30
รายวิชา ฟสิกส (เพิ่มเติม) รหัส ว33202 ชั้นมัธยมศึกษาปที6 เลม 1 ชื่อหนวย : ไฟฟาสถิต เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง : ประจุไฟฟา จุดประสงคการเรียนรู : 1. อธิบายการเหนี่ยวนําไฟฟา 2. อธิบายแรงกระทําระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟา ประจุไฟฟา ( Electric charge ) ทาลีส นักปราชญชาวกรีก ไดพบวาถานําเอาแทงอําพันมาถูกับผาขนสัตวแลว แทงอําพันนั้น จะสามารถดูดวัตถุเบาๆได อํานาจที่เกิดขึ้นนี้ถูกเรียกวา ไฟฟา ตอมาพบวามีวัตถุบางชนิดเชน พลาสติก เมื่อนํามาถูกับผาสักหลาดจะสามารถดึงดูดวัตถุเบาๆได และแรงดึงดูดนี้ไมใชแรงดึงดูด ระหวางมวลเพราะจะเกิดขึ้นภายหลังที่มีการนําวัตถุดังกลาวมาถูกันเทานั้น และเรียกวาสิ่งที่ทําใหเกิด แรงนี้คือ ประจุไฟฟา หรือเรียกสั้นๆวา ประจุ จากการนําเอาแผนพีวีซีถูดวยผาสักหลาดและแผนเปอรสเปกซถูดวยผาสักหลาดแลวนํามา เขาใกลกันจะเกิดแรงดึงดูดกัน แตถาเรานําเอาแผนพีวีซี 2 แผนมาถูดวยผาสักหลาดแลวนําแผนทั้ง สองเขาใกลกันจะเกิดแรงผลักซึ่งกันและกัน หรือแผนเปอรสเปกซ 2 แผนมาถูดวยผาสักหลาด แลวนํา แผนทั้งสองเขาใกลกันจะเกิดแรงผลักซึ่งกันและกัน แสดงวามีประจุไฟฟาเกิดขึ้นกับวัตถุ 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟาที่เกิดกับแผนพีวีซี และที่เกิดกับแผนเปอรสเปกซ โดยประจุไฟฟาที่เกิดกับวัตถุ 2 ชนิดคือ ประจุไฟฟาบวกและประจุไฟฟาลบ หรือ เรียกสั้นๆวา ประจุบวก และประจุลบ โดยแรงระหวางประจุ มี 2 ชนิดคือ แรงดูด และ แรงผลัก โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน สวนประจุตางชนิดกันจะดูดกัน อาจเขียนทิศของแรงกระทําระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟาไดดังตอไปนีเอกสารประกอบการเรียน รูป แรงระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟา + + F F - - F F + - F F

เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

รายวิชา ฟสิกส (เพ่ิมเติม) รหัส ว33202 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 เลม 1 ช่ือหนวย : ไฟฟาสถิต เวลาเรียน

2 ช่ัวโมง ช่ือเรื่อง : ประจุไฟฟา จุดประสงคการเรียนรู :

1. อธิบายการเหนี่ยวนําไฟฟา 2. อธิบายแรงกระทําระหวางอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟา

ประจุไฟฟา ( Electric charge )

ทาลีส นักปราชญชาวกรีก ไดพบวาถานําเอาแทงอําพันมาถูกับผาขนสัตวแลว แทงอําพันนั้นจะสามารถดูดวัตถุเบาๆได อํานาจท่ีเกิดข้ึนนี้ถูกเรียกวา ไฟฟา ตอมาพบวามีวัตถุบางชนิดเชนพลาสติก เม่ือนํามาถูกับผาสักหลาดจะสามารถดึงดูดวัตถุเบาๆได และแรงดึงดูดนี้ไมใชแรงดึงดูดระหวางมวลเพราะจะเกิดข้ึนภายหลังท่ีมีการนําวัตถุดังกลาวมาถูกันเทานั้น และเรียกวาสิ่งท่ีทําใหเกิดแรงนี้คือ ประจุไฟฟา หรือเรียกสั้นๆวา ประจุ จากการนําเอาแผนพีวีซีถูดวยผาสักหลาดและแผนเปอรสเปกซถูดวยผาสักหลาดแลวนํามาเขาใกลกันจะเกิดแรงดึงดูดกัน แตถาเรานําเอาแผนพีวีซี 2 แผนมาถูดวยผาสักหลาดแลวนําแผนท้ังสองเขาใกลกันจะเกิดแรงผลักซ่ึงกันและกัน หรือแผนเปอรสเปกซ 2 แผนมาถูดวยผาสักหลาด แลวนําแผนท้ังสองเขาใกลกันจะเกิดแรงผลักซ่ึงกันและกัน แสดงวามีประจุไฟฟาเกิดข้ึนกับวัตถุ 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟาท่ีเกิดกับแผนพีวีซี และท่ีเกิดกับแผนเปอรสเปกซ โดยประจุไฟฟาท่ีเกิดกับวัตถุ 2 ชนิดคือ ประจุไฟฟาบวกและประจุไฟฟาลบ หรือ เรียกสั้นๆวา ประจุบวก และประจุลบ โดยแรงระหวางประจุมี 2 ชนิดคือ แรงดูด และ แรงผลัก โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน สวนประจุตางชนิดกันจะดูดกัน อาจเขียนทิศของแรงกระทําระหวางอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาไดดังตอไปนี้

เอกสารประกอบการเรียน

รูป แรงระหวางอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟา

+ + F

F

- - F

F

+ - F

F

Page 2: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

2

ตอมาพบวา วัตถุทุกชนิดประกอบดวย อะตอม โดยอะตอมประกอบดวย นิวเคลียส ซ่ึงเปนแกนกลางของอะตอม ประกอบดวยประจุไฟฟาบวกเรียกวา โปรตอน และ

อนุภาคท่ีมีไมมีประจุ เรียกวา นิวตรอน อิเล็กตรอน มีประจุไฟฟาเปนลบ วิ่งวนอยูรอบๆ นิวเคลียส ดวยพลังงานท่ีคงตัวคาหนึ่ง

ตารางโครงสรางของอะตอม

อนุภาค มวล ( kg ) ประจุไฟฟา ( C ) อิเล็กตรอน ( e ) โปรตอน ( P ) นิวตรอน ( n )

9.1 x 10-31 1.67 x 10-27 1.67 x 10-27

1.6 x 10-19 1.6 x 10-19

เปนกลางไมมีประจุ เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟาบนวัตถุใดๆไดจากสมการ

Q = ne

เม่ือ Q คือ ประจุไฟฟา มีหนวยเปนคูลอมบ (C) n คือ จํานวนประจุไฟฟา มีหนวยเปน อนุภาค ( ตัว ) e คือ ขนาดอิเล็กตรอน 1 อนุภาค หรือ โปรตอน 1 อนุภาค เทากับ 1.6 x 10-19 C

ตัวอยางท่ี 1 วัตถุหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป 500 ตัว แสดงวาวัตถุนี้มีประจุไฟฟาชนิดใด และมีขนาดก่ีคูลอมบ

วิธีทํา เพราะมีการสูญเสียอิเล็กตรอนไป ทําใหมีประจุไฟฟาบวกมากวา ดังนั้นวัตถุนี้ จึงมีประจุ ไฟฟาเปนบวก และหาขนาดไดจากสมการ

Q = ne = ( 500 )( 1.6 x 10-19) = 8 x 10-17 C ตอบ ประจุไฟฟา บวก และมีขนาด 8 x 10-17 คูลอมบ

โปรตอน

นิวตรอน

อิเล็กตรอน -

+

+

+

-

-

รูป โครงสรางอะตอม

Page 3: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

3

ตัวอยางท่ี 2 วัตถุ A มีประจุ – 4.8 x 10- 3 ไมโครคูลอมบ แสดงวา วัตถุ A มีการรับอิเล็กตรอนหรือใหโปรตอนไปก่ีอนุภาค วิธีทํา เพราะวัตถุ A มีประจุลบ แสดงวาวัตถุA จะตองรับอิเล็กตรอนมา เนื่องจากประจุลบคือ

อิเล็กตรอนจะอยูวงนอกสุดของอะตอม มีมวลนอย และพลังงานยึดเหนี่ยวนอย จึงหลุดเปน อิสระถายเทไดงาย สามารถหาจํานวนอิเล็กตรอนท่ีรับมาไดจากสมการ

Q = ne

n = e

Q

n = ( )

19-

-6-3

1.6x10

x104.8x10

n = 3 x 1010 อนุภาค

ตอบ รับอิเล็กตรอน และมีจํานวน 3 x 1010 อนุภาค

กฎการอนุรักษประจุไฟฟา ( Conservation of charge ) วัตถุชิ้นหนึ่งๆ ประกอบดวย อะตอมจํานวนมาก แตละอะตอมประกอบดวยนิวเคลียสซ่ึงประกอบดวยอนุภาคท่ีมีประจุบวกเรียกวา โปรตอน และอนุภาคท่ีเปนกลางทางไฟฟา เรียกวา นิวตรอน นอกนิวเคลียสมีอนุภาคท่ีมีประจุลบ เรียกวา อิเล็กตรอน เคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียส ดวย พลังงานในการเคลื่อนท่ีคาหนึ่ง อะตอมท่ีมีจํานวนโปรตอนและจํานวนอิเล็กตรอนเทากันจะไมแสดงอํานาจไฟฟา ซ่ึงเราเรียกวาอยูในสภาพเปนกลางทางไฟฟา สวนวัตถุท่ีมี จํานวนอนุภาคท้ังสองไมเทากันจะอยูในสภาพวัตถุมีประจุไฟฟาและจะแสดงอํานาจไฟฟา โดยจะแสดงวามีประจุบวกถามีจํานวนโปรตอนมากกวาจํานวนอิเล็กตรอนหรือในทางกลับกันจะแสดงวามีประจุลบ ถาจํานวนอิเล็กตรอนมากกวาจํานวนโปรตอน อะตอมท่ีเปนกลางทางไฟฟานั้นผลรวมระหวางประจุของโปรตอนและประจุของอิเล็กตรอนในอะตอมมีคาเปนศูนย และเนื่องจากอะตอมท่ีเปนกลางมีจํานวนโปรตอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอนแสดงวาประจุของอิเล็กตรอนกับประจุของอิเล็กตรอนตองมีคาเทากัน จากความรูนี้เราจะพิจารณาตอไปไดวา การทีอิเล็กตรอนหลุดหลุดจากอะตอมหนึ่งไปสูอีกอะตอมหนึ่ง ยอมทําใหอะตอมท่ีเสียอิเล็กตรอนไปมีประจุลบลดลง สวนอะตอมท่ีไดรับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบเพ่ิมข้ึน นั่นคือสําหรับอะตอมท่ีเปนกลางทางไฟฟาเม่ือเสียอิเล็กตรอนไปจะกลายเปนอะตอมท่ีมีประจุบวก สวนอะตอมท่ีไดรับอิเล็กตรอนเพ่ิมข้ึนจะกลายเปนอะตอมมีประจุลบ ดังนั้นในการนําวัตถุมาถูกันแลวมีผลทําใหวัตถุมีประจุไฟฟาข้ึนนั้น อธิบายไดวาเปนเพราะงานหรือพลังงานกลเนื่องจากการถูกถายโอนใหกับอิเล็กตรอนของอะตอมบริเวณท่ีถูกันทําใหพลังงานของอิเล็กตรอนสูงข้ึนจนสามารถหลุดเปนอิสระออกจากอะตอมของวัตถุหนึ่งไปสูอะตอมของอีกวัตถุหนึ่งกลาวคืออิเล็กตรอนไดถูกถายเทจากวัตถุหนึ่งไปอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุท่ีมีอิเล็กตรอนเพ่ิมข้ึนจะมีประจุลบสวนวัตถุท่ีเสียอิเล็กตรอนจะมีประจุบวก เราจึงสรุปไดวาการทําใหวัตถุมีประจุไฟฟาไมใชเปนการสรางประจุข้ึนใหม แตเปนเพียงการยายประจุจากท่ีหนึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่งเทานั้น โดยท่ีผลรวมของ

Page 4: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

4

จํานวนประจุท้ังหมดของระบบท่ีพิจารณายังคงเทาเดิม ซ่ึงขอสรุปนี้ก็คือ กฎมูลฐานทางฟสิกสท่ีมีชื่อวา กฎการอนุรักษประจุไฟฟา นั่นเอง

ตัวนําและฉนวน (Conductor and Insulator) วัตถุใดท่ีไดรับการถายเทอิเล็กตรอนแลวอิเล็กตรอนนั้นยังคงอยู ณ บริเวณเดิมตอไป เรียกวา ฉนวนไฟฟา หรือเรียกสั้นๆวา ฉนวน นั่นคืออิเล็กตรอนท่ีถูกถายเทใหแกวัตถุท่ีเปนฉนวนจะไมเคลื่อนท่ีจากท่ีหนึ่งไปสูอีกท่ีหนึ่งในเนื้อวัตถุ กลาวไดวา ในฉนวนประจุไฟฟาจะถายเทจากท่ีหนึ่งไปสูอีกท่ีหนึ่งไดยาก

วัตถุใดไดรับการถายเทอิเล็กตรอนแลว อิเล็กตรอนท่ีถูกถายเทสามารถเคลื่อนท่ีกระจายไปไดตลอดเนื้อวัตถุโดยงาย หรืออาจกลาวไดวาอิเล็กตรอนมีอิสระในการเคลื่อนท่ีในวัตถุนั้น เรียกวัตถุท่ีมีสมบัติเชนนั้นวา ตัวนําไฟฟา หรือเรียกสั้นๆ วา ตัวนํา

การทําวัตถุท่ีเปนกลางใหเกิดประจุมี 3 วิธี 1. การขัดสี (ถู) เปนการนําเอาวัตถุท่ีเปนกลางมาถูกัน (วัตถุท่ีนํามาถูกันตองเปนฉนวนเชนผาไหมกับแทง

แกว) จะทําใหอิเล็กตรอนในวัตถุไดรับความรอนจากการถูมีพลังงานเพ่ิมข้ึนสามารถเคลื่อนท่ีจากวัตถุอันหนึ่งไปยังอีกอันหนึ่งได ประจุท่ีเกิดกับวัตถุท้ังสองชนิดเปนประจุชนิดตรงขามกันแตปริมาณ เทากัน

2. การสัมผัส เกิดจากการนําวัตถุ 2 อันมาสัมผัส หรือแตะกันโดยตรงแลวเกิดการถายเทประจุโดย

อิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีจากศักยไฟฟาลบไปยังศักยไฟฟาบวก หรือศักยไฟฟาศูนยไปยังศักยไฟฟาบวก หรือศักยไฟฟาลบไปยังศักยไฟฟาศูนยจะหยุดการถายเทเม่ือวัตถุ 2 อัน มีศักยไฟฟาเทากัน

ทรงกลมตัวนําเม่ือมีประจุไฟฟาอิสระเกิดข้ึน ประจุไฟฟาเหลานี้จะกระจายไปตามผิว นอกของทรงกลมอยางสมํ่าเสมอ เม่ือเกิดการถายเทประจุแสดงวามีการเคลื่อนของอิเล็กตรอน เชน

A B

กอนถู

A B

+ + - -

+ +

+

- -

-

+ + - -

+ +

+

- - -

ขณะถู อิเล็กตรอนจะถายเท จากB ไป A

- -

+ +

หลังถู A รับอิเล็กตรอน จะเกิดประจุอิสระลบ B ใหอิเล็กตรอน จะเกิดประจุอิสระบวก

A B

Page 5: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

5

รูปท่ี 1

แสดงวา เม่ือทรงกลมท้ังสองขนาดเทากัน เม่ือแยกออกจากกันแลวจะแบงประจุไปอยางละครึ่งหนึ่งของประจุไฟฟารวม

รูปท่ี 2

แสดงวา เม่ือทรงกลมท้ังสองขนาดเทากัน เม่ือแยกออกจากกันแลวจะแบงประจุไปอยางละ

ครึ่งหนึ่งของประจุไฟฟารวม

รูปท่ี 3

เสนลวดโลหะ

+100µC

A

∴Q รวม = 100 + 0 = 100µC

QA = 50 µC , QB = 50 µC

เปนกลาง

B อิเล็กตรอน

A

A

+50µC

B

+50µC

e

B

e

อิเล็กตรอน

เสนลวดโลหะ B A

+300µC

A

- 400µC

B

A

- 50µC

B

- 50µC

∴Q รวม = 300 +(-400) = - 100µC

QA = - 50 µC , QB = - 50 µC

∴Q รวม = 500 + 0 = 500 µC

QA = 25

10( 500 µC ) = 200 µC

QB = 25

15( 500 µC ) = 300 µC

เปนกลาง

B

รัศมี 15 ซม.

B

300 µC

+500µC

รัศมี 10 ซม.

A e

อิเล็กตรอน

เสนลวดโลหะ B A

200 µC

A

Page 6: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

6

แสดงวา ทรงกลมท่ีขนาดไมเทากันก็จะแบงประจุตามสัดสวนของรัศมีทรงกลมตอรัศมีรวม

∴ ทรงกลมขนาดใหญจะไดรับประจุไฟฟาไปมากกวาทรงกลมขนาดเล็ก

ตัวอยางท่ี 1 การถายเทประจุเม่ือสัมผัสกัน (แตะกัน)

1.

2.

3.

ตัวอยางท่ี 2 ตัวนํารูปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเปน r และ 2r ตามลําดับ ถาตัวนํา A มีประจุ Q และตัวนํา B มีประจุ – 2Q เม่ือเอามาแตะกันและแยกออก จงหาประจุของตัวนํา A วิธีทํา ทรงกลมท่ีขนาดไมเทากันก็จะแบงประจุตามสัดสวนของรัศมีทรงกลมตอรัศมีรวม

∴ ทรงกลมขนาดใหญจะไดรับประจุไฟฟาไปมากกวาทรงกลมขนาดเล็ก (ดังรูปท่ี 3) Q = Q + ( - 2Q ) = - Q

QA = 3r

r( - Q ) = -

3

Q

ตอบ QA = - 3

Q

3. การเหนี่ยวนํา ( Induction ) เปนการนําวัตถุท่ีมีประจุไฟฟาเขามาใกลวัตถุท่ีเปนกลาง มีผลใหอิเล็กตรอนเกิดการ

เปลี่ยนตําแหนง แลวเกิดประจุชนิดตรงขามบนผิวท่ีอยูใกล และเกิดประจุชนิดเดียวกันกับประจุบนวัตถุท่ีนํามาจอบนผิวท่ีอยูใกล และวัตถุท่ีมีประจุไฟฟาจะดูดวัตถุท่ีเปนกลางเสมอ เชน

1. ลูกพิทซ่ึงเปนกลางแขวนดวยเสนดายอยูนิ่งๆ แลวนําวัตถุท่ีมีประจุ + ( บวก ) มาวาง ใกลๆ ประจุบนลูกพิทจะถูกเหนี่ยวนําใหแยกออกจากกัน ทําใหเกิดแรงระหวางประจุท่ีวัตถุกับลูกพิทกระทําซ่ึงกันและกัน แลวทําใหลูกพิทเบนออกจากแนวเดิม ถานําเอาแทงประจุ+ออก ลูกพิทก็จะเปนกลาง

- - - A B A B A B

-

- - - -

- - - -

- - - -

ลบ ลบ

กอนแตะ เม่ือแตะ หลังแตะ

A B A B A B

+ + + +

+

+ + +

+ บวก

+ + + +

+ + +

บวก

กอนแตะ เม่ือแตะ หลังแตะ

B A B A B

ลบ ลบ

C C C

กลาง

A -

- - -

- - - -

- - - - - - - -

Page 7: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

7

2. อิเล็กโทรสโคปแผนโลหะซ่ึงเดิมเปนกลาง เม่ือนําวัตถุท่ีมีประจุ + ( บวก ) มาวางใกลๆ

จานรับวัตถุจะเกิดการเหนี่ยวนํา ดังรูป ถานําเอาแทงประจุ+ออก อิเล็กโทรสโคปแผโลหะก็จะเปนกลาง

เราสามารถทําใหลูกพิท และ อิเล็กโทรสโคป มีประจุ สามารถทําไดโดยการตอลงดินดังรูป

3. ลูกพิทซ่ึงเปนกลางแขวนดวยเสนดายอยูนิ่งๆ แลวนําวัตถุท่ีมีประจุ + (บวก) มาวาง ใกลๆ ประจุบนลูกพิทจะถูกเหนี่ยวนําใหแยกออกจากกัน ทําใหเกิดแรงระหวางประจุท่ีวัตถุกับลูกพิทกระทําซ่ึงกันและกัน แลวทําใหลูกพิทเบนออกจากแนวเดิม เม่ือสัมผัสกับลูกพิท (ตอลงดิน) จะมีการถายเทประจุ ถานําเอาแทงประจุบวก + ออก ลูกพิทก็จะมีประจุเปนลบ (–)

θ

- - -

+ + +

+ +

+ เปนกลาง เปนกลาง

เปนกลาง เปนกลาง

+ +

+ -

+

- -

+

- +

+ +

ลบ

θ

- - -

- - -

+ +

+

θ

- - -

+ + +

+ +

+

Page 8: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

8

4. อิเล็กโทรสโคปแผนโลหะซ่ึงเดิมเปนกลาง เม่ือนําวัตถุท่ีมีประจุ + (บวก) มาวางใกลๆ จานรับวัตถุจะเกิดการเหนี่ยวนํา ดังรูป เม่ือสัมผัสกับแผนโลหะ (ตอลงดิน) จะมีการถายเทประจุ ถานําเอาแทงประจุ+ออก อิเล็กโทรสโคปแผโลหะก็จะเปนกลาง

ตัวอยางท่ี 1 เม่ือนําวัตถุ A เขาใกลลูกพิท P ซ่ึงเปนกลาง ตามรูปขอใดเปนไปได

1. ก และ ค 2. ข และ ค 3. ก และ ข 4. ก , ข และ ค

เฉลย ขอ 1 แนวคิด รูป ข เปนไปไมได เพราะถาวัตถุ A มีประจุ จะตองดูดลูกพิท P เทานั้น และ ถาวัตถุ A เปนกลาง จะไมมีแรงระหวางประจุเกิดข้ึนกับลูกพิท P

ตัวอยางท่ี 2 ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไวดวยฉนวน เม่ือนําแทงวัตถุท่ีมีประจุลบเขาใกลทรงกลม B ดังรูป จะมีประจุไฟฟาชนิดใดเกิดข้ึนท่ีตัวนําทรงกลมท้ังสอง

ตอบ ทรงกลม A มีประจุลบ ทรงกลม B มีประจุบวก

-

+ +

-

-

ลบ

-

-

-

-

-

- -

-

-

-

-

-

- -

+ +

-

-

+ +

+ + +

+

P A

P

A

P A

แนวคิด

A B

- - - - -

- - - - -

+ + + + - - - - A B

- - - - -

- - - - -

Page 9: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

9

ตัวอยางท่ี 3 ตัวนําทรงกลม A, B, C และ D มีขนาดเทากันและเปนกลางทางไฟฟาวางติดกันตามลําดับอยูบนฉนวนไฟฟา นําแทงประจุลบเขาใกลทรงกลม D ดังรูป แลวแยกใหออกจากกัน ประจุบนทรงกลมแตละลูกเรียงตามลําดับจะเปนอยางไร

ตอบ ลบ กลาง กลาง บวก

ตัวอยางท่ี 4 เม่ือนําวัตถุท่ีมีประจุไฟฟาชนิดบวกไปเหนี่ยวนําเพ่ือทําใหอิเล็กโทรสโคปแผนโลหะซ่ึงเดิมเปนกลางใหมีประจุไฟฟา แลวจึงนําวัตถุ A ซ่ึงมีประจุมาใกล ดังรูป ปรากฏวาแผนโลหะของ อิเล็กโทรสโคปกางออกมากข้ึนอีก ชนิดของประจุท่ีจุด , , และ เปนชนิดใดตามลําดับ

ตอบ ชนิดของประจุท่ีจุด , , และ จะเปน ลบ บวก ลบ ลบ

กฎของคูลอมบ (Coulomb ,s Law) “แรงระหวางประจุจะเปนสัดสวนกับผลคูณของประจุ และแปรผกผันกับระยะหางระหวางประจุยกกําลังสอง”

นั่นคือ F α Q1Q2

และ F α 2R

1

ดังนั้น F α 2

21

R

QQ

เขียนเปนสมการ F = 2

21

R

QKQ………………………****

โดย K = 9 x 109 Nm2/C2 , Q = ประจุไฟฟา หนวย คูลอมบ, R = ระยะหางระหวางประจุ หนวย เมตร

A B C D แนวคิด -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

+ + + - - - A B C D

แนวคิด เม่ือนําประจุบวกไปเหนี่ยวนําอิเล็กทรสโคปท่ีเปนกลางจะทําใหอิเล็กโทรสโคปมีประจุเปนลบกางอยู ตอมาเม่ือนําวัตถุ A ซ่ึงมีประจุ มาใกล แลวทําใหแผนโลหะกางมากข้ึน แสดงวาประจุ ตองเปนลบ จะผลักประจุลบจากจานโลหะลงไปยังแผนโลหะขางลาง แผนโลหะ,จึงมีประจุลบมากข้ึนก็จะกางออกมากข้ึนกวาเดิม สวนบริเวณจานโลหะก็จะมีประจุเปนบวก

__

__ __ __

__ __

__

__ __

A

Page 10: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

10

ตัวอยางท่ี 1 มีประจุ + 1 คูลอมบ และ + 2 คูลอมบ วางหางกัน 3 เมตร จงหาแรงระหวางประจุ

+1 C +2 C 3 m

1F

, 2F

คือ แรงระหวางรวมท่ี ประจุ + 1 คูลอมบ และ + 2 คูลอมบ กระทําซ่ึงกันและกัน

วิธีทํา จากกฎคูลอมบ

F = 2

21

r

QKQ =

2

9

3

x1x29x10 = 2 x 109 N

ดังนั้น แรงระหวางประจุมีคา 2 x 109 N

ตัวอยางท่ี 2 จากรูป จงหาแรงท่ีกระทําตอประจุ +3 µC

วิธีทํา 1. กําหนดจุด และเขียนทิศของแรง

2. หาแรงตามกฎคูลอมบจาก F = 2

21

r

QKQ

F1 = 2

6 -6 -9

3

x3x10x4x109x10 = 12 x 10- 3 N

F2 = 2

6 -6 -9

3

x3x10x2x109x10 = 6 x 10- 3 N

3. หาแรงลัพธ (แบบปริมาณเวกเตอร) ทิศเดียวกัน นํามาบวกกัน

F

= 1F

+ 2F

= 12 x 10- 3 + 6 x 10- 3 = 18 x 10- 3 N

ดังนั้น แรงท่ีกระทําตอประจุ +3 µC เทากับ 18 x 10-3 N

1F

2F

3 m 3 m +3 µ C +4 µ C -2 µ C

+4 µ C +3 µ C -2 µ C 1F

2F

F1 คือ แรงผลัก ท่ีประจุ + 4 µC กระทําตอประจุ +3 µC

F2 คือ แรงดูด ท่ีประจุ -2 µC กระทําตอประจ ุ+3 µC

Page 11: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

11

ใบงาน : แบบฝกเสริมประสบการณ 1 เรื่อง ประจุไฟฟา

1. นักวิทยาศาสตรคนใดคนพบอํานาจทางไฟฟา ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. วัตถุตางๆ เชน พลาสติก แพร ขนสัตว มีประจุบวกและลบในตัวแลวแตจํานวนเทากันจึงไมแสดงอํานาจไฟฟาออกมา เราเรียกวัตถุนั้นวาอยางไร .......................................................................................................................................................

3. เม่ือใด วัตถุมีประจุไมเทากัน จะแสดงอํานาจไฟฟาออกมาภายนอก เราเรียกวัตถุนั้นวาอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. ประจุไฟฟาชนิดเดียวกัน เม่ือใกลกันจะเกิดผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. ประจุไฟฟาตางชนิดกัน เม่ือใกลกันจะมีผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

6. อิเล็กโทรสโคป คืออะไร แบงออกเปนก่ีชนิด ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

7. ถานําเอาแผนพีวีซีถูดวยผาสักหลาดและแผนเปอรสเปกซถูดวยผาสักหลาดแลวนํามาเขาใกลกันจะเกิดผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

8. ถาเรานําเอาแผนพีวีซี 2 แผนมาถูดวยผาสักหลาดแลวนําแผนท้ังสองเขาใกลกันจะเกิดผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

9. ทฤษฎีอะตอมในปจจุบันกลาววา อะตอมประกอบดวยอนุภาคอะไรบาง อนุภาคแตละชนิดมีอํานาจไฟฟาอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

10. กฎของคูลอมบ (coulomb’s Law) กลาววาอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 12: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

12

ใบงาน : แบบฝกเสริมประสบการณ 2 เรื่อง ประจุไฟฟา และแรงระหวางประจุ

1. จากรูป ประจุ q1, q2 และ q3 มีคา -1 x 10-6 , +2 x 10-6

และ -3 x 10-6 คูลอมบ ตามลาดับ

โดยท่ี q3 หางจาก q1 10 เซนติเมตร และ q2 หางจาก q1 15 เซนติเมตร จงคํานวณแรงกระทําบนประจุ q1

................................................................................

................................................................................

................................................................................

................................................................................

................................................................................

................................................................................

................................................................................

2. จากรูป A, B และ C เปนจุดท่ีมีประจุไฟฟาอิสระ +20, +10 และ +4 ไมโครคูลอมบ ตามลาดับ จงหาแรงท่ีกระทาตอประจุไฟฟา A

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

3. จุดประจุวางในตําแหนงดังรูป จงหาวาแรงท่ีกระทาตอประจุ +4 x 10-3 คูลอมบ มีคาเปนก่ีนิวตัน

......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 13: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

13

4. ลูกพิทเล็กๆ สองลูก A และ B มีมวลเทากับ ลูกพิท A มีประจุ +0.5 ไมโครคูลอมบ ถูกแขวนดวยเสนดายไนลอน ลูกพิท B มีประจุเปนครึ่งหนึ่งของลูกพิท A สามารถลอยนิ่งอยูในอากาศใตลูกพิท A โดยมีระยะหาง 15 เซนติเมตร จงหาขนาดของมวลของลูกพิทและแรงดึงในเสนดาย ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

5. ลูกพิทมวล 0.72 กรัม มีประจุ 25 x 10-6 คูลอมบ วางอยูเหนือจุดประจุ 2 จุด ท่ีมีขนาดประจุ

เทากับ Q และผูกติดกันหางกัน 6 เซนติเมตร จะตองใชประจุ Q เปนปริมาณเทาใดจึงจะทาใหลูกพิทลอยอยูเหนือจุดก่ึงกลางระหวางประจุท้ังสองเปนระยะทาง 4 เซนติเมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 14: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

14

รายวิชา ฟสิกส (เพ่ิมเติม) รหัส ว33202 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 เลม 1 ช่ือหนวย : ไฟฟาสถิต เวลาเรียน

2 ช่ัวโมง ช่ือเร่ือง : สนามไฟฟา ( Electric field )

จุดประสงคการเรียนรู :

1. อธิบายสนามไฟฟา สนามไฟฟาของจุดประจุและสนามไฟฟาของตัวนําทรงกลม

สนามไฟฟา (Electric field) การนําประจุไฟฟาไปวางไว ณ ตําแหนงตางๆ กันในบริเวณรอบๆอีกประจุหน่ึง จะพบวามีแรงไฟฟากระทําตอประจุท่ีนําไปวางเสมอ ในกรณีเชนน้ีเรากลาววามี สนามไฟฟา เรียกประจุท่ีนําไปวางน้ันวา ประจุทดสอบ ดังรูป 1.

รูป 1. แรง F

กระทําตอประจุทดสอบ +q

เม่ือ + q เปนประจุทดสอบ ไปวาง ณ จุดใดๆ ในบริเวณรอบๆ ประจุ +Q แรง F

ท่ีกระทําตอประจุทดสอบ +q จะมีคาแปรผันตรงกับคาของ +q ตามกฎของคูลอมบ นั่นคือ แรงกระทํากับประจุท่ีนําไปวางในบริเวณท่ีมีสนามไฟฟามีคาแปรผันตรงกับคาของประจุทดสอบ

ในทางกลับกัน ประจุทดสอบก็จะสงแรงกระทําตอประจุเจาของสนามท่ีวางอยูเดิมดวยขนาดแรง F นี้เชนกัน ดังนั้น ถาขนาดประจุทดสอบมีคามาก แรงกระทํานี้ก็จะมีคามากดวย ซ่ึงอาจสงผลใหการวางตัวของประจุท่ีทําใหเกิดสนามเปลี่ยนไปจากเดิม นอกจากนี้ประจุทดสอบจะมีผลทําใหสนามในบริเวณรอบๆประจุเดิมมีคาเปลี่ยนไปเพราะบริเวณรอบๆประจุทดสอบก็จะมีสนามไฟฟาอันเนื่องจากประจุทดสอบอยูดวย ดวยเหตุผลขางตนนี้ประจุทดสอบจึงควรมีขนาดเล็กมากๆ เพ่ือใหมีผลกระทบตอสนามไฟฟาเดิมนอยท่ีสุด

เอกสารประกอบการเรียน

+

+Q +q +

F

+q +

F

Page 15: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

15

ดังนั้น แรงท่ีกระทําตอหนึ่งหนวยประจุบวกซ่ึงวาง ณ ตําแหนงใดๆคือ สนามไฟฟา ณ ตําแหนงนั้น และเขียนดวยสัญลักษณ E

E = q ประจุทดสอบ

q บอประจุทดสอที่กระทําต่ F แรง

++

หรือเขียนวา

E = q

F

+ หรือ F = qE

สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร โดยโยกําหนดทิศของสนามไฟฟาใหอยูในทิศเดียวกับทิศ

ของแรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบ ดังรูป 2

รูป 2 ทิศของสนามไฟฟา E ของประจุ +Q กับทิศของแรง F

กระทําตอประจุทดสอบ+q

นั่นคือ ขนาดและทิศของสนามไฟฟาท่ีตําแหนงใด จะหมายถึง ขนาดและทิศของแรงท่ีกระทําตอประจุบวกหนึ่งหนวยซ่ึงวาง ณ ตําแหนงนั้น ในระบบ เอสไอ (SI) แรง F มีหนวยเปน นิวตัน (N) ประจุ q มีหนวยเปนคูลอมบ (C)

ดังนั้น สนามไฟฟา E มีหนวยเปน นิวตันตอคูลอมบ (N/C)

ตัวอยางท่ี 1 แรงไฟฟาทีกระทําตอประจุทดสอบ จะเปลี่ยนไปอยางไร เม่ือคาประจุทดสอบ เปลี่ยนไป ณ ตําแหนงท่ีสังเกตเดิม วิธีทํา จาก F = qE

ดังนั้น ณ ตําแหนงเดิม สนามไฟฟา E

จะมีคาเทาเดิม จะได ขนาดของแรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบ มีความสัมพันธดังนี้

F α q

หมายความวา ขนาดของแรง F แปรผันตรงกับขนาดประจุ q ตอบ แรง F ท่ีกระทําตอประจุทดสอบ q จะมีคาเพ่ิมข้ึน เม่ือ ขนาดของประจุทดสอบ q เพ่ิมข้ึน และ แรง F ท่ีกระทําตอประจุทดสอบ q จะมีคาลดลง เม่ือ ขนาดของประจุทดสอบ q ลดลง

+

+Q +q +

F

E

Page 16: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

16

ตัวอยางท่ี 2 จากรูป แรง F กระทําตอประจุทดสอบ +q จะมีคาเปนก่ีเทาของคาแรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบท่ีมีคาเปน 3 เทาของคาเดิม

วิธีทํา จาก F = qE ดังนั้น ณ ตําแหนงเดิม สนามไฟฟา E จะมีคาเทาเดิม จะได ขนาดของแรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบ มีความสัมพันธดังนี้

F α q

∴ 2

1

2

1

q

q

F

F=

เม่ือ F1 คือ แรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบเดิม F2 คือ แรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบใหม q1 คือ ประจุทดสอบเดิม = q q2 คือ ประจุทดสอบใหม = 3q

แทนคา 3q

q

F

F

2

1 =

F1 = 2F3

1

ตอบ แรง F กระทําตอประจุทดสอบ +q มีคาเปน หนึ่งในสาม ของแรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบท่ีมีคาประจุเปน 3 เทาของประจุเดิม

สนามไฟฟา ณ ตําแหนงใดๆเนื่องจากจุดประจุ

เม่ือนําจุดประจุบวกหรือลบวางอยูในบริเวณวางเปลาใดๆ รอบๆ จุดประจุบวกหรือลบนี้จะมีสนามไฟฟาแผออกไป ซ่ึงสามารถหาขนาดและทิศทางของสนามไฟฟา ณ จุดตางๆรอบจุดประจุนี้ได โดยนําประจุทดสอบบวก (ซ่ึงประจุท่ีคิดข้ึนมีสมบัติประจําตัวคือ ประจุทดสอบนี้จะไมรบกวนประจุท่ีอยูขางเคียง) วางไว ณ ตําแหนงตางๆรอบจุดประจุบวกหรือลบนั้น ทิศทางของสนามไฟฟา ณ จุดใดจุดหนึ่งจะอยูในแนวเดียวกับทิศของแรงท่ีกระทําตอประจุทดสอบบวกท่ีวางไว ณ จุดนั้น จะไดทิศทางของสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุดังรูป 3.

รูป 3. สนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุอิสระ

+

+Q +q +

F

E

-

+

Page 17: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

17

จากรูป เม่ือวางประจุทดสอบบวกรอบๆ จุดประจุบวก จะเกิดแรงผลักประจุทดสอบบวกนี้มีทิศพุงออกจากจุดประจุบวก ดังนั้นทิศทางของสนามไฟฟาท่ีเกิดจากประจุบวกจะมีทิศทางพุงออกจากจุดประจุบวกทุกทิศทาง

ในทํานองกลับกันถาเปนสนามไฟฟาท่ีเกิดจากประจุลบจะมีทิศทางพุงเขาหาจุดประจุลบทุกทิศทาง

การหาขนาดของสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ กําหนดใหมีจุดประจุ +Q อยูท่ีตําแหนงหนึ่ง ถาวางประจุทดสอบ +q ไวหางจาก +Q เปนระยะ r แลวเกิดแรงซ่ึงมีขนาด F กระทําตอประจุ + q ดังรูป

จากรูปจะไดวา 2r

KQq F =

และจาก q

F E =

ดังนั้น q

1x

r

KQq E

2=

จะไดวา 2r

KQ E =

ตัวอยางท่ี 1 จงหาสนามไฟฟา ณ จุด A ซ่ึงอยูหางจากจุดประจุ 6 ไมโครคูลอมบ เปนระยะ 10 เซนติเมตร

วิธีทํา จาก 2r

KQ E =

แทนคา 2-10

-610 x 6x 9 x109 E =

E = 5.4 x 106 N/C ตอบ สนามไฟฟา ณ จุด A มีคาเทากับ 5.4 x 106 นิวตันตอคูลอมบ

+

+Q +q +

F

E

r

6µC A E

Page 18: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

18

ตัวอยางท่ี 2 จุด P และจุด Q อยูหางจากจุดประจุ q เปนระยะ 20 เซนติเมตร และ 50 เซนติเมตร ตามลําดับ ถาท่ีจุด P สนามไฟฟามีคาเทากับ 5 โวลตตอเมตร และมีทิศชี้เขาหาประจุแลวสนามไฟฟาท่ีจุด Q มีคาเทาไร และมีทิศอยางไร

วิธีทํา จาก 2r

KQ E =

ท่ีจุด P ( ) 20.2

KQ 5 =

KQ = 5( 0.2 )2

ท่ีจุด Q ( ) 20.5

KQ E =

( )2r

0.25

2

= = 0.8 N/C

สนามไฟฟาท่ีจุด P มีทิศชี้เขา แสดงวาประจุ q เปนประจุลบ

∴สนามไฟฟาท่ีจุด Q ซ่ึงมีขนาด 0.8 N/C จะมีทิศชี้เขาหาประจุ q ดวย ตอบ สนามไฟฟาท่ีจุด Q ซ่ึงมีขนาด 0.8 นิวตันตอคูลอมบ และมีทิศชี้เขาหาประจุ q

สนามไฟฟาท่ีเกิดจากจุดประจุหนึ่งจุดประจุและหลายจุดประจุ ชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกัน

ในกรณีตําแหนงท่ีพิจารณามีสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุสองจุดประจุ ดังรูป 4. หรือ สนามไฟฟาเนื่องจากหลายประจุ ขนาดและทิศของสนามไฟฟาลัพธ E

ท่ีตําแหนงนั้นก็คือ ผลรวม

แบบเวกเตอรของสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุแตละจุด นั่นคือ 21 E E E +=

รูป 4. สนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ Q1 และ Q2

ดังนั้น สนามไฟฟาท่ีตําแหนงหนึ่งเนื่องจาก n ประจุ จึงเขียนเปนสมการไดวา

∑==

n

1iiE E

A B

C

1E

2E

E

Q1 Q2

- +

Page 19: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

19

จุดสะเทิน คือ จุดท่ีสนามไฟฟาลัพธเปนศูนย 1. ประจุชนิดเดียวกัน จุดสะเทินจะเกิดในแนวตอระหวางประจุท้ังสองใกลประจุท่ีมีคา

นอย

ถา + Q1 ⟩ + Q2 จะไดจุดสะเทินอยูใน ใกลประจุ +Q2 แลวหาตําแหนงจุดสะเทินจาก

E1 = E2

21

1

R

kQ =

22

2

R

kQ

2. ประจุตางชนิดกัน จุดสะเทินจะเกิดนอกแนวตอระหวางประจุท้ังสองใกลประจุท่ีมีคานอย

ถา + Q1 ⟩ - Q2 จะไดจุดสะเทินอยูนอก ใกลประจุ -Q2 แลวหาตําแหนงจุดสะเทินจาก

E1 = E2

21

1

R

kQ =

22

2

R

kQ

ตัวอยางท่ี 1 จากรูป เม่ือวางจุดประจุ +Q ไวท่ีจุด A ปรากฏวาสนามไฟฟาท่ีจุด P มีคาเทากับ 0.5 นิวตันตอเมตร ถานําจุดประจุชนิด –Q มาวางไวท่ีจุด B โดย A , P และ B อยูบนเสนตรงเดียวกัน สนามไฟฟาท่ีจุด P จะมีคาเทาใด

+Q1 +Q2 1E

2E

R1 R2

2E

R1 R2

1E

+Q1 -Q2

0.1 m 0.1 m

-Q AE

= 0.5 N/C +Q

A B P BE

Page 20: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

20

วิธีทํา จาก BA E E E +=

เม่ือ ประจุไฟฟา +Q ท่ีจุด A จะทําใหเกิดสนามไฟฟาท่ีจุด P มีทิศพุงออกจากประจุ +Q และเม่ือนําประจุ –Q มาไวท่ี B จะทําใหเกิดสนามไฟฟาท่ีจุด P ในทิศพุงเขาหาประจุ –Q ซ่ึงจะเปนทิศทางเดิมของสนามไฟฟาจากประจุ +Q

∴ AE = 0.5 N/C มีทิศจาก P ไป B

จะได BE = 0.5 N/C มีทิศจาก P ไป B ดวย

ดังนั้น E = 0.5 + 0.5 = 1.0 N/C

ตอบ สนามไฟฟาท่ีจุด P มีคาเทากับ 1.0 N/C

ตัวอยางท่ี 2 จุดประจุขนาด +1 ไมโครคูลอมบ และ +4 ไมโครคูลอมบ วางไวหางกันเปนระยะ 6 เซนติเมตร ตําแหนงท่ีสนามไฟฟามีคาเปนศูนย จะอยูหางจากจุดประจุ +1 ไมโครคูลอบ ก่ีเซนติเมตร

วิธีทํา สรางรูปและกําหนดตําแหนงท่ีสนามไฟฟาเปนศูนย โดยถาประจุชนิดเดียวกัน ตําแหนงท่ีสนามไฟฟาเปนศูนยจะอยูระหวางประจุท้ังสอง

จะได 1E = 2E

( )( )( )22-10x

C1k µ =

( )( ) ( )( )22-10x-6

C4k µ

2x

1 =

( ) 2x-6

4

x

1 =

x-6

2

ตอบ ตําแหนงท่ีสนามไฟฟาเปนศูนยอยูหางจากประจุ +1µC เปนระยะ 2 เซนติเมตร

+1 µC

6 cm x

+4 µC 1E

2E

6 – x = 2x 2 = x

∴ x = 2 cm

Page 21: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

21

ตัวอยางท่ี 3 ท่ีตําแหนง A และ C มีประจุเปน 3.2x10-3 คูลอมบ และ –1.6x10-3 คูลอมบ ตามลําดับ ดังรูป เมื่อระยะ AB = 4.8 เมตร BC = 1.6 เมตร จงหาขนาดและทิศของสนามไฟฟาท่ีตําแหนง B

วิธีทํา ให E1 และ E2 เปนสนามไฟฟาท่ีตําแหนง B เนื่องจากจุดประจุท่ี A และ C ตามลําดับ และให E เปนสนามไฟฟาลัพธท่ี B เม่ือพิจารณาทิศของสนามก็จะเห็นวา E1 มีทิศออกจาก A ไป B เพราะเปนสนามเนื่องจากประจุบวก สวน E2 นั้นมีทิศจาก B เขาหา C ขนาดของ E1 และ E2 ท่ีตําแหนง B หาไดจากสมการ

2r

KQ E =

ดังนั้น E1 = ( ) 24.8

3.2x10x9x10

-39

= 1.3x106 N/C

และ E2 = ( ) 21.6

1.6x10x9x10

-39

= 5.6x106 N/C

จาก E = 22

21 E E + = ( ) ( )22 66 5.6x101.3x10 + = 5.7x106 N/C

ทิศของสนามไฟฟาลัพธท่ีตําแหนง B เทียบกับแนว AB หาไดจาก

tanθ = 1

2

E

E =

6

6

1.3x10

5.6x10 = 4.5 ⇒ θ = 77.5 องศา

ตอบ สนามไฟฟาลัพธท่ีตําแหนง B มีขนาด 5.7x106 นิวตันตอคูลอมบ และทํามุม 77.5 องศากับแนว AB

C

1.6 m

+ A

B

3.2x10-3 C

–1.6x10-3 C

4.8 m

__

1E

2E

E

+

-

A

3.2x10-3 C

C –1.6x10-3 C

B

Page 22: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

22

แรงกระทําตอประจุท่ีอยูในสนามไฟฟา ขนาดและทิศของสนามไฟฟาดังไดกลาวมาแลว หมายถึง ขนาดและทิศของแรงไฟฟากระทําตอประจุบวกหนึ่งหนวย ณ ตําแหนงท่ีพิจารณา เชน

ถานําประจุ +q ไปวางไวในบริเวณท่ีมีสนามไฟฟาท่ีเกิดจากประจุ +Q แรงท่ีกระทําตอประจุ +q หาไดจาก qE F = มีทิศเดียวกับทิศของสนามไฟฟา E ดังรูป 5.

รูป 5. ทิศของแรงท่ีกระทําตอประจุ +q มีทิศเดียวกับทิศของสนามไฟฟา

ถานําประจุ +q ไปวางไวในบริเวณท่ีมีสนามไฟฟาซ่ึงเกิดจากประจุ –Q แรงท่ีกระทําตอประจุ + q หาไดจาก qE F = มีทิศเดียวกับทิศของสนามไฟฟา E เชนเดียวกัน ดังรูป 6.

รูป 6. ทิศของแรงท่ีกระทําตอประจุ +q มีทิศเดียวกับทิศของสนามไฟฟา

ถานําประจุ – q เขาไปในบริเวณท่ีมีสนามไฟฟา E ทิศของแรง F ท่ีกระทําตอประจุ – q จะมีทิศตรงกันขามกับทิศของสนามไฟฟา ดังรูป 7.

รูป 7. ทิศของแรงท่ีกระทําตอประจุ - q มีทิศตรงกันขามกับทิศของสนามไฟฟา

ตัวอยาง 1 เม่ือนําประจุ –2x10-6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จุดๆหนึ่ง ปรากฏวามีแรง 8 x 10-6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจากซายไปขวา สนามไฟฟาตรงจุดนั้น มีคาเทาไร และมีทิศอยางไร

วิธีทํา

+ + E

+ q +Q

F

- + E

+ q -Q

F

- - E

- q -Q

F

E

F

= 8x10-6 N Q = - 2x10-6

Page 23: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

23

แรงท่ีเกิดกับประจุลบ จะมีทิศตรงขามกับสนามไฟฟา ดังนั้นสนามไฟฟามีทิศจากขวาไปซาย หาขนาดจาก F = qE

E = q

F = 6-10 x 2

-610 x 8 = 4 N/C

ตอบ สนามไฟฟาตรงจุดนั้นมีขนาดเทากับ 4 นิวตันตอคูลอมบ มีทิศจากขวาไปซาย

ตัวอยาง 2 อนุภาคมีประจุ q มวล m ในสนามไฟฟา E

จะมีความเรงขนาดเทาใด

วิธีทํา จาก F

= m a จะได qE = ma

m

qE a =

ตอบ อนุภาคนี้จะมีความเรงเทากับ m

qE

เสนแรงไฟฟา ( Electric line of force ) จากความรูเรื่องสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ พบวาสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุบวกมีทิศทางพุงออกจากจุดประจุบวกทุกทิศทาง และสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุลบมีทิศพุงเขาหาจุดประจุลบทุกทิศทาง เสนตางๆท่ีใชเขียน เพ่ือแสดงทิศของสนามไฟฟาในบริเวณรอบๆจุดประจุ จะเรียกวา เสนแรงไฟฟา หรืออาจกลาววาเสนแรงไฟฟา ใชแสดงทิศของแรงท่ีกระทําตอประจุบวกท่ีวางอยูในบริเวณท่ีมีสนามไฟฟา ดังรูป 8.

รูป 8.แสดงเสนแรงไฟฟา จากจุดประจุบวกอิสระ และจุดประจุลบอิสระ

ถาสนามไฟฟาท่ีพิจารณาเปนสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุมากกวา 1จุดประจุ เสนแรงไฟฟาจะเปนเสนแสดงทิศทางของสนามไฟฟาลัพธมีทิศเดียวกับทิศของแรงลัพธท่ีกระทําตอประจุบวก

ตัวอยางของเสนแรงไฟฟาลักษณะตางๆ กัน ดังรูป 9 และ รูป 10.

q

E

F

Page 24: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

24

รูป 9. เสนแรงไฟฟาเนื่องจากจุดประจุอิสระ 2 ประจุ

รูป 10. แสดงทิศของสนามไฟฟาท่ีตําแหนงตางๆ

นอกจากนี้ยังมีเสนแรงไฟฟาของแผนตัวนําขนาน และเสนแรงไฟฟาจากประจุตางชนิดกันของ วงกลม ดังรูป 11.

รูป 11 ก. เสนแรงไฟฟาเนื่องจากประจุตางชนิดกันของแผนตัวนําขนาน ข. เสนแรงไฟฟาเนื่องจากประจุตางชนิดกันของตัวนําวงกลมซอนกัน

คุณสมบัติของเสนแรงไฟฟา ท่ีควรทราบ คือ 1. เสนแรงไฟฟาพุงออกจากประจุไฟฟาบวก และพุงเขาสูประจุไฟฟาลบ 2. เสนแรงไฟฟาแตละเสนจะไมตัดกันเลย 3. เสนแรงไฟฟาจากประจุไฟฟาชนิดเดียวกัน ไมเสริมเปนแนวเดียวกัน แตจะเบนแยกออก

จากกันเปนแตละแนว สวนเสนแรงไฟฟาจากประจุไฟฟาตางชนิดกันจะเสริมเปนแนวเดียวกัน 4. เสนแรงไฟฟาท่ีพุงออกหรือพุงเขาสูผิวของวัตถุยอมตั้งฉากกับผิวของวัตถุนั้นๆเสมอ 5. เสนแรงไฟฟา จะไมพุงผานวัตถุตัวนําเลย เสนแรงไฟฟาจะสิ้นสุดอยูท่ีผิวตัวนําเทานั้น

+ __

+ __

ก ข

Page 25: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

25

ความสัมพันธระหวางเสนแรงไฟฟากับสนามไฟฟา 1. เสนตรงท่ีสัมผัสเสนแรงไฟฟาตรงจุดใดๆ จะแสดงแนวของสนามไฟฟา ณ จุดนั้น 2. จํานวนเสนแรงไฟฟาท่ีเขียนข้ึนตอหนึ่งหนวยพ้ืนท่ีหนาตัดจะเปนสัดสวนกับขนาดของ

สนามไฟฟา หมายความวา ท่ีบริเวณใดก็ตามถาเสนแรงไฟฟาอยูชิดกันมาก สนามไฟฟาก็จะมีคามาก ถาเสนแรงไฟฟาอยูหางกันสนามไฟฟาก็จะมีคานอย

3. ณ บริเวณใดท่ีสนามไฟฟาหางกันสมํ่าเสมอ สนามไฟฟาก็จะคงท่ีดวย เชน สนามไฟฟาท่ีเกิดจากแผนโลหะคูขนานท่ีมีประจุไฟฟา

4. สนามไฟฟาคงท่ีเสนแรงไฟฟาจะมีทิศขนานกัน

สนามไฟฟาบนตัวนําทรงกลม เม่ือพิจารณาตัวนําทรงกลมกลวงหรือตันท่ีมีประจุไฟฟาอิสระ ประจุจะกระจายอยูท่ีผิวนอกอยางสมํ่าเสมอ (ตามหลักการกระจายของประจุไฟฟา) ซ่ึงพบวาทรงกลมท่ีจะแผอํานาจไฟฟาออกไปโดยรอบ ทําใหมีสนามไฟฟาเกิดข้ึน ดังรูป 12

รูป 12. สนามไฟฟา เนื่องจากประจุบนตัวนําทรงกลมและจุดประจุ

จากรูป 12. พบวา สนามไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนําทรงกลม ภายนอกทรงกลมเหมือนกับสนามไฟฟา เนื่องจากจุดประจุ จึงอาจหาสนามไฟฟาภายนอกทรงกลมได โดยพิจารณาจากรูป 6.

รูป 13. แสดงสนามไฟฟาภายนอกทรงกลม

r

A E

Page 26: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

26

จากรูป 13. การหาสนามไฟฟาท่ีจุด A ซ่ึงอยูหางจากจุดศูนยกลางของทรงกลมเปนระยะ r อาจคิดเสมือนวาประจุ Q ท้ังหมดรวมอยูท่ีจุดศูนยกลางของทรงกลม ดังนั้น การหาขนาดของสนามไฟฟา ( E ) ณ ระยะหาง r จากจุดศูนยกลางของทรงกลม โดยตองมากกวาหรือเทากับรัศมีของทรงกลม จะไดวา

2r

KQ E =

หมายเหตุ เนื่องจากเสนแรงไฟฟาตั้งฉากกับผิวของตัวนํา และไมสามารถผานทะลุไปในตัวนําได ดังนั้นภายในตัวนําคาความเขมสนามไฟฟา ( E ) จึงมีคาเทากับศูนย ( 0 ) เสมอ และท่ีผิว

ทรงกลมตัวนําจะมีคาความเขมสนามไฟฟามากท่ีสุด ซ่ึงหาไดจาก 2r

KQ E = เม่ือ r ในท่ีนี้คือ รัศมี

ของทรงกลมตัวนํา

ตัวอยาง 1 ทรงกลมตัวนําเสนผานศูนยกลาง 10 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ จงหาคาความเขมสนามไฟฟา ณ ตําแหนงท่ีอยูหางจากจุดศูนยกลางเปนระยะ 20 , 10 , 5 และ 4 เซนติเมตร ตามลําดับ

วิธีทํา

จาก 2

r

KQ E =

ท่ี ( r = 20 cm ) EA = 2-4x10

-610x 910 x 9 = 2.25x105 N/C

ท่ี ( r = 10 cm ) EB = 2-10

-610x 910 x 9 = 9 x 105 N/C

ท่ี ( r = 5 cm ) EC = 4-10 x 25

-610x 910 x 9 = 3.6 x 106 N/C

ท่ี ( r = 4 cm ) ED = 0 ( จุด D อยูภายในทรงกลม )

ตอบ ณ ตําแหนงท่ีอยูหางจากจุดศูนยกลางเปนระยะ 20, 10, 5 และ 4 เซนติเมตร มีความเขมสนามไฟฟาเทากับ 2.25 x 105 , 9 x 105 , 3.6 x 106 และ 0 นิวตันตอคูลอมบ ตามลําดับ

A B C

D

4 cm

5 cm

10 cm

20 cm

Page 27: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

27

ขนาดของสนามไฟฟาท่ีตําแหนงตางๆ เนื่องจากประจุบนตัวนําทรงกลมแสดงไดดังกราฟ ในรูป 14.

รูป 14. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางขนาดสนามไฟฟา

เนื่องจากประจุบนตัวนําทรงกลมกับระยะหางจากจุดศูนยกลางของทรงกลม

จากหลักการกระจายของประจุไฟฟา และจากการศึกษาสนามไฟฟา เนื่องจากประจุบนตัวนําทรงกลมสามารถสรุปไดวา

1. สนามไฟฟา ณ ตําแหนงๆ ในท่ีวางภายในตัวนํารูปทรงใดๆ มีคาเปนศูนย 2. สนามไฟฟา ณ ตําแหนง ท่ีติดกับผิวของตัวนําจะมีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ

ขนาดของสนามไฟฟา ( E )

ระยะทาง ( r )

Page 28: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

28

ใบงาน : แบบฝกเสริมประสบการณ 3 เรื่อง สนามไฟฟา

คําส่ัง : ใหนักเรียนตอบคาถาม และแสดงวิธีทํา ตอไปนี้

1. สนามไฟฟา ( Electric field ) คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เม่ือนาประจุไฟฟาทดสอบ (Test charge) ไปไวในสนามไฟฟา จะเกิดอะไรข้ึน ........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

3. ถาเอาประจุขนาด 1 คูลอมบ ไปไวในสนามไฟฟา จะเกิดอะไรข้ึน ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. เสนแรงไฟฟาคืออะไร มีทิศอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. จุดสะเทินเกิดจากอะไร .………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………….

6. ถาประจุชนิดเดียวกัน 2 ประจุอยูดวยกัน จุดสะเทินอยูท่ีไหน ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

7. ถาประจุตางชนิดกัน 2 ประจุอยูดวยกัน จุดสะเทินอยูท่ีไหน ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

8. การคํานวณตําแหนงจุดสะเทิน มีหลักอยางไร ใชสูตรอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

……….………………………………………………………………………………………………………………………………

9. การหาความเขมของสนามไฟฟา ตองใชสูตรอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….

10. แรง F และสนามไฟฟา E มีความสัมพันธกันอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………

………….……………………………………………………………………………………………………………………………

Page 29: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

29

ใบงาน : แบบฝกเสริมประสบการณ 4 เรื่อง สนามไฟฟา

คําส่ัง : ใหนักเรียนตอบคาถาม และแสดงวิธีทํา ตอไปนี้

1. ท่ีตําแหนง A และ C มีจุดประจุ +12 และ -4 ไมโครคูลอมบ ตามลาดับ ถาระยะ AB = 6 เซนติเมตร และ BC = 3 เซนติเมตร ดังรูป จงหาขนาดและทิศทางของสนามไฟฟาท่ีจุด B

..........................................................................................

..........................................................................................

..........................................................................................

..........................................................................................

..........................................................................................

..........................................................................................

..........................................................................................

2. อนุภาคหนึ่งมีมวล 20 มิลลิเมตร และมีประจุ +2 ไมโครคูลอมบ เม่ือนาไปวางไวในสนามไฟฟาท่ีมีทิศตามแนวดิ่ง ปรากฏวาอนุภาคเคลื่อนท่ีลงดวยความเรง 20 เซนติเมตรตอวินาที2

จงหาขนาดและทิศทางของสนามไฟฟา ........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

3. ในหลอดสุญญากาศมีแผนข้ัวไฟฟาท่ีปลายท้ังสองหางกัน 1 เซนติเมตร และตอกับไฟฟาแรงสูง 300 โวลต มีประจุไฟฟาบวกและลบท่ีแผนท้ังสอง ทาใหเกิดสนามไฟฟาสมํ่าเสมอข้ึนภายในหลอด ดังรูป ถาอิเล็กตรอนเริ่มหลุดจากแผน B นานเทาใดอิเล็กตรอนจะถึงแผน A .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 30: เอกสารประกอบการเรียน · -31 1.67 x 10-27: 1.67 x 10-27. 1.6 x 10-19. 1.6 x 10-19. เป นกลางไม มีประจุ. เราสามารถหาขนาดประจุไฟฟ

30

4. จุด A และ B อยูหางกัน 0.3 เมตร ท่ีจุด A มีประจุ +1 ไมโครคูลอมบ จงหาตําแหนงท่ีมีความเขมสนามไฟฟาเปนศูนย เม่ือ

ก. จุด B มีประจุ +0.25 ไมโครคูลอมบ ข. จุด B มีประจุ -0.25 ไมโครคูลอมบ

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................... 5. หยดนามันหยดหนึ่งมีมวล 12.8 ไมโครกรัม สามารถลอยอยูไดในสนามไฟฟาระหวางแผนโลหะ

ขนาด AB ดังรูป ถาความเขมของสนามไฟฟาระหวางแผนโลหะขนาดเทากับ 2 x 108 นิวตันตอคู

ลอมบ จงหา ก. หยดนามันเปนประจุไฟฟาชนิดใด และมีขนาดเทาใด ข. หยดนามันมีอิเล็กตรอนขาดหรือเกินก่ีตัว

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................