35
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน) การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ ผองพรรณ ธนา สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน)

การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

การจัดการความเสี่ยงงานการพยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ

ผองพรรณ ธนาสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

(องคการมหาชน)

Page 2: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

EducationalProcess

Self Assessment

Self ImprovementExternal

Evaluation Recognition

Not an inspection

แนวคิดพ้ืนฐานของกระบวนการ HAแนวคิดพ้ืนฐานของกระบวนการ HA

Safety & Quality of Patient Care

Hospital Accreditation (HA) คือกลไกประเมิน เพ่ือกระตุนใหเกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล

โดยมีการพัฒนาอยางเปนระบบ และพัฒนาทั้งองคกร ทําใหองคกรเกิดการเรียนรู มีการประเมินและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

Page 3: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

3

3C - PDSA

Plan/Design

Do

Study/Learning

Act/Improve

บริบท

มาตรฐาน เปาหมาย/วัตถุประสงคเปาหมาย/วัตถุประสงค

ตัวชี้วัด

ประเด็นสําคัญความเส่ียงสําคัญ

ความตองการสําคัญ

หลักคิดสําคัญ (Core Values & Concepts)

หลักคิดสําคัญ (Core Values & Concepts)

3

Page 4: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

ระบบงานสําคัญของ รพ.ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพการกํากับดูแลวิชาชีพสิ่งแวดลอมในการดูแลผูปวยการปองกันการติดเชื้อระบบเวชระเบียนระบบจัดการดานยาการตรวจทดสอบการเฝาระวังโรคและภัยสุขภาพการทํางานกับชุมชนกระบวนการดูแลผูปวย

การเขาถึงและเขารับบริการการประเมินผูปวยการวางแผนการดูแลผูปวยการใหขอมูลและเสริมพลังการดูแลตอเน่ือง

ดานการดูแลผูปวยดานการมุงเนนผูรับผลงานดานการเงินดานทรัพยากรบุคคลดานประสิทธิผลของกระบวนการดานการนําดานการสรางเสริมสุขภาพ

ตอนท่ี IV

ตอนท่ี IIIตอนท่ี II

ตอนท่ี I

การนํา

การวางแผนกลยุทธ

การมุงเนนผูปวยและสิทธิผูปวย

การวัด วิเคราะห และจัดการความรู

การจัดการกระบวนการ

การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

ผลการดําเนินงาน

กระบวนการดูแลผูปวย

ภาพรวมการบริหารองคกร

HAHA//HPHHPH

MBNQAMBNQA//TQATQA

มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ป

Page 5: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

ทีมผูใหบริการสรางความม่ันใจวาจะใหการดูแลผูปวยที่มีความเส่ียงสูงและใหบริการที่มีความเส่ียงสูงอยางทันทวงที ปลอดภัย เหมาะสม เปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ

บงชี้ผูปวยและบริการท่ีเสี่ยงสูง

จัดทําแนวทางการดูแล

ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูง

ไดรับการดูแลอยางปลอดภัย

ติดตาม/วิเคราะหภาวะแทรกซอน/

เหตุการณไมพึงประสงคปรับปรุง

3

1

4

5

เฝาระวังการเปลี่ยนแปลง

แกไข

ตอบสนองตอผูปวยท่ีมีอาการทรุดลงหรือเขาสูภาวะวิกฤติ

6

ปรับแผนการดูแล

ทําหัตถการเสี่ยงในสถานท่ี เครื่องมือ

ผูชวย ท่ีพรอม

III - 4.2 การดูแลผูปวยและการใหบริการท่ีมีความเสี่ยงสูง(Care of High-Risk Patients and Provision of High-Risk Services)

ประเมิน stabilize สื่อสาร ใหความรู เคล่ือนยาย

ฝกอบรม ปฏิบัติ2

Page 6: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

III-4.3 การดูแลเฉพาะ (PCD.3)III-4.3 การดูแลเฉพาะ (PCD.3)

• ทีมผูใหบริการสรางความม่ันใจวาจะใหการดูแลในบริการเฉพาะที่สําคัญ อยางทันทวงท ีปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพ

• ก.การระงับความรูสึก• 1) มีการประเมินผูปวยเพื่อคนหาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดข้ึน

ระหวางการระงับความรูสึก, นําขอมูลจากการประเมินมาวางแผนการระงับความรูสึกที่เหมาะสม รวมทั้งปรึกษาผูเช่ียวชาญ ในสาขาที่เก่ียวของ

• ทีมผูใหบริการสรางความม่ันใจวาจะใหการดูแลในบริการเฉพาะที่สําคัญ อยางทันทวงท ีปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพ

• ก.การระงับความรูสึก• 1) มีการประเมินผูปวยเพื่อคนหาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดข้ึน

ระหวางการระงับความรูสึก, นําขอมูลจากการประเมินมาวางแผนการระงับความรูสึกที่เหมาะสม รวมทั้งปรึกษาผูเช่ียวชาญ ในสาขาที่เก่ียวของ

Page 7: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

2) ผูปวย/ครอบครัวไดรับขอมูลที่จําเปนเกี่ยวกับการระงับความรูสึก และมีสวนรวมในการเลือกวิธีการระงับความรูสึกถาเปนไปได ผูปวยไดรับการเตรียมความพรอมทางดานรางกายและจิตใจกอนการระงับความรูสึก3) กระบวนการระงับความรูสึกเปนไปอยางราบรื่นและปลอดภัยตามมาตรฐานแหงวิชาชีพซึ่งเปนที่ยอมรับวาดีที่สุดภายใตสถานการณของโรงพยาบาล โดยบุคคลที่เหมาะสม

2) ผูปวย/ครอบครัวไดรับขอมูลที่จําเปนเกี่ยวกับการระงับความรูสึก และมีสวนรวมในการเลือกวิธีการระงับความรูสึกถาเปนไปได ผูปวยไดรับการเตรียมความพรอมทางดานรางกายและจิตใจกอนการระงับความรูสึก3) กระบวนการระงับความรูสึกเปนไปอยางราบรื่นและปลอดภัยตามมาตรฐานแหงวิชาชีพซึ่งเปนที่ยอมรับวาดีที่สุดภายใตสถานการณของโรงพยาบาล โดยบุคคลที่เหมาะสม

Page 8: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

4) มีการติดตามและบันทึกขอมูลผูปวยระหวางระงับความรูสึกและในชวงรอฟนอยางครบถวน มีการเตรียมความพรอมเพื่อแกไขภาวะฉุกเฉินระหวางการระงับความรูสึกและระหวางรอฟน ผูปวยไดรับการจําหนายจากบริเวณรอพักฟนโดยผูมีคุณวุฒิ ตามเกณฑที่กําหนดไว

4) มีการติดตามและบันทึกขอมูลผูปวยระหวางระงับความรูสึกและในชวงรอฟนอยางครบถวน มีการเตรียมความพรอมเพื่อแกไขภาวะฉุกเฉินระหวางการระงับความรูสึกและระหวางรอฟน ผูปวยไดรับการจําหนายจากบริเวณรอพักฟนโดยผูมีคุณวุฒิ ตามเกณฑที่กําหนดไว

Page 9: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

5) มีการใชเครื่องมือ วัสดุ และยาตามที่องคกรวิชาชีพดานวิสัญญีแนะนํา

บุคลากรที่จะทําหนาที่ใหการระงับความรูสึก ควรไดรับการฝกอบรมและมีจํานวนผูปวยขั้นต่ําที่ใหการระงับความรูสึกในแตละป ตามที่องคกรวิชาชีพกําหนด

Page 10: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

10

SPA เปนเครื่องมือชวยให รพ.เห็นแนวทางการนํามาตรฐานไปสูการปฏิบัติท่ีชัดเจนและบอกแนวทางการสรุปขอมูลสําคัญท่ีจะบันทึกสงใหคณะผูเย่ียมสํารวจซึ่งจะชวยลดภาระของ รพ.และผูเย่ียมสํารวจในเรื่องการจัดทําเอกสาร

เนนความสําคัญของการนํามาตรฐานไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน มาตรฐานนั้นจึงจะเปนประโยชนตอองคกร

การนํามาตรฐานไปสูการปฏิบัติสามารถทําไดงายๆ

นพ.อนุวัฒน ศุภชุติกุล “คุณภาพแบบเรียบงาย ผอนคลายดวย SPA” 10th HA National Forum 12 มีนาคม 2552

Page 11: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

11

(3) ระบบการปองกันและควบคุมการติดเช้ืออยูบนพื้นฐานของความรูทางวิทยาศาสตรที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเปนที่ยอมรับ เปนไปตามขอกําหนดในกฎหมาย และจัดทําแนวทางปฏิบัติไวเปนลายลักษณอักษร.

กิจกรรมที่ควรดําเนินการ• ICN และคณะกรรมการ IC รวมกันเลือกสรร scientific evidence (หลักฐาน

วิธีการที่ไดรับการพิสูจนวาไดผลจากการศึกษาอยางเปนวิทยาศาสตร) ที่ update จากแหลงที่เหมาะสม เชน CDC, ชมรมโรคติดเช้ือในโรงพยาบาล

• นําขอมูลหลักฐานดังกลาวมาเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติงานที่ใชอยู (ถามีการจัดทําไวแลว) ทบทวนแนวทางปฏิบัติใหทันสมัยกับ evidence

• ทํา gap analysis เพื่อหาชองวางของการปฏิบัติกับมาตรการที่ไดรับการพิสูจนแลว กําหนดเปาหมายและแผนการปรับปรุง

• จัดทําแนวทางปฏิบัติงานเทาที่จําเปน เพื่อเปนที่ใชอางอิง ทําความเขาใจ และธํางใหการปรับปรุงที่เกิดขึ้นมีความย่ังยืน

ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป • ตัวอยาง scientific evidence ที่นํามาใชในการปองกันและควบคุมการติดเช้ือ

S

P

Aนพ.อนุวัฒน ศุภชุติกุล “คุณภาพแบบเรียบงาย ผอนคลายดวย SPA” 10th HA National Forum 12 มีนาคม 2552

Page 12: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

กิจกรรมท่ีควรดําเนินการ• PCT/CLT ตางๆสงเสริมใหมีการทํา mini-

research เก่ียวกับการระงับความรูสึก ในประเด็นตอไปน้ี• ประสิทธิภาพในการคนหาความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนระหวางการระงับความรูสึกเปนอยางไร มีการคนพบปจจัยเสี่ยงในขณะที่กําลังจะใหการระงับความรูสึกโดยที่ไมพบมากอนบอยเพียงใด (สําหรับผูปวย elective)

Page 13: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

• ประสิทธิภาพในการเตรียมความพรอมในผูปวยที่จําเปนตองปรึกษาผูเชี่ยวชาญในสาขาที่เก่ียวของเปนอยางไร สามารถแกปญหาใหผูปวยไดอยางเหมาะสมและผูปวยไดรับการผาตัดตามเวลาที่กําหนดไดดีเพียงใด

• ประสิทธิภาพในการเตรียมความพรอมในผูปวยที่จําเปนตองปรึกษาผูเชี่ยวชาญในสาขาที่เก่ียวของเปนอยางไร สามารถแกปญหาใหผูปวยไดอยางเหมาะสมและผูปวยไดรับการผาตัดตามเวลาที่กําหนดไดดีเพียงใด

Page 14: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

•มีการนําขอมูลจากการประเมินผูปวยลวงหนามาใชในการวางแผนระงับความรูสึกอยางไร

•มีการนําขอมูลจากการประเมินผูปวยลวงหนามาใชในการวางแผนระงับความรูสึกอยางไร

Page 15: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

• บุคลากรท่ีทําหนาท่ีระงับความรูสึกเปนใครบาง ใหการระงับความรูสึกดวยวิธีตางๆแกผูปวยปละกี่ราย• มีการติดตามเหตุการณไมพึงประสงคระหวาง

การระงับความรูสึกอยางไร ผลลัพธเปนอยางไร มีการปรับปรุงระบบงานเพื่อปองกันเหตุการณดังกลาวอยางไร

Page 16: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

พิจารณาประเด็น Humanized Healthcare

• ตามรอยผูปวยที่ไดรับการระงับ (อาจใชการติดตามผูปวยจริงๆการสัมภาษณประสบการณของผูปวย และการสนทนากลุมรวมกัน) ตั้งแตผูปวยไดรับทราบวาจะตองไดรับการระงับความรูสึก วามีความรูสึกอยางไรในข้ันตอนตางๆ

• ทบทวนวาทีมงานสามารถจัดระบบงานหรือสรางสิ่งแวดลอมอยางไรเพื่อใหลดความรูสึกกังวล ไมม่ันใจ หรือความทุกขทรมานตางๆของผูปวยและนําไปดําเนินการ

Page 17: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

ประเด็นท่ีควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุปประเด็นท่ีควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป

Approach Learning ImprovementApproach Learning Improvement

Page 18: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ(Risk, Safety, and Quality Management System)

1

ประสานโปรแกรมความเสี่ยง

ระบบสารสนเทศ

คนหาและจัดลําดับความสําคัญของ

ความเสี่ยง

กําหนดมาตรการปองกัน, สื่อสาร,

สรางความตระหนักระบบรายงานอุบัติการณรายงาน วิเคราะห ใชประโยชน

ประเมินประสิทธิผลปรับปรุง

วิเคราะหสาเหตุ

แกปญหา

กําหนดกลุม/วัตถุประสงคกําหนด KPIใชวิธีการท่ีหลากหลาย

ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย

ข. คุณภาพการดูแลผูปวย234

1

2

34

6

5

ทบทวนการดูแลผูปวย พัฒนาคุณภาพการดูแลสําหรับกลุมเปาหมาย

Page 19: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

ความคาดหวังที่จะดูความคาดหวังที่จะดูประสิทธิภาพในการตรวจจับและแกไขปญหา

กระบวนการ: การเฝาระวังปญหา, การจัดการกับเหตุการณเบื้องตน, การรายงาน, การลดความสูญเสีย, การวิเคราะหสาเหตุ, การวางแนวทางเพื่อปองกัน

ผลลัพธ: ตรวจจับและแกไขปญหาไดรวดเร็ว, ควบคุมความสูญเสียได, โอกาสเกิดซํ้าอยูในระดับต่ํา

Page 20: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

ความคาดหวังที่จะดูความคาดหวังที่จะดูประสิทธิภาพในการปองกันและจัดการกับความเสี่ยง

กระบวนการ:การวิเคราะหความเสี่ยง,การกําหนดมาตรการปองกัน, การสรางความตระหนัก, การเฝาระวัง/ระบบรายงาน, การจัดการกับความสูญเสีย/เสียหาย, การจัดระบบขอมูลเพื่อการบริหารความเสี่ยง, การเชื่อมโยงโปรแกรมที่เกี่ยวของกับการบริหารความเสี่ยง, การประเมินประสิทธิภาพ

ผลลัพธ:ความเสี่ยงอยูในระดับต่ํา, ความสูญเสีย/ความเสียหายอยูในระดับต่ํา

Page 21: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

ความคาดหวังคุณภาพการดูแลความคาดหวังคุณภาพการดูแลความครอบคลุมของกิจกรรมคุณภาพดานคลินิกบริการ ท้ังประเภทของกิจกรรม กลุมผูปวย หนวยงาน และบุคคลท่ีเขารวมทํากิจกรรม

กระบวนการ:การวิเคราะหโรคและหัตถการเพื่อหาโอกาสพัฒนา,การคนหาแหลงขอมูล scientific evidence หรือrecommendation, การเปรียบเทียบชองวางระหวางความรูกับการปฏิบัติ, การวางแผนและทดลองปรับปรุง, การวัดผล, การขยายผล, การติดตามเครื่องชี้วัดทางคลินิกเฉพาะโรค

Page 22: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

ความคาดหวังคุณภาพการดูแล

ความครอบคลุมของกิจกรรมคุณภาพดานคลินิกบริการ ทั้งประเภทของกิจกรรม กลุมผูปวย หนวยงาน และบุคคลที่เขารวมทํากิจกรรม

ผลลัพธ: มีกิจกรรมคุณภาพดานคลินิกบริการครอบคลุมโรคและหัตถการที่สําคัญ, มีการเปลี่ยนแปลงระดับคุณภาพดานคลินิกบริการที่เห็นไดชัดเจน, ผูเก่ียวของมีเจตคติที่ดีตอการรวมทํากิจกรรม

ความคาดหวังคุณภาพการดูแลความคาดหวังคุณภาพการดูแล

ความครอบคลุมของกิจกรรมคุณภาพดานคลินิกบริการ ทั้งประเภทของกิจกรรม กลุมผูปวย หนวยงาน และบุคคลที่เขารวมทํากิจกรรม

ผลลัพธ: มีกิจกรรมคุณภาพดานคลินิกบริการครอบคลุมโรคและหัตถการที่สําคัญ, มีการเปลี่ยนแปลงระดับคุณภาพดานคลินิกบริการที่เห็นไดชัดเจน, ผูเก่ียวของมีเจตคติที่ดีตอการรวมทํากิจกรรม

Page 23: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

คนหาความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง จัดระบบเพ่ือปองกัน/แกไขความเสี่ยง

การติดตามประเมิน/เฝาระวังความเสี่ยง

กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง

Page 24: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

บันทึกที่มีอยูแลวบันทึกที่มีอยูแลว//ตั้งรับตั้งรับ บันทึกการบํารุงรักษาเชิงปองกัน รายงานการตรวจสอบเพื่อปองกันอัคคีภัย รายงานยาเสพติด บันทึกการควบคุมคุณภาพของหองปฏิบัติการ รายงานการควบคุมคุณภาพของอาหาร รายงานดานอาชีวอนามัย รายงานการตรวจสอบความปลอดภัยในการทํางาน

Page 25: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

รายงานการตรวจสอบความปลอดภัยดานรังสีวิทยา รายงานอุบัติการณ รายงานการติดเชื้อในโรงพยาบาล บันทึกประจําวันของหนวยงาน รายงานเวรตรวจการ รายงานของหนวยรักษาความปลอดภัย

บันทึกที่มีอยูแลวบันทึกที่มีอยูแลว//ตั้งรับตั้งรับ

Page 26: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

การคนหาความเส่ียงทางคลินิก- คนหาจากกระบวนการดูแลผูปวย

- ประสบการณในอดีตของตนเองหรือผูอ่ืน เชน รายงานอุบัติการณ ขาวเหตุการณในหนาหนังสือพิมพ

- ผลการวิจัยในวารสารวิชาการตางๆ

- ทบทวนการดูแลผูปวยอยางสม่ําเสมอ

Page 27: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

วิธีการหาความเส่ียงจากกระบวนการดูแลผูปวย

patient round เปนการคนหาความเสี่ยงจากผูปวยที่กําลังนอนอยู เชน C3THER , nursing round ,grand round เปนตนchart round เปนการสุมเวชระเบียนมาอาน มาทบทวนวาเรามีอะไรที่อาจหลุดหรือผิดพลั้งไป มีอะไรที่ไมไดสื่อสารกันหรือดูแลไมสอดคลองกัน ควรทําใหบอยที่สุดเทาที่จะเปนไปไดแพทยดูของแพทย พยาบาลดูเองพยาบาล เม่ือไรเห็นควรจะมาทบทวนรวมกันก็นัดมาคุยกัน

Page 28: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

จะหาความเสี่ยงไดอยางไรdisease round เปนการเอาโรคเปนตัวตั้ง พิจารณาวาประเด็นสําคัญโรคน้ีมีอะไรบาง จะดูแลตรงไหนใหดีข้ึนอยางไร

( ซึ่งอาจใชแนวคิดองครวม ใชเร่ืองช้ีวัด ใชความรูทางวิชาการท่ีเปล่ียนไป หรือใชการทบทวนเหตุการณไมพึงประสงคมาจุดประกายการพัฒนา)การทบทวน 12 กิจกรรมตามบันไดข้ันท่ี 1

Page 29: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป(Common Clinical RISK)

ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป(Common Clinical RISK)

เปนความเสี่ยงทางคลินิกท่ีระบุกวางๆ ในกระบวนการรักษา ไมจําเพาะตอโรคใดโรคหน่ึง อาจพบรวมในหลายคลินิกบริการ อาจใชมาตรการเดียวกันในการปองกันในภาพรวม นําไปสูการคนหาความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรคได พบในระยะแรกของการพัฒนา ในระยะถัดมาจะมีความน่ิง

และสามารถแกไขไดเปนสวนใหญ

Page 30: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

Specific Clinical risk วิสัญญีวิทยา

• Regional anesthesia

• Intraop-postoperation

• Failure

• Postspinal headache

• Cardiac arrest

• Hypoxia

Disease/condition/procedure Clinical risk/AE/Cx

Page 31: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

การประเมินความเสี่ยง

เปาหมายเพื่อ ;สามารถบอกระดับความรุนแรงของผลกระทบที่ตามมาได มีการอธิบายหรือคาดการณความรุนแรงของความเสี่ยงได

Page 32: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

แนวทางการจัดระดับความรุนแรงThe National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Preventionระดับ A เหตุการณซ่ึงมีโอกาสที่จะกอใหเกิดความคลาดเคลื่อนระดับ B เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แตยังไมถึงผูปวยระดับ C เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวย แตไมทําใหผูปวยไดรับอันตรายระดับ D เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวย สงผลใหตองมีการเฝาระวังเพื่อใหมั่นใจวาไมเกิดอันตรายตอผูปวย

Page 33: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

แนวทางการจัดระดับความรุนแรง

ระดับ E เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวยสงผลใหเกิดอันตรายชั่วคราว และตองมีการบําบัดรักษาระดับ F เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวยสงผลใหเกิดอันตรายชั่วคราว และตองนอนโรงพยาบาล หรืออยูโรงพยาบาลนานขึ้นระดับ G เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวยสงผลใหเกิดอันตรายถาวรแกผูปวย ระดับ H เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวยสงผลใหตองทําการชวยชีวิต

Page 34: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)

แนวทางการจัดระดับความรุนแรง

ระดับ I เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูปวยซ่ึงอาจเปนสาเหตุของการเสียชีวิตหมายเหต ุ การแบงระดับอุบัติการณหนึ่งอาจมีหลายระดับขึ้นกับวาพิจารณาจากกระบวนการตั้งตนอะไร การจําแนกประเภทจึงมีความสําคัญ แนวคิดของ NCCMERP จะมองที่ผูรับผลงานหรือผูปวยเปนสําคัญในการจัดลําดับความรุนแรง ระดับ G จะเนนที่อันตรายถาวร จึงม ี2 สถานะคือ รุนแรงนอยกวา และมากกวาระดับ H

Page 35: การจัดการความเสี่ยงงานการ พยาบาลวิสัญญีในมุมมองของสรพ · update จากแหล

Share and LearnShare and Learn