14
การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) 1

การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis)

1  

Page 2: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis)

1.  เปิดโปรแกรม SPSS แล้วคลิกเมนู File --> Open --> Data 2.  เลือก Directory ที่เก็บไฟล์

2  

3. คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการ ในที่นี้คือ “จส. 1000แบบ1.sav”

4. คลิกปุ่ม Open ไฟล์จะเปิดในหน้าต่าง Data Editor

2

3 4

1

Page 3: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) ต่อ

3  

5.  คลิกเมนู Analyze เลือก Scale เลือก Reliability Analysis

Page 4: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis)

4  

6.  ที่กรอบของ Descriptive for คลิกเลือกคำสั่ง Scale if item

7.  คลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่หน้าต่าง Reliability Analysis

8.  คลิกปุ่ม OK จะได้ผลออกที่หน้าต่าง Output

Page 5: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่นจาก Output Windows ของโปรแกรม SPSS

5  

จํานวนตัวอย่าง  

ค่าความเชื่อมั่นของ แบบสอบถามทั้งสุด  

จํานวนข้อของแบบสอบถาม  

ค่าความสัมพันธ์ของ���แบบสอบถามรายข้อ  

ค่าความเชื่อมั่นของแบบ���สอบถามในกรณีที่ตัดข้อ���คําถามนั้นๆ ออกแล้ว  

Page 6: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่นจาก Output Windows ของโปรแกรม SPSS

ผลลัพธ์ที่ได้มาจาก Output Windows ในโปรแกรม SPSS มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามชุดนี้เท่ากับ .7925 ถ้าต้องการให้แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเพิ่มมากขึ้นต้องพิจารณาตัดข้อคำถามในบางข้อออก โดยพิจารณาตัดจากข้อคำถามที่มีค่า Corrected Item-Total Correlation น้อยที่สุด ผลที่ได้ออกจาก Output Windows ข้างต้น ข้อคำถามที่มีค่า Corrected Item-Total Correlation น้อยที่สุด คือ .3778 เป็นข้อคำถาม “ถูกต้อง” (พอใจในความถูกต้องแม่นยำ) ดังนั้นถ้า ตัดข้อคำถามนี้ออกไปแล้วจะมีผลทำให้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเพิ่มขึ้น .8584 ขั้นตอนการตัดข้อคำถามแล้วนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นใหม่เป็นดังนี้

6  

Page 7: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่นจาก Output Windows ของโปรแกรม SPSS

7  

1.  ที่หน้าต่าง Data Editor คลิกเมาส์ที่หัวคอลัมภ์ตัวแปร “ถูกต้อง” 2.  คลิกปุ่มขวามือของเมาส์บริเวณพื้นที่ที่เลือกไว้ จะเกิดเมนูลัดขึ้น ให้เลือกตัวเลือก Clare คอลัมน์ของตัวแปร

“ถูกต้อง” จะต้องถูกลบออกไป

ตัวแปรถูกต้องจะถูกลบออกไป  

Page 8: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่นจาก Output Windows ของโปรแกรม SPSS

8  

3.  ที่เมนู Analyze เลือกคำสั่ง Scale และเลือกตัวเลือก Reliability Analysis เพื่อคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นใหม่อีกครั้ง

Page 9: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่นจาก Output Windows ของโปรแกรม SPSS

9  

4.  ที่ช่อง Items คลิกเลือกตัวเลือก “ถูกต้อง” ที่ยังค้างอยู่จากการทำงานหัวข้อที่แล้ว

5.  คลิกปุ่มลูกศร เพื่อลบตัวเลือก “ถูกต้อง” ออกจากช่อง Items

6.  คลิกปุ่ม OK จะปรากฎผลลัพธ์ที่หน้าต่าง Output

Page 10: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่นจาก Output Windows ในกรณีตัดข้อคำถามที่มีค่า Corrected-Total Correlation น้อยที่สุดออก

10  

ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งชุด หลังจากที่ได้ตัดข้อคําถาม “ถูกต้อง” ออกแล้ว จะมีค่าเพิ่มขึ้น  

Page 11: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ค่าความเชื่อมั่น

ค่าความเชื่อมั่นเท่าใดจึงจะเหมาะสมหรือยอมรับได้ เป็นเรื่องที่ตัดสินใจได้ลำบาก เพราะงานวิจัยต่างๆ มีจำนวนข้อคำถามไม่เท่ากัน แต่โดยปกติถ้าค่าความเชื่อมั่นมีค่าเกิน .80 ขึ้นไป ก็ถือว่าใช้ได้แล้ว แต่ถ้าน้อยกว่านั้นอาจจะต้องสร้างจำนวนข้อคำถามเพิ่มขึ้นจากเดิม ดังนั้นจึงขอเสนอตารางแสดงจำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม ถ้าต้องการให้ค่าความเชื่อมั่นถึงเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (.80)

11  

Page 12: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม ถ้าต้องการให้ค่าความเชื่อมั่น (.80)

ค่าความเชื่อมั่นเดิม  

จํานวนข้อที่มีอยู่เดิม  

10   15   20   25   30   35   40   45   50   55   60   65   70  

.30   93   140   187   233   280   327   373   420   467   513   560   607   653  

.32   85   128   170   213   255   298   340   383   425   468   510   553   595  

.34   78   116   155   194   233   272   311   349   388   427   466   505   544  

.36   71   107   142   178   213   249   284   320   356   391   427   462   498  

.38   65   98   131   163   196   228   261   294   326   359   392   424   457  

.40   60   90   120   150   180   210   240   270   300   330   360   390   420  

.42   55   83   110   138   166   193   221   249   276   304   331   359   387  

.44   51   76   102   127   153   178   204   229   255   280   305   331   356  

.46   47   70   94   117   141   164   188   211   235   258   282   305   329  

.48   43   65   87   108   130   152   173   195   217   238   260   282   303  

12  

Page 13: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม ถ้าต้องการให้ค่าความเชื่อมั่น (.80)

ค่าความเชื่อมั่นเดิม  

จํานวนข้อที่มีอยู่เดิม  

10   15   20   25   30   35   40   45   50   55   60   65   70  

.50   40   60   80   100   120   140   160   180   200   220   240   260   280  

.52   37   55   74   92   111   129   148   166   185   203   222   240   258  

.54   34   51   68   85   102   119   136   153   170   187   204   221   239  

.56   31   47   63   79   94   110   126   141   157   173   186   204   220  

.58   29   42   58   72   87   101   116   130   145   159   174   188   203  

.60   27   40   53   67   80   93   107   120   133   147   160   173   187  

.62   25   37   49   61   74   86   98   110   123   135   147   159   172  

.64   23   34   45   56   68   79   90   101   113   124   135   146   158  

.66   21   31   41   52   62   72   82   93   103   113   124   134   144  

.68   19   28   38   47   56   66   75   85   94   104   113   122   132  

13  

Page 14: การคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability Analysis) Analysis.pdfตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม

ตารางแสดงำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม ถ้าต้องการให้ค่าความเชื่อมั่น (.80)

ค่าความเชื่อมั่นเดิม  

จํานวนข้อที่มีอยู่เดิม  

10   15   20   25   30   35   40   45   50   55   60   65   70  

.70   17   26   34   43   51   60   69   77   86   94   103   111   120  

.72   16   23   31   39   47   54   62   70   78   86   93   101   109  

.74   14   21   28   35   42   49   56   63   70   77   84   91   98  

.76   13   19   25   32   38   44   51   57   63   69   76   82   88  

.78   11   17   23   28   34   39   45   51   56   62   68   73   79  

14  

ตัวเลขในตารางนี้ คือ จำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถามถ้าต้องการให้ค่าความเชื่อมั่นถึงเกณฑ์ที่ยอมรับได ้ (.80) สมมติว่าแบบสอบถามชุดเดิมมีข้อคำถามจำนวน 50 ข้อคำนวณค่าความเชื่อมั่นได้เท่ากับ (.70) จำนวนข้อคำถามที่ควรจะมีในแบบสอบถามชุดใหม่ ถ้าต้องการให้ค่าความเชื่อมั่นถึงเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (.80) จะเท่ากับ 86 ข้อ ซึ่งจะต้องสร้างข้อคำถามเพิ่มขึ้นจากเดิมอีก (86-50) เท่ากับ 36 ข้อ