10
1 อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class Ascomycetes Taxonomy on Plant Pathogenic Fungi Class Ascomycetes พรพิมล อธิปัญญาคม 1 และศรีสุรางค์ ลิขิตเอกราช 2 Pornpimon Athipunyakom 1 and Srisurang Likhitekaraj 2 บทคัดย่อ การสํารวจและเก็บตัวอย่างราสาเหตุโรคพืช Class Ascomycetes จํานวน 62 ตัวอย่าง จากพืช 21 ชนิด ในแหล่งต่าง ของประเทศไทย ระหว่างเดือนตุลาคม 2546-กันยายน 2551 แล้วนําไปศึกษาเพื่อจําแนก ชนิดของเชื้อโดยตรง (Direct observation) การแยกเชื้อจากเนื้อเยื่อพืชที่เป็นโรค (Tissue transplanting) การ จําแนกชนิดของเชื้อสาเหตุโดยการศึกษาลักษณะต่าง ของราบนเนื้อเยื่อพืช ลักษณะโคโลนีบนอาหาร ลักษณะ สัณฐานวิทยาของเชื้อ พบว่าสามารถจําแนกได้ราทั ้งหมด 35 สายพันธุ (isolate) โดยจําแนกได้รา 10 สกุล (genera) 15 ชนิด (species) ได้แก่ Didymella bryoniae, Haematonectria haematococca, Glomerella cingulata, Guignardia citricarpa, Guignardia psidii , Meliola butleri, Meliola dimorcarpi, Meliola tamarindi, Mycosphaerella musicola, Phragmocapnias betle, Phyllachora bambusae, Phyllachora cynodontis, Phyllachora digitariae, Phyllachora graminis, Phyllachora repens และราที่ไม่สามารถ จําแนกชนิดได้ 5 ชนิด (undidentified species) ได้แก่ Leptosphaeria sp., Leptosphaerulina sp., Mycosphaerella sp. 1, Mycosphaerella sp. 2 และ Phyllachora sp. ABSTRACT Survey and collecting isolates of plant pathogenic fungi class ascomycetes obtained 62 samples of 21 plants from various locations in Thailand during October 2003 – September 2007. An identification on plant pathogenic ascomycetes was carried out by direct observation and tissue transplanting methods. Identification was characterized by colony growth pattern on medium and morphological characters observed under light microscope. Thirty-five isolates of ascomycetes fungi were identified, including 10 genera and 15 species as follow: Didymella bryoniae, Haematonectria haematococca, Glomerella cingulata, Guignardia citricarpa, Guignardia psidii , Meliola butleri, Meliola dimorcarpi, Meliola tamarindi, Mycosphaerella musicola, Phragmocapnias betle, Phyllachora bambusae, Phyllachora cynodontis, Phyllachora digitariae, Phyllachora graminis, Phyllachora repens. There are five unidentified fungi including Leptosphaeria sp., Leptosphaerulina sp., Mycosphaerella sp. 1, Mycosphaerella sp. 2 and Phyllachora sp. Key Words: Plant Pathogenic Ascomycetes, taxonomy E-mail address: [email protected] 1 กลุ ่มวิจัยโรคพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 2 สํานักผู ้เชี่ยวชาญ กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 1 Plant Pathology Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 2 Senior Expert Office, Department of Agriculture, Bangkok

อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

1

อนุกรมวธิานราสาเหตุโรคพืช Class Ascomycetes

Taxonomy on Plant Pathogenic Fungi Class Ascomycetes

พรพมิล อธิปัญญาคม1 และศรีสรุางค์ ลขิิตเอกราช 2

Pornpimon Athipunyakom 1 and Srisurang Likhitekaraj2

บทคัดย่อ

การสํารวจและเก็บตวัอยา่งราสาเหตโุรคพืช Class Ascomycetes จํานวน 62 ตวัอยา่ง จากพืช 21 ชนิด ในแหลง่ตา่ง ๆ ของประเทศไทย ระหวา่งเดือนตลุาคม 2546-กนัยายน 2551 แล้วนําไปศกึษาเพ่ือจําแนกชนิดของเชือ้โดยตรง (Direct observation) การแยกเชือ้จากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค (Tissue transplanting) การจําแนกชนิดของเชือ้สาเหตโุดยการศกึษาลกัษณะตา่ง ๆ ของราบนเนือ้เย่ือพืช ลกัษณะโคโลนีบนอาหาร ลกัษณะสณัฐานวิทยาของเชือ้ พบวา่สามารถจําแนกได้ราทัง้หมด 35 สายพนัธุ์ (isolate) โดยจําแนกได้รา 10 สกลุ (genera) 15 ชนิด (species) ได้แก่ Didymella bryoniae, Haematonectria haematococca, Glomerella cingulata, Guignardia citricarpa, Guignardia psidii, Meliola butleri, Meliola dimorcarpi, Meliola tamarindi, Mycosphaerella musicola, Phragmocapnias betle, Phyllachora bambusae, Phyllachora cynodontis, Phyllachora digitariae, Phyllachora graminis, Phyllachora repens และราท่ีไม่สามารถจําแนกชนิดได้ 5 ชนิด (undidentified species) ได้แก่ Leptosphaeria sp., Leptosphaerulina sp., Mycosphaerella sp. 1, Mycosphaerella sp. 2 และ Phyllachora sp.

ABSTRACT Survey and collecting isolates of plant pathogenic fungi class ascomycetes obtained 62

samples of 21 plants from various locations in Thailand during October 2003 – September 2007. An identification on plant pathogenic ascomycetes was carried out by direct observation and tissue transplanting methods. Identification was characterized by colony growth pattern on medium and morphological characters observed under light microscope. Thirty-five isolates of ascomycetes fungi were identified, including 10 genera and 15 species as follow: Didymella bryoniae, Haematonectria haematococca, Glomerella cingulata, Guignardia citricarpa, Guignardia psidii, Meliola butleri, Meliola dimorcarpi, Meliola tamarindi, Mycosphaerella musicola, Phragmocapnias betle, Phyllachora bambusae, Phyllachora cynodontis, Phyllachora digitariae, Phyllachora graminis, Phyllachora repens. There are five unidentified fungi including Leptosphaeria sp., Leptosphaerulina sp., Mycosphaerella sp. 1, Mycosphaerella sp. 2 and Phyllachora sp. Key Words: Plant Pathogenic Ascomycetes, taxonomy E-mail address: [email protected] 1 กลุม่วิจยัโรคพืช สํานกัวิจยัพฒันาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 2 สํานกัผู้ เช่ียวชาญ กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 1 Plant Pathology Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 2 Senior Expert Office, Department of Agriculture, Bangkok

Page 2: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

2

3คาํนํา

ราใน Class Ascomycetes มีจํานวนประมาณ 32,276 ชนิด เป็นราชัน้สงู (Higher Fungi) และมี

วิวฒันาการสงูมีการสืบพนัธุ์ทัง้ 2 แบบ คือ การสืบพนัธุ์แบบไมใ่ช้เพศ (asexual หรือ anamorph) ราสร้าง

conidium ซึง่อาจเกิดโดยตรงบน conidiophore หรือเกิดภายในโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ (fruiting body)

แบบตา่ง ๆ สว่นการสืบพนัธุ์แบบใช้เพศ (sexual หรือ teleomorph) เกิดโดยการสร้าง ascospores ภายใน

โครงสร้างลกัษณะคล้ายถงุ เรียกวา่ ascus ซึง่จะเกิดในหรือบนโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์แบบตา่ง ๆ ราใน

Class Ascomycetes ก่อให้เกิดโรคสําคญักบัพืชหลายชนิด ได้แก่ ราสกลุ Erysiphe และ ราสกลุ Uncinula

เป็นสาเหตโุรคราแป้ง ราสกลุ Mycosphaerella เป็นสาเหตโุรคใบจดุของพืชหลายชนิดซึง่มี anamorphic state

เป็นพวกรา Cercospora เป็นสาเหตโุรคใบจดุของพืชหลายชนิด ราสกลุ Meliola เป็นราดํา (black mildew หรือ

sooty molds) เป็นสาเหตกุบัพืชหลายชนิด ราสกลุ Glomerella cingulata ซึง่เป็นระยะสืบพนัธุ์แบบมีเพศ

(teleomorph) ของรา Colletotrichum gloeosporioides เป็นสาเหตขุองโรคแอนแทรคโนสของพืชเศรษฐกิจท่ี

สําคญัหลายชนิด (Sharma, 1998; Shivas and Beasley, 2003)

การจําแนกชนิดราในกลุม่ Ascomycetes จําแนกโดยใช้ลกัษณะรูปร่างของโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์

(fruiting body: ascomata) และการเรียงตวัของ ascus เช่น Hemiascomycetes ไม่มี ascomata โดยไมมี่

การสร้าง asci ใน ascomata; Plectomycetes สร้าง asci ภายในโครงสร้างท่ีเรียกวา่ cleistothecium;

Pyrenomycetes สร้าง asci ภายในโครงสร้างท่ีเรียกวา่ perithecium และ Discomycetes สร้าง asci ภายใน

โครงสร้างท่ีเรียกวา่ apothecium ในปัจจบุนันีก้ารศกึษาทางด้านอนชีูวโมเลกลุ molecular sequence data

(โดยเฉพาะทางด้าน 18rDNA gene) มีการพฒันามากขึน้เพ่ือใช้ในการจดัจําแนกราในกลุม่นีแ้ตก็่ยงัมีราในอีก

หลาย orders และ หลาย families ของรา Ascomycetes ท่ียงัไมมี่การศกึษาทางด้านนี ้(Shivas and Beasley,

2003)

ดงันัน้การศกึษาอนกุรมวิธานและความหลากหลายของราในกลุม่ Ascomycetes นีทํ้าให้ทราบชนิดของ

ราสาเหตโุรค โดยเฉพาะเป็นประโยชน์มากสําหรับการทราบชนิดของราสาเหตโุรคพืชในระดบั species ท่ี

เก่ียวข้องกบัการนําเข้าและการสง่ออกเพ่ือเป็นข้อมลูอ้างอิงในการจดัทําบญัชีรายช่ือ รวมทัง้เป็นการพฒันานกั

อนกุรมวิธานด้านราในการจําแนกชนิดของเชือ้

4อุปกรณ์และวิธีการ

1. สาํรวจรวบรวมตัวอย่างโรคพืชที่เกดิจากรา Class Ascomycetes สํารวจเก็บตวัอยา่งโรคพืชจากสว่นของใบ ดอก ผล ก่ิง ลําต้น และรากของพืช จากแหลง่ตา่ง ๆ ของ

ประเทศไทย บนัทกึรายละเอียด ชนิดพืช แหลง่ท่ีเก็บ วนัท่ีเก็บ และลกัษณะอาการของโรค หอ่ตวัอยา่งพืชด้วย

กระดาษหนงัสือพิมพ์ ใสใ่นถงุพลาสตกิ บรรจหุอ่ตวัอยา่งลงในกลอ่งเก็บความเย็น เพ่ือนํามาทําศกึษาชนิดและ

แยกเชือ้สาเหตใุนห้องปฏิบตักิาร และจดัเก็บตวัอยา่งแห้งของพืชไว้ในพพิิธภณัฑ์โรคพืช กลุม่วิจยัโรคพืช

สํานกัวิจยัพฒันาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

Page 3: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

3

2. การศึกษารา Class Ascomycetes จากส่วนที่เป็นโรค 2.1 การศึกษาราจากเนือ้เย่ือพืชโดยตรง (Direct observation)

ศกึษาลกัษณะอาการของราสาเหตโุรคและสงัเกตลกัษณะของโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราท่ีเกิด

บนใบ ภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo บนัทกึลกัษณะตา่ง ๆ ใช้เข็มปลายแหลมเข่ียสว่นของรา ได้แก่ สปอร์

หรือสว่นขยายพนัธุ์ของรา มาวางบนสไลด์ หรือใช้ใบมีดตดัขวางชิน้สว่นพืชให้บาง ๆ หยดนํา้หรือสีย้อม และปิด

ทบัด้วยแผน่ cover slip และตรวจดลูกัษณะตา่ง ๆ ของราภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ compound

ถ้าไม่พบสปอร์ของราบนชิน้สว่นพืชท่ีเป็นโรคหลงัจากตรวจดภูายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo และ

เม่ือเข่ียเชือ้ดแูล้ว ไม่พบราบนชิน้สว่นพืชให้ทํา moist chamber โดยนําตวัอยา่งพืชมาบม่ไว้ในจานอาหารเลีย้ง

เชือ้ท่ีฆา่เชือ้แล้ว วางชิน้สว่นพืชท่ีเป็นโรคไว้บนกระดาษกรองท่ีนึง่ฆา่เชือ้แล้วและหยดนํา้นึง่ท่ีฆา่เชือ้แล้วบน

กระดาษกรองเพ่ือให้ความชืน้ บม่ไว้อณุหภมิูห้องปฏิบตักิาร นาน 3-7 วนั ใช้เข็มปลายแหลมเข่ียราท่ีเจริญอยูบ่น

ชิน้สว่นพืชมาตรวจดใูต้กล้องจลุทรรศน์แบบ compound บนัทกึลกัษณะตา่ง ๆ วดัขนาดสว่นตา่ง ๆ ของราและ

ถ่ายภาพจากกล้องจลุทรรศน์ 2.2 การศึกษาเชือ้สาเหตุโดยวธีิแยกเชือ้จากเนือ้เย่ือพืชที่เป็นโรค (Tissue transplanting)

ตดัตวัอยา่งพืชท่ีเป็นโรคบริเวณท่ีเป็นรอยตอ่ของสว่นท่ีเป็นโรคและสว่นปกตขินาดประมาณ 2x2

มิลลเิมตร ทําการฆา่เชือ้ท่ีผิวพืช โดยแช่ชิน้สว่นพืชลงในสารละลายคลอร็อกซ์ 5 เปอร์เซน็ต์ เป็นเวลา 5 นาที ซบั

ให้แห้งด้วยกระดาษกรองท่ีผา่นการนึง่ฆา่เชือ้แล้วจนแห้งสนิท นําชิน้สว่นพืชมาวางบนอาหาร half strength

Potato Dextrose Agar (1/2 PDA) และ Malt Extract Agar (MEA) ต้องทําภายใต้ aseptic condition บม่ไว้ใน

อณุหภมิูห้องปฏิบตักิาร เป็นเวลา 1-3 วนั ตรวจดเูส้นใยราภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo ตดัปลายเส้นใย

(hyphal tip) ของราท่ีเจริญออกมาจากชิน้สว่นพืช วางลงบนอาหาร potato dextrose agar (PDA) เก็บไว้ท่ี

อณุหภมิูห้องปฏิบตักิาร จนเชือ้เจริญเตม็จานอาหารเลีย้งเชือ้ และนําไปศกึษารายละเอียดของราเพ่ือการจําแนก

ชนิดของราตอ่ไป เก็บรักษาสายพนัธุ์ราไว้ในอณุหภมิู 15 องศาเซลเซียส 2.3 การจาํแนกชนิดรา Class Ascomycetes

1 ศกึษาลกัษณะโคโลนีบนอาหารสงัเคราะห์ ได้แก่ ลกัษณะการเจริญและสีของโคโลนี

ลกัษณะของโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ บนัทกึลกัษณะตา่ง ๆ

2 ศกึษาลกัษณะทางสณัฐานวิทยาของเชือ้ได้แก่ ลกัษณะของเส้นใย ขนาด สี

ลกัษณะของสปอร์ สี ขนาด ชนิดของโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์

3 นําลกัษณะสณัฐานท่ีได้จากการศกึษาของราดงักลา่วเปรียบเทียบกบัคูมื่อการจดัจําแนก

ชนิดราใน Class Ascomycetes ท่ีใช้กนัทัว่ไป สําหรับราท่ีเป็น Bitunicate ascomycetes ได้แก่ Sivanesan

(1984); Crous (1998) Barr (1990); สําหรับรา ascomycetes ทัว่ไป ได้แก่ Hanlin (1992, 1998); Hyde et

al. (2000) และสําหรับราระยะสืบพนัธุ์แบบไม่ใช้เพศของรา Ascomycetes ใช้เอกสารของ Sutton (1980), Ellis

(1971, 1993) และ Carmichael et al., (1980)

Page 4: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

4

0ผลการทดลองและวิจารณ์

1. ผลสาํรวจรวบรวมตัวอย่างราสาเหตุโรคพืชที่เกดิจากรา Class Ascomycetes

ผลการสํารวจรวบรวมและเก็บตวัอยา่งสาเหตโุรคพืชท่ีเกิดจากรา Class Ascomycetes ได้ตวัอยา่งโรค

พืชทัง้หมด 64 ตวัอยา่ง จากพืชทัง้หมด 21 ชนิด ในจงัหวดัเชียงใหม่ เชียงราย กําแพงเพชร เพชรบรูณ์ ระยอง

จนัทบรีุ นครปฐม ราชบรีุและสมทุรสาคร ตวัอยา่งโรคพืชท่ีรวบรวมได้ทัง้หมดนํามาศกึษาในห้องปฏิบตักิารโดย

การศกึษาราจากเนือ้เย่ือพืชโดยตรง การทํา moist chamber และโดยวิธีการแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค

รายละเอียดชนิดพืชท่ีเก็บตวัอยา่งโรค รายละเอียดชนิดพืชท่ีเก็บตวัอยา่งโรค และจําแนกราได้เป็นราใน Class

Ascomycetes แสดงอยูใ่นตารางท่ี 1

2. ผลการศึกษารา Class Ascomycetes จากส่วนที่เป็นโรค

2.1 การศึกษาราโดยตรงจากเนือ้เย่ือพืช (Direct Observation)

ผลการศกึษาราโดยตรงจากเนือ้เย่ือพืชภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo มีดงันี ้

โรคผลเน่าฝร่ังพบอาการผลเน่า 2 ชนิด ได้แก่โรคแอนแทรคโนส และโรคผลจดุดํา ใช้เข็มปลายแหลม

เข่ียสปอร์ของราจากแผลท่ีแสดงอาการผลเน่ามาตรวจดใูต้กล้องจลุทรรศน์

โรคแอนแทรคโนสของฝร่ัง (ภาพท่ี 1B)พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่ perithecium

รูปร่างคล้าย flask ฝังอยูใ่นเนือ้ผลฝร่ัง สร้าง ascospore ไม่มีสี เซลล์เดียวไม่มีผนงักัน้ มีลกัษณะโค้งงอเลก็น้อย

อยูภ่ายใน ascus

โรคผลจดุดําของฝร่ัง (ภาพท่ี 1D) พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของรา เรียกวา่ ascocarp

(pseudothecium) สีดํา รูปร่างกลม สร้าง ascospore ใส เซลล์เดียวไม่มีผนงักัน้ รูปไข ่ และนําไปแยกเชือ้โดย

วิธีการแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค

โรคราดําบนใบมะกรูด มะขามและลําไย (ภาพท่ี 1E) พบลกัษณะเส้นใยสีดําเกิดกระจดักระจายบนผิว

ด้านใต้ใบและเจริญเช่ือมกนัเป็นแผน่ใหญ่ และตรวจดตูวัอยา่งภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo พบโครงสร้าง

ท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่ perithecium มีสีดําหรือสีนํา้ตาลเข้ม รูปร่างกลม ผิวขรุขระ มีขนรอบ พบ

กระจายอยูท่ัว่ไปบนโคโลนีของเชือ้และชขูึน้มาบนใบพืช ศกึษาลกัษณะตา่ง ๆ ของ perithecium ลกัษณะของ

สปอร์และเส้นใย

โรค Tar spot ของใบโพธ์ิ (ภาพท่ี 1H) หญ้าแพรก หญ้าข้าวปล้องนก หญ้าขนนก (ภาพท่ี 1I) และหญ้า

แฝก พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราสีดําบนใบพืชและใช้ใบมีดตดัขวางชิน้สว่นพืชให้บาง ๆ หยดนํา้หรือสี

ย้อม และปิดทบัด้วยแผน่ cover slip และตรวจดลูกัษณะตา่ง ๆ ของราภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ compound

พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่ perithecium ฝังตวัอยูใ่นเนือ้เย่ือบนผิวใบพืช ภายใน perithecium

พบ paraphyses เป็นจํานวนมาก สร้าง ascospore ไมมี่สี รูปไขป่ลายมน เซลล์เดียว ไมมี่ผนงักัน้ เกิดภายใน

ascus และนําตวัอยา่งโรคมาแยกเชือ้โดยวิธีการแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค

โรครากเน่าของกล้วยไม้ Dendrobium พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราสีนํา้ตาลอมส้ม รูปร่าง

คอ่นข้างกลม บนสว่นของโคนต้นและราก มีรูปร่างกลม สีส้ม เม่ือนํามาตรวจใต้กล้องจลุทรรศน์พบโครงสร้างท่ี

Page 5: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

5

โรคใบจดุของเอือ้งดนิใบหมากพบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราสีดําบนแผล เม่ือใช้ใบมีดตดัขวาง

บนเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรคให้ได้ชิน้ท่ีบาง ๆ พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่ perithecium ฝังอยูใ่น

เนือ้เย่ือพืช ราสร้าง ascospores ไม่มีสี ไม่มีผนงักัน้ เกิดภายใน ascusและนําตวัอยา่งโรคมาแยกเชือ้โดย

วิธีการแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค

โรคใบจดุของวา่นเพชรหงึพบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราสีดําบนแผล เม่ือใช้ใบมีดตดัขวางบน

เนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรคให้ได้ชิน้ท่ีบาง ๆ พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่ perithecium ฝังอยูใ่นเนือ้เย่ือ

พืช ราสร้าง ascospores ไม่มีสี ไม่มีผนงักัน้ เกิดภายใน ascus และนําตวัอยา่งโรคมาแยกโดยวิธีการแยกรา

จากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค

โรคใบจดุมนัสําปะหลงั จากการตรวจใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo ไม่พบสปอร์หรือสว่นขยายพนัธุ์

ของราบนใบพืช จงึนําใบพืชท่ีเป็นโรคมาศกึษาโดยวิธี moist chamber บม่ไว้ท่ีอณุหภมิูห้องปฏิบตักิาร เป็นเวลา

2 วนั ตรวจดลูกัษณะตา่ง ๆ ของราภายใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ compound พบโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของ

ราเรียกวา่ pseudothecium สีนํา้ตาลดํา ราสร้าง asocspores เกิดภายใน ascus ท่ีมีผนงัเซลล์ 2 ชัน้

(bitunicate) รูปร่างคล้ายกระบอง ascospores มีผนงักัน้เซลล์ตามขวางมากกวา่ 2 อนั (phragmosporous) สี

เหลืองอมนํา้ตาล รูปร่างทรงกระบอกปลายแหลม เซลล์ตรงกลางมีความกว้างมากกวา่เซลล์อ่ืน

โรคเปลือกแตกยางไหลของแคนตาลปู (ภาพท่ี 1A) จากการตรวจใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo พบ

สว่นขยายพนัธุ์ราบนเนือ้เย่ือพืช เม่ือใช้ใบมีดตดัขวางบนเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรคให้ได้ชิน้ท่ีบาง ๆ พบโครงสร้างท่ีให้

กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่ pseudothecium ฝังอยูใ่นเนือ้เย่ือพืช ราสร้าง ascospores รูปไข ่ไม่มีสี มี 2 เซลล์

เกิดภายใน ascus และยงัพบรา Ascochyta cucumis :ซึง่เป็นระยะสืบพนัธุ์แบบไมใ่ช้เพศเจริญอยูร่วมกนักบั

สว่นท่ีเป็นโรค 2.3 ผลการศึกษาราที่แยกจากเนือ้เย่ือพืชที่เป็นโรค (Tissue transplanting) ผลการแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค โดยแยกจากสว่นท่ีเป็นโรคผลเน่าของฝร่ัง 2 อาการ คืออาการผล

จดุดํา และแอนแทคโนส โรคใบจดุของลิน้จ่ี โรคใบจดุของเอือ้งดนิใบหมาก โรคใบจดุของวา่นเพชรหงึ อาการ

ผลจดุส้มโอ โรค Tar spot ของหญ้า 3 ชนิด โรคโคนเน่ารากเน่าของกล้วยไม้ Dendrobium (ตารางท่ี 2)

ลกัษณะของโคโลนีราท่ีแยกได้โดยวิธีนีมี้ดงันี ้

โรคแอนแทรคโนสของฝร่ัง โคโลนีบนอาหาร PDA สีเทาดํา ราเจริญเตม็จานอาหารเลีย้งเชือ้เม่ืออาย ุ7

วนั พบกลุม่ของสปอร์เป็นเมือกสีส้ม กระจายอยูท่ัว่ไป

โรคผลจดุดําของฝร่ัง โคโลนีบนอาหาร PDA มีดําอมเขียว สร้างกลุม่เส้นใยหนาแน่น และเจริญช้า ขอบ

โคโลนีหยกั

โรคใบจดุของลิน้จ่ี โคโลนีบนอาหาร PDA มีเทาดํา ราเจริญเตม็จานอาหารเลีย้งเชือ้เม่ืออาย ุ7 วนั

โรคใบจดุของเอือ้งดนิใบหมาก โคโลนีบนอาหาร PDA สีเทาดํา ราเจริญเตม็จานอาหารเลีย้งเชือ้เม่ือ

อาย ุ5 วนั พบกลุม่ของสปอร์เป็นเมือกสีส้ม

Page 6: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

6

โรคใบจดุของวา่นเพชรหงึ โคโลนีบนอาหาร PDA สีเทาดํา ราเจริญเตม็จานอาหารเลีย้งเชือ้เม่ืออาย ุ5

วนั พบกลุม่ของสปอร์เป็นเมือกสีส้ม

2.4 การจาํแนกรา Class Ascomycetes ผลการศกึษาลกัษณะตา่ง ๆ ของราและโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราโดยการศกึษาราโดยตรงจาก

เนือ้เย่ือพืช การทํา moist chamber การแยกราโดยวิธีแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรค และจากการศกึษา

ลกัษณะทางสณัฐานวิทยาของเชือ้พบราทัง้หมด 35 สายพนัธุ์ (isolate) จดัอยูใ่น 4 อนัดบั (orde) 8 วงศ์

(Family) โดยจําแนกได้ 10 สกลุ (genera) 15 ชนิด (species) และราท่ีไม่สามารถจําแนกชนิดได้ (unidentified

species) 5 ชนิด (ตารางท่ี 1) โดยมีการจดัจําแนกดงันี ้Order Dothideales Family Capnodiaceae

Phragmocapnias betle

Family Leptosphaeriaceae

Leptosphaereia sp.

Family Mycosphaerellaceae

Guignardia citricarpa

Guignardia psidii

Mycosphaerella musicola

Mycosphaerella sp.1

Mycosphaerella sp. 2

Family Pleosporaceae

Leptosphaerulina sp.

Incertae sedis

Didymella bryoniae Order Hypocreales Family Nectriaceae

Haematonectria haematococca Order Meliolales Family Meliolaceae

Meliola butleri

Meliola dimorcarpi

Meliola tamarindi

Order Phyllachorales Family Phyllachoraceae

Page 7: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

7

Glomerella cingulata

Phyllachora bambusae

Phyllachora cynodontis

Phyllachora digitariae

Phyllachora graminis

Phyllachora repens

Phyllachora sp.

อาการผลจดุส้มโอ โคโลนีบนอาหาร PDA สีนํา้ตาลดํา สร้างโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราเรียกวา่

pseudothecium ผนงัชัน้นอกหนา สีนํา้ตาล สร้าง ascus อยูภ่ายใน มีผนงั 2 ชัน้ ผนงั ascus หนา มี

ascospores 8 อนั เกิดอยูภ่ายใน ascus ascospores ไม่มีสี รูปร่างคล้ายกระบองสัน้ ผนงักัน้เซลล์ของ

สปอร์มีทัง้แนวขวางและแนวยาว (dictyospore) มี 5 เซลล์ และมีผนงักัน้เซลล์ตามยาว กัน้เซลล์ตรงกลาง1-2

เซลล์ จากการศกึษาครัง้นีไ้ม่พบราบนผลแตไ่ด้จากการแยกเชือ้โดยวิธีการแยกราจากเนือ้เย่ือพืชท่ีเป็นโรคเทา่นัน้

โรคจดุดําบนผลส้มโอจากการศกึษาครัง้นีไ้ด้ทําการแยกเชือ้และศกึษาลกัษณะตา่ง ๆ จากแผลท่ีมีจดุดํา

อยูต่รงกลางเท่านัน้ จากการตรวจใต้กล้องจลุทรรศน์แบบ stereo และ compound พบวา่จดุดําท่ีอยูต่รงกลาง

แผล เป็นโครงสร้างท่ีให้กําเนิดสปอร์ของราท่ีเรียกวา่ pycnidia และมี conidia เกิดอยูภ่ายใน ผลการศกึษาการ

แยกเชือ้สาเหตโุรคจดุดํา โดยนําสว่นของผลส้มโอท่ีแสดงอาการโรคมาทําการแยกเชือ้บนอาหารสงัเคราะห์ PDA

จํานวนอยา่งละ 40 ชิน้ พบวา่การแยกเชือ้สาเหตโุรคจากผลเบือ้งต้นบนอาหาร PDA พบราท่ีมีโคโลนีสีเทาดํา

เทา่กบั 75 เปอร์เซ็นต์ สว่นท่ีเหลือพบการปนเปือ้นของแบคทีเรีย เน่ืองจากอาจเป็นเพราะการซบัชิน้สว่นพืชด้วย

กระดาษกรองนัน้ไม่แห้ง หรือเกิดการปนเปือ้นจากเคร่ืองมือหรือเทคนิคการปฏิบตังิาน

โรคใบจดุดํา (Tar spot) ของใบโพธ์ิ หญ้าแพรก หญ้าข้าวปล้องนก หญ้าขนนกและหญ้าแฝก โคโลนี

บนอาหาร PDA สีเทาดํา แตไ่ม่พบการสร้าง ascospore บนอาหาร PDA และกําลงัอยูใ่นระหวา่งดําเนินการชกั

นําให้สร้าง ascospore บนอาหาร

โรคโคนเน่ารากเน่าของกล้วยไม้ Dendrobium โคโลนีบนอาหาร PDA สีชมพอูมแดง เจริญใต้อาหาร

เลีย้งเชือ้

1สรุปผลการทดลองและวิจารณ์ เก็บตวัอยา่งโรคพืชสาเหตเุกิดจากรา Class Ascomycetes 62 ตวัอยา่ง จากพืชทัง้หมด 21 ชนิด ใน

จงัหวดัตา่ง ๆของประเทศไทย ได้ราทัง้หมด 35 สายพนัธุ์ โดยจําแนกได้ 10 สกลุ 15 ชนิด และ Unidentified

species 5 ชนิด ได้แก่ Didymella bryoniae, Haematonectria haematococca, Glomerella cingulata,

Guignardia citricarpa, Guignardia psidii, Meliola butleri, Meliola dimorcarpi, Meliola tamarindi,

Mycosphaerella musicola, Phragmocapnias betle, Phyllachora bambusae, Phyllachora cynodontis,

Phyllachora digitariae, Phyllachora graminis, Phyllachora repens และราท่ีไม่สามารถจําแนกชนิดได้ 5

Page 8: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

8

ตารางที่ 1 จําแนกเชือ้สาเหตบุนพืชอาศยัตา่งจากแหลง่ตา่ง ๆ ในประเทศไทย ระหวา่งเดือนตลุาคม

2546 – กนัยายน 2551

เชือ้สาเหตุ ระยะสืบพันธ์ุแบบไม่ใช้เพศ พืชอาศัย

Didymella bryoniae Ascochyta cucumis แตงแคนตาลปู

Glomerella cingulata Colletotrichum gloeosporioides ฝร่ัง

ส้มเขียวหวาน

วา่นเพชรหงึ

เอือ้งดนิใบหมาก

Guignardia citricarpa Phyllosticta citricarpa ส้มโอ

Guignardia psidii Phyllosticta psidiicola ฝร่ัง

Leptosphaeria sp. ไม่พบ มนัสําปะหลงั

Leptosphaerulina sp. ไม่พบ ส้มโอ

Meliola butleri ไม่พบ มะกรูด

Meliola dimocarpi ไม่พบ ลําไย

Meliola tamarindi ไม่พบ มะขาม

Mycosphaerella musicola Pseudocercospora musae กล้วยนํา้ว้า

Mycosphaerella sp. 1 ไม่พบ บวบ

Mycosphaerella sp. 2 ไม่พบ ลิน้จ่ี

Haematonectria haematococca Fusarium solani กล้วยไม้

Phragmocapnias betle Capnodium betle กาแฟ

Phyllachora. bambusae ไม่พบ ไผเ่ลีย้ง

Phyllachora cynodontis Leptostromella หญ้าแพรก

Phyllachora digitariae ไม่พบ หญ้าข้าวปล้องนก

Phyllachora graminis ไม่พบ หญ้าขนนก

Phyllachora repens Leptostromella โพธ์ิ

Phyllachora sp. ไม่พบ หญ้าแฝก

Page 9: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

9

2เอกสารอ้างองิ

Barr, M.E. 1990. Melanomatales (Loculoascomycetes). North American Flora, Series II,

Part 13: 1-129.

Crous, P.W. 1998. Mycosphaerella spp. And Their Anamorphs Associated with Leaf Spot

Diseases of Eucalyptus. APS Press, The American Phytopathological Society, St.

Paul, Minnesota, 170 pp.

Ellis, M.B. 1971. Dematiaceous Hyphomycetes. Commonwealth Mycological Institute, Kew,

UK. 608 pp.

Ellis, M.B. 1993. More Dematiaceous Hyphomycetes. Commonwealth Mycological Institute,

Kew, UK. 507 pp.

Hanlin, R.T. 1992. Illustrated Genera of Ascomycetes. APS Press, The American

Phytopathological Society, St. Paul, Minnesota, 263 pp.

Hanlin, R.T. 1998. Illustrated Genera of Ascomycetes Volume II. APS Press, The American

Phytopathological Society, St. Paul, Minnesota, 258 pp.

Hyde, K.D., J.E. Taylor and J. Fröhlich. 2000. Genera of Ascomycetes from Palms. Fungal

Diversity Press, Hong Kong, 247 pp.

Sharma, O.P. 1998. Textbook of Fungi. Tata McGraw-Hill Publishing Company Limited, New

Delhi, 365 pp.

Shivas, R., and D. Beasley. 2003. Workshop Manual & Reference: Plant Pathogenic

Ascomycetes, pp. 305. In Plant Pathogenic Ascomycetes Workshop, 7-9 May 2003, Dunwish,

North Strabroke Island.

Sivanesan, A. 1984. The Bitunicate Ascomycetes and Their Anamorphs. Germany,

Braunschweig, J. Cramer, 710pp.

Sutton, B.C. 1980. The Coelomycetes. Commonwealth Mycological Institute, Kew, UK.

253 pp.

Page 10: อนุกรมวิธานราสาเหตุโรคพืช Class ...lib.ku.ac.th/KUCONF/data52/KC4701057.pdfศ กษาล กษณะอาการของราสาเหต

10

ภาพที่ 1: แสดงลกัษณะอาการของโรคท่ีเกิดจากรา Class Ascomycetes

A) โรคเปลือกแตกยางไหลของแตงแคนตาลปู B) โรคผลเน่าแอนแทรคโนสของฝร่ัง C) โรคจดุดําของส้มโอ D) โรคผลเน่าจดุดําของฝร่ัง E) โรคราดําของลําไย

โรคราดําของกาแฟ G) โรคใบจดุกล้วย H) โรคจดุดําใบโพธ์ิ I) โรคจดุดําหญ้าขนนก F)