13
รายงานวนวัฒนวิจัย ประจําป 2545 Silvicultural Research Report 2002 117 การเจริญเติบโตของหวายสกุล Calamus ภายใตสวนยางพารา Growth of Calamus spp. under Rubber Plantation ชนาธิป กุลดิลก 1 Chanatip Kuldilok สมบูรณ บุญยืน 2 Somboon Boonyuen ABSTRACT Growth of 6 rattan species, Calamus longisetus (Wai Kumpuan), C. latifolius (Wai Pong), C. peregrinus (Wai Nguay), C. rudentum (Wai Keesien), C. palustris (Wai Kring) and C. viminalis (Wai Sanim), planted under rubber plantation had been studied at Songkhla Silvicultural Research Station, Rattaphum district, Songkhla province. At three years old, C. longisetus was found to produce the highest average cane length at 1.51 m while C. latifolius, C. peregrinu, C. rudentum, C. palustris and C. viminalis had average cane length at 1.45, 1.28, 1.25, 1.09 and 0.52 m respectively. However, at 4 and 5 years old, C. palustris turned to produce highest relative growth rate. At 4 years old, C. palustris had average cane length at 3.8 m while C. peregrinus, C. rudentum, C. longisetus, C. latifolius and C. viminalis had average cane length at 2.54, 2.48, 2.15, 1.99 and 1.7 m, respectively. At 5 years old, C. palustris , C. rudentum, C. peregrinus , C. longisetus , C. viminalis and C. latifolius had average cane length at 4.35, 3.93, 2.99, 2.99 and 2.8 m respectively. It was noticed that only C. palustris , which is the small-cane rattan, could produce multiple shoots within 3 year. At 4 and 5 years old, C. palustris had averaged highest relative growth rate at 0.96 m/m/y while C. viminalis, C. rudentum, C. peregrinus, C. longisetus and C. latifolius had relative growth rate at 0.89, 0.63, 0.57, 0.33 and 0.33 m/m/y, respectively. Four- and five- year-old C. palustris also had averaged highest mean annual increment at 3.16 m/y while C. rudentum, C. peregrinus, C. viminalis, C. longisetus and C. latifolius had averaged mean annual increment at 1.56, 1.32, 1.24, 0.74 and 0.68 m/y, respectively. Keywords: Growth, Calamus, Rubber Plantation, Relative Growth Rate, Mean Annual Increment บทคัดยอ การศึกษาการเจริญเติบโตของหวายสกุล Calamus ภายใตสวนยางพาราที่สถานีทดลองปลูก พรรณไมสงขลา อํ าเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พบวา การเจริญเติบโตของหวายที่อายุ 3 หวายกําพวนโต ดีที่สุด 1.51 เมตร รองลงมาไดแกหวายโปง งวย ขี้เสี้ยน ขริง และหวายสนิม เทากับ 1.45, 1.28, 1.25, 1.09 และ 0.52 เมตร ตามลําดับ ที่อายุ 4 หวายขริงโตดีที่สุด 3.80 เมตร รองลงมาไดแกหวายงวย ขี้เสี้ยน 1 นักวิชาการปาไม 8สถานีวิจัยและพัฒนาการปลูกหวายสุราษฏรธานี จังหวัดสุราษฏรธานี 2 นักวิชาการปาไม 6สถานีทดลองปลูกพรรณไมสงขลา จังหวัดสงขลา

การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

117

การเจริญเติบโตของหวายสกุล Calamus ภายใตสวนยางพาราGrowth of Calamus spp. under Rubber Plantation

ชนาธิป กุลดิลก1 Chanatip Kuldilok

สมบูรณ บุญยืน2 Somboon Boonyuen

ABSTRACT

Growth of 6 rattan species, Calamus longisetus (Wai Kumpuan), C. latifolius (Wai Pong), C. peregrinus (Wai Nguay), C. rudentum (Wai Keesien), C. palustris (Wai Kring) and C. viminalis (Wai Sanim), planted under rubber plantation had been studied at Songkhla Silvicultural Research Station, Rattaphum district, Songkhla province.

At three years old, C. longisetus was found to produce the highest average cane length at 1.51 m while C. latifolius, C. peregrinu, C. rudentum, C. palustris and C. viminalis had average cane length at 1.45, 1.28, 1.25, 1.09 and 0.52 m respectively. However, at 4 and 5years old, C. palustris turned to produce highest relative growth rate. At 4 years old, C. palustris had average cane length at 3.8 m while C. peregrinus, C. rudentum, C. longisetus, C. latifolius and C. viminalis had average cane length at 2.54, 2.48, 2.15, 1.99 and 1.7 m, respectively. At 5 years old, C. palustris, C. rudentum, C. peregrinus, C. longisetus, C. viminalis andC. latifolius had average cane length at 4.35, 3.93, 2.99, 2.99 and 2.8 m respectively. It was noticed that only C. palustris, which is the small-cane rattan, could produce multiple shoots within 3 year.

At 4 and 5 years old, C. palustris had averaged highest relative growth rate at 0.96 m/m/y while C. viminalis, C. rudentum, C. peregrinus, C. longisetus and C. latifolius had relative growth rate at 0.89, 0.63, 0.57, 0.33 and 0.33 m/m/y, respectively. Four- and five-year-old C. palustris also had averaged highest mean annual increment at 3.16 m/y while C. rudentum, C. peregrinus, C. viminalis, C. longisetus and C. latifolius had averaged mean annual increment at 1.56, 1.32, 1.24, 0.74 and 0.68 m/y, respectively.

Keywords: Growth, Calamus, Rubber Plantation, Relative Growth Rate, Mean Annual Increment

บทคัดยอ

การศึกษาการเจริญเติบโตของหวายสกุล Calamus ภายใตสวนยางพาราที่สถานีทดลองปลูกพรรณไมสงขลา อํ าเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พบวา การเจริญเติบโตของหวายที่อายุ 3 ป หวายกํ าพวนโตดีที่สุด 1.51 เมตร รองลงมาไดแกหวายโปง งวย ขี้เส้ียน ขริง และหวายสนิม เทากับ 1.45, 1.28, 1.25,1.09 และ 0.52 เมตร ตามลํ าดับ ที่อายุ 4 ป หวายขรงิโตดทีีสุ่ด 3.80 เมตร รองลงมาไดแกหวายงวย ขีเ้ส้ียน

1 นักวิชาการปาไม 8ว สถานีวิจัยและพัฒนาการปลูกหวายสุราษฏรธานี จังหวัดสุราษฏรธานี2 นักวิชาการปาไม 6ว สถานีทดลองปลูกพรรณไมสงขลา จังหวัดสงขลา

Page 2: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

118

กํ าพวน โปง และหวายสนมิ เทากับ 2.54, 2.48, 2.15, 1.99 และ 1.70 เมตร ตามล ําดบั ทีอ่ายุ 5 ป หวายขริงโตดีที่สุด 7.41 เมตร รองลงมาไดแกหวายขี้เส้ียน งวย กํ าพวน สนิม และหวายโปง เทากับ 4.35,3.93, 2.99, 2.99 และ 2.80 เมตร ตามลํ าดับ และมีหวายขนาดเล็กเทานั้นคือหวายสนิมที่มีลํ ามากกวา 1 ลํ าตอกอ ตั้งแตปที่ 3

การเจริญเติบโตสัมพัทธของหวายในปที่ 4 และ 5 นัน้ หวายขริงมีคามากสุดเฉลี่ย 0.96 เมตร/เมตร/ป รองลงมาไดแก หวายสนิม ขี้เส้ียน งวย กํ าพวน และหวายโปง เฉล่ียเทากับ 0.89, 0.63, 0.57,0.33, และ 0.33 เมตร/เมตร/ป ตามลํ าดับ

อัตราการเพิ่มพูนรายปของหวายในปที่ 4 และ 5 นั้น หวายขริงมีมากสุดเฉลี่ย 3.16 เมตร/ป รองลงมาไดแก หวายขี้เส้ียน งวย สนิม กํ าพวน และหวายโปง เฉล่ียเทากับ 1.56, 1.32, 1.24, 0.74 และ0.68 เมตร/ป ตามลํ าดับ

ค ําหลัก: การเจริญเติบโต, หวายสกุล Calamus, สวนยางพารา, การเจริญเติบโตสัมพัทธ, อัตราการเพิ่มพูนรายป

ค ําน ํา

หวายเปนผลิตผลที่สํ าคัญจากปาชนิดหนึ่งที่นํ ามาใชประโยชนกันอยางกวางขวางทั้งในระดับชาวบาน และอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร ทํ าใหประชาชนมีงานทํ ากอใหเกิดรายไดซึ่งมีผลดีตอประเทศชาติ ในปจจบุนัผลผลติจากหวายไดรับความสนใจจากผูบริโภคเปนอยางมากทั้งในประเทศและตางประเทศ หวายในสกุล Calamus เปนหวายทีม่คีวามสํ าคัญและมีจํ านวนมากในประเทศไทยเพราะเปนหวายที่มีคุณภาพดีมีคณุคาทางเศรษฐกิจ สามารถนํ าไปใชประโยชนไดอยางกวางขวาง ทั้งหวายเสนเล็ก เสนใหญ หวายที่นํ ามาใชประโยชนกันอยูทุกวันนี้เปนหวายที่นํ ามาจากปาธรรมชาติซึ่งนับวันจะนอยลง ทั้งนี้เพราะพื้นที่ปาลดลง และมกีารน ําออกมาใชอยางไมถูกตองตามหลักวิชาการ หรือตัดออกมามากเกินกํ าลังผลิตของปา ทํ าใหขาดแคลนหวายในปจจุบันและอนาคต การปลกูสรางสวนปาหวายโดยทั่วไปแลวจะปลูกในปาธรรมชาติ เพราะตองอาศยัตนไมในการเกาะเกี่ยวเรือนยอดขึ้นไป ยกเวนการปลูกหวายดงเพื่อการบริโภคหนอในภาคอีสานเทานั้นที่ปลูกในที่โลงแจง การปลูกหวายภายใตสวนยางพารานั้นตางประเทศทํ ากันมานานแลว เชน ประเทศมาเลเซีย และ จนี โดยรฐับาลสงเสริมสนับสนุนกลาหวายใหเกษตรกรนํ าไปปลูกแลวผลผลิตที่ไดเปนของเกษตรกร จากการศึกษาในประเทศมาเลเซียไมพบผลกระทบตอผลผลิตนํ้ ายางและการเจริญเติบโตของไมยางพาราแตอยางใด และยังชวยรกัษาความชุมชืน้ในดนิชวงฤดแูลงทีไ่มยางพาราพลดัใบ เปนการเพ่ิมรายไดใหกับเกษตรกรทีท่ ําสวนยาง

Page 3: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

119

การกระจายพันธุตามธรรมชาติ

หวายในสกลุ Calamus เปนหวายสกลุใหญทีสุ่ดของพวกปาลม มอียูประมาณ 370 ชนดิ (Moore, 1973) กระจายอยูในแถบเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต (South East Asia) ซึง่ไดแก ประเทศมาเลเซยี อินโดนเีซยี ฟลิปปนสและไทย ซึง่บรเิวณนีเ้ปนแหลงผลติหวายทีสํ่ าคญัทีสุ่ดของโลก (Dransfield, 1979) สํ าหรับประเทศไทยพบประมาณ 50 ชนดิ เปนสกลุทีม่คีณุคาทางเศรษฐกจิมากเพราะเนือ้หวายมคีณุภาพด ี นยิมใชในอตุสาหกรรมเฟอรนเิจอร มทีัง้หวายขนาดเลก็ไปจนถงึขนาดใหญ เปนทัง้หวายกอและหวายล ําเดีย่ว มกีระจายอยูทกุภาคของประเทศ หวายสามารถเจรญิเตบิโตไดดใีนสภาพแสงที่แตกตางกันไปขึ้นอยูกับชนิดของหวาย ซึง่มี 3 ลักษณะดวยกนั คอื ชนดิทีเ่จริญเติบโตไดดีในที่รมเงาทึบ พวกที่ตองการแสงบางสวนโดยการบดบังของตนไม และพวกที่ตองการแสงเต็มที่จึงจะเจริญเติบโตไดดี

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลํ าตน (Culm)หวายสกลุนีส้วนใหญลํ าตนมีลักษณะเปนเถาเลื้อย และมักจะแตกหนอเปนกอใหญ สวนที่เปน

ลํ าเดี่ยว ไดแก หวายขอดํ า (Calamus manan) หวายงวย (C. peregrinus) และหวายนํ้ าผึ้ง (Calamus sp.) ซึง่เปนหวายขนาดใหญคุณภาพดีทั้งส้ิน

ใบ (Leaf)ใบหวายสกลุนี้เปนใบประกอบรูปขนนก ใบยอยมีลักษณะเรียวยาว ปลายแหลม กาบและกาน

ใบมหีนามแหลมคม ตอนปลายของกาบมักมีอวัยวะที่ใชปนปายซึ่งแตกตางกันไปตามชนิดของหวาย หวายบางชนิดมีอวัยวะที่ใชปนปายเปนแบบมือเก่ียว (flagellum) บางชนดิเปนแบบมือเกาะ (cirrus) หวายบางชนดิอาจมอีวยัวะที่ใชปนปายทั้ง 2 แบบ หรือบางชนิดไมมีเลยแตคอนขางจะหายาก หวายหลายชนดิในสกลุนีม้สัีนโคนกานใบประกอบ (knee) ปรากฏเหน็อยางเดนชดั

ดอก (Flower)ดอกเปนแบบ pleonantic เพศผูและเพศเมียแยกกันอยู (dioecious) และมักจะอยูตางตน

กัน ชอดอกยาวและแตกกิ่งเปนชวงๆ แตละชวงจะมีกาบหุมชอดอก (bract) ไว กาบหุมชอดอกจะเช่ือมติดกันที่บริเวณโคนเปนรูปทอหรือเปนปกกวาง ตอนปลายกาบแตกอาออกดานหนึ่ง ช้ันกลีบเลี้ยงมี 3 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเปนรูปถวย กลีบดอกมีจํ านวนเทากับกลีบเลี้ยงแตขนาดยาวกวา เกสรเพศผูมี 6 อัน โคนกานเชื่อมติดกันเปนวงรูปถวย ดอกเพศเมียมีลักษณะคลายกับดอกเพศผูแตมีขนาดใหญกวา มักเกิดรวมกับดอกเพศผูที่เปนหมัน รังไขมี 3 ชอง แตละชองมีไขออน 1 ใบ กานทอรังไขส้ัน บริเวณปลายยอดแยกออกเปน 3 แฉก ปกคลุมดวยเกล็ดเล็กๆ

ผล (Fruit)ผลมลัีกษณะกลมมนหรือเปนรูปขอบขนาน ปลายเปนติ่งเล็กๆ ผิวมีลักษณะเปนเกล็ดเล็กๆ

เรียงเกยซอนกัน

Page 4: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

120

เมล็ด (Seed)เมลด็มลัีกษณะเปนรูปกลม มน หรือคอนขางแบน แตจะกลมหรือมนตามเสนรอบวง ผิว

ขรขุระ เนื้อหุมเมล็ดมีลักษณะออนนุม รสหวานหรือเปร้ียวขึ้นอยูกับชนิดของหวาย

การปลูกและการเจริญเติบโต

ลํ าตนหวายสามารถนํ ามาใชประโยชนไดมากมาย ในอินโดนเีซียและหมูเกาะมลายูมีการปลูกหวายมาตัง้แตป ค.ศ. 1850 แลว แตไมไดเปนขนาดใหญ โดยทั่วไปปลูกตามสวนผลไมและสวนยางพาราที่อายุมาก ชนิดที่ปลูกกันมากคือ C. trachycoleus และหวายตะคาทอง ซึ่งสามารถปลูกในพื้นที่ๆ ไมเหมาะสมในการท ําการเกษตร โดยสภาพดินเปนดินเหนียวกรดจัด และมีฮวิมัสคลุมอยูบางๆ และอาจมี นํ้ าทวมปละ 3-5 เดือน ปจจุบันอินโดนีเซียมีพ้ืนที่ปลูกหวายถึง 13,000 เฮกแตร โดยปลูกหวายตะคาทอง (C. caesius) และ C. trachycoleus เปนหลัก นอกนั้นปลูกหวายขอดํ า (C. manan), C. inops, Daemonorops melanochaetes และ D. robusta ใหผลผลิตรวมปละประมาณ 120,000 ตัน ในประเทศมาเลเซียมีการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางพาราปลูกหวายขอดํ ารวมยางพารา ซึ่งเปนหวายลํ าเดี่ยวขนาดใหญไดปละประมาณ 50,000 ไร และคาดวาอีก 15 ป จะมีหวายใชอยาง เพียงพอโดยไมตองตัดหวายจากปาธรรมชาติ สวนหวายขนาดเล็กที่ใชในการจักสานจะปลูกหวายตะคาทองในปาธรรมชาติ

สํ าหรับประเทศไทยไดมีการปลูกสรางสวนผลิตเมล็ดพันธุหวายและสวนปาหวายไปแลวไมนอยกวา 10,000 ไร โดยเริ่มปลูกหวายตะคาทองมาตั้งแตป พ.ศ. 2511 ในพื้นที่ปาพรุเขตปาสงวนแหงชาติไอย-สะเตียร ตํ าบลบก๊ิูต อํ าเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เปนพื้นที่ 1,300 ไร และตอมาไดขยายการปลูกเพ่ิมอีกทุกๆ ป ที่สวนปาโครงการพระราชดํ าริสุคิริน จงัหวัดนราธิวาส ในป 2532 สวนวนวฒันวิจัยไดดํ าเนินการโครงการวิจัยหวาย และปลูกสรางสวนผลิตเมล็ดพันธุหวายมาจนถึงปจจุบัน หวายที่ปลูกเปนหวายเศรษฐกจิมทีั้งขนาดใหญที่ใชในอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร เชน หวายขอดํ า กํ าพวน โปง งวย และขี้เส้ียน เปนตน และหวายขนาดเล็กที่ใชในการจักสานก็มีหวายตะคาทอง นอกจากนี้กรมสงเสริมการเกษตรยังไดสงเสริมใหเกษตรกรปลูกหวายขอดํ าในสวนยางพาราในพื้นที่ภาคใต การปลูกหวายนั้นสามารถปลูกไดในปาธรรมชาติ สวนปา และสวนยางพารา ซึ่งขึ้นอยูกับสภาพสิ่งแวดลอม และความตองการแสงของหวายชนิดนั้นๆ

หวายมีการเจริญเติบโตแตกตางกันตามชนิดและสภาพแวดลอมที่ขึ้นอยู หวายขอดํ าเจริญเติบโตได 1.2-3 เมตรตอป หวายตะคาทอง 1.75-5 เมตรตอป แต C. scipionum เจริญเติบโตไดเพียง 0.11 เมตรตอป (Mohamud, 1985) หวายขอดํ าที่ปลูกในสวนยางพาราในประเทศ มาเลเซยีอายุ 8 ป มีการเจริญเติบโตเฉลี่ย 9.98 เมตร หรือในพื้นที่ลาดชันนอยจะโตไดถึง 14.21 เมตร และมีอัตราการรอดตาย 74.8% (Supardi et al., 1991) แตการศึกษาของ Mohamud (1992) พบวาหวายขอดํ าที่ปลูกในสวนยางพาราในมาเลเซียเมื่อเก็บเกี่ยวหวายที่อายุ 7 ป จะไดลํ าหวายยาวระหวาง 15-27 เมตร ชนาธปิ และคณะ (2543) ไดศึกษาการเจริญเติบโตของหวายกํ าพวนและหวายโปงที่ปลูกใน

Page 5: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

121

สวนปาไมสะเดาเทียมที่จังหวัดกระบี่ พบวาหวายกํ าพวนอายุ 8, 9 และ 10 ป มีความยาวลํ าแรกเฉลี่ย 6.77, 9.24 และ 13.21 เมตร ความยาวรวมทั้งกอเฉล่ีย 7.44, 10.89 และ 16.66 เมตร มีอัตราความเพ่ิมพูนลํ าแรกและทั้งกอเฉล่ีย 3.22 และ 4.61 เมตร/ป และหวายโปงมีความยาวลํ าแรกเฉลี่ย 7.38, 10.45 และ 13.26 เมตร ความยาวทั้งกอเฉล่ีย 9.41, 14.24 และ 20.37 เมตร มีอัตราการเพิ่มพูน ลํ าแรกและทั้งกอเฉล่ีย 2.94 และ 5.48 เมตร/ป

สมยศ และคณะ (2543) ไดศกึษาการเจริญเติบโตของหวาย 5 ชนิด ที่ปลูกรวมในสวนยางพาราพันธุสงขลา 36 อายุ 3 ป ที่ระยะปลูก 3x7 เมตร ที่จังหวัดนราธิวาสเมื่อป 2532 พบวาหวายตะคาทองที่อายุ 7 ป ใหผลผลิตลํ าที่ใชประโยชนได 1-2 ลํ าตอกอ ความยาวเฉลี่ย 15-18 เมตร สวนหวายขนาดใหญเก็บเกี่ยวที่อายุ 9 ป ไดแก หวายกํ าพวน หวายโปง หวายงวย และหวายนํ้ า ใหผลผลิตลํ าที่ใชประโยชนได 1-2 ลํ าตอกอ ความยาวของลํ าเฉล่ีย 7-9 เมตร

หวายทีป่ลูก จะเริ่มออกดอกเมื่ออายุ 4-5 ป แตจะใหผลผลิตเมล็ดไดดีเมื่ออายุ 10-20 ป (Manokaran, 1985) การเก็บเกี่ยวผลผลิตหวายจะทํ าไดเมื่ออายุ 7-10 ป และเก็บเกี่ยวตอเนื่องทุกปหรือเวนป หลังจากครั้งแรก การเจริญเติบโตอาจถึง 5 เมตรตอป ชาวบานสามารถยังชีพอยูไดเปนอยางดีจากการปลูกหวายในแถบกาลิมันตัน (Dransfield, 1979)

ปจจบุนัประเทศไทยมพ้ืีนทีส่วนยางพาราประมาณ 12.3 ลานไร อยูในภาคใต 10.5 ลานไร ภาคตะวนัออก 1.5 ลานไร และ ภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอืประมาณ 0.3 ลานไร (สถาบนัวจิยัยาง, 2541) ซึ่งเปนพืน้ที่เหมาะสมกับการปลูกหวายทั้งส้ิน ถามีการสงเสริมปลูกหวายเพียง 5% ของพื้นที่แลว ในอนาคต 10 ปขางหนาประเทศไทยจะมีหวายใชอยางเพียงพอและเหลือสงขายตางประเทศไดอีก ในการศึกษาครั้งนี้เพ่ือทราบถึงการเจริญเติบโตของหวายในสกุล Calamus ทีสํ่ าคญับางชนิด เพ่ือนํ าไปเปนแนวทางในการสงเสริมการปลูกหวายในสวนยางพาราตอไป

อุปกรณและวิธีการ

ลักษณะพื้นที่ที่ทํ าการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ไดวางแปลงตัวอยางในสวนยางพาราที่ปลูกหวายแทรกระหวางรองยางพารา ของสถานทีดลองปลกูพรรณไมสงขลา ตัง้อยูในทองทีห่มูที ่ 1 ต ําบลเขาพระ อํ าเภอรัตภมู ิ จงัหวดัสงขลา บริเวณเสนรุงที่ 70 6′ เหนือ และเสนแวงที่ 1000 13′ ตะวนัออก อยูสูงจากระดับนํ้ าทะเลปานกลาง 30 เมตร (Figure 1) มีปริมาณนํ้ าฝนเฉลี่ย 1,900 ± 300 มลิลิเมตร/ป โดยมีฝนตกมากสุดในเดือนธันวาคม อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 340C และตํ่ าสุดเฉลี่ย 210C ความชื้นสัมพัทธเฉล่ียทั้งป 88% สภาพพ้ืนที่เปนที่ราบ ดินเปนดินรวนปนทรายมี pH อยูระหวาง 5-6.5 มีอินทรียวัตถุ (organic matter) 3.58% Available phosphorus 6.4 ppm. และ Exchange cation potassium 0.31 me/100g สวนยางพาราอายุ 11 ปปลูกป 2526 ระยะปลูก 3x8 เมตร แลวปลูกหวายแทรกระหวางแถวยางพาราจํ านวน 2 แถว ระยะ

Page 6: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

122

หางระหวางตน ระหวางแถว 3 เมตร ในเดือนสิงาคม 2537 จ ํานวน 6 ชนดิ ไดแก หวายก ําพวน (Calamus longisetus) หวายโปง (C. latifolius) หวายขีเ้ส้ียน (C. rudentum) หวายขรงิ (C. palustris) หวายงวย (C.peregrinus) และหวายสนมิ (C. viminalis) การบํ ารุงรักษาหวาย ใสปุยเคมีสูตร 15-15-15 จํ านวน 50 กรัม/ตน/ป กํ าจัดวัชพืชปละ 2 ครั้ง

Figure 1. Map of study area at Songkhla Forest Experimental Station.

Songkhla

S.F.E.S

Page 7: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

วิธีการ

การวางแปลงตัวอยางวางแปลงตวัอยางขนาด 15×16 เมตร โดยการสุมเลอืก (Judgement Sampling) ในพื้นทีส่วน

ยางพารา ปลูกหวาย 6 ชนดิ แทรกระหวางตนยางชนดิละ 3 แปลง แตละแปลงคลมุหวาย 24 กอ (Figure 2)

O = rubbe X = rattan

Figure 2. Setting o

การเก็บขอมูล

วดัการเจริญเติบโตของหวายทกุลชนดิ ทุกแปลงตัวอยาง ในเดือนสิงหาคมของแความยาวของลํ าหวาย จํ านวนลํ า และจํ านวนหเนือ่งจากหวายอยูในระยะตั้งตัวไมมีลํ าและหนอ

การวิเคราะหขอมูล

1. ศกึษาการเจรญิเตบิโตของหวาย2. ศกึษาการเจรญิเตบิโตสมัพทัธ

เจรญิเตบิโตของล ําหวายทีม่ขีนาดตางกันไดอยางRGR = (In

เมื่อ y1และ y

2 คอืความยาวของลํ าหวายที่วัดใ1997) เมื่อไดคา RGR แลวสามารถนํ ามาคา

O X X

O X X

O X X

O X X

O X X

O X X

16 m.

O X X O

O X X O

15 m.

123

r, spacing 3x8 m., spacing 3x3 m.

f experimental plot in study area.

ํา นับจํ านวนหนอและเปอรเซ็นตการรอดตายของหวาย 6ตละป ระหวางป 2537-2542 รวมเปนเวลา 5 ป บันทึกนอ แตในปที่ 1-2 ไมสามารถวัดความยาวของลํ าหวายได

ดานความสงู ทีอ่าย ุ3-5 ป(Relative Growth Rate) เปนมลูฐานของการวเิคราะหการมปีระสทิธภิาพวธิหีนึง่ โดยใชสมการy

2-In y

1)/ (t

2- t

1)

นเวลา t1และ t

2 ตามลํ าดับ (Kozlowski และ Pallardy,

ดคะเนการเจริญเติบโตในอนาคตไดจากสมการ

O X X O

O X X O

O X X O

O X X O

Page 8: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

124

L = L0. ert

เมือ่ L คอืความยาวทีต่องการศกึษา L0 คอืความยาวครัง้แรกe คอืคา natural logarithm base เทากับ 2.71828r คอืคา Relative Growth Ratet คอืชวงเวลาที่ศีกษา (Franklin P.et al., 1985)

3. ศึกษาอัตราการเพิ่มพูนรายป (Mean Annual Increment) หรืออัตราการเจริญเติบโตสมบูรณ (Absolute Growth Rate) โดยใชสมการ

เมือ่ Lt1 และ Lt2 ค

1. การเจริญเติบโต

การปลูกหวาย 6 ชนิด สูงทุกชนิด คือ หวายกํ าพวน, โ94.44%, 94.44% และ 97.2ไดแก หวายโปง งวย ขีเ้ส้ียน ขรตามล ําดบั ซึง่ในหวาย 4 ชนดิตางกันมากนกั หวายขริงเปนหเล็กโตนอยสุด แตมีการแตกหนมากสุด รองลงมาไดแกหวายงวย1.99 และ 1.70 เมตร ตามล ําเจรญิเตบิโตสงูสุด รองลงมาไดแ2.99, 2.99 และ 2.80 เมตร

จากการศึกษาของ สมยางพาราอายุ 3 ปที่นราธิวาส หและหวายนํ ้า ใหผลผลิตลํ าที่ใชขนาดเล็กคือหวายตะคาทองเกบ็เฉล่ีย 15-18 เมตร ซึ่งเจริญเตขนาดใหญ เปนเพราะวาหวายทหวายในสวนยางพาราอาย ุ 11 ป

∆L = ( Lt – Lt )/(t2 – t1 )

อื ความยาวของล ําหวายทีว่ดัในเวลา t1และ t2 ตามล ําดบั (จนิตนา, 2542)

ผลและวิจารณ

ใตสวนยางพารา ตาม Table 1 และ Figure 3 พบวา หวายมีการรอดตายปง, ขีเ้ส้ียน, ขริง, งวย และสนิม มคีาเฉล่ีย 97.22%, 100%, 97.22%,2% ตามล ําดับที่อายุ 3 ป หวายก ําพวนมกีารเจรญิเตบิโตมากสดุ รองลงมางิ และสนมิ มคีาเฉล่ีย 1.51, 1.45, 1.28, 1.25, 1.09 และ 0.52 เมตรแรกปนหวายขนาดใหญมีการตั้งตัวและเริ่มเปนลํ ามีการเจริญเติบโตไมแตกวายขนาดกลางโตนอยกวาหวายขนาดใหญ และหวายสนิมเปนหวายขนาดอและลํ าแลวเฉลี่ย 1.77 ลํ า/กอ ที่อายุ 4 ป หวายขรงิมกีารเจริญเตบิโต ขีเ้ส้ียน กํ าพวน โปง และหวายสนมิ มคีาเฉล่ีย 3.80, 2.54, 2.48, 2.15,ดบั และหวายสนมิมีจ ํานวนล ําเฉล่ีย 3.34 ลํ า/กอ ทีอ่ายุ 5 ป หวายขรงิมกีารก หวายขีเ้ส้ียน งวย กํ าพวนเทากับสนมิ โปง มีคาเฉล่ีย 7.41, 4.35, 3.93,ตามลํ าดับ และหวายสนิมมีจํ านวนลํ าเฉล่ีย 5.42 ลํ า/กอ

ยศ และคณะ (2534) พบวา การเจริญเติบโตของหวายที่ปลูกในสวนวายขนาดใหญที่เก็บเกี่ยวอายุ 9 ป ไดแกหวายกํ าพวน หวายโปง หวายงวยประโยชนได 1-2 ลํ าตอกอ ความยาวของลํ าเฉล่ีย 7-9 เมตร และหวายเกี่ยวที่อายุ 7 ป ใหผลผลิตลํ าที่ใชประโยชนได 1-2 ลํ าตอกอ ความยาวิบโตไดดีกวาปลูกที่สถานีทดลองปลูกพรรณไมสงขลา ทัง้หวายขนาดเลก็และีป่ลกูในสวนยางพาราอาย ุ 3 ปทีน่ราธวิาสจะไดรับแสงมากกวาทีส่งขลาทีป่ลกู และการศกึษาของ Mohamud (1992) พบวา หวายขอด ําทีป่ลกูในสวน

2 1

Page 9: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

125

0

1

2

3

4

5

6

7

8

3 year 4 year 5 year

Age

C. longisetusC. latifoliusC. rudentumC. palustrisC. peregrinusC. viminalis

ยางพาราเมือ่เก็บเกีย่วหวายทีอ่ายุ 7 ป จะไดลํ าหวายยาวระหวาง 15-27 เมตร ซึ่งจะเจริญเติบโตไดดีกวาการศึกษาของ Nur et al. (1991) ที่ปลูกหวายขอดํ าในสวนยางพาราในประเทศมาเลเซียอายุ 8 ป มีการเจริญเติบโต 9.98 เมตร หรือในที่ลาดชนันอยจะโตไดถึง 14.21 เมตร ในประเทศมาเลเซีย การปลูกหวายใตสวนยางพาราเมื่อยางพารามีอายุ 3-6 ป ซึ่งจะมีปริมาณแสงที่พอเหมาะกับการเริ่มปลูกหวาย

Table 1. The cane length of 3-5 years old Calamus spp. under rubber plantation.

Length (m) No. of cane/clumpRattan species Survival(%) 3 yr. 4 yr. 5 yr. 3 yr. 4 yr. 5 yr.

C. longisetus 97.22 1.51 2.15 2.99 1 1 1C. latifolius 100.00 1.45 1.99 2.80 1 1 1C. rudentum 97.22 1.25 2.48 4.35 1 1 1C. palustris 94.44 1.09 3.80 7.41 1 1 1C. peregrinus 94.44 1.28 2.54 3.93 1 1 1C. viminalis 97.22 0.52 1.70 2.99 1.77 3.34 5.42

Figure 3. The cane length of 3-5 years old Calamus spp. under rubber plantation.

Page 10: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

126

2. การเจริญเติบโตสัมพัทธ

การเจรญิเติบโตสัมพัทธเปนมูลฐานของการวิเคราะหการเจริญเติบโต และสามารถนํ าไปใชเปรียบเทยีบการเจรญิเติบโตของตนไมที่มีขนาดตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง (Hadriyanto, 1996)กลาวคอื เปรียบเทียบการเจริญของตนไมที่ขนาดตางกันที่ความยาว 1 เมตร จากการศึกษาพบวา หวายทั้ง6 ชนิด ทีอ่าย ุ 4 และ 5 ป ที่ปลูกใตสวนยาพารา การเจรญิเตบิโตสมัพทัธของหวายขรงิมากสดุเฉลีย่ 0.96เมตร/เมตร/ป รองลงมาไดแกหวายสนมิ ขีเ้ส้ียน งวย กํ าพวน และหวายโปง เฉล่ียเทากับ 0.89, 0.63, 0.57,0.33 และ 0.33 เมตร/เมตร/ป ตามลํ าดับ (Table 2) และจากการศกึษาของชนาธปิ และคณะ (2543) พบวาหวายก ําพวนและหวายโปงทีอ่าย ุ8 และ 9 ป ทีป่ลกูในสวนปาไมสะเดาเทยีมมกีารเจรญิเตบิโตสมัพทัธ0.36และ 0.39 เมตร/เมตร/ป ซึง่มคีามากกวาปลกูในสวนยางพารา เปนเพราะหวายทีป่ลกูในสวนยางพาราอายุ11 ป แสงผานลงมาไดนอยการเจรญิเตบิโตจงึลดนอยลงไปดวย

Table 2. The relative growth rate (RGR) of 3-5 years old Calamus spp. under rubber plantation

RGR of length (m/m/year)Rattan species3-4 yr. 4-5 yr. Ave.

C. longisetus 0.35 0.31 0.33C. latifolius 0.32 0.33 0.33C. rudentum 0.69 0.56 0.63C. palustris 1.25 0.66 0.96C. peregrinus 0.70 0.44 0.57C. viminalis 1.21 0.56 0.89

3. อัตราการเพิ่มพูนรายป

อัตราการเพิ่มพูนรายปของหวาย 6 ชนิด ในปที่ 4 และ 5 (Table 3) พบวาหวายขริงมีอัตราการเพ่ิมพูนมากสุดเฉลี่ย 3.16 เมตร/ป รองลงมาไดแก หวายขี้เส้ียน งวย สนิม กํ าพวน และหวายโปง เฉล่ียเทากับ 1.56, 1.32, 1.24, 0.74 และ 0.68 เมตร/ป จะเหน็ไดวาในปที ่5 อัตราการเพิม่พนูของหวายทกุชนดิดกีวาในปที ่ 4 เปนเพราะวาหวายทกุชนดิเริม่ตัง้ตวัและมลํี าในปที ่ 3 หลังจากนัน้การเจรญิเตบิโตจะเพิม่ขึน้เรือ่ยๆ สํ าหรับหวายกํ าพวนและหวายโปงมีอัตราการเพิ่มพูนนอยกวาการศึกษาของ ชนาธิป และคณะ(2543) ที่ปลูกหวายกํ าพวนและหวายโปงในสวนปาไมสะเดาเทียมที่อายุ 9 และ 10 ป มีอัตราการเพิม่พนู3.22 และ 2.94 เมตร/ป แสดงใหเห็นวาหวายทีอ่ายุมากขึน้ อัตราการเจรญิเตบิโตกม็ากขึน้ไปดวย และอัตราการเจรญิเตบิโตของหวายทีม่ลํี าขนาดใหญ อยางเชนหวายก ําพวนและหวายโปง จะเจรญิเตบิโตไดชากวาหวายขนาดกลางและขนาดเลก็

Page 11: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

127

Table 3. The mean annual increment (MAI) of 3-5 years old Calamus spp. under ruber plantation

MAI by length (m.)Rattan species3-4 yr. 4-5 yr. Ave.

C. longisetus 0.64 0.83 0.74C. latifolius 0.54 0.81 0.68C. rudentum 1.24 1.87 1.56C. palustris 2.71 3.61 3.16C. peregrinus 1.25 1.39 1.32C. viminalis 1.18 1.29 1.24

สรุป

จากการศึกษาพบวาการเจริญเติบโตของหวายสกุล Calamus ภายใตสวนยางพารา ที่สถานีทดลองปลูกพรรณไมสงขลาผลปรากฏดังนี้

1. การเจรญิเติบโตของหวายที่อายุ 3 ป หวายกํ าพวนโตดีที่สุด 1.51 เมตร รองลงมาไดแก หวายโปง งวย ขี้เส้ียน ขริง และหวายสนิม เทากับ 1.45, 1.28, 1.25, 1.09 และ 0.52 เมตร ตามล ําดบั ทีอ่ายุ4 ป หวายขรงิโตดทีีสุ่ด 3.80 เมตร รองลงมาไดแก หวายงวย ขีเ้ส้ียน กํ าพวน โปง และสนมิ เทากับ 2.54,2.48, 2.15, 1.99 และ 1.70 เมตร ตามล ําดบั ทีอ่ายุ 5 ป หวายขรงิโตดทีี่สุด 7.41 เมตร รองลงมาไดแกหวายขี้เส้ียน งวย กํ าพวน สนิม และหวายโปง เทากับ 4.35, 3.93, 2.99, 2.99 และ 2.80 เมตร ตามล ําดบั และมีหวายขนาดเล็กเทานั้น คือหวายสนิมที่มีลํ ามากกวา 1 ลํ าตอกอตั้งแตปที่ 3

2. การเจรญิเติบโตสัมพัทธของหวายในปที่ 4 และ 5 นั้น หวายขริงมีคามากที่สุดเฉลี่ย 0.96เมตร/เมตร/ป รองลงมาไดแกหวายสนิม ขี้เส้ียน งวย กํ าพวน และหวายโปง เฉล่ียเทากับ 0.89, 0.63,0.57, 0.33 และ 0.33 เมตร/เมตร/ป ตามลํ าดับ

3. อัตราการเพิ่มพูนรายปของหวายในปที่ 4 และ 5 นั้น หวายขริงมีมากสุดเฉลี่ย 3.16 เมตร/ปรองลงมาไดแกหวายขี้เส้ียน งวย สนิม กํ าพวน และหวายโปง เฉล่ียเทากับ 1.56, 1.32, 1.24, 0.74 และ0.68 เมตร/ป ตามลํ าดับ

Page 12: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

128

ขอเสนอแนะ

1. ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีการปลูกหวายภายใตสวนยางพาราเพื่อใหเกษตรกรมีรายไดเพ่ิมขึน้ มหีวายใชในประเทศอยางเพียงพอไมตองนํ าเขาจากตางประเทศลดการขาดดุล

2. กรมปาไมควรสนับสนุนกลาหวายใหเกษตรกรนํ าไปปลูกในสวนยางพารา3. หวายทีป่ลกูในสวนยางพาราควรจะเปนหวายล ําเดีย่วไมแตกกอ เชน หวายขอด ํา หวายงวย และ

หวายนํ ้าผึง้ ซึง่จะสะดวกในการกรดียางของเกษตรกรถาเปนหวายกอจะเหมาะกบัการปลกูในสวนปามากกวา4.ควรศึกษาเก็บขอมูลในแปลงตัวอยางตอไปจนหวายสามารถตัดมาใชประโยชนไดเพ่ือหาผลผลิต

ของหวายแตละชนิดภายใตสวนยางพารา และผลตอบแทนที่เปนเงินของหวายแตละชนิด เพ่ือใหเกษตรกรมัน่ใจในการปลูกหวาย

เอกสารอางอิง

ชนาธปิ กุลดลิก, ณัฏฐากร เสมสันทดั, วโิรจน อธรัิตนปญญา และ วรรณา นติวิฒันชยั. 2536. หวาย. สวนวนวฒันวจิยั, สํ านกัวชิาการปาไม, กรมปาไม. กรุงเทพ. 38 หนา.

ชนาธิป กุลดิลก และ วลัยพร สถิตวิบูรณ. 2543. การประเมินผลผลิตหวายกํ าพวนและหวายโปง อายุ 8-10 ป ในสวนปาไมสะเดาเทียม. สวนวนวัฒนวิจัย, สํ านักวิชาการปาไม, กรมปาไม. 24 หนา.

จนิตนา บพุบรรพต. 2542. โครงสรางและพลวัตของปาชายเลน ในพื้นที่โครงการจัดการนํ้ าเสีย จังหวัดสมุทรปราการ. สัมมนา (306597) ภาควิชาวนวัฒนวิทยา, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลับเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 27 หนา.

สกลศักดิ์ รัมยะรังสิ, ปทุม บุญนะฤธี, วลยัพร ทั่วจบ และ รุงนภา วงศวิจิตร. 2530. การศึกษาเบื้องตนเก่ียวกับการงอกของหวายโปง (Calamus latifolius Roxb.) และหวายกํ าพวน (Calamus longisetus Griff.) ฝายวนวัฒนวิจัย, กองบํ ารุง, กรมปาไม. กรุงเทพฯ. 25 หนา.

สถาบันวิจัยยาง. 2541. สถิตยิางประเทศไทย. สถาบนัวจิยัยาง, กรมวชิาการเกษตร. 24(3): 17-37.

สมยศ ชูกํ าเนิด, สมพงษ คงสีพันธ, ไววิทย บูรณธรรม, นิลรัตน โชติมณี และ สุขุม แกวกลับ. 2543. เพ่ิมรายไดสวนยางดวยการปลูกหวาย, น. 43-61. ใน วารสารยางพาราปที่ 20 ฉบับที่ 2 สถาบันวิจัยยาง, กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.

Dransfield, J. 1979. A manual of the rattans of the Malay Peninsula. Malayan For. Rec. No. 29. Forest Dept. Ministry of Primary Industries, Malaysia.

Gardner, F.P., R.B. Pearce and R.L. Mitchell. 1985. Physiology of crop plant. The Iowa State University press. (200-203)

Page 13: การเจริญเติบโตของหวายสก ุล Calamus ...forprod.forest.go.th/forprod/Tips/Silvic-ebook/report45/...At 4 and 5 years old, C. palustris

รายงานวนวัฒนวิจัย ประจํ าป 2545 Silvicultural Research Report 2002

129

Hadriyanto, D. 1996. Growth and water relation of some Dipterocarp seedlings planted under closed canopy and in open alang-alang area, pp. 230-245. In Proceedings of the Fifth Round-Table Conference on Dipterocarps (Appanah & Khoo, eds.). Forest Research Institute Malaysia, Kuala Lumpur, Malaysia.

Kozlowski, T. and S. Pallardy. 1997. Physiology of Woody Plant. Academic Press. Boston, USA. 411 p.

Manokaran, N. 1985. Biological and ecological considerations pertinent to the silviculture of rattan, pp. 95-105. In Proceedings of the Rattan Seminar, 2-4 Oct. 1984. Kuala Lumpur, Malaysia.

Mohamud, A.B. 1985. Performance of some rattan species in growth trials in Peninsular Malaysia, pp. 49-56. In Proceedings of the Rattan Seminar, 2-4 Oct. 1984, Kuala Lumpur, Malaysia.

. 1992. Income from harvesting trial of manau cane in rubber plantation. RIC Bulletin Vol. 10(1): 1-3.

Moore, H.E., Jr. 1973. The major groups of palms and their distribution. Gentes. Herbarum II.

Supardi, N., M. Noor and A.B. Mohamud. 1991. Growth, node development and estimated yield of Calamus manan planted under a rubber smallhoelding Pertanika. Forest Research Institute Malaysia, Kepong, Kuala Lumpur, Malaysia. 14(1): 21-25.