19
การบริหารจัดการและกลยุทธในการพัฒนาโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ : กรณีศึกษา โรงเรียนเกษตรกรขาว อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Management and Strategic Development of Farmer Field School under the Royal Initiation : Case Study of the Rice Farmer Field School in Lat Bua Luang District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province วัชรพัฒน อินวรรณา และ ธันวา จิตตสงวน Watcharapat Inwanna and Thanwa Jitsanguan บทคัดยอ ในโครงการพัฒนาใดๆก็ตาม ควรจะมีการประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ดําเนินงานเพื่อปรับปรุงใหเกิดแนวทางพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป การศึกษาโครงการในครั้งนี้จึงไดเลือก กรณีศึกษา โรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาศึกษาเพื่อใหทราบถึงเหตุผลของ ความสําเร็จ ซึ่งขอมูลที่ใชในการวิเคราะหครั้งนี้ไดมาจากการเก็บรวบรวม ตัวอยางจากเกษตรกร จํานวน 55 ตัวอยางและเจาหนาทีที่เกี่ยวของจํานวน 10 ตัวอยาง ในฤดูกาลเพาะปลูก .. 2545 และ .. 2548 ซึ่งไดนําหลักการของระบบวัดผลดุลยภาพ และการวิเคราะหกลยุทธ มาปรับประยุกตใชเพื่ออธิบายถึง วัตถุประสงค วาการบริหารจัดการและกลยุทธในการพัฒนา โรงเรียนเกษตรกร ในพระราชดําริ ประสบ ความสําเร็จไดอยางไร ผลการศึกษาพบวาการพัฒนาโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณและ พื้นที่แปลงทดลอง จากมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งในการถายทอดความรูสูเกษตรกรนั้น กรมสงเสริมการเกษตร เปนผู รับผิดชอบโครงการ การประเมินโครงการโรงเรียนเกษตรกรในครั้งนี้ไดใชขอมูลของฤดูกาลเพาะปลูก . . 2545 และ . . 2548 มาเปรียบเทียบ ปรากฏวาเกษตรกรมีความพึงพอใจมากในความรูที่เพิ่มขึ้น จากการอบรมตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เกษตรกรไดรับคําแนะนําดานวิชาการจากเจาหนาทีใน การเรียนรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร สงผลใหเกษตรกรมีสุขภาพดีขึ้น เนื่องจากเกษตรกรใชสารเคมี ในการกําจัดศัตรูพืชลดลง อยางไรก็ตาม ในสวนของชองทางการจําหนายผลผลิตของเกษตรกรนั้น ยังไมมี ประสิทธิภาพเทาที่ควร เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้ง 2 ปนั้น มีจํานวนผูเขาอบรมที่ใกลเคียงกัน เนื่องจาก งบประมาณที่ไดรับนั้นมีจํากัด และผลตอบแทนในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ยังอยูในระดับนอย เกษตรกร จํานวนมากมีความตองการที่จะเรียนรูหลักสูตรที่มีความหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งความรูที่จะชวยเพิ่ม ผลผลิตในนาขาวการประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในแปลงนาขาวของเกษตรกร มีสวนสําคัญที่สงผลให สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศดีขึ้น สวนในดานการจัดการดานการเงินนั้น เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการ จัดทําบัญชี รายรับ-รายจาย เพิ่มขึ้น เพื่อใหทราบถึงภาระหนี้สินครัวเรือน และเมื่อมีการเปรียบเทียบจะพบวา เกษตรกรมีตนทุนในการผลิตลดลง มีรายไดเพิ่มขึ้น อันสงผลใหเกษตรกรมีกําไรจากผลผลิตเพิ่มขึ้นตามไป ดวย 1

Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

การบรหิารจดัการและกลยุทธในการพฒันาโรงเรยีนเกษตรกรในพระราชดําริ : กรณศีึกษา โรงเรียนเกษตรกรขาว อําเภอลาดบวัหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Management and Strategic Development of Farmer Field School under the Royal Initiation :

Case Study of the Rice Farmer Field School in Lat Bua Luang District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province

วัชรพัฒน อินวรรณา และ ธันวา จิตตสงวน

Watcharapat Inwanna and Thanwa Jitsanguan

บทคัดยอ ในโครงการพัฒนาใดๆก็ตาม ควรจะมีการประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ

ดําเนินงานเพื่อปรับปรุงใหเกิดแนวทางพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป การศึกษาโครงการในครั้งนี้จึงไดเลือก กรณีศึกษา โรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาศึกษาเพื่อใหทราบถึงเหตุผลของความสําเร็จ ซึ่งขอมูลที่ใชในการวิเคราะหคร้ังนี้ไดมาจากการเก็บรวบรวม ตัวอยางจากเกษตรกร จํานวน 55 ตัวอยางและเจาหนาที่ ที่เกี่ยวของจํานวน 10 ตัวอยาง ในฤดูกาลเพาะปลูก ป พ.ศ. 2545 และ ป พ.ศ. 2548 ซึ่งไดนําหลักการของระบบวัดผลดุลยภาพ และการวิเคราะหกลยุทธ มาปรับประยุกตใชเพื่ออธิบายถึงวัตถุประสงค วาการบริหารจัดการและกลยุทธในการพัฒนา โรงเรียนเกษตรกร ในพระราชดําริ ประสบความสําเร็จไดอยางไร

ผลการศึกษาพบวาการพัฒนาโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณและพื้นที่แปลงทดลอง จากมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งในการถายทอดความรูสูเกษตรกรนั้น กรมสงเสริมการเกษตร เปนผูรับผิดชอบโครงการ การประเมินโครงการโรงเรียนเกษตรกรในครั้งนี้ไดใชขอมูลของฤดูกาลเพาะปลูก ป พ.ศ. 2545 และ ป พ.ศ. 2548 มาเปรียบเทียบ ปรากฏวาเกษตรกรมีความพึงพอใจมากในความรูที่เพิ่มขึ้นจากการอบรมตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เกษตรกรไดรับคําแนะนําดานวิชาการจากเจาหนาที่ ในการเรียนรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร สงผลใหเกษตรกรมีสุขภาพดีขึ้น เนื่องจากเกษตรกรใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชลดลง อยางไรก็ตาม ในสวนของชองทางการจําหนายผลผลิตของเกษตรกรนั้น ยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้ง 2 ปนั้น มีจํานวนผูเขาอบรมที่ใกลเคียงกัน เนื่องจากงบประมาณที่ไดรับนั้นมีจํากัด และผลตอบแทนในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ยังอยูในระดับนอย เกษตรกรจํานวนมากมีความตองการที่จะเรียนรูหลักสูตรที่มีความหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งความรูที่จะชวยเพิ่มผลผลิตในนาขาวการประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในแปลงนาขาวของเกษตรกร มีสวนสําคัญที่สงผลใหส่ิงแวดลอมในระบบนิเวศดีขึ้น สวนในดานการจัดการดานการเงินนั้น เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการจัดทําบัญชี รายรับ-รายจาย เพิ่มขึ้น เพื่อใหทราบถึงภาระหนี้สินครัวเรือน และเมื่อมีการเปรียบเทียบจะพบวาเกษตรกรมีตนทุนในการผลิตลดลง มีรายไดเพิ่มขึ้น อันสงผลใหเกษตรกรมีกําไรจากผลผลิตเพิ่มขึ้นตามไปดวย

1

Page 2: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

จากการศึกษาในครั้งนี้มีขอเสนอแนะ คือ ควรจะสนับสนุนและขยาย โครงการโรงเรียนเกษตรกรใหครอบคลุมทุกพื้นที่ทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพื้นที่จังหวัดอื่นๆทั่วประเทศ จัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนใหเปนหลักสูตรที่เรงรัดขึ้น ใชระยะเวลาในการอบรมไมนาน ตามความตองการของเกษตรกรในแตละพื้นที่ ในดานอื่นๆนั้น การมีสวนรวมของผูที่เกี่ยวของทุกฝาย จะเปนปจจัยแหงความสําเร็จของโครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดํารินี้

ABSTRACT Since any development project should be evaluated in the efficiency and effectiveness of

its implementation towards the sustainability, this study then selects the case of Farmer Field School Project under the Royal Initiation in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province to be investigated. Data derived for the analysis are collected from 55 sampled farmers together with 10 involved government officers during the crop year 2002 and 2005. Balanced Scorecard and SWOT techniques are employed as the main methodologies to explain the main objective that how the results from management and strategic development of such training school are all about.

The study found that the development of Farmer Field School under the Royal Initiation was supported in budget and experimental plots from Chaipattana foundation. Lessons learned from the school to the student farmers would then be transferred to the real life farming under the responsibility of Department of Agricultural Extension. Evaluation of the project comparing between the 2002 and 2005 crop year revealed that farmers were with higher appreciation due to more knowledge gained and better practice at their farms. Academic advices from officers are proved very practical to farmers as well as farmers’ health are seen improved from chemical reduction. Farm output distribution and marketing channel, however, were still not much effective. Number of participated farmers were almost the same for the two periods due partly to the annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive to officers. Demand for more and diverse lessons to be learned from the school were found in many farmers especially those knowledge that could complement the paddy production. Appropriate technologies were finally applied to the field which helped create the better environment quality to the areas. Most importantly, financial statement of the farmers through recorded farm accounting was found in the better status when comparing the increasing income and decreasing cost, and so increasing net profit, of their farm occupation. . This study, therefore, suggested the extension of farmer field school to cover wider areas of the Phra Nakhon Si Ayutthaya Province as well as other provinces in the country. Construction of more precise and shorter lessons should be encouraged to meet the real demand of farmers of each area. In general, full participation of every involved party is supposed to be the core success factor of this government project.

2

Page 3: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

Key Word: Management and Strategic Development, Farmer Field School, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province

W Inwanna: inwanna9 @ hotmail.com

ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900

Department of Agricultural and Resource Economics. Faculty of Economics, Kasetsart University, Bangkok 10900

คํานํา คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไทย (ก.พ.ร.) ไดมีการกําหนดยุทธศาสตรเพื่อใหการดําเนินงาน

พัฒนาระบบราชการไทยใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการพัฒนา

ระบบราชการไทย ทั้ง 4 ประการ คือ การสรางบริการที่ดี (Good Service), การมีขีดความสามารถในการ

ทํางานที่ดี (Good Capacity), การไดขนาดหนวยงานที่ดี (Good Size) และการมีการบริหารจัดการที่ดี

(Good Governance) ซึ่งไดมีการปรับประยุกตใชกลยุทธและกรอบแนวความคิดในดานตางๆ เชน แนวคิด

เกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ (Strategic Management), แนวคิดดัชนีวัดผลดุลยภาพ (Balanced

Scorecard : BSC), แนวคิดดัชนีวัดผลการดําเนินงานหลัก (Key Performance Indicator : KPI), และการ

วิเคราะหกลยุทธองคกร (SWOT Analysis) ฯลฯ เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายในระดับตางๆ

การถายทอดความรูสูเกษตรกรในอดีตที่ผานมา เกษตรกรจะจัดใหเปนผูรับเทคโนโลยีโดยเจาหนาที่

กรมสงเสริมการเกษตรเปนผูบรรยาย รวมทั้งสนับสนุนปจจัยการผลิตโดยคาดหวังวาเกษตรกรจะนําไปปฎิบัติ

ซึ่งวิธีการดังกลาวนี้ อาจไมตรงกับความตองการที่แทจริงของเกษตรกรในแตละทองที่ เปนการผลักดัน

ความรู และเทคโนโลยีสูเกษตรกรมากกวาการกระตุนใหเกิดการรับความรูตามที่เกษตรกรตองการ และไม

ชวยใหเกษตรกรเรียนรูและพัฒนาทักษะ ในการตัดสินใจดวยตัวเกษตรกรเอง เปนผลใหเกิดปญหาที่

เกษตรกรไมไดใชเทคโนโลยีนั้นอยางยั่งยืน (กรมวิชาการเกษตร, 2545)

ในสวนของการดําเนินงานถายทอดความรูตามกระบวนการของโรงเรียนเกษตรกรขาว อําเภอลาดบัว

หลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในพื้นที่ 7 ตําบล มีการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกร 1 แหง ซึ่งไดเร่ิมจัดตั้งมา

ตั้งแตป พ.ศ. 2545 มีเกษตรกรที่ผานการเขารวมโครงการแลว จํานวน 115 คน และมีการดําเนินงานคือ การ

คัดเลือกเกษตรกรออกเปนกลุมๆละ 25 คน ที่ประกอบอาชีพอยางเดียวกันและเขารวมโครงการดวยความ

สมัครใจ โดยมีขอตกลงรวมกันวา จะมีการพบปะกันสัปดาหละ 1 ครั้ง หรือ 2 สัปดาห ตอครั้ง ตลอด

ฤดูกาลเพาะปลูก (ประมาณ 12 สัปดาห) จากผลการดําเนินงานที่ผานมาเกษตรกรที่เขารวมโครงการ

สามารถตัดสินใจในการจัดการแปลงนาไดอยางถูกตองและเหมาะสม และมีการติดตามสถานการณในแปลง

นาที่ผานการวิเคราะหจนไดขอสรุปในแปลงนารวมกัน แตอยางไรก็ตามการดําเนินงานโครงการดังกลาว ยัง

ไมมีการศึกษาถึงผลการบริหารจัดการและกลยุทธในการพัฒนาองคกรโรงเรียนเกษตรกร อําเภอลาดบัวหลวง

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3

Page 4: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ดังนั้นการศึกษาถึงผลการบริหารจัดการและกลยุทธในการพัฒนาองคกร โรงเรียนเกษตรกรขาว

อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงนับวามีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพื่อใหทราบถึง

กระบวนการ การจัดการและการถายทอดเทคโนโลยีและภูมิปญญาชาวบาน ตามแนวทางของโรงเรียน

เกษตรกร สูเกษตรกร อยางถูกตอง และเหมาะสม ชวยใหเกษตรกรไดเรียนรูในการที่จะลดการใชสารเคมีใน

การกําจัดแมลงและศัตรูพืชเพื่อยกระดับรายไดและการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน อีกทั้งยังสามารถเสนอแนะ

กลยุทธ เพื่อพัฒนาองคกร ใหมีความเขมแข็ง และสามารถนําไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม

ได หากการศึกษาในครั้งนี้พบวามีแนวทางในการจัดการที่ถูกตอง กอใหเกิดผลสําเร็จ ก็สามารถที่จะเปน

แบบอยางใหกับทางโรงเรียนเกษตรกรอื่นๆ หรือหนวยงานตางๆที่มีความสนใจ นําไปประยุกตใชใหเกิด

ประโยชน ตอองคกร ไดอยางดียิ่ง

วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาหลักการและแนวทาง การดําเนินงานของโรงเรียนเกษตรกร ในพระราชดําริ

2. เพื่อวิเคราะหและประเมินผลสําเร็จของ โรงเรียนเกษตรกรขาว อําเภอลาดบัวหลวง

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยประยุกตใชกับดัชนีวัดผลดุลยภาพ ( Balanced Scorecard : BSC)

3. เพื่อเสนอแนะกลยุทธ การดําเนินงานของโรงเรียนเกษตรกร ในพระราชดําริ โดยประยุกตใชกับการวิเคราะหกลยุทธองคกร (SWOT Analysis)

การตรวจเอกสาร สําหรับงานศึกษาในประเทศไทย สุวรรณา และ อัจฉรี (2543 อางถึงใน ปยะทัศน, 2545: 10-11) ได

ทําการวิเคราะหถึงผลประโยชนเบื้องตนจากการมีโครงการโรงเรียนเกษตรกร ของการปลูกขาวนาป ในภาค

กลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ปการเพาะปลูก 2540/41 โดยใชคาเฉลี่ย สวน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน และความถี่ของขอมูลเปนวิธีหลักที่นํามาใชในการวิเคราะหขอมูลโดยการทดสอบ

สมมติฐานคาเฉลี่ย จากการใชสถิติ t-test นํามาวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบกลุมตัวอยางสองกลุม กอนและ

หลังเขารับการฝกอบรมจากโครงการโรงเรียนเกษตรกร ก็พบวาผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้น จากการจัดการพืชที่

ถูกตองมากขึ้นเชนกัน

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต (2544) ไดประเมินผลทางเศรษฐกิจและความยั่งยืนของการ

ถายทอดความรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ ในพื้นที่ 3 ภาคของประเทศไทย คือ

ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เนื่องจากเปนแหลงที่เพาะปลูกขาวที่สําคัญของประเทศ

โดยการเปรียบเทียบผลระหวางเกษตรกร 3 กลุม คือ เกษตรกรที่เขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกร

เกษตรกรที่ไมไดเขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกรแตไดรับผลกระทบทางออม และเกษตรกรกลุมควบคุมที่

ไมไดรับผลกระทบจากโครงการ พบวา ผลประโยชนดานเศรษฐกิจในระดับฟารมของโครงการโรงเรียน

เกษตรกร IPM ที่มีนัยสําคัญทางสถิติ คือ การลดลงของคาใชจายในการปองกันกําจัดศัตรูพืช ในขณะที่

4

Page 5: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

โครงการโรงเรียนเกษตรกรไมแสดงผลประโยชนดานผลผลิตตอไร และดานรายไดเหนือตนทุนเงินสด โดย

พบวา คาใชจายเฉลี่ยดานสารเคมีกําจัดศัตรูพืช ของกลุมเกษตรกรผูเขารวมโครงการหลังเขารวมโครงการ

ลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับคาใชจายกอนเขารวมโครงการ และเมื่อเปรียบเทียบกับ

เกษตรกรที่ไมเขารวมโครงการที่อยูหมูบานเดียวกันและกลุมควบคุม นอกจากนั้นเมื่อพิจารณาคาใชจายดาน

สารเคมีกําจัดวัชพืช และสารเคมีกําจัดแมลง กลุมเกษตรกรทุกกลุมมีการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชและกําจัด

แมลงมากขึ้น แตกลุมเกษตรกรที่เขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกร มีการใชสารกําจัดวัชพืชและสารกําจัด

แมลงลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ในขณะที่เกษตรกรที่ไมเขารวมโครงการมีการใชสารกําจัดวัชพืชและ

สารกําจัดแมลงลดลงนอยมาก และไมมีนัยสําคัญทางสถิติและเมื่อพิจารณาคาใชจายดานสารเคมีกําจัดหอย

กลุมเกษตรกรที่เขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกรมีการใชสารกําจัดหอยและสารกําจัดเชื้อราลดลงอยางมี

นัยสําคัญ ทางสถิติในขณะที่เกษตรกรที่ไมเขารวมโครงการมีการใชสารกําจัดหอยเพิ่มขึ้น

ปยะทัศน (2545) ไดวิเคราะหผลประโยชนทางเศรษฐศาสตรของเกษตรกรผูเขารวมโครงการ

โรงเรียนเกษตรกร จังหวัดชัยนาท ในเขตพื้นที่ ภาคกลางของประเทศไทย โดยใชการวิเคราะหความ

แปรปรวน (analysis of variance) ดวยวิธีการทดสอบสถิติ t-test เพื่อวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบดาน

เศรษฐกิจ สุขภาพอนามัย ส่ิงแวดลอม สังคม การจัดการพืชและศัตรูพืช ของเกษตรกร 3 กลุม คือ กลุม

ตัวอยางเกษตรกรที่เขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกร กลุมตัวอยาง ที่ไมไดเขารวมโครงการแตอยูในหมูบาน

เดียวกัน และกลุมตัวอยางที่ไมไดเขารวมโครงการแต อยูตางหมูบาน ในชวงกอนและหลังการมีโครงการ

ผลประโยชนทางเศรษฐกิจพบวา เกษตรกรผูเขารวมโครงการมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ คือ การลดลง

ของปริมาณและตนทุนเมล็ดพันธุ คาใชจายในการปองกันกําจัดศัตรูพืช ไดแก สารเคมีกําจัดศัตรูพืช สารเคมี

กําจัดหอย และสารเคมีกําจัดแมลง ทําใหตนทุนรวมในการผลิตลดลง ในขณะที่ผลประโยชนดานผลผลิตตอไร

ไมแตกตางกันทางสถิติ

แนวคิดดัชนีวัดผลดุลยภาพ (Balanced Scorecard : BSC)

Balance Scorecard (BSC) เปนเทคนิคที่พัฒนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1992 โดย Robert S.Kaplan

and David P.Norton จากมหาวิทยาลัยฮารวารด มีจุดมุงหมายเพื่อวัดผลการปฏิบัติงานระดับองคกรใน 4

ดาน คือ ดานลูกคา (Customers) ดานกระบวนการภายในองคกร (Internal Business Processes) ดานองคกร

(Learning and Growth) และดานการเงิน (Financial) ตอมามีการนําไปใชอยางแพรหลายในหนวยงาน

ราชการหลายประเทศ

Balanced หมายถึง ความสมดุลของจํานวนมุมมองที่ใชในการพิจารณาองคกรเวลา กําหนดปจจัย

หลักแหงความสําเร็จและตัวชี้วัดผลการดําเนินการหลัก เพื่อปองกันความเบี่ยงเบนและชวยใหมีการพิจารณา

องคกรจากมุมมองอยางครบถวน

Scorecard หมายถึง รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ขององคกร ซึ่งนําเสนออยูในรายงานสําหรับผูบริหาร

เพื่อใหผูบริหารสามารถติดตามความกาวหนาของการบรรลุวัตถุประสงคองคกร

5

Page 6: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไทย (ก.พ.ร.) ไดนํา Balanced Scorecard มาใชเปนกรอบ

แนวทางกําหนดปจจัยหลักแหงความสําเร็จและตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลักขององคกรในการพัฒนาระบบ

การบริหารงานแบบมุงผลสัมฤทธิ์ เพื่อประโยชนในการพิจารณาองคกรจากมุมมองอยางครบถวนทั้ง 4

มุมมองคือ

1. มุมมองดานผูมีสวนเกี่ยวของภายนอกองคกร (External Perspective)

2. มุมมองดานองคประกอบภายในองคกร (Internal Perspective)

3. มุมมองดานการเงิน (Financial Perspective)

4. มุมมองดานนวัตกรรม (Innovation Perspective)

แนวคิดดัชนีวัดผลการดําเนนิงานหลัก (Key Performance Indicator : KPI)

ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลัก เปนเครื่องมือที่ใชในการวัดความกาวหนาของการบรรลุปจจัยหลัก

แหงความสําเร็จ หรือผลสัมฤทธิ์ขององคกรโดยวัดผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับมาตรฐานหรือ

เปาหมายที่ตกลงกันไว องคกรสามารถใชผลการวัดเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององคกร

ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลักที่ดีตองมีความถูกตองเหมาะสม และสามารถโนมนาวใหทุกคนในองคกรและผู

มีสวนไดสวนเสียประโยชน ตลอดจนสาธารณชนเชื่อถือผลงานที่วัดจากตัวชี้วัดเหลานี้ คุณลักษณะของ

ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลัก เชน สามารถวัดได (Measurability) เชน ตัวชี้วัดสามารถวัดไดจริงและเมื่อ

วัดแลวไดผลออกมาตามที่กําหนดตัวชี้วัดโดยตรง เชน อุณหภูมิของน้ําวัดเปนองศาเซลเซียสหรือองศาฟาเรน

ไฮด เชนเดียวกับระยะทาง น้ําหนัก แสงสวาง ความหนาแนน ก็สามารถวัดไดโดยตรงเชนกัน ฯลฯ

การกําหนดกลยุทธโดยใช SWOT Matrix

การวิเคราะห SWOT Matrix ดวยการระบุ กลยุทธการจับคูอุปสรรค (T) โอกาส (O) จุดออน (W)

และจุดแข็ง (S) เปนเครื่องมือที่นับวามีประโยชนอยางมากในการจัดทํากลยุทธ เพื่อใหเกิดทางเลือกหลายๆ

ทาง หรือเพื่อมองกันไดหลายๆมุม สามารถนํามาใชไดทั้งในระดับบริษัทอันเปนสวนรวมและในระดับธุรกิจ

และกลยุทธที่จัดทําขึ้นมาก็ไมไดหมายความวาจะนําไปใชในขั้นปฏิบัติการทั้งหมด เพียงแตตองการแสดงให

เห็นวา การจัดทํากลยุทธมีโอกาสทําไดทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ กลยุทธในเชิงรุกที่ดี (good offense) โดย

ปราศจากกลยุทธเชิงรับที่ดี (good defense) หรือในทางกลับกันมักจะนําไปสูความพายแพเสมอ กลยุทธที่

พัฒนาขึ้นโดยการใชจุดแข็งเพื่อฉกฉวยประโยชนจากโอกาส ถือเปนกลยุทธในเชิงรุก (offense) สวนกลยุทธ

ที่ออกแบบขึ้นปรับปรุงจุดออนและในขณะเดียวกันเพื่อหลีกเลี่ยงอุปสรรคหรือขอจํากัด ก็ถือเปน กลยุทธในเชงิ

รับหรือปองกันตัว (defense)

6

Page 7: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

วิธีการวิจัย

วิธีการวิจัยแสดงใหเห็นถึงขั้นตอนและวิธีการในการศึกษาครั้งนี้ วิธีการวิจัยประกอบดวยการเก็บ

รวบรวมขอมูลและวิธีการวิเคราะหขอมูล

ประชากรที่ทําการศึกษาในครั้งนี้ แบงออกเปน 2 กลุม

1. เกษตรกรผูมีอาชีพหลัก หรืออาชีพรองในการทํานา และไดอาศัยอยูในหมูบานที่ไดมีการ

สงเสริมกิจกรรมตามกระบวนการโครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ ในพื้นที่ บานตะพังโคลน หมูที่ 1

ถึงหมูที่ 9 ตําบลลาดบัวหลวง อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งแยกออกเปนเกษตรกรที่เขา

รวมในโครงการโรงเรียนเกษตรกร ปการเพาะปลูก 2545 ซึ่งมีจํานวน 30 คน และเกษตรกรที่เขารวมในโครงการ

โรงเรียนเกษตรกร ปการเพาะปลูก 2548 ซึ่งมีจํานวน 25 คน รวมประชากรที่ทําการศึกษาทั้งสิ้น จํานวน 55 คน

2. เจาหนาที่กรมสงเสริมการเกษตร และเจาหนาที่เกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่รับผิดชอบใน

โครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ ในเขตพื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา บานตะพังโคลน ตําบลลาดบัวหลวง

อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนเจาหนาที่ซึ่งรับผิดชอบในโครงการโรงเรียนเกษตรกร ใน

ป พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2548 รวมทั้งสิ้น จํานวน 10 คน

อุปกรณและวิธีการ ผูวิจัยไดสรางเครื่องมือเปนแบบสัมภาษณ ซึ่งออกแบบภายใตกรอบแนวคิดที่เกี่ยวของคือ

1. แนวคิดดัชนีวัดผลดุลยภาพ (Balanced Scorecard : BSC)

2. แนวคิดดัชนีวัดผลการดําเนินงานหลัก (Key Performance Indicator : KPI )

3. แนวคิดการวิเคราะหกลยุทธองคกร (SWOT Analysis)

ลักษณะขอคําถามเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) โดยใชมาตรวัดแบบมีทางเลือกตอบได 5

ระดับ โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี้

5 หมายถึง มีความสําคัญมากที่สุด มีคา 5 คะแนน

4 หมายถึง มีความสําคัญมาก มีคา 4 คะแนน

3 หมายถึง มีความสําคัญปานกลาง มีคา 3 คะแนน

2 หมายถึง มีความสําคัญนอย มีคา 2 คะแนน

1 หมายถึง มีความสําคัญนอยที่สุด มีคา 1 คะแนน

7

Page 8: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ผูศึกษาไดจัดแบงชวงคะแนน (Interval Scale) โดยใชคาเฉลี่ยเปนเกณฑในการแบง 5 ระดับดังนี้

คาเฉลี่ย = (คาคะแนนสูงสุด – คาคะแนนต่ําสุด)

จํานวนชั้น

= (5 – 1)

5

= 0.8

คาเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึง มีความสําคัญนอยที่สุด

คาเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง มีความสําคัญนอย

คาเฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายถึง มีความสําคัญปานกลาง

คาเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง มีความสําคัญมาก

คาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง มีความสําคัญมากที่สุด

8

Page 9: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ภาพที ่1 กรอบแนวความคิดการบริหารจัดการโรงเรียนเกษตรกร แบบ Balanced Scorecard

การบริหารจัดการโรงเรียนเกษตรกร

ดานความพึงพอใจของเกษตรกร

ที่เขารวมในโครงการโรงเรียนเกษตรกร

วิธีการประเมินผลความสําเร็จ

Balanced Scorecard

ดานประสิทธิภาพดานการเงิน

ดานนวัตกรรมและการพัฒนา

ดานการจัดการองคกร

9

Page 10: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ภาพที่ 2 ตัวแบบประยุกตของ Balanced Scorecard ที่ปรับใชกบัโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ

การบริหารจัดการโรงเรียนเกษตรกร

ดานความพึงพอใจของ

เกษตรกรท่ีเขารวมในโครงการดานการจัดการองคกร ประสิทธิภาพดานการเงิน นวัตกรรมและการพัฒนา

2. ประสิทธิภาพดานการผลิต

1. การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน 1. การจัดทําบัญชี รายรับ - รายจาย

2. สิ่งแวดลอม

5. การสรางวิทยากรสนาม

4. เทคโนโลยีการผลิต

3. เทคโนโลยีสารสนเทศ3.หนี้สินครัวเรือนของเกษตรกร

1. ความรูท่ีไดรับจากการอบรม

2. การบริการจากหนวยงานตางๆ

4. สุขภาพ

3. ชองทางการตลาด

1. เกษตรกรเขารวมโครงการ

จํานวนเพ่ิมขึ้น

3. กระบวนการทํางาน

2. ความรูความสามารถ

ของวิทยากรผูถายทอด

4. ขวัญและกําลังใจ

วิธีการประเมินผลความสําเร็จ

Balanced Scorecard

10

Page 11: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ตารางท

ี ่1 การประยุกตดานความพ

ึงพอใจของเกษต

รกรที่เขารวมในโครงการโรงเรีย

นเกษ

ตรกรในพระราชดําริแบบ

อิงตัวชี้วัด

KPI

/ BS

C

ผลผลิ

ต (O

utpu

t) ผล

ลัพธ

(Out

com

e)

ผลสัม

ฤทธิ์

(Res

ult)

วัตถุป

ระสง

ค / ก

ิจกรรม

ตัวชี้ว

ัด (K

PIs)

ตัว

ชี้วัด

(KPI

s)

1. ความรูที่ไดรับจากการอบรม

ระดับความรูของเกษต

รกรที่เพิ่มขึ้น

% การรวมกลุมของเก

ษตรกรเพ

ื่อ เกษต

รกรสามารถนําความรูที่ได

แลกเปลี่ยนความรูระหวางเกษตรกร

จากการอบรมไปประยุกตใชใหเกิด

ดวยกัน และสามารถถายทอด

ประโยชนในชีวิตประจําวันได

ความรูสูเกษต

รกรรายอื่นได

2. การบริการจากหนวยงาน ที่เกี่ยวของ

ระดับความพึงพอใจของเก

ษตรกร

ระดับความพึงพอใจของเก

ษตรกร

ระดับความพึงพอใจของสถานที่และ

เชน

เจาหนาที่จากกรมสงเสริมการเกษตร

ที่เขาไปขอรับบริการจากหนวยงาน

ตอเจาหนาที่ ที่ไปติดตองาน

การบริการ

ที่ไดรับจากหนวยงานที่

ราชการ

เกี่ยวของ

3. ชองทางการตลาดในการจําหนาย

ระดับความพึงพอใจในชองทางการ

% เกษ

ตรกรที่สามารถหาชองทาง

เกษต

รกรสามารถหาตลาดไดเองโดยไม

ผลผลิต

(โรงสีขาว, พอคาคนกลาง

) จําหนายผลผลิตของเกษต

รกร

การตลาดไดเอง

โดยไมพ

ึ่งพอคา

พึ่งพอคาคนกลาง

ซึ่งทําใหไดรับผล

คนกลาง

ประโยชนจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น

4. สุขภาพ

ระดับความพึงพอใจในสุขภาพของ

%

ของคาใชจายในการเขารับการ

เกษต

รกรมีสุขภาพรางกายที่แข็งแรง

ตัวเกษต

รกรเอ

ง รักษาพยาบาลลดลง

สมบูรณ และสามารถลดคาใชจายใน

การเข

ารับการรักษาพยาบาลได

11

Page 12: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ตารางท

ี ่2 การประยุกตดานการจัดการองคกรของโรงเรีย

นเกษ

ตรกรในพระราชดําริ แบบอิงตัวชี้วัด

KPI

/ BS

C

ผล

ผลิต

(Out

put)

ผลลัพ

ธ (O

utco

me)

ผล

สัมฤท

ธิ์ (R

esult

) วัต

ถุประสง

ค / ก

ิจกรรม

ตัวชี้ว

ัด (K

PIs)

ตัว

ชี้วัด

(KPI

s)

1. มี

เกษต

รกรเข

ารวมโครงการโรงเรีย

น จํานวนเกษ

ตรกร

ที่เขารวมโครงการ

จํานวนเกษ

ตรกร

รายใหมท

ี่ตัดสิน

เกษต

รกรเห

็นวาการเขารับการถายทอด

เกษต

รกรจํานวนเพิ่มขึ้น

โรงเรียนเกษต

รกรที่เพิ่มขึ้น

ใจเขารวมโครงการโรงเรีย

นเกษ

ตรกร

เทคโนโลยีตามกระบวนการโรงเรียน

ในโครงการตอไป

เกษต

รกรในพ

ระราชดําริมีความจําเปน

2. ค

วามรูความสามารถของวิทยากรที่จะไป

ระดับความรูความสามารถของวิทยากร

ระดับความรูของเกษต

รกรที่เพิ่มขึ้น

วิทยากรมีความรูความสามารถที่จะไป

ถายทอดใหกับเกษต

รกรในดานตางๆ

ที่เขา

ที่จะไปถายทอดสูเกษต

รกร

หลังจากที่เขารับการอบรม

ถายทอดสูเกษ

ตรกรไดเปนอยางดี ทํา

ให

รวมในโครงการโรงเรียนเกษต

รกร

เกษต

รกรสามารถนําเอาความรูที่ไดรับ

นั้นไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนได

3. กระบวนการทํางานของโรงเรียนเกษต

รกร

จํานวนโครงการ

ที่ทางหนวยงานจัด

จํานวนโครงการที่เพิ่ม

ขึ้น

หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถจัด

ฝกอบรมใหแกเกษต

รกร

ซึ่งไดจัดสนองตอความตองการของ

ฝกอบรมสนองตอความตองการของ

เกษต

รกร

เกษต

รกรไดเปน

อยางดี

4. ขวัญ

และกําลังใจของเจาหนาที่ ในการ

ระดับความพึงพอใจในคาตอบแทน

ระดับความพึงพอใจของเจ

าหนาที่

เจาหนาที่มีขวัญและกําลังใจในการ

ปฏ

ิบัติงาน

(บาท

) ของเจาหนาที่ในการปฏ

ิบัติงาน

ตอผูบังคับบ

ัญชา

ปฏ

ิบัติงานในโครงการตอไป

นอกพ

ื้นที่ และนอกเวลาราชการ

12

Page 13: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ตารางท

ี ่3 การประยุกตดานการเงิน

ของ โรงเรีย

นเกษ

ตรกรในพระราชดาํริ แบบอิงตัวชี้วัด

KPI

/ BS

C

ผลผลิ

ต (O

utpu

t) ผล

ลัพธ

(Out

com

e)

ผลสัม

ฤทธิ์

(Res

ult)

วัตถุป

ระสง

ค / ก

ิจกรรม

ตัวชี้ว

ัด (K

PIs)

ตัว

ชี้วัด

(KPI

s)

1. การจัดทําบัญ

ชีรายรับ

-รายจาย

จํานวนเกษ

ตรกร

ที่ทําบัญ

ชี จํานวนเกษ

ตรกร

ที่เพิ่มขึ้น

เกษต

รกรสามารถตรวจสอบ

รายรับ-รายจาย

ในการจัดทําบัญชี รายรับ-รายจาย

รายรับ

- รายจายเพื่อปองกันการ

รั่วไหลทางดานการเงิน

2. ประสิทธิภาพดานการผลิต

กําไรจากการผลิต

/ ไร

กําไรจากผลผลิตที่เพิ่ม

ขึ้น /ไร

เกษต

รกรมีกําไรจากการผลิต

/ ไรที่เพิ่มขึ้น

3. หนี้สินครัวเรือ

นของเกษต

รกร

ระดับภาระหนี้สินของเก

ษตรกร

% ของหนี้สิน

/ทรัพยสิน ที่ลดลง

เกษต

รกรมีหนี้สินครัวเรือนที่ลดลง

13

Page 14: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ตารางท

ี่ 4 การประยุกตดานนวัตกรรมและการพัฒ

นา ของโรงเรียนเกษต

รกรในพ

ระราชดําริ

แบบ

อิงตวัชี้วัด

KPI

/ BS

C

ผลผลิ

ต (O

utpu

t) ผล

ลัพธ

(Out

com

e)

ผลสัม

ฤทธิ์

(Res

ult)

วัตถุป

ระสง

ค / ก

ิจกรรม

ตัวชี้ว

ัด (K

PIs)

ตัว

ชี้วัด

(KPI

s)

1. การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน

ระดับการใชสารเคมีท

ี่ลดลง

%

ของเกษต

รกรที่เพิ่มขึ้น ที่หันม

า เกษต

รกรมีการใชสารเคมีในนาขาว

ใชการถายทอดเทคโนโลยี แบบ

IPM

ที่ลดลง

2. สิ่งแวดลอม

ระดับการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในนาขาว

%

การใชยาปราบศัตรูพืชที่ลดลง

เกษต

รกรใชยาปราบศ

ัตรูพืชลดลงสงผล

ในระบบ

นิเวศ

เนื่องจากใชระบบน

ิเวศเปน

ตัว

ใหสภาพแวดลอมและสุขภาพของ

ปราบศัตรูพืชตามธรรมชาติ

เกษต

รกรดีขึ้น

3. เทคโนโลยีสารสนเทศ

ระดับ

ความรูของเก

ษตรกรในการใช

% ของอุปกรณเทคโนโลยีที่ให

เกษต

รกรมีความรูในการใชอุปกรณ

สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

บริการแกเกษ

ตรกรในการสืบคน

เทคโนโลยีสารสนเทศ

มาปรับใชใหเกิด

ขอมูล

ประโยชนตองาน

4. เทคโนโลยีการผลิต

ระดับ

ความรูของเก

ษตรกรในการใช

% ของเครื่องจักรที่เกษ

ตรกรนํา

เกษต

รกรสามารถนําเครื่องจักรมาใชใน

เทคโนโลยีการผลิต

มาใชในการทําการเพาะปลูก

การเพ

าะปลูกไดอยางถูกตองและ

เหมาะสมเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

5. การสรางวิทยากรสนาม

(ToT

) จํานวนวิทยากร (คน

) ที่ผานการ

จํานวนวิทยากร (คน

) ที่ผานการ

สามารถสรางวิทยากรที่ม

ีความรูความ

อบรมโครงการสรางวิทยากร T

oT

อบรมในโครงการสรางวิทยากร

สามารถในการถายทอดความรู ไป

สู

( T

raini

ng o

f Tra

inner

) ในรุนตอไป

เกษต

รกรใหเพีย

งพอกับความตองการ

ของเก

ษตรกร

14

Page 15: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

จุดแข็ง จุดออน S1. วิทยากรมีความรูความสามารถ

ในการถายทอดกระบวนการเรียนรูตามแนวทาง โรงเรียนเกษตรกร S2. เกษตรกรไดเรียนรูแบบมีสวนรวม พิสูจนทราบไดดวยตนเอง และสามารถนําไปปฏิบัติไดดวยตนเอง S3. กําไรจากผลผลิต ตอไรเพิ่มขึ้น (ไมใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช)

W1. งบประมาณในการจัดการโรงเรียนเกษตรกรมีไมเพียงพอ W2. กระบวนการโรงเรียนเกษตรกรตองใชเวลาในการเรียนรูตลอดฤดูเพาะปลูกและใชเวลาตอเนื่อง W3. เจาหนาที่จากกรมสงเสริมการเกษตรยังมีไมเพียงพอตอความตองการของเกษตรกร

โอกาส O1. การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน เปนแนวทางเลือกอีกทางหนึ่งที่ลดการใชสารเคมี โดยคํานึงถึง ส่ิงแวดลอม และตัวเกษตรกรเอง O2. ประชาชนหันมาใสใจในสุขภาพมากขึ้น เปนโอกาสของเกษตรกรผูเพาะปลูกขาวโดยไมใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช O3. สามารถรองรับเปนยุทธ-ศาสตรชาติในเรื่องของการผลิตอาหารปลอดภัย และ เสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขัน

- ใชกลยุทธ ใหภาครัฐบาลสนับสนุนเปนยุทธศาสตร ของชาติ (S2, O3)

- สรางวิทยากรเพิ่มขึ้น (S1, S2, O1, O2)

- หางบประมาณจากแหลงสนับสนุนอื่นๆ เชน งบทางจังหวัด, งบองคการบริหารสวนตําบล (W1, O3) -จัดหลักสูตรเรงรัดที่ใชเวลาระยะสั้นๆ พรอมมอบใบประกาศนียบัตรแกผูผานการอบรม (W2, O2)

อุปสรรค T1. อัตราคาตอบแทนในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ยังนอยอยู T2. มีการโฆษณาและจัดจําหนายสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชอยางแพรหลาย T3. เกษตรกรยังไมคอยใหความรวมมือเทาที่ควร เนื่องจากยังเคยชินอยูกับการปฏิบัติเดิม ๆ

- สาธิตแปลงเพาะปลูกที่เห็นผลจริงและนําเกษตรกรไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ (S1, S2, S3, T3)

- กลยุทธการทํางานแบบมีสวนรวม (W2, T3) - สรางวิทยากรเกษตรกร (W1, W2, W3, T1, T2, T3)

ภาพที ่3 SWOT Matrix ของโรงเรียนเกษตรกร

ที่มา: จากการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค

15

Page 16: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ผลการทดลองและวิจารณ

นับตั่งแตเร่ิมดําเนินการมาในป พ.ศ. 2545 จนถึงปจจุบันโรงเรียนเกษตรกรขาว อําเภอลาดบัวหลวง

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยเฉพาะในสวนของการบริหารศัตรูพืช กรมสงเสริมการเกษตร ไดรับนโยบาย

จากกระทรวงเกษตรและสหกรณมาปฎิบัติ มีผูผานการอบรมมาแลวรวม 115 คน โดยมีมูลนิธิชัยพัฒนาเปน

ที่ปรึกษาเนื่องจากเปนโครงการในพระราชดําริและมูลนิธิชัยพัฒนาเปนผูใหงบประมาณสนับสนุนและสถานที่

สําหรับใชเปนแปลงทดลอง เนื่องจากงบประมาณที่ไดมา ใชในการจัดกิจกรรมอบรมใหแกเกษตรกรนั้นมา

จากแหลงเดียว ทําใหบางครั้งไมเพียงพอ เนื่องจากปจจุบันเกษตรกรมีความตองการที่จะเขารวมในโครงการ

โรงเรียนเกษตรกรเปนจํานวนที่เพิ่มขึ้น แตสามารถรับเกษตรกรเขารวมโครงการไดเพียงประมาณ 20- 30 คน

ตอรุนเทานั้น

ดานความพึงพอใจของเกษตรกรที่เขารวมในโครงการโรงเรียนเกษตรกร กอนการเขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกรนั้นเกษตรกรมีระดับความรูในเรื่องการจัดการศัตรูพืช

แบบผสมผสานอยูในระดับนอย แตเมื่อมาเขารวมในโครงการโรงเรียนเกษตรกรแลว เจาหนาที่จากกรม

สงเสริมการเกษตรไดอบรมใหความรูทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ อีกทั้งตัวเกษตรกรเองไดมีการแลกเปลี่ยน

ความรู ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ กับเจาหนาที่และเพื่อนเกษตรกรโดยตรง ทําใหระดับความรูของเกษตรกร

เพิ่มมากขึ้น และการเขารวมการอบรม ทั้งสิ้น จํานวน 16 ครั้ง ตอ 1 ฤดูกาลเพาะปลูก ทําใหเกษตรกรมี

ความสนิทสนมกับเจาหนาที่จากกรมสงเสริมการเกษตร ซึ่งก็เปนโอกาสที่ดีที่จะไดรับทราบขอมูล ในดาน

ตางๆ จากเกษตรกรโดยตรง เพื่อที่จะไดนํามาแลกเปลี่ยน เสนอแนะความคิดเห็นนั้น มาปรับเปล่ียนและ

แกไขใหดียิ่งขึ้น

ดานการจัดการองคกร ของโรงเรียนเกษตรกร โดยสวนใหญแลวเจาหนาที่จากกรมสงเสริมการเกษตรจะเปนผูที่รับผิดชอบโครงการโดยตรงเมื่อรับ

นโยบายมาจากทางกระทรวงเกษตรแลว ก็จะแบงงานตามสายงาน และหนาที่ ที่ตนเองสังกัดอยู ในสวนของ

โครงการโรงเรียนเกษตรกรขาว บานตะพังโคลน ตําบลลาดบัวหลวง อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะเปนผูรับผิดชอบโครงการ แตปญหาที่พบจากงานวิจัย

ในครั้งนี้พบวา งบประมาณที่จะนํามาใชในโครงการโรงเรียนเกษตรกร นั้นไมเพียงพอ อีกทั้งขาดแคลน

วิทยากรพี่เล้ียงที่จะมาถายทอดความรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร อีกทั้งเกษตรกรยังไมคอยใหความ

สนใจที่จะเขารวมในโครงการมากนัก เนื่องจากการจัดฝกอบรมใชระยะเวลาที่ยาวนาน บางครั้งเกษตรกรก็มี

ธุระ และไมสามารถหาเวลาวางมาเขารับการอบรมได ทําใหเกษตรกรไมสามารถเขารวมการอบรมไดทุกครั้งที่

มีการจัดการอบรม นับเปนการสูญเสียผลประโยชนที่มีคายิ่งทั้งตัวเกษตรกรเองและงบประมาณคาใชจาย ที่

ใชในการจัดโครงการ

16

Page 17: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ดานการเงิน จากการที่เกษตรกรไดรับการอบรมความรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรโดยวิธีผสมผสาน ทํา

ใหเกษตรกรนั้นสามารถที่จะลดการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช ทําใหตนทุนการผลิตลดลง สงผลให

เกษตรกรเหลือเงิน คาใชจายเปนจํานวนหนึ่ง แตจากการที่ผูวิจัยไดทําการสํารวจ ปรากฏวา เกษตรกรยังมี

ภาระหนี้สินเปนจํานวนมาก เพราะกูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ มาทําการลงทุน บางป

ผลผลิตก็ดี บางปก็ขาดทุน ทําใหเกิดภาระหนี้สิน ที่ติดตามมา จําเปนที่เจาหนาที่จากกรมสงเสริม

การเกษตร ควรที่จะเรงทําการสนับสนุนในสวนของโครงการโรงเรียนเกษตรกรใหครอบคลุมทุกพื้นที่ใน

ประเทศไทย เพื่อที่เกษตรกรจะไดมีทางเลือกที่จะตัดสินใจในการประกอบอาชีพ อีกทั้งรัฐบาลและหนวยงาน

เอกชนควรประสานจัดหาอุปกรณและเครื่องมือทางการเกษตรที่มีคุณภาพ ราคาที่เหมาะสม มาจัดจําหนาย

ใหแกเกษตรกร เพื่อที่จะชวยใหตนทุนทางการผลิตของเกษตรกรนั้นลดลง

ดานนวัตกรรมและการพัฒนา วิธีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานตามโครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ เปนวิธีการที่ดี

ที่จะไดชวยลดการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช เจาหนาที่ควรที่จะตองชวยกันรณรงคใหเกษตรกรหันมาใช

วิธีการนี้ในการเพิ่มผลผลิต และลดตนทุนในการผลิต ถึงแมวาบางครั้งเกษตรกรยังมีการแอบใชสารเคมีอยู

บาง ในบางแปลง และก็ยังมีเกษตรกรอีกเปนจํานวนมากที่ยังไมแนใจในวิธีการดังกลาว เจาหนาที่กรม

สงเสริมการเกษตรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของตองมีความอดทน ที่จะรอดูผลของความสําเร็จในระยะยาว และ

ตองตั้งใจปฏิบัติหนาที่โดยความตั้งใจ เพื่อวาในวันขางหนาเกษตรกรจะไดยอมรับ และหันมาปลูกขาวโดย

วิธีการตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร ทั้งประเทศ

ในสวนของเกษตรกรในพื้นที่ที่ศึกษานั้นมีความพึงพอใจในโครงการโรงเรียนเกษตรกร เพราะสามารถ

ลดตนทุนในการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช ทําใหตนทุนในการผลิตนั้นลดลง และเปนผลดีตอตัวสุขภาพ

และสิ่งแวดลอม อีกทั้งยังไดรับความรูใหมๆที่ไดรับจากการจัดอบรม แตอยากใหทางกรมสงเสริมการเกษตร

หรือเจาหนาที่ที่เกี่ยวของจัดใหมีการดูงานนอกสถานที่ ในสวนของการคัดเลือกพันธุขาวที่จะนํามาปลูก และ

ไดผลผลิตที่คุมคาตอการลงทุน จากเกษตรกรในพื้นที่อื่น ๆ ที่เขารวมตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร

และประสบความสําเร็จ เพื่อที่จะไดนําเอาความรูที่ไดรับ และเห็นผลที่เกิดขึ้นจริงมาปรับประยุกตเขากับ

พื้นที่ของตนเอง ในสวนของเจาหนาที่ที่รับผิดชอบโครงการโดยตรง อยากใหรัฐบาลสนับสนุนในงบประมาณ

ในการจัดโครงการโรงเรียนเกษตรกร และขยายโครงการโรงเรียนเกษตรกรใหครอบคลุมทั้งจังหวัด ให

หนวยงานตนสังกัดจัดฝกอบรมวิทยากรและสรางทีมวิทยากรที่มีความรูความสามารถใหเพียงพอตอความ

ตองการของเกษตรกร อีกทั้งประสานความรวมมือไปยังหนวยงานเอกชนในการที่จะแลกเปลี่ยนการฝกอบรม

และการดูงาน เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความรู และประสบการณใหกับเจาหนาที่ เพื่อที่จะไดนําเอาความรูที่

ไดรับนั้นมาปรับใชในองคกร และสามารถถายทอดใหเกิดประโยชนสูงสุดตอตัวเกษตรกรเอง

17

Page 18: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

สรุป

จากผลการดําเนินงานที่ผานมา และจากการระดมความคิดสรางแผนกลยุทธในการพัฒนาโครงการ

โรงเรียนเกษตรกรขาวในพระราชดําริ สามารถที่จะสรุปเปนประด็นกลยุทธที่สําคัญได ดังนี้

1. โครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ เปนโครงการที่ดี ซึ่งจะเปนสื่อกลางในการอบรมให

ความรูแกเกษตรกรในดานตางๆ เพื่อใหเกษตรกรไดรับขอมูลขาวสาร และเทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิตที่ดี

กวาเดิม กรมสงเสริมการเกษตรควรขยายโครงการโรงเรียนเกษตรกรใหครอบคลุมทุกอําเภอ ของจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เพื่อเปดโอกาสใหแกเกษตรกรไดเขามามีสวนรวมในการทํางาน เสนอแนะความคิดเห็น

และรวมลงมือปฏิบัติ เพื่อเปนการพัฒนาศักยภาพของตัวเกษตรกรเอง

2. สวนบริหารศัตรูพืช กรมสงเสริมการเกษตร และเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ควรขยาย

นโยบายการจัดฝกอบรมเพิ่มความรูใหแกวิทยากร เพื่อท่ีจะไดสรางวิทยากรสนามใหมีจํานวนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะ

ชวยสนับสนุนในการเผยแพรความรู และเทคโนโลยี สมัยใหม ใหกับเกษตรกรไดอยางทันทวงที เพื่อที่

เกษตรกรจะไดนําเอาความรูที่ไดรับไปปรับประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และเจาหนาที่กรมสงเสริม

การเกษตรสามารถที่จะสรางวิทยากร เกษตรกร ที่มีความรูจากการเขารับการอบรม สามารถที่จะไปถายทอด

ความรูสูเพื่อนเกษตรกร รายอื่นๆได

3. ควรจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรใหเปนหลักสูตรที่เรงรัด

ขึ้น ใชระยะเวลาในการอบรมไมนาน แตยังคงเนื้อหา สาระ และประโยชน ที่จะอบรมใหแกเกษตรกรใหมี

ความรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ

4. ควรสนับสนุนใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของและภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในดานเงิน

สนับสนุนและการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่จําเปนตอเกษตรกร และเจาหนาที่กรมสงเสริมการเกษตร

ความรวมมือในดานการจัดฝกอบรม ศึกษาดูงานนอกสถานที่ ใหความรูในดานเทคโนโลยีสมัยใหม รวมกับ

ทางเจาหนาที่จากกรมสงเสริมการเกษตร และเกษตรกรผูเขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ

18

Page 19: Management and Strategic Development of Farmer Field ...lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4507009.pdf · annual budget constraint which at the same time also resulted in the limited incentive

ขอเสนอแนะสําหรับการศกึษาครั้งตอไป

1. การศึกษาครั้งตอไปควรศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการและกลยุทธในการพัฒนาองคกร

ระหวางโรงเรียนเกษตรกรขาว ในพื้นที่ ที่ทําการศึกษาที่แตกตางกัน

2. ควรจะทําการศึกษาตอไปวา ปจจัยดานใดของเกษตรกร เชน ปจจัยดานความพึงพอใจของ

เกษตรกรที่เขารวมในโครงการโรงเรียนเกษตรกร ปจจัยดานการจัดการองคกรโรงเรียนเกษตรกร ปจจัยดาน

การเงิน ปจจัยดานนวัตกรรมและการพัฒนา เปนตน วาผลของปจจัยในดานใดที่จะสงผลตอตัวของ

เกษตรกรมากที่สุด เพื่อที่จะไดใชเปนแนวทางในการชักจูงแกเกษตรกรใหเขารวมโครงการโรงเรียนเกษตรกร

เพิ่มขึ้น

เอกสารอางอิง

กรมวิชาการเกษตร. 2545. ขอมูลสารกําจัดศัตรูพืชในประเทศไทย. กรมวิชาการเกษตร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ปยะทัศน พาฬอนุรักษ. 2545. การวิเคราะหผลประโยชนทางเศรษฐศาสตรของเกษตรกร ผูเขารวม โครงการโรงเรียนเกษตรกร: กรณีศึกษาภาคกลางของประเทศไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วีรวุธ มาฆะศิรานนท และ ณฏัฐพันธ เขจรนันทน. 2547. การใชระบบ Balanced Scorecard.

พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพธรรกมล. แปลจาก Olve, N.g., J. Roy and

M. Metter. 1999. A Practice Guide to Using the Balanced Scorecard.

John Wiley & Sons, Inc.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต. 2544. โครงการประเมนิผลทางเศรษฐกิจและความยั่งยืนของ การถายทอดความรูตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดําริ. ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สุวรรณา ประณีตวตกุล และ อจัฉรี ศัสตรศาสตร. 2543. “ทางเลือกการลดการใชสารเคมีปองกัน

กําจัดศัตรูพืช : กรณีศึกษาโรงเรียนเกษตรกร”. น.6-1 ถึง 6-9. เอกสารประกอบ

การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 38. ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตรและทรัพยากร,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

19