17
1 ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ ค่าคงตัวที่อาจใช้ในการคานวณด้วยการประมาณที่เหมาะสม g = 9.80 m/s 2 e = 1.60 10 -19 C c = 3.0 10 8 m/s G = 6.67 10 -11 Nm 2 /kg 2 h = 6.6 10 -34 J.s R = 8.31 J/mol.K k B = 1.38 10 -23 J/K k E = O 4 1 = 8.99 10 9 N.m 2 /C 2 O = 8.85 10 -12 F/m N A = 6.0 10 23 /mol 1 u = 930 MeV m e = 9.11 10 -31 kg m p = 1.67 10 -27 kg log 2 = 0.301 log 3 = 0.477 In 2 = 0.693 In 10 = 2.303 = 3.1415 2 = 9.870 sin 37 = cos 53 = 0.6 cos 37 = sin 53 = 0.8 sin 30 = cos 60 = 0.5 cos 30 = sin 60 = 2 3 = 0.866 sin 45 = cos 45 = 2 1 = 0.707 ความหนาแน่นของน้= 1000 kg/m 3 อัตราเร็วเสียงในอากาศที0C = 331 m/s ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.013 10 5 Pa ตอนที1 จานวน 50 ข้อ ๆ ละ 3.0 คะแนน 1. ผลลัพธ์ของ 16.74 + 5.1 มีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ากับตัวเลขในข้อใด 1. - 3.14 2. 0.003 3. 99:99 4. 270.00 2. มาตรวัดความเร็วบนหน้าปัดรถยนต์ชี้ที่เลข 60 km/hr หมายความว่าอย่างไร 1. ขณะนั้นรถยนต์มีความเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2. ขณะนั้นรถยนต์มีอัตราเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3. ขณะนั้นรถยนต์มีความเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4. ขณะนั้นรถยนต์มีอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3. เครื่องบินลาหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง a เพื่อทะยานขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว v ถ้าเครื่องบิน ลานี้ต้องการทะยานขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว 2v โดยใช้ระยะทางวิ่งเท่าเดิม จะต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เท่าใด 1. 2v 2 2. 4v 2 3. 2a 4. 4a

ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

1

ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ ค่าคงตัวที่อาจใช้ในการค านวณด้วยการประมาณที่เหมาะสม

g = 9.80 m/s2

e = 1.60 10-19 C c = 3.0 108 m/s G = 6.67 10-11 Nm2/kg2 h = 6.6 10-34 J.s R = 8.31 J/mol.K kB = 1.38 10-23 J/K

kE = O4

1

= 8.99 109 N.m2/C2 O = 8.85 10-12 F/m

NA = 6.0 1023 /mol 1 u = 930 MeV me = 9.11 10-31 kg mp = 1.67 10-27 kg log 2 = 0.301 log 3 = 0.477 In 2 = 0.693 In 10 = 2.303 = 3.1415 2 = 9.870 sin 37 = cos 53 = 0.6 cos 37 = sin 53 = 0.8

sin 30 = cos 60 = 0.5 cos 30 = sin 60 = 2

3 = 0.866

sin 45 = cos 45 = 2

1 = 0.707 ความหนาแน่นของน้ า = 1000 kg/m3

อัตราเร็วเสียงในอากาศที่ 0C = 331 m/s ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.013 105 Pa ตอนท่ี 1 จ านวน 50 ข้อ ๆ ละ 3.0 คะแนน 1. ผลลัพธ์ของ 16.74 + 5.1 มีจ านวนเลขนัยส าคัญเท่ากับตัวเลขในข้อใด 1. - 3.14 2. 0.003 3. 99:99 4. 270.00 2. มาตรวัดความเร็วบนหน้าปัดรถยนต์ชี้ที่เลข 60 km/hr หมายความว่าอย่างไร 1. ขณะนั้นรถยนต์มีความเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2. ขณะนั้นรถยนต์มีอัตราเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3. ขณะนั้นรถยนต์มีความเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4. ขณะนั้นรถยนต์มีอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3. เคร่ืองบินล าหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง a เพื่อทะยานขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว v ถ้าเคร่ืองบิน ล านี้ต้องการทะยานขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว 2v โดยใช้ระยะทางวิ่งเท่าเดิม จะต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เท่าใด 1. 2v2 2. 4v2 3. 2a 4. 4a

Page 2: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

2

4. ในการทดลองวัดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อโลหะ วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกได้ d1 = (64 + 2) ม.ม. และ

เส้นผ่าศูนย์ กลางภายในได ้d2 = (47 + 1) ม.ม. เปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนสูงสุดของ (d1 - d2)

คือข้อใด 1. 1% 2. 5% 3. 6% 4. 18% 5. รถ A วิ่งด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. คนขับเบรกให้รถหยุดนิ่งด้วยความหน่วงคงที่ได้ภายใน 5 s รถ B ขณะที่วิ่งด้วย ความเร็ว 36 กม./ชม. คนขับก็สามารถเบรกให้รถหยุดนิ่งด้วยความหน่วงคงที่ ภาย ใน เวลา 10 sรถคันไหนจะใช้ ระยะทางในช่วงการเบรกมากกว่ากันเท่าไร 1. ระยะเบรกของAเท่ากับระยะเบรกของB 2. A ใช้ระยะทางมากกว่า B 3. B ใช้ระยะทางมากกว่า A 4. ข้อมูลไม่เพียงพอในการหาค าตอบ 6. อนภุาคหนึ่งต้ังต้นเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งด้วยความเร็วคงที่ 4 m/s ภายหลังต่อมาอีก 2 s อนุภาคอีก อันหน่ึงได้เคลื่อนจากจุดเดียวกันตามไปด้วยความเร็ว 5 m/s และมีความเร่ง 3 m/s2 อยากทราบว่า อนุภาคทั้ง 2 จะชนกันที่ไหนและเมื่อไร 1. 8 เมตร, 2 วินาที 2. 8 เมตร, 4 วินาที 3. 16 เมตร, 2 วินาที 4. 16 เมตร, 4 วินาที 7. กระสวยอวกาศล าหนึ่งพุ่งขึ้นฟ้าในแนวดิ่งด้วยความเร็วคงที่ค่าหนึ่ง เมื่อเคลื่อนที่ขึ้นไปได้ระยะหนึ่ง ก็ปลดถังเชื้อเพลิงเปล่าใบหนึ่งทิ้ง โดยกระสวยอวกาศยังคงพุ่งขึ้นต่อไปด้วยความเร็วคงเดิม กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดจากพื้นดินกับเวลาของกระสวยอวกาศ (เส้นทึบ) และถังเชื้อเพลิงที่ ถูกปลด (เส้นประ) เป็นเช่นใด 1. 2. 3. 4.

การกระจัด

เวลา

การกระจัด

เวลา

การกระจัด

เวลา

การกระจัด

เวลา

Page 3: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

3

8. กล่อง A และกล่อง B วางติดกันบนพื้นราบลื่นและมีแรงขนาด F กระท ากับกล่อง A หรือกล่อง B ดังรูป ก าหนดให้ mA mB ข้อใดถูกต้อง

1. แรงปฏิกิริยาระหว่างกล่องในกรณีที่ 1 มากกว่าแรงปฏิกิริยาระหว่างกล่องในกรณีที่ 2 2. แรงปฏิกิริยาระหว่างกล่องในกรณีที่ 1 น้อยกว่าแรงปฏิกิริยาระหว่างกล่องในกรณีที่ 2 3. แรงปฏิกิริยาระหว่างกล่องในกรณีที่ 1 เท่ากับแรงปฏิกิริยาระหว่างกล่องในกรณีที่ 2 4. ทั้งสองกรณี แรงที่กล่อง A กระท ากับกล่อง B มีค่าเท่ากับแรงที่กล่อง B กระท ากับกล่อง A และ

มีขนาดเท่ากับ F 9. วางกล่องใบหนึ่งบนรถกระบะ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างกล่องกับพื้นกระบะเท่ากับ 0.5 ถ้าต้องการเร่งความเร็วของรถกระบะจากหยุดนิ่งเป็น 20 เมตรต่อวินาทีโดยใช้เวลาให้น้อยที่สุด และกล่องไม่ไถลไปบนพื้นกระบะ จะต้องใช้เวลาเท่าใด 1. 2 วินาที 2. 4.1 วินาที 3. 9.8 วินาที 4. 40 วินาที 10. คานเหล็กสม่ าเสมอมวล 2 กิโลกรัม ยาว 2 เมตร ที่ปลายทั้งสองข้างผูกมวล 13 และ 6 kg

ถามว่าจะต้องผูกเชือกที่ต าแหน่งห่างจากปลายด้านมวล 13 กิโลกรัม เท่าใดคานจึงจะสมดุล 1. 1.33 m 2. 1.00 m 3. 0.75 m 4. 0.67 m

11. ให้กราฟระหว่างความเร็ว v และเวลา t ของการเคลื่อนที่เชิงเส้นของวัตถุเป็นดังรูป จงหาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4.5 เมตร 1. 1.0 s 2. 2.0 s 3. 3.0 s 4. 4.0 s

12. รถเข็นมวล 100 กิโลกรัม เดิมอยู่นิ่ง ถูกแรงในแนวระดับขนาด 50 นิวตัน ผลักให้เคลื่อนที่ไปบน พื้นราบ ถ้าแรงเสียดทานที่กระท าต่อรถทั้งหมดเท่ากับ 30 นิวตัน ถามว่า ถ้าแรงกระท าเป็นเวลา 12 วินาที จะท าให้รถเข็นมีความเร็วเท่าใด 1. 2.4 m/s 2. 7.2 m/s 3. 9.6 m/s 4. 14.4 m/s

A B F A B F

กรณีที่ 1 กรณีที่ 2

t(s)

/v m s

1 2 3 4

1

2

3

4

Page 4: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

4

13. กล่องมวล 2 กิโลกรัม ถูกดึงด้วยแรงคงที่ขนาด 10 นิวตัน ให้เคลื่อนที่บนพื้นราบที่ฝืดมีความ เร่งคงที่ 4 เมตรต่อวินาที2 เป็นระยะทาง 9 เมตร จงหาปริมาณงานที่แรงเสียดทานท า 1. 90 J 2. 72 J 3. 36 J 4. 18 J

14. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมระนาบอย่างสม่ าเสมอ 1. ความเร็วของวัตถุคงที่ 2. อัตราเร็วของวัตถุคงที่ 3. แรงที่กระท ากับวัตถุคงที่ 4. มีข้อถูกมากกว่า 1 ข้อ 15. วัตถุมวล 1 กิโลกรัมเคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่ าเสมอบนพื้นราบด้วยขนาดของความเร็ว 2 เมตร ต่อวินาที โดยมีรัศมี 0.5 เมตร งานเนื่องจากแรงสู่ศูนย์กลางเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้คร่ึงรอบเป็นเท่าใด 1. 0 จูล 2. 2 จูล 3. 4 จูล 4. 8 จูล 16. ขณะที่รถเลี้ยวโค้งบนถนนราบด้วยรัศมีความโค้ง 245 m ลูกตุ้มซึ่งแขวนในรถเอียงท ามุม 45 องศา กับแนวดิ่ง ขณะนั้นรถวิ่งด้วยอัตราเร็วกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง

1. 49 2. 98 3. 176 4. 245

17. ชายคนหน่ึงยืนอยู่บนแกนหมุน ที่หมุนได้อิสระ โดยแกนหมุนอยู่ในแนวด่ิง ในขณะที่เขายืดแขน ออกไปจนสุด เขาจะหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม 0.25 รอบ/วินาที แต่ถ้าเขาดึงแขนกลับเข้ามา อัตราเร็วเชิงมุมของเขามีค่า 0.75 รอบ /วินาที จงหาอัตราส่วนโมเมนต์ความเฉื่อยของชายคนนี้ ในกรณีแรกต่อกรณีหลัง เป็นเท่าใด 1. 4: 3 2. 3: 2 3. 3 :1 4. 1 : 3

18. ลูกบิลเลียดมวล M รัศมี R มีโมเมนต์ความเฉื่อย 2MR5

2 เดิมอยู่นิ่ง ๆ บนพื้นเอียง สูง 2.8 เมตร

กลิ้งลงมาตามพื้นเอียง เมื่อถึงพื้นราบ ลูกบิลเลียดนี้มีความเร็วเท่าใด 1. 6.3 m/s 2. 7.4 m/s 3. 9.0 m/s 4. 12 m/s

19. รถยนต์มวล 1 ตัน จะต้องใช้ก าลังกี่วัตต์เพื่อเร่งความเร็วจาก 10 เมตรต่อวินาที เป็น 20 เมตร ต่อวินาที ภายในเวลา 2 วินาที 1. 5 103 วัตต์ 2. 2.5 104 วัตต์ 3. 7.5 104 วัตต์ 4. 1.5 105 วัตต์

2.8 m

Page 5: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

5

20. ออกแรงดึงเส้นลวดเส้นหนึ่งด้วยแรงคงที่ ถ้าใช้แรงเท่าเดิมในการดึงเส้นลวดชนิดเดียวกันนี้ แต่มี ความยาวและเส้นผ่านศูนย์กลางลดลงคร่ึงหนึ่ง ความยาวที่เปลี่ยนไปของเส้นลวดเส้นนี้เป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับเส้นลวดเส้นแรก

1. เป็นคร่ึงหนึ่งของความยาวที่เปลี่ยนไปของเส้นแรก 2. เท่ากับความยาวที่เปลี่ยนไปของเส้นแรก 3. เป็น 2 เท่าของความยาวที่เปลี่ยนไปของเส้นแรก 4. เป็น 4 เท่าของความยาวที่เปลี่ยนไปของเส้นแรก

21. ลวด A กับลวด B ยาวเท่ากัน พื้นที่หน้าตัดของ B เป็นสองเท่าของ A ดึงลวด B ด้วยแรง 50 N จะต้องดึงลวด A ด้วยแรงกี่นิวตัน จึงจะยาวเท่ากับ B ก าหนดว่า ค่ามอดูลัสของ ยังส าหรับ A เป็น 3 เท่าของ B 1. 8.3 2. 33 3. 75 4. 300

22. ลวดโลหะยาว 1.8 เมตร มีพื้นที่หน้าตัด 1.2 ตารางมิลลิเมตร ถูกยืดออก 1.0 มิลลิเมตร ถามว่า ลวดโลหะมีความตึงเท่าใด ถ้ามอดูลัสของยังของลวดน้ีเท่ากับ 9.0 1010 นิวตันต่อตารางเมตร 1. 6 N 2. 60 N 3. 600 N 4. 6,000 N

23. วัตถุก้อนหน่ึงวางอยู่บนพื้นลื่น ต่อมาแตกออกเป็น 2 ชิ้น โดยที่แต่ละชิ้นมีมวลไม่เท่ากัน จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. โมเมนตัมของวัตถุก่อนแตกตัวมีค่าเท่ากับผลรวมโมเมนตัมของวัตถุทั้งสองชิ้นหลังแตกตัว ข. หลังแตกตัว วัตถุแต่ละชิ้นมีโมเมนตัมเท่ากัน ค. หลังแตกตัว วัตถุแต่ละชิ้นมีพลังงานจลน์เท่ากัน มีข้อความที่ถูกต้องกี่ข้อความ 1. 1 ข้อความ 2. 2 ข้อความ 3. 3 ข้อความ 4. ไม่มีข้อความใดถูกต้อง

24. ลูกบอลลูนท าด้วยวัสดุที่มีมวล 2M มีปริมาตร V ภายในบอลลูนบรรจุอากาศร้อนที่มีความ หนาแน่น p อากาศภายนอกบอลลูนมีความหนาแน่น

air ถ้าลูกบอลลูนลอยได้พอดี อากาศร้อน ต้องมีความหนาแน่นเท่าใด (ทุกปริมาณใช้หน่วย SI)

1. 2 air

M

V 2.

2

air M

V

3. 2air

M

V 4. air

M

V

Page 6: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

6

25. ตุ้มน้ าหนักและเชือกในรูป ก. และ ข.เป็นชุดเดียวกัน ความถี่มูลฐานของการสั่นในรูป ก. เท่ากับ

แต่ในรูป ข. เท่ากับ 32 จงหาความหนาแน่นของเน้ือตุ้มน้ าหนักในหน่วย kg/m3

(ความเร็วของคลื่นบนเส้นเชือกแปรผันโดยตรงกับรากที่สองของความตึงในเชือก ) 1. 1500 2. 1800 3. 2300 4. 3000 26. ลูกปิงปองก าลังลอยขึ้นจากก้นสระน้ า ในขณะที่ลูกปิงปองมีอัตราเร็วไม่คงที่ ผลของความหนืดของ น้ าจะท าให้อัตราเร็วและอัตราเร่งของลูกปิงปองมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 1. อัตราเร็วก าลังเพิ่ม อัตราเร่งก าลังเพิ่ม 2. อัตราเร็วก าลังเพิ่ม อัตราเร่งก าลังลด 3. อัตราเร็วก าลังลด อัตราเร่งก าลังเพิ่ม 4. อัตราเร็วก าลังลด อัตราเร่งก าลังลด 27. แก๊สอุดมคติชนิดอะตอมเดี่ยวก าลังขยายตัวอย่างช้า ๆ ในกระบอกสูบ โดยมีความดันคงที่ P ปริมาตรเปลี่ยนจาก V1 เป็น V2 และอุณหภูมิเปลี่ยนจาก T1 เป็น T2 แก๊สอุดมคติน้ีได้รับ พลังงานความร้อนเท่าใด

1. 3

2 12P V V 2. 2 1

5

2P V V

2. 2 1

3

2R T T 4. 2 1

5

2R T T

28. ส าหรับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่มีแอมพลิจูดเป็น A จงหาขนาดของการกระจัด ณ ต าแหน่งที่อัตราเร็วเป็นคร่ึงหนึ่งของอัตราเร็วสูงสุด

1. A4

1 2. A

2

1

3. A4

3 4. A

2

3

29. สายโลหะขึงตึงยาว 0.5 เมตร ท าให้เกิดเสียงความถี่ 2.20 กิโลเฮิรตซ์ และ 2.64 กิโลเฮิรตซ์ ซึ่งเป็นความถี่ฮาร์มอนิก ที่อยู่ติดกัน จงหาอัตราเร็วของคลื่นเสียงในสายโลหะ 1. 220 m/s 2. 440 m/s 3. 550 m/s 4. 1100 m/s

ตัวสั่น

ตุ้มน้ าหนัก รูป ก.

รูป ข. น า

ตัวสั่น

Page 7: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

7

30. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายรอบจุดสมดุล O โดยมีอัตราเร็วสูงสุด 5 เซนติเมตรต่อ วินาที โดยมีคาบเท่ากับ 2 วินาที ถามว่าขณะที่วัตถุมีความเร็ว 3 เซนติเมตรต่อวินาที วัตถุอยู่ ห่างจากจุด O เท่าใด 1. 1 cm 2. 2 cm 3. 3 cm 4. 4 cm 31. คลื่นเสียงถูกส่งออกจากแหล่งก าเนิดเสียงที่เป็นจุด ก าลังเสียงที่ส่งออกไปมีค่า 3.14 วัตต์ ผู้ฟัง ได้ยินระดับความเข้มเสียงเป็น 80 เดซิเบล จงหาระยะห่างระหว่างผู้ฟังกับแหล่งก าเนิดเสียง

1. 25 m 2. 50 m 3. 100 m 4. 180 m

32. คลื่นในเส้นเชือกที่เวลาต่างกัน 0.2 วินาที เป็นดังภาพ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. แหล่งก าเนิดคลื่นมีความถี่เท่ากับ 2.5 เฮิรตซ์ ข. แหล่งก าเนิดคลื่นอาจมีความถี่น้อยกว่า 2.5 เฮิรตซ์ ค. แหล่งก าเนิดคลื่นอาจมีความถี่มากกว่า 2.5 เฮิรตซ์ มีข้อความที่ถูกต้องกี่ข้อความ 1. 1 ข้อความ 2. 2 ข้อความ 3. 3 ข้อความ 4. ไม่มีข้อความใดถูกต้อง

33. สปริงที่มีค่าคงที่สปริงเป็น k1 และ k2 ผูกต่อกันเองและยึดติด กับก าแพงและมวล m บนพื้นราบที่ ต าแหน่งสมดุลดังรูป ต่อมาดึงมวลไปทางขวามือเป็นระยะ d สปริง k1 จะยืด ออกเท่าใด

1. dk

k

2

1 2. dk

k

1

2

3. dkk

k

21

2

4. d

kk

k

21

1

1 เมตร

ปลายตรึง

ปลายตรึง

1k

2k

m

Page 8: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

8

34. แกว่งมวล M และ m ที่ปลายสปริงซึ่งมีค่านิจสปริง k เท่ากันดังรูป จงหาค่าอัตราส่วน M

m

1. 4 2. 2

3. 21

4. 41

35. เสากลมต้นหนึ่งมีแผ่นสเตนเลสหุ้มอยู่ แผ่นสเตนเลสมีผิวเรียบมากและสะท้อนแสงได้ดีเหมือน กระจกนูน ถ้าเรายืนห่างจากเสาต้นนี้มากกว่าระยะสองเท่าของความยาวโฟกัสของกระจกนูนน้ี เราจะเห็นภาพของตนเองในกระจกเป็นอย่างไร 1. ผอมลงและยืนหัวต้ัง 2. อ้วนขึ้นและยืนหัวต้ัง 3. ผอมลงและยืนกลับหัว 4. อ้วนขึ้นและยืนกลับหัว 36. สมบัติข้อใดของแสงเลเซอร์ ที่ท าให้ผลการเลี้ยวเบนด้วยแผ่นเกรตติง ปรากฏภาพการเลี้ยวเบนได้ ชัดเจน

1. มีความถี่ใกล้เคียงความถี่เดียว 2. มีล าแสงที่แคบและไม่บานออกเหมือนแสงทั่วไป 3. มีความเข้มสูงมาก 4. มีการเลี้ยวเบนได้ดีกว่าแสงประเภทอ่ืน

37. ภาพจริงที่เกิดจากเลนส์นูนความยาวโฟกัส มีขนาดเป็น m เท่าของขนาดวัตถุจริง ระยะภาพ เป็นเท่าใด

1. m 2. (m – 1) 3. (m + 1) 4. m2 38. แสงในตัวกลาง A ซึ่งมีค่าดรรชนีหักเห 1.50 มีความยาวคลื่นเป็น 500 นาโนเมตร เมื่อเดิน ทางในตัวกลาง B มีความยาวคลื่นเป็น 450 นาโนเมตร จงหาค่าดรรชนีหักเหของตัวกลาง B 1. 1.35 2. 1.45 3. 1.54 4. 1.67 39. การพูดผ่านกรวยกระดาษไปยังผู้ฟังที่อยู่ไกลออกไป จะท าให้ผู้ฟังได้ยินเสียงที่ชัดขึ้น ลักษณะดังกล่าวอธิบายได้ด้วยสมบัติข้อใดของคลื่นเสียง 1. การหักเห 2. การสะท้อน 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน

M

g มีคาบ = T

k

m

k

มคีาบ = 2

T

Page 9: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

9

40. เมื่อน าวัตถุไปวางหน้าเลนส์เป็นระยะ 20 เซนติเมตร พบว่าเกิดภาพเสมือนซึ่งมีขนาดลดลง เหลือ

5

1 เท่าของขนาดวัตถุ ถามว่าภาพกับวัตถุอยู่ห่างกันเท่าใด

1. 16 cm 2. 24 cm 3. 80 cm 4. 120 cm

41. วางลวดตรงยาว 70.0 เซนติเมตร ตามแนวแกนมุขส าคัญของกระจกโค้งนูนที่มีขนาดความยาว โฟกัส 40.0 เซนติเมตร ปลายด้านใกล้ของเส้นลวดอยู่ห่างจากกระจกเป็นระยะทาง 10.0 เซนติเมตร จงหาความยาวของภาพเส้นลวด 1. 8.0 cm 2. 18.7 cm 3. 26.7 cm 4. 34.7 cm

42. ก าหนดให้ แสงสีเดียว มีมุมวิกฤต C จาก แก้วสู่ น้ า เป็น a หน่วย และมีมุมวิกฤต C จาก น้ าสู่อากาศ เป็น b หน่วย แสดงว่า แก้วนี้มีดัชนีหักเหแสงเป็นเท่าใด

1.

1

sin sina b 2. sin sina b

3. sin

sin

b

a 4. sin

sin

a

b

43. เคาะส้อมเสียงความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ์ เหนือปากท่อซึ่ง

สามารถปรับความยาว ของล าอากาศในท่อได้ พบ

ว่าเกิดการสั่นพ้องของเสียงในท่อเมื่อความยาวของล า

อากาศ ในท่อเป็น 9.5 และ 26.7 เซนติเมตร ตาม

ล าดับ อัตราเร็วเสียงในอากาศมีค่ากี่เมตรต่อวินาที 1. 321 2. 331 3. 344 4. 354

44. เสียงรบกวนบนถนนวัดระดับความเข้มเสียงได้ 90 เดซิเบล แต่ภายในรถยนต์ที่ปิดมิดชิด ระดับความเข้มเสียงลดเหลือ 70 เดซิเบล ถามว่าความเข้มเสียงภายในรถยนต์เป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของความเข้มเสียงนอกรถยนต์

1. 77% 2. 70% 3. 20% 4. 1% 45. ถ้าความเร็วของคลื่นน้ าเท่ากับ 6.0 เมตรต่อวินาที ขณะที่สันคลื่นที่หนึ่งและที่สี่ห่างกัน 7.2 เมตร คลื่นนี้มีความถี่เท่าใด 1. 0.8 Hz 2. 2.5 Hz 3. 3.3 Hz 4. 4.3 Hz

l

Page 10: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

10

46. ท่อทรงกระบอกปลายเปิดสองข้างจ านวน 2 ท่อ ท่อสั้นยาว 1 เมตร จงหาความยาวของอีกท่อ หนึ่งที่ท าให้เกิดความถี่บีตส์ 10 คร้ัง/วินาที จากความถี่มูลฐานของท่อทั้งคู่ เมื่อถูกกระตุ้นพร้อม กัน (ก าหนดให้อัตราเร็วเสียงในอากาศ = 350 เมตร/วินาที)

1. m175

165 2. m

165

175

3. m175

185 4. m

185

175

47. แนวการเคลื่อนที่ของคลื่นน้ าจากบริเวณน้ าลึกไปยังน้ าตื้น หักเหจากแนวของคลื่นตกกระทบ 30 องศา และอัตราเร็วของคลื่นในน้ าลึกเป็น 2 เท่าของอัตราเร็วในน้ าตื้น มุม มีค่าเท่าใด

1.

31

arcsin

2.

31

arctan

3.

131

arcsin

4.

131

arctan

48. ภาพเส้นแรงไฟฟ้าบางเส้นระหว่างประจุบวกและประจุลบใน 2 มิตถิ้าน าอิเล็กตรอนตัวหนึ่งวาง ไว้ที่จุด A แล้วปล่อยอ ข้อใดถูกต้อง

1. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นแรงไฟฟ้าที่ผ่านจุด A และเข้าหากประจุลบ 2. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นแรงไฟฟ้าที่ผ่านจุด A และเข้าหาประจุบวก 3. ที่จุด A อิเล็กตรอนมีความเร่งในทิศตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้า 4. อิเล็กตรอนไม่จ าเป็นต้องเคลื่อนที่ไปตามเส้นแรงไฟฟ้า

49. น าเซลล์ไฟฟ้า 2 ก้อน มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าก้อนละ 1.5 โวลต์ ไม่มีความต้านทานภายใน มาต่อ อนุกรมกัน และทั้งหมดต่ออนุกรมกับหลอดไฟฉายที่มีอักษรเขียนก ากับไว้ว่า 2V 1W ขณะที่ หลอดไฟฉายยังไม่ขาด กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟเท่ากับกี่แอมแปร์ 1. 0.5 2. 0.75 3. 1.0 4. 2.0

+ - A

300

น้ าลึก น าตื น

Page 11: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

11

50. ภาพวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อกดสวิตซ์ SW (ปิดวงจร) ข้อใดถูกต้อง 1. มอเตอร์จะยังไม่เร่ิมหมุนจนกว่าอิเล็กตรอนตัวแรกที่ออกจากขั้วลบของถ่านไฟฉายจะไปถึง มอเตอร์

2. มอเตอร์จะยังไม่เร่ิมหมุนจนกว่าอิเล็กตรอนตัวแรกที่ออกจากขั้วลบของถ่านไฟฉายจะเคลื่อนที่ ผ่านมอเตอร์

3. มอเตอร์จะเร่ิมหมุนทันทีโดยไม่ขึ้นกับอิเล็กตรอนตัวแรกที่ออกจากขั้วลบของถ่านไฟฉาย 4. มอเตอร์จะเร่ิมหมุนทันทีที่อิเล็กตรอนที่ออกจากขั้วลบไปรวมตัวกับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจาก

ขั้วบวก โดยไปรวมกันที่มอเตอร์ 51. ภาพวงจรไฟฟ้า ก าหนดให้

2 02C C จงหาพลังงานในตัวเก็บประจุ

0C และ 2C ตามล าดับ

1. 2 2

0 0

3 1,

2 2C V C V 2. 2 2

0 0

1 2,

3 3C V C V

3. 2 2

0 0

2 1,

9 9C V C V 4. 2 2

0 0

1,

2C V C V

52. ทรงกลมตัวน ารัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะ 5 เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางภายในทรงกลมเป็นเท่าใด 1. 0 V 2. 9 103 V 3. 9 104 V 4. 1.8 105 V 53. จากรูป ถ้าตัวเก็บประจุ A มีประจุ 2 ไมโครคูลอมบ์ จงหาพลังงานไฟฟ้าสะสมในตัวเก็บประจุ B

1. 2 10-6 J 2. 3 10-6 J 3. 4 10-6 J 4. 6 10-6 J 5.

V

0C 2C

SW

ถ่านไฟฉาย

มอเตอร์

A 1 F

B 3 F

Page 12: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

12

54. จ านวนขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้าเท่ากับ 200 รอบ และ 20 รอบ ตามล าดับ หม้อแปลงนี้ใช้กับไฟบ้าน 220 โวลต์ ถ้าขดลวดทุติยภูมิต่อกับความต้านทาน 10 โอห์ม ถามว่า ก าลังความร้อนที่เกิดขึ้นที่ความต้านทานนี้เป็นเท่าใด ถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงานในหม้อแปลงเลย 1. 4,840 W 2. 220 W 3. 48.4 W 4. 22.0 W

55. พัดลม A และพัดลม B มีลักษณะเหมือนกันทุกประการ แต่พัดลม A มีแกนหมุนที่ค่อนข้างฝืด เพราะมีเศษฝุ่นเข้าไปเกาะที่แกนหมุน เมื่อเสียบปลั๊กกับไฟฟ้าและเปิดพัดลม พัดลม A จึงหมุน ช้ากว่าพัดลม B ข้อใดถูกต้อง 1. พัดลมทั้งสองมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่ากัน 2. พัดลม A มีกระแสไฟฟ้าผ่านมากกว่าพัดลม B 3. พัดลม A มีกระแสไฟฟ้าผ่านน้อยกว่าพัดลม B 4. พัดลม A มีความต้านทานไฟฟ้ามากกว่าพัดลม B 56. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในระนาบ XY โดยที่อัตราเร็วในแนว X มีค่า vx = 4 x 105 เมตร/วินาที

และอัตราเร็วในแนว Y มีค่า vy = 3 x 105 เมตร/วินาที เข้าไปในบริเวณที่มีความเข้มสนามแม่ เหล็กเท่ากับ 0.5 เทสลา ในทิศ Z จงหาขนาดของแรงแม่เหล็กที่กระท าต่ออิเล็กตรอน 1. 2.4 x 10– 14 N 2. 3.2 x 10– 14 N 3. 4.0 x 10– 14 N 4. 8.0 x 10– 13 N

57. อิเล็กตรอนมวล m ประจุ e เคลื่อนที่เป็นทางโค้งรัศมี R ในทิศตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก B แต่ถ้าต้องการท าให้เคลื่อนที่เป็นทางตรง ต้องใส่สนามไฟฟ้าขนาดเท่าใด ในทิศตั้งฉากกับ ทั้งทิศของสนามแม่เหล็กและทิศการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน

1. m

ReB2

2. m

eBR2

3. m

BRe2

4. m

eBR

58. จากวงจรในรูป ถ้าเปลี่ยน C ไปเป็นตัว เหนี่ยวน า L กระแส RMS ในวงจรจะ เปลี่ยนไปจากเดิมเท่าใด

1. Lω

)LCω1(

2

V2

0

2. C

)LC1(

2

V2

0

ω

ω

3. )LCω1(

LωV

20

4. )LC1(

CV

20ω

ω

0 sinV t C

Page 13: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

13

59. ประจุ Q วางที่ต าแหน่ง A, B, C และ D ของวงกลมที่มีรัศมี R ดังรูป ศักย์ไฟฟ้า ที่จุดศูนย์กลางวงกลมนี้เป็นตามข้อใด

1. 0 2. 0

Q

R

3. 0

Q

R 4.

04

Q

R

60. เมื่อฉายแสงความถี่ 5 1014 เฮิรตซ์ลงบนโลหะชนิดหนึ่ง พบว่าอิเล็กตรอนที่หลุดออกมามี พลังงานจลน์สูงสุด 0.8 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าฉายแสงที่มีความถี่ 1015 เฮิรตซ์ ลงบนโลหะเดิม อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลน์สูงสุดกี่อิเล็กตรอนโวลต์ 1. 1.3 2. 2.5 3. 2.9 4. 4.1 61. ก าหนดให้แสงโพลาไรซ์มีแกนโพลาไรซ์อยู่ในแนวดิ่ง และท าการทดลอง 2 การทดลอง ต่อไปนี้ การทดลองที่ 1 ให้แสงโพลาไรซ์ตกกระทบแผ่นโพลารอยด์ที่มีแกนโพลาไรซ์ท ามุม 90 กับ แนวดิ่ง การทดลองที่ 2 ให้แสงโพลาไรซ์ตกกระทบแผ่นโพลารอยด์แผ่นที่หนึ่งที่มีแกนโพลาไรซ์ท ามุม 30 กับแนวดิ่ง จากนั้นผ่านไปยังแผ่นโพลารอยด์แผ่นที่สองที่มีแกนโพลาไรซ์ท ามุม 60กับแกน โพลาไรซ์ของแผ่นที่หนึ่ง ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความเข้มของแสงที่ผ่านออกมา

1. ไม่มีแสงผ่านออกมาในทั้งสองการทดลอง 2. ความเข้มของแสงในทั้งสองการทดลองมีค่าเท่ากัน 3. ความเข้มของแสงในการทดลองที่ 1 มีค่ามากกว่า 4. ความเข้มของแสงในการทดลองที่ 2 มีค่ามากกว่า

62. สารกัมมันตรังสีเรเดียม –226 สลายตัวให้อนุภาคแอลฟาและแกมมาโดยมีคร่ึงชีวิต 1,620 ปี ถ้าเร่ิมต้นมีเรเดียมนี้อยู่ 200 ไมโครกรัม ถามว่าเมื่อเวลาผ่านไป 4,860 ปี จะเหลือเรเดียม –226 นี้อยู่กี่ไมโครกรัม 1. 67 g 2. 50 g 3. 25 g 4. 20 g

D

Q Q C A

B

Q

Q

Q O R

Page 14: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

14

63. ณ เวลาหนึ่ง ธาตุกัมมันตรังสี A มีกัมมันตภาพ A0 ในขณะที่ธาตุกัมมันตรังสี B มีกัมมันตภาพ B0 ถ้าค่าคงที่การสลายตัวของธาตุ A เป็น a และของธาตุ B เป็น b เวลาผ่านไปอีกนานเท่าใด กัมมันตภาพของธาตุทั้งสองจึงเท่ากัน

1. 0 0A B

a b

2. 0 0A B

b a

3. 0 0ln A ln B

a b

4. 0 0ln A ln B

b a

64. สารกัมมันตรังสีชนิดหน่ึงมีจ านวนนิวเคลียสเร่ิมต้นเท่ากับ NO มีค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ 1

2

T เมื่อเวลา

ผ่านไปนานเท่าใดสารน้ีจึงจะสลายตัวไป 03

4

N

1. 1

2

4

T

2. 1

2

3

4

T

3. 1

2

2T 4. 1

2

3ln( )

4

ln 2

T

65. โฟตอนของคลื่นใดต่อไปนี้มีโมเมนตัมมากที่สุด 1. รังสีแกมมา 2. รังสีอัลตราไวโอเลต 3. รังสีอินฟราเรด 4. คลื่นไมโครเวฟ 66. ส าหรับปฏิกิริยา 2 2 3

1 1 2 3.3H H He X MeV X แทนอนุภาคใด 1. อิเล็กตรอน 2. โพสิตรอน 3. โปรตอน 4. นิวตรอน 67. SP 32

16

32

15 ก าหนดค่ามวลของ uuSuP 00054.0,9833.31,9841.31 32

16

32

15 หรือ 9 x 10-31 Kg และก าหนดให้ 1 eV = 1.6 x 10-19 J, 1 u = 930 MeV ถ้าพลังงานที่เกิดขึ้นทั้งหมด ถูกสะสมในอนุภาคเบต้า และไม่คิดผลของสัมพันธภาพ (Relativistic effect) อนุภาคเบต้า จะมีความเร็วเท่าใด 1. 2.2 x 106 m/s 2. 2.9 x 105 m/s 3. 2.3 x 105 m/s 4. 3 x 105 m/s

Page 15: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

15

68. จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน 2 3

1 1H H X n ก าหนดให้ มวลของ p = 1.0078 u มวลของ n = 1.0087 u มวลของ = 4.0026 u มวลของ 2

1H = 2.0141 u มวลของ 3

1H = 3.0160 u มวลของ 5

2 He = 5.0123 u และ 1u = 930 MeV จงพิจารณาว่า X ในปฏิกิริยานี้คืออะไร และมีการปลดปล่อยพลังงานจ านวนเท่าใด 1. และ 1.94 10-16 MeV 2. และ 17.5 MeV 3. 5

2 He และ 1.02 10-14 MeV 4. 5

2 He และ 922 MeV 69. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

1. แสงเลเซอร์ 2. คลื่นอัลตราซาวนด์ 3. แสงจันทร์ 4. รังสีแกมมา

70. ฟังก์ชันงานของโลหะโซเดียมเท่ากับ 2.0 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าแสงความยาวคลื่น 300 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโซเดียม โฟโตอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจะมีพลังงานจลน์สูงสุดกี่อิเล็กตรอนโวลต์ 1. 1.2 eV 2. 2.1 eV 3. 4.2 eV 4. 6.1 eV

71. ถ้าระดับพลังงานชั้นที่ n ของอะตอมไฮโดรเจนในหน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ เขียนได้

เป็น2

13.6nE

n ถ้าอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนสถานะจากชั้นที่ 2 ลงมาชั้นที่ 1 จะ

ปลดปล่อยโฟตอนที่มีโมเมนตัมเท่าใด 1. 3.40 10-8 kg.m/s 2. 4.89 10-10 kg.m/s 3. 1.63 10-18 kg.m/s 4. 5.44 10-27 kg.m/s

Page 16: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

16

ตอนท่ี 2 จ านวน 5 ข้อ ๆ ละ 6 คะแนน 1. มวล m แขวนด้วยเชือก 2 เส้น ยาว 40 และ 30 เซนติเมตร ปลายเชือกยึดไว้ห่างกัน 50 เซนติเมตร ในแนวระดับดังรูป และอยู่ในสมดุล ถ้าตัดเชือกด้าน 30 เซนติเมตร ให้ขาดแบบทันที มวล m จะเร่ิมเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเป็นกี่เท่าของค่า g 2. อนุภาคมวล m ประจุ q ถูกเร่งจากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ V = 2,000 โวลต์ ท าให้ได้ ความเร็ว 65 10v เมตร/วินาที เมื่อเร่ิมเข้าสู่สนามแม่เหล็ก 0.1B เทสลา ทิศตั้งฉาก กับความเร็ว รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็กจะเป็นกี่เซนติเมตร 3. แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผ่าน สลิตเดี่ยวในแนวต้ังฉากไปปรากฏเป็นแถบสว่างมืด บนฉากที่ห่างออกไป 1 เมตร ถ้าแถบมืดสองข้างแถบสว่างตรงกลางห่างกัน 4.0 มิลลิเมตร ถามว่าสลิดเดี่ยวกว้างกี่ไมโครเมตร 4. เมื่อใช้เคร่ืองเคาะสัญญาณเวลา ซึ่งเคาะ 50 รอบต่อวินาที มากระตุ้นเส้นเชือก ท าให้เกิดคลื่นนิ่ง

มีปฏิบัพ 4 ลูกในความยาว 1.80 เมตร ความเร็วของคลื่นในเส้นเชือกเป็นกี่เมตรต่อวินาที 5. แก๊สอุดมคติอุณหภูมิ 360 เคลวิน ถูกอัดที่ความดันคงที่ให้ปริมาตรเหลือเพียง 0.8 เท่าของ ปริมาตรเดิม จะมีอุณหภูมิสุดท้ายเป็นเท่าใดในหน่วยเคลวิน

m

50

40 30

m

q V B

1.8 m

Page 17: ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ A – net’49 · 1. 49 2. 98 . 3. 176 4. 245 . 17. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนแกนหมุน

ตัวอย่างข้อสอบ ฟิสิกส ์ อ. สุรสิงห์ นิรชร

ตัวอย่างข้อสอบฟิสิกส์ .doc

17

เฉลย ตอนท่ี 1 ข้อ1 = ข้อ2 = ข้อ3 = ข้อ4 = ข้อ5 = ข้อ6 = ข้อ7 =

ข้อ8 = ข้อ9 = ข้อ10 = ข้อ11 = ข้อ12 = ข้อ13 = ข้อ14 = ข้อ15 = ข้อ16 = ข้อ17 = ข้อ18 = ข้อ19 = ข้อ20 = ข้อ21 =

ข้อ22 = ข้อ23 = ข้อ24 = ข้อ25 = ข้อ26 = ข้อ27 = ข้อ28 = ข้อ29 = ข้อ30 = ข้อ31 = ข้อ32 = ข้อ33 = ข้อ34 = ข้อ35 = ข้อ36 = ข้อ37 = ข้อ38 = ข้อ39 = ข้อ40 = ข้อ41 = ข้อ42 = ข้อ43 = ข้อ44 = ข้อ45 = ข้อ46 = ข้อ47 = ข้อ48 = ข้อ49 = ข้อ50 = ข้อ51 = ข้อ52 = ข้อ53 = ข้อ54 = ข้อ55 = ข้อ56 =

ข้อ57 = ข้อ58 = ข้อ59 = ข้อ60 = ข้อ61 = ข้อ62 = ข้อ63 = ข้อ64 = ข้อ65 = ข้อ66 = ข้อ67 = ข้อ68 = ข้อ69 = ข้อ70 =

ข้อ71 = ข้อ72 = ข้อ73 = ข้อ74 = ข้อ75 = ข้อ76 = ข้อ77 = ตอนท่ี 2

1. 3

4a g

2. 0.8 .m cm 3. 300 .d m 4. 45 mv

s

5. 2 288T K