของฝายบริหารและฝายนิติบัญญัต ิ

• บทบาทของฝายรัฐสภามีนอยเปนเพียงรับรองความตกลงตามขั้นตอนเทานัน้

• บทบาทกลุมผลประโยชนที่ผลักดันการเจรจามีมากทั้งสหพันธธุรกิจญี่ปุน

• บทบาทของคณะกรรมาธิการยุโรปซึ่งเปนฝายบริหารของสหภาพยุโรปมีบทบาทสูงในการเสนอรางความตกลงตางๆ บทบาทของฝายนิตบิัญญัติหรือฝายการเมืองคือคณะมนตรีและสภายุโรป จะมีไมมากนัก

• กลุมผลประโยชนที่เปนตัวแทนของภาคธุรกิจขนาดใหญหรือ Chaebol มีมาก ในการกําหนดทิศทางการเจรจาโดยฝายบริหารจะปรึกษาหารือกับกลุมนี้เปนหลักสวนกลุมเกษตรกรมีบทบาทนอย

• กอนป 2550 บทบาทของรัฐสภาจํากัด ภาคเอกชนเนนสมาคมธุรกิจขนาดใหญ 3 สมาคม ภายหลังป 2550

• บทบาทของรัฐสภามีมากขึ้นตามมาตรา 190

(Nippon Keidanren) ในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมและสหภาพกลางของสหกรณการเกษตรญี่ปุน (Ja Zenchu) ที่มีอิทธิพลตอการนําสนิคาเกษตรออกจากการเจรจา

• ภาคประชาสังคม สามารถเขาไปรวมกระบวนการกําหนดนโยบายในที่ประชุม Stakeholder Consultation รวมทั้งเปนสวนหนึ่งของคณะกรรมการสังคมและเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป และรวมในการจัดทImpact Assessment ของสหภาพยุโรป

• ภาคประชาสังคมยังมีบทบาทนอย แมวาจะสามารถเขารวมการทําประชาพิจารณกอนการเจรจาได แตโอกาสในการเขารวมกําหนดนโยบายในขัน้ตอนการเจรจามีนอยมาก

• บทบาทของกลุมผลประโยชนและภาคประชาสังคมมีกวางขวางมากขึ้น

ธรรมาภิบาลของกระบวนการเจรจา

มีความโปรงใส มีกระบวนการเจรจาที่ชัดเจน ตั้งแตฝายนิตบิัญญัติและฝายบริหาร การเขารวมของภาคเอกชน และประชาสังคมในการกําหนดนโยบายมีทัง้ขั้นตอนมีการจัดตั้ง Open Government Initiatives ในป 2510 เพื่อเพิ่มความโปรงใสและการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

ขาดบทบาทของภาคประชาสังคม บทบาทการตรวจสอบถวงดุลจากฝายนิตบิัญญัติมีนอย

มีการกําหนดขั้นตอนและวิธีการที่ชัดเจน รวมทั้งกระบวนการมีสวนรวมของภาคสวนตางๆ แตก็ไดรับการวิพากษวิจารณจากองคกรพัฒนาเอกชน ถึงโอกาสอันจํากัดในการเขาไปมีสวนรวมกําหนดทาทีและการตรวจสอบ

มีโครงสรางกระบวนการและขั้นตอนในการเจรจาชัดเจนแตขาดบทบาทภาคประชาสังคมและการตรวจสอบถวงดุลจากฝายนิตบิัญญัต ิ

กอนป 2550 ความโปรงใส และหลักเกณฑแนวทางตางๆ ในกระบวนการเจรจาไมชัดเจน

หลังป 2550 มีความชัดเจนตามมาตรา 190 ที่ใชเปนกรอบในการกําหนดกระบวนการเจรจา

ขอเสนอแนะ จากการศึกษาวิเคราะหกระบวนการเจรจาทําความตกลงการคาเสรีของประเทศตางๆ กับประเทศไทยที่ผานมา มีขอเสนอแนะวาเพ่ือใหไดประโยชนโดยรวมจากการเจรจาตอประเทศมากที่สุด กระบวนการเจรจาทําความตกลงการคาเสรีระหวางประเทศของไทยนั้น ควรเริ่มจากการกําหนดแผนยุทธศาสตรเพ่ือการพัฒนาที่ ย่ังยืนของ

ประเทศ เปนภาพรวมของนโยบาย (policy scenario) และมีตัวชี้วัดตางๆ ในการพิจารณาวาการเจรจาทําการคาเสรีกับประเทศนั้นๆ แลวจะมีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบกับเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพและสิ่งแวดลอมของประเทศ

เพียงใด ดังเชนในกรณีของสหภาพยุโรปที่มีการจัดทําการ

ประเมินผลกระทบตอความยั่งยืน (Sustainability Impact Assessment) แลวจึ งดํ า เนินการร างกรอบเจรจาและทําการศึกษา

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพและส่ิงแวดลอม จากนั้นจึงนําผลรวมทั้งหมดไปดําเนินการรับฟงความคิดเห็นทั้งในระดับเชิงเทคนิควิชาการและประชาพิจารณ เมื่อไดรางกรอบเจรจาที่ปรับปรุงแลว ก็จะเสนอตอรัฐสภาและนําไปเปนกรอบในระหวางการเจรจา ซึ่งในระหวางนี้จําเปนตองมีการศึกษาวิจัยเปนระยะๆ โดย

Page 11: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

62 บทความวิจัย  

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

พิจารณาขอเรียกรองจากประเทศคูเจรจาประกอบและเมื่อไดรางความตกลงฯ แลว ก็จะตองศึกษาถึงผลกระทบเพื่อเยียวยาผูที่ไดรับผลกระทบทางลบและสงเสริมการใช

ประโยชนที่ไดจากความตกลงฯ รวมทั้งเมื่อความตกลงฯ มีผลใชบังคับก็จําเปนตองมีงานศึกษาติดตามเปนระยะๆ เพ่ือแกไขปญหาผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้น

บรรณานุกรม

จันทจิรา เอ่ียมมยุรา และชาติชาย เชษฐสุมน (2549)

กลไกการตรวจสอบและถวงดุลฝายบริหารในการเจรจาความตกลงการคาเสรี เสนอตอสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ธรรมวิทย เทอดอุดมธรรม (2551) เศรษฐศาสตรการเมืองวาดวยนโยบายเขตการคาเสรีของไทย โครงการ WTO WATCH ไดรับทุนอุดหนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

บัณฑูร เศรษฐศิโรตม และวิฑูรย เล่ียนจํารูญ (2548) การศึกษาผลกระทบการจัดตั้งเขตการคาเสรีของประเทศไทย โดยทุนอุดหนุนจากคณะกรรมการวิจัยและพัฒนาของวุฒิสภา สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา

รังสรรค ธนะพรพันธุ (2547) นโยบายการจัดตั้งเขตการคาของไทย เอกสารประกอบการบรรยายคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ศิริพร สัจจานันท กติกาขอตกลงเขตการคาเสรีกับความเปนธรรมตอภาคเกษตรกรรมไทย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชปงบประมาณแผนดิน ป 2550

ศูนยประสานงานการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบดานสุขภาพ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช) (2544) หลักเกณฑและวิธีการประเมินผลกระทบดานสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ

สถาบันธรรมรัฐเพ่ือการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม (2552) การศึกษาทางกฎหมาย และการพัฒนาเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร เ พ่ือประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการจัดทําความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุน โดยคํานึงถึงตนทุน

ส่ิงแวดลอม : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอิเ ล็กทรอนิกส เสนอตอ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

สถาบันธรรมรัฐเพ่ือการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม

(2551) โครงการศึกษาและพัฒนากรอบแนวทางการประเมินผลกระทบจากการทําความตกลง FTA เสนอตอสถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา

สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (2553) การศึกษาผลกระทบของมาตรา 190 แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 วาดวยการจัดทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศตอการคาและการลงทุนของประเทศไทย เสนอตอสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

สมเกียรติ ต้ังกิจวานิชยและคณะ (2549) กลไกการใหขอมูลที่ เกี่ ยวกับการเปดเสรีทางการคาแกประชาชน มูลนิธิสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย เสนอตอสํานกงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

Action Aid, Christian Aid, Oxfam. (2008). EU FTA Manual. Brifing 1 Tackling EU Free Trade Agreements, Brifing 2 Inside European Union Trade Policy.

Barfield Clude. (2007). Europe (Re) Join the FTA Bandwagon, American Enterprise Institute for Public Policy Research, No.1

Cheong and Cho. (2009). The Impact of Free Trade Agreements (FTAs) on Business in the Republic of Korea No.156 ADB Institute

Economic and Social Commission for Asia and the Pacific. (2004). Least Developed Countries in Trade Negotiations: Policy Process and Information Needs Prepared by Debapriya Bhattacharya.

European commission. (2009). European Policy Health Impact Assessment –A Guide, The Health and Consumer Protection DG of European Commission.

Page 12: การศึกษาแนวทางและข ั้นตอน ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/55-1/55-1-article5.pdf · 2014. 2. 17. · ในรัฐธรรมน

63   

วารสารการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

European Commission. (2009). Trade

sustainability Impact Assessment of the FTA between EU and ASEAN submitted by ECORYS Research and consulting and groups.

Higashi Shigeki. (2008). The Policy Making Process in FTA Negotiations: A Case Study of Japanese Bilateral EPAs Institute of Developing Economics Discussion Paper, No 138.

Joel Rathus & Prunendra Fain. (2010). Japan’s Policy Fragmentation: The Japan-Australia FTA paper presented at the Conference of the Asian Studies Association of Australia, held at the University of Adelaide.

Lord Arthur. (2010). Demystifying FTAs: A Comparative Analysis of American, Japanese, and Chinese efforts to shape the future of Free Trade, Asia-Pacific Policy Papers Series, Johns Hopkins University.

Office of the United States Trade Representative. (2010). Open Government Initiative. Transparency. Participation. Collaboration

Park, Young Bae & Moon. (2008). Song Bok Korea’s FTA Policy Structure Dong Eui University Pusan, Korea.

Sally Razeen. (2007). Looking East: The European Union’s New FTA Negotiations in Asia European Centre for International Policy Economy, Jan Tumlir Policy Essays.

Smith C. Carolyn. (2006). Trade Promotion Authority and Fast-Track Negotiating Authority for Trade Agreements: Major Votes CRS Report for Congress.

Stangarone Troy Rewriting Policy: Private Sector Influences in the KURUS FTA paper presented at a workshop on the Influence and Role of Domestic Stakeholders on the US-ROK Alliance Center for US-Korea Policy and the East Asia Institute, Seoul, February 22, 2010.

Takashi Terada The Making of Asia’s First Bilateral FTA: Origins and Regional Implications of the Japan-Singapore Economic Partnership Agreement, Pacific Economic Paper No 354, The Australia National University, 2006

The Information Centre, Scottish Parliament Guide to EU Policy-Making Processes information services to the Scottish Parliament No.02/78 10 July, 2002.

World Trade Organization, Trade Policy Review Report by United States, 2010.