19
ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม อิมแพ็ค เมืองทองธานี 17-19 ตุลาคม 2561 งานมหกรรมทางการศึกษา เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 11 หนังสือประชาสัมพันธ E-Brochure Organized by Pico (Thailand) Public Company Limited Hosts Co-Hosts Faculty of Education, Kasetsart University The Thai Psychological Association Faculty of Education Khon Kaen University Platinum Sponsors The Foundation for Promotion of Gifted Children Gold Sponsors Faculty of Education Chulalongkorn University Faculty of Learning Sciences and Education Thammasat University THAMMASAT UNIVERSITY Thai Association of Science and Technology Education Graduate Program in Psychology : Psychology for Developing Human Potentials The Foundation of Virtuous Youth, Centre for Educational Psychology The Secondary School Administrator Association of Thailand Thailand Education Deans Council Co-Hosts The Foundation for Special Education Under the Royal Patronage of H.R.H Princess Maha Chakri Sirindhorn Silver Sponsors Faculty of Education, Burapha University Media Partner Faculty of Education, Silpakorn University The Teachers’ Council of Thailand Office of The Education Council

หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

ณ อิมแพ็ค ฟอรั่มอิมแพ็ค เมืองทองธานี

17-19 ตุลาคม 2561

งานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 11

หนังสือประชาสัมพันธE-Brochure

Organized by

Pico (Thailand)Public Company Limited

Hosts Co-Hosts

Faculty of Education,Kasetsart University

The Thai PsychologicalAssociation

Faculty of EducationKhon Kaen University

Platinum Sponsors

The Foundation forPromotion of Gifted Children

Gold Sponsors

Faculty of EducationChulalongkornUniversity

Faculty of Learning Sciences and EducationThammasat University

THAMMASAT UNIVERSITY

Thai Association of Science and TechnologyEducation

Graduate Program inPsychology : Psychologyfor Developing HumanPotentials

The Foundation of Virtuous Youth,Centre for Educational Psychology

The Secondary SchoolAdministrator Associationof Thailand

Thailand EducationDeans Council

Co-Hosts

The Foundation forSpecial EducationUnder the Royal Patronageof H.R.H Princess MahaChakri Sirindhorn

Silver Sponsors

Faculty of Education,Burapha University

Media Partner

Faculty of Education,Silpakorn University

The Teachers’ Council of Thailand

Office of The EducationCouncil

Page 2: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

1

สารบัญ01 คุณคาของครู02 International Conference - กำหนดการการประชุมนานาชาติ (International Conference) - กำหนดการสัมมนานานาชาติ (International Seminar) - กำหนดการสัมมนาพิเศษ (Special Seminar)03 ฟอร่ัมครูใหญ (Principal Forum)04 การประชุมเชิงปฏิบัติการ - Workshop Program Day 1 (วันพุธท่ี 17 ตุลาคม 2561) - Workshop Program Day 2 (วันพฤหัสบดีท่ี 18 ตุลาคม 2561) - Workshop Program Day 3 (วันศุกรท่ี 19 ตุลาคม 2561)แพคเกจการลงทะเบียนงาน EDUCA

หนา245789

1114151617

Page 3: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

คุณคาของครู ทามกลางกระแสโลกาภิวัตนและการกาวเขาสูโลกยุค 4.0 ทำใหเทคโนโลยีดิจิทัลเขามามีบทบาทสำคัญ ทดแทนความไรประสิทธิภาพของส่ิงท่ีมีอยูเดิม และสงผลใหการใชชีวิตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นภายใตเวลาเทาเดิม คุณคาของครู ก็ไดรับผลกระทบและความทาทายไมตางกัน

เปาหมายยุทธศาสตรชาติ 20 ปท่ีวา ภายใน พ.ศ. 2579 “ประเทศไทยตองหลุดพนกับดักประเทศรายไดปานกลาง สามารถสรางนวัตกรรมใหมเพื่อสรางมูลคาเพิ่มแกผลผลิต และความสามารถในการแขงขันของประเทศ สูประเทศไทย 4.0” ทำใหเกิดการขับเคลื่อนแผนการศึกษาและโครงการมากมายที ่มุ งเปลี ่ยนแปลงการเรียนรู โดยมุ งเนนเรื ่องวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร (STEM) อยางไรก็ตาม เราควรตระหนักวา การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็วและคาดเดาไดยากนี้ เราไมสามารถมั่นใจไดวาอะไรจะเกิดขึ้นในอนาคตคงมิใชเพียงทักษะความเชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ แตสิ่งสำคัญคือการเตรียมเด็กไทยใหมีทักษะที่จะเรียนรูสิ่งใหม และปรับตัวใหเทาทันการเปล่ียนแปลงดังกลาว “การศึกษาคือบริการสาธารณะท่ีรัฐตองจัดใหมีคุณภาพท่ีดีเทาเทียมแกเยาวชนทุกคนในประเทศ” ท้ังน้ีปฏิเสธไมไดวา ในการจัดการศึกษาน้ัน“ครู” เปนบุคคลสำคัญผูเช่ือมตอความคาดหวังเชิงนโยบาย สูความเปนจริงในหองเรียน ทามกลางกระแสโลกดิจิทัล และความทาทายของอนาคตท่ีไรความแนนอน “ครู” ผูอยูใกลชิดและทำหนาท่ีบมเพาะเด็กไทยท่ัวประเทศจะมีคุณคาและมีความสำคัญอยางไร

2

01คุณคาของครู

Page 4: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

3

“ครู” จะมีบทบาทอยางไรในอนาคตที่ไรความแนนอนหองเรียนในวันพรุงนี้ของประเทศยังคงตองการ “ครู” เพราะอะไร

EDUCA มหกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูงานท่ีใหความสำคัญกับการพัฒนาครูไทยมาตอเน่ืองกวา 10 ป เราตระหนักวา “ครู” คือ ผู ให ผู นำและผูหลอหลอมความแข็งแกรงและอนาคตของประเทศชาติ อยางไรก็ตาม ที่ผานมา งานวิจัยทางการศึกษาระดับสากล พบวา คุณคาของครูถูกลดทอนลงเร่ือย ๆเชน รายงานของ OECD ป 2018 เร่ืองการใหคุณคาแกครู และยกระดับสถานภาพของครูวิธีที่ชุมชนจะชวยครูได (Valuing our Teachers and Raisingtheir Status: How Communities Can Help)โดย Andreas Schleicher พบวา คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกำลังอยูในภาวะวิกฤตครูเครียดและหมดพลังในการสอน เชนเดียวกับงานวิจัย TALIS ที่พบวา มีครูนอยกวาหนึ่งในสามเชื่อวา “อาชีพของตนมีคุณคาในสังคม” แตกตางอยางส้ินเชิงจากประเทศท่ีประสบความสำเร็จในเรื ่องการศึกษาท่ีสวนใหญสังคมเหลาน้ันให “คุณคาแกครู”เปนอยางมาก...

สิ่งที่สำคัญไมใชเพียงแคทำใหครูรูสึกมีความสุขรูสึกดีตอการเปนครู และการสอน แตควรสงเสริมใหครูรับรูวาตนเองมีความสามารถสูง ทำใหครูอยากพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง สิ่งเหลานี้จะชวยสงตอทักษะการเรียนรู และสรางแรงบันดาลใจในการเรียนรูของเด็กๆ ที่เปนลูกศิษยของครูตอไป

ในป 2561 นี้ EDUCA มีแนวคิดการจัดงาน คือ

The Value of Teachers : คุณคาของครู

ครูใหญ วิสัยทัศน

และโรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู

ครูใหญในฐานะผูนำการเรียนการสอน

(Instructional Leadership)

...กับการสรางโรงเรียนเพื่อเด็กทุกคน

ความสำคัญของครูใหญ

วิชาสังคมศึกษา กับความเปนชาติ

บริหารครูใหเปนผูเรียนรูสรางโรงเรียน

แหงการเรียนรูดวยการศึกษาบทเรียน

(Lesson Study)

ครูใหญ...ผูนำการเปลี่ยนแปลง

(Principal as Change Agent)

จากดีสูเยี่ยม

(From Good to Great)

ครูใหญ ผูนำการปฏิรูปการศึกษาดวย PLC

2018

2010

2009

2007

YEAR

2011

2012

2013

2014

2015

2016

2017

Value of teachers :

คุณคาของครู

School as Learning Community (SLC) :

โรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู

Education 1.0,2.0, 3.0, 4.0

From Policy To Classroom :

จากนโยบายสูหองเรียน

Strong Performers and Successful Reformers

Assessment for Learning : Wrong Questions

Never Yield Right Answers

การประเมินเพื่อการเรียนรูหากตั้ง

คำถามผิดก็ไมมีคำตอบที่ถูกตอง

On Schooling โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน

Satit Academy : Defining our

Education,Refine our Future

Quality Teacher Quality Education :

การศึกษาคุณภาพ โดยครูที่มีคุณภาพ

Teacher Development : The New Direction

for Education Success

พัฒนาครู : ทิศทางใหมสูความสำเร็จทางการศึกษา

Reform, Reform, Reform :

ปฏิรูป ปฏิรูป ปฏิรูป

Teachers as Learners :

ครู...ตนแบบการเรียนรู

เพ่ือกระตุนสังคมใหตระหนักถึง “คุณคาของครู” ทามกลางกระแสโลกดิจิทัลที่ทาทาย และบทบาทอันยิ่งใหญของครูที่จะเตรียมเด็กไทย ใหพรอมสำหรับอนาคตที่ยั่งยืน

ภาพแสดงเสนทางการเจริญเติบโตของEDUCA งานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู

Page 5: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

เตรียมเปดมุมมองการเรียนรู และอัปเดตความเคล่ือนไหวในวงการศึกษาระดับนานาชาติ โดย วิทยากรผูเชี่ยวชาญทางการศึกษา นักวิจัยทางการศึกษา และนักการศึกษาระดับนานาชาติจากประเทศชั้นนำทางการศึกษาไมวาจะเปน ฟนแลนด เนเธอรแลนด นิวซีแลนด ญ่ีปุน เกาหลีใตและสิงคโปร ท่ีจะมารวมแบงปนประสบการณ แลกเปล่ียนองคความรูใหมๆในการประชุมนานาชาติ (International Conference) การสัมมนานานาชาติ(International Seminars) และการสัมมนาพิเศษ (Special seminars)ท่ีเปนสวนหน่ึงภายในงานมหกรรมทางการศึกษา คร้ังท่ี 11 EDUCA 2018ภายใตประเด็นเนื้อหาที่ครอบคลุมและมิติมุมมองที่หลากหลายดานการพัฒนาการศึกษาและพัฒนาครู อาทิ เชน คุณคาของครูและบทบาทท่ีทาทายของครูในยุคแหงการเปล่ียนแปลงของโลกดิจิทัล (Value of Teachersin Disruptive Era) ครูมอนเทสซอรีกับการจัดการเรียนรูและการสอน(Montessori Education) การพัฒนาโครงการดานการศึกษาของรัฐบาลฟนแลนดในยุคแหงการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัล (Government Programfor Education) การพัฒนาหลักสูตรครุศึกษาใหมของฟนแลนด (TeacherEducation) ภาวะผูนำทางการศึกษา (Educational Leadership)จริยธรรมศึกษา (Moral Education) และการจัดการเรียนรูและการสอนในยุคแหงความไมแนนอนน้ี

4

02InternationalConference

Page 6: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

พิธีเปด Opening Ceremonyลงทะเบียน ณ บริเวณโถงดานหนาหองแกรนดไดมอนด บอลรูม กลาวรายงานโดย นายศีลชัย เกียรติภาพันธ ประธานกรรมการบริหารและประธานเจาหนาที่บริหารบริษัท ปโก (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน)กลาวตอนรับ โดย เจาภาพรวมจัดงาน พิธีเปดงานอยางเปนทางการ

5

กำหนดการการประชุมนานาชาติ (INTERNATIONAL CONFERENCE)

เวลา:08.00 - 09.00 น.09.00 - 09.05 น.

09.05 - 09.10 น.09.10 - 09.30 น.

ปาฐกถาพิเศษ ครูในโลกอนาคต คือ ผูมีพลังสรางสรรคท่ีจะนำความเปล่ียนแปลงท่ีย่ิงใหญมาสูผูเรียน Transforming Future Learners-Role of Teachers As Creative Leaders

เนเธอรแลนด10.15 - 11.00 น.

มีบริการหูฟงแปลภาษาจากอังกฤษเปนไทยตลอดรายการSimultaneous translationfrom English - Thai - English is provided

หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

วันพุธที่ 17 ตุลาคม 2561 / Wednesday 17th October 2018

พิธีเปดและปาฐกถาพิเศษ Grand Diamond Ballroom

โดย Lynne Lawrence ผูอำนวยการบริหารสมาคมมอนเทสซอรีสากล (เอเอ็มไอ)Executive Director of Association Montessori Internationale (AMI)

โดย Sanna Vahtivuori-Hänninenผูจัดการโครงการและท่ีปรึกษาประจำกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมฟนแลนดProject Manager, Advisors to the Permanent, New Learning Environments,Ministry of Education and Culture, Finland

สิ่งแวดลอมแหงการเรียนรูใหมและการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัลการพัฒนาโครงการดานการศึกษาของรัฐบาลฟนแลนด 2558 - 2562New Learning Environments and Digitalization Government Program forEducation 2015 -2019 Key Projects on New comprehensive school

ฟนแลนด 11.00 - 11.15 น.

โดย Professor Jari Lavonen, Ph.D.ศาสตราจารยประจำคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ฟนแลนดProfessor of Faculty of Education, University of Helsinki, Finland

ชวงถาม – ตอบ รับประทานอาหารกลางวัน ณ แบงเควท ฮอลล (Banquet Hall) ชั้น 1

12.00 - 12.30 น. 12.30 - 13.30 น.

ครูฟนแลนดและโรงเรียนจะเรียนรูและสนับสนุนการใชเครื่องมือดิจิทัลและสิ่งแวดลอมในการเรียนการสอนไดอยางไรHow Finnish teachers learn and school site supports the use of digital toolsand environments in teaching and learning?

11.15 - 12.00 น.

Page 7: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

6

กำหนดการการประชุมนานาชาติ (INTERNATIONAL CONFERENCE)

หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

วันพุธที่ 17 ตุลาคม 2561 / Wednesday 17th October 2018

พิธีเปดและปาฐกถาพิเศษ Grand Diamond Ballroom

นิวซีแลนด13.30 - 14.30 น.

ญี่ปุน14.30 - 15.30 น.

เกาหลีใต15.30 - 16.30 น.

16.30 – 17.00 น.

พลังแหงความรวมมือรวมพลังของครูในชุมชนแหงการเรียนรูนิวซีแลนดThe Power of Teacher Collaboration in Communities of Learning in New Zealand

บทบาทและความทาทายของจริยศึกษาในญ่ีปุน การสอนในโลก VUCARoles and Challenges of Moral Education in Japan: Teaching in the VUCA World

สอนอยางไรทามกลางยุคแหงความไมแนนอน กรณีศึกษา เกาหลีใตWhat Should Be Taught in the Age of Uncertainty: Korean Context

ชวงถาม – ตอบ และจบการประชุมนานาชาติ

โดย Camilla Phyllis Highfield, Ph.D ผูอำนวยการการพัฒนาและการเรียนรูเชิงวิชาชีพ คณะครุศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีโอคแลนด นิวซีแลนด Director of Professional Learning and Development, Faculty of Education,Auckland University of Technology, New Zealand

โดย Makito YURITA, Ph.Dนักวิจัยอาวุโส สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาบุคลากรและครูโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ญี่ปุนSenior Researcher fellow, National Institute for School Teachers and Staff Development (NITS)

โดย Mr. Bae, Sang Hoon, Ph.D ศาสตราจารยภาคนโยบายและการบริหารการศึกษาและผูอำนวยการสถาบันวิจัยนโยบายการศึกษา สำนักศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยซองกยูนกวันProfessor of Education administration and Policy & Director of Instituteof Education Policy Research, SKKUDepartment of Education, Sungkyunkwan University (SKKU)

มีบริการหูฟงแปลภาษาจากอังกฤษเปนไทยตลอดรายการ

Page 8: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

7

กำหนดการสัมมนานานาชาติพิเศษ (International Seminar)

หมายเหตุ: - กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม 2561 / Thursday 18th October 2018

การประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ โดย ศูนยการเรียนรูและวิจัยศาสตรการสอน โรงเรียนมัธยมหญิงราฟเฟลส สิงคโปร หอง SAPPHIRE 111

สิงคโปร 09.00 - 17.00 น.

การสัมมนานานาชาติ โดย สมาคมมอนเทสซอรีสากล โดย Association Montessori Internationale (AMI) หอง SAPPHIRE 204

เนเธอรแลนด09.00 - 17.00 น.

บทบาทของครูในการพัฒนาเด็กแบบองครวมโดยใชแนวการสอนแบบมอนเทสซอรี Montessori Method For Holistic Development of the Child

โดย Lynne Lawrence ผูอำนวยการบริหารสมาคมมอนเทสซอรีสากล (เอเอ็มไอ)Montessori Method For Holistic Development of the ChildExecutive Director of Association Montessori Internationale (AMI)

การพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรูเชิงวิชาชีพ PLCDeveloping Professional Learning Community (PLC) in School

โดย Mrs. Mary George Cheriyan และคณะ รองครูใหญโรงเรียนมัธยมหญิงราฟเฟลลและผูอำนวยการศูนยวิจัยศาสตรการสอนและการเรียนรู โรงเรียนมัธยมหญิงราฟเฟลส สิงคโปรDeputy Principal of the Raffles Girls’ School and Director of Centrefor Pedagogical Research and Learning Raffles Girls’ School.

มีบริการหูฟงแปลภาษาจากอังกฤษเปนไทยตลอดรายการ

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม 2561 / Thursday 18th October 2018

หมายเหตุ: การสัมมนานานาชาติ โดย สมาคมมอนเทสซอรีสากล ไมมีบริการหูฟงแปลภาษาแตมีการบรรยายสรุป เปนภาษาไทยประกอบตลอดการสัมมนา

Page 9: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม 2561 / Thursday 18th October 2018

การสัมมนาพิเศษ โดย สถานฑูตนิวซีแลนด หอง SAPPHIRE 108

8

กำหนดการสัมมนาพิเศษ (Special Seminar)

หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

วันที่ 19 ตุลาคม 2561 / Friday 19th October 2018

การสัมมนาพิเศษโดย ศูนยการศึกษาเกาหลีใต หอง SAPPHIRE 203

เกาหลีใต09.00 - 12.30 น.

สอนอยางไรทามกลางยุคแหงความไมแนนอน กรณีศึกษาเกาหลีใต “What Should Be Taught in the Age of Uncertainty: Korean Context”

โดย Bae, Sang Hoon, Ph.D

ศาสตราจารยภาคนโยบายและการบริหารการศึกษา และผูอำนวยการสถาบันวิจัย

นโยบายการศึกษา สำนักศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยซองกยูนกวัน

Professor of Education administration and Policy & Director of

Institute of Education Policy Research, SKKU

Department of Education, Sungkyunkwan University (SKKU)

ถอดรหัสการศึกษานิวซีแลนดสูการเตรียมผูเรียนสำหรับอนาคต“Decoding New Zealand Education to Prepare Students for the Future”

โดย Poonpatra Bulbon Ph.D.,Education Advisor for New Zealand Education

11.00 - 12.30 น.

วันที่ 19 ตุลาคม 2561 / Friday 19th October 2018

Teachers and leaders responding to culturally diverse students in New Zealand

11.00 - 12.30

โดย Maree BranniganCoordinating Director of Tātai Angitu e3@Massey,Tātai Angitu Institute of Education, Massey University

15.30 - 17.00

Teaching as Inquiry – a professional learning tool for teachers by teachersthe New Zealand model in practiceTe Whāriki – weaving personalised and inclusive teaching and learning together

13.30 - 15.00

By Camilla Highfield, University of Auckland Director of Professional Learning and Developmentat the Faculty of Education.

SAPPHIRE 204

Page 10: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

9

03PRINCIPALจากคุณคาของครู สูวิสัยทัศนของผูนำ...เพื่อสรางโรงเรียนในอนาคต

ฟอรั่มครูใหญ (Principal Forum) อีกกิจกรรมที่ทานไมควรพลาดในงาน EDUCA โดย กลุมผูอำนวยการผูนำ(Thailand Principal Forum: TPF)

ดวยตระหนักถึงบทบาทสำคัญของครูใหญท่ีจะนำการเปลี่ยนแปลงมาสูโรงเรียน ทามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ฟอรั่มครูใหญจึงเปนกิจกรรมที่นาสนใจมีเนื้อหาที่เปนประโยชน สรางวิสัยทัศนที่ทันโลกแกกลุมครูใหญทั้งในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

กิจกรรมประกอบดวย การบรรยายเรื ่อง BeyondSchooling: แพลทฟอรมการเร ียนร ู เตร ียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 โดย ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การปฏิรูปการศึกษาจะไมสามารถเกิดข้ึนไดจริง หากโรงเรียนไมมีการปล่ียนแปลงใดๆ การบรรยายน้ี จะชวยสรางวิสัยทัศน วาควรวางเปาหมายอยางไร ควรปรับเปลี่ยนออกแบบการเรียนรูในโรงเรียนอยางไร จึงจะทำใหนักเรียนมีสมรรถนะท่ีเทาทันศตวรรษใหม

FORUM

Page 11: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

10

PRINCIPAL FORUM 2018จากคุณคาของครู สูวิสัยทัศนของผูนำ.. เพื่อสรางโรงเรียนในอนาคต

จากน้ัน ครูใหญ ครู ผูปกครอง ท่ีสนใจจะไดรับรูเร่ืองราวคุณคาของชวงวัยที่สำคัญที่สุดชวงหนึ่งของชีวิต นั่นคือชวงปฐมวัยกับประถมศึกษา ภายใตหัวขอการปฏิรูปการจัดการเรียนรู ในชวงรอยเชื ่อมตอระหวางปฐมวัยและประถมศึกษา โดยรองศาสตราจารย ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจรองประธานคณะอนุกรรมการเด็กเล็ก ในคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา โดยวิทยากรจะนำเสนอการปฏิรูปการเรียนรูในระดับหองเรียนและการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมสำหรับเด็กเปนรายบุคคลและเช่ือมตอระดับปฐมวัยสูประถมศึกษา

ปดทายดวย กรณีตัวอยางที่ประสบความสำเร็จในกระบวนการ Professional Learning Community (PLC)ของโรงเรียนในแตละระดับการศึกษา ท้ังระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เวทีสำคัญท่ีจะชวยใหครูใหญเห็นตัวอยางการทำงานดวยแนวคิด PLC ท่ีมีประสิทธิภาพและเห็นผลชัดเจน จากกรณีศึกษาท่ีประสบความสำเร็จ ซ่ึงสามารถนำไปปรับใชใหเหมาะกับบริบทของตนเองได ดำเนินรายการโดย รองศาสตราจารยลัดดา ภูเกียรติ ประธานกลุมผูอำนวยการผูนำ

หากทานคือ ครูใหญ ...

ผูมีวิสัยทัศนวา “การเรียนรูของผูเรียนเปนหัวใจสำคัญของการปฏิรูปโรงเรียน” และพรอมท่ีจะเรียนรูส่ิงใหมไปกับคุณครูทุกคนในโรงเรียนของทานเพ่ือสรางโรงเรียนในอนาคตสำหรับเด็กไทยของเรา

พลาดไมไดสำหรับ ฟอรั่มครูใหญ (Principal Forum)ในงานมหกรรมทางการศึกษาพัฒนาวิชาชีพครู EDUCA2018: Value of Teachers ในวันศุกรท่ี 19 ตุลาคม 2561เวลา 9.00 – 12.30 น. หอง SAPPHIRE 206อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี

กำหนดการฟอร่ัมครูใหญ

หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปล่ียนแปลงไดตามความเหมาะสม

เวลา 9.00 - 10.00 น.

วันศุกรท่ี 19 ตุลาคม 2561 หอง SAPPHIRE 206

โดย ดร. สุวิทย เมษินทรียรัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Beyond Schooling: แพลทฟอรมการเรียนรู เตรียมคนไทยสูศตวรรษท่ี 21

เวลา 10.00 - 11.00 น.

โดย รองศาสตราจารย ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ รองประธานคณะอนุกรรมการเด็กเล็ก ในคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา

การปฏิรูปการจัดการเรียนรูในชวงรอยเช่ือมตอระหวางปฐมวัยและประถมศึกษา

เวลา 11.00 - 12.30 น.

โดย รองศาสตราจารย ลัดดา ภูเกียรติประธานกลุมผูอำนวยการผูนำ

Best Practice/PLC ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

Page 12: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

11

04 Teacher Identity:บมเพาะความเปนครูCurriculum and Pedagogy: เครื่องมือของครู เพื่อการเรียนรูของเด็กTeacher & New Literacy: ครูกับเขตแดนใหมแหงการเรียนรู(ความรูรอบตัว)Teacher & Professional Development:ครูกับการพัฒนาวิชาชีพTeacher & Society: ครูในสายตาของสังคมNew Wave & Innovation: คนรุนใหมกับการศึกษาSpecial Seminar:สัมมนาพิเศษ

มหกรรมทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาวิชาชีพครู คร้ังท่ี 11 (EDUCA 2018)ท่ีจะจัดข้ึนในวันท่ี 17 – 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561 น้ี มีธีมหลักของงานคือ“Value of Teachers” หรือคุณคาของครู ผูมีหนาที่บมเพาะเยาวชนในอนาคตใหเปนคนเกง ดี และมีความสุข แตดวยสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนไปอยางกาวกระโดดท้ังทางดานสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม รวมถึงความกาวหนาทางเทคโนโลยี ทำใหบทบาทหนาท่ีและคุณคาของครูถูกทาทายและเปล่ียนแปลง ในสังคมแบบโลกาภิวัฒนน้ี วิชาชีพครูยังมีความจำเปนหรือไม และครูมีคุณคาอยางไรในสังคม

EDUCA ปนี้ มุงหวังใหสังคมตระหนักถึงความสำคัญในวิชาชีพครูรวมถึงใหครูไดต้ังคำถามตอตนเองเก่ียวกับคุณคาในวิชาชีพตน ในฐานะผูสรางสรรคเยาวชนท่ีจะเปนกำลังสำคัญและอนาคตของประเทศตอไป

งาน EDUCA 2018: Value of Teachers ประกอบดวยการประชุมวิชาการ7 กลุมหัวขอดังตอไปน้ี

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

Page 13: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

12

การประชุมวิชาการ 7 กลุมหัวขอ

1. Teacher Identity:บมเพาะความเปนครู

จุดเริ่มตนของการพัฒนาครู เริ่มจากเตรียมความพรอมครูใหพรอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในปจจุบัน และในอนาคต หัวขอเหลานี้จะชวยใหครูเห็นตัวตนของ “ความเปนครู” ชัดยิ ่งขึ ้นคุณลักษณะของครูที่จะชวยติดอาวุธทางความคิดและจิตใจเพื่อเผชิญกับความทาทายในการทำงานโดยมีตัวอยางหัวขอที่นาสนใจ ไดแก

2. Curriculum and Pedagogy: เครื่องมือของครู เพื่อการเรียนรูของเด็ก

หลักสูตร และเทคนิคการจัดการเรียนรูท่ีหลากหลายเปรียบเสมือนเครื่องมือที่ครูที่ใชสงเสริมใหนักเรียนเรียนรู อยางตอเนื ่อง ที ่สำคัญยังเปนการเปดโอกาสใหเด็ก ๆ สามารถสรางความรูไดดวยตนเองฉะน้ัน การหม่ันคนควาหา “เครื่องมือ” ชิ้นใหม ๆ มาทดลองใชใหเกิดประโยชนทั้งตอตัวครู และศิษยจึงเปนเรื่องสำคัญ หัวขอที่นาสนใจในกลุมนี้ ไดแก

• การจัดการเรียนรูตามแนวส่ิงแวดลอมศึกษา ในโรงเรียน Eco School โดย โรงเรียนเมืองกระบี่ • การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตร ในชีวิตประจำวัน โดย อาจารย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ และคณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

3. Teacher & New Literacy:ครูกับเขตแดนใหมแหงการเรียนรู(ความรูรอบตัว)

นอกจากความรูและทักษะพื้นฐานแลว ในปจจุบันนักวิชาการไดนำเสนอ “การเรียนรู” รูปแบบใหม ๆท่ีตอบโจทยความตองการโลกปจจุบันและอนาคตที่กำลังไดรับความสนใจจากสังคม เชน geo-literacy, scientific literacy, financial literacyเปนตน ทั้งนี้ รวมถึงการนำแหลงเรียนรูนอกหองเรียน มาสงเสริมการเรียนในหองเรียนดวยมีหัวขอที่นาสนใจดังนี้

• พัฒนาชีวิตคิดแบบ Startup โดย รศ.ดร.นภดล รมโพธิ์ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเปนครูไมเพียงแตตองจัดการเรียนรูใหเด็ก ๆเทานั้น แตยังตองหมั่นพัฒนาตนเอง ทั้งในเชิงวิชาชีพและเชิงบุคคลใหกาวทันโลกอยูเสมอดวยซึ่งในกิจกรรมนี้ ครูและผูอำนวยการจะไดเรียนรูตัวอยางและตนแบบการทำงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาวิชาชีพของครูและโรงเรียน ไดแก- การสรางชุมชนการเรียนรูเชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community หรือ PLC)- การทำวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) - การวิจัยบทเรียน (Lesson Study)- แนวคิดโรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู (School as Learning Community) หรือ PLC มีหัวขอที่นาสนใจ ดังนี้

4. Teacher & Professional Development:ครูกับการพัฒนาวิชาชีพ

• สรางพลวัตการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อยก ระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูในโรงเรียน โดย Q-Coaching • New role of teacher โดย รศ.ดร.อุษณีย อนุรุทธวงศ สมาคมพัฒนาศักยภาพและอัจฉริยะภาพมนุษย • การรับรูความสามารถของครู (Self-efficacy) โดย อาจารย ดร.จรินทร วินทะไชย คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 14: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

13

การประชุมวิชาการ 7 กลุมหัวขอ

4. Teacher & Professional Development:ครูกับการพัฒนาวิชาชีพ (ตอ)

• PLC Interactive Innovation กับ การสราง มโนทัศนและความคิดรวบยอดในการเรียน โดย ดร.อรุณรัสม์ิ บำรุงจิตร โรงเรียนบานหมากแขง • กระบวนการ LS-PLC กับการพัฒนาอาชีพ ของเด็ก: เกาะลานโมเดล โดย หนวยศึกษานิเทศก เมืองพัทยา

บางครั ้งการมองสะทอนตนเองจากบุคคลอื ่นก็เปนสิ่งสำคัญ ชุดกิจกรรมนี้จะเปดโอกาสใหครูไดรับรูความคิดเห็นที่หลากหลายจากคนในสังคมที่มีตอครูและการเรียนรูของเด็ก พรอมทั้งนำเสนอตัวอยางการเรียนรูโดยใชชุมชนเปนแหลงการเรียนรูที่สำคัญ

5. Teacher & Society:ครูในสายตาของสังคม

6. New Wave & Innovation:คนรุนใหมกับการศึกษา

ปจจุบันคนรุนใหม ใหความสำคัญกับเร่ืองการศึกษามากข้ึน อีกท้ังยังมีบางสวนท่ีเร่ิมสรางสรรคนวัตกรรมและกิจกรรมท่ีหลากหลาย เพ่ือสนับสนุนการทำงานของครูกลุมนี้ที่จะมาบอกเลาแนะนำประสบการณรวมถึงแบงปนองคความรูในการทำงาน เพื่อรวมสนับสนุนการทำงานของครูใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

แนวความคิดและประสบการณการจัดการศึกษาจากประเทศชั ้นนำทางการศึกษา เรื ่องที่สังคมไทย ควรถอดบทเรียนเพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครู และการศึกษาของประเทศในการสัมมนาพิเศษจากผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศอาทิ ญี่ปุนนิวซีแลนด เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา สิงคโปรและฟนแลนด ในเรื่องที่เปนไฮไลตของแตละประเทศ

7. Special Seminar:สัมมนาพิเศษ

• เรียนรูจากหนัง: การรับชมภาพยนตรและ วงเสวนาจากภาพยนตร เร่ือง Reach for the SKY (ฝากฝนไวท่ีปลายฟา) โดย Documentary club• พ้ืนท่ีเรียนรูสาธารณะเพ่ือสรางพลเมือง โดย คุณเข็มพร วิรุณราพันธ

• เครือขายคนรุนใหมกับการศึกษาในโลกที่ ผันแปร โดย ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล• ทำอยางไรใหนักเรียนของคุณเปน ซุปเปอรแมนในแบบของเขา โดย มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร (Saturday School)

• Te Whāriki - Weaving Personalised and Inclusive Teaching and Learning Together โดย Maree Brannigan• What Should Be Taught in the Age of Uncertainty: Korean Context โดย Bae, Sang Hoon, Ph.D.

Page 15: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

14

WORKSHOP PROGRAM DAY 1: วันพุธที่ 17 ตุลาคม 2561

หอง

Grand DiamondBallroom

เวลา

201

202

203

204

205

206

102

103

104

105

106

107

108

109

110

111

112

9.00 - 10.30 11.00 - 12.30 13.30 - 15.00 15.30 - 17.00

International Conference

ศ.เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน และคณะสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

นวัตกรรมการจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษาในประเทศไทย

การจัดการศึกษาในรูปแบบรายวิชาเพื่อการฟนฟูภาษาและภูมิปญญาทองถิ่นในกลุมชาติพันธุ

หลักการออกแบบกิจกรรมสรางสรรคสำหรับครูปฐมวัย: จากหลักการสูการปฏิบัติ

การพัฒนาศักยภาพมนุษยดวยกิจกรรมดนตรี สนุกกับคณิตศาสตรในชีวิตประจำวัน

พัฒนาวัยรุนดวยพลังบวก(ทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย)

หลักสูตรสุจริตไทย เพื่อสรางสังคมสุจริต

การออกแบบกิจกรรรมการเรียนรูคณิตศาสตรในชีวิตประจำวัน

คุณครูอัธยา บุณยรัตเศรณี และคุณครูลดาวัล ศิริคติพจนโรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก

ยุทธวิธีรวมพลังสรางสรรคโรงเรียนคุณธรรม

ศน.รังสิมา จันทะโชติ และคณะหนวยศึกษานิเทศกเมืองพัทยา

ครูกับการ "เริ่มตน" สงเสริมการเรียนรูใหกับเด็ก 2 ภาษาในชั้นเรียน

การสงเสริมทักษะอารมณและสังคมสำหรับนักเรียนประถมสูมัธยม กรณีศึกษา

โรงเรียนเพลินพัฒนาฝายมัธยม

สืบคนประวัติศาสตรเพื่อการดำรงอยูในสังคมพหุวัฒนธรรม

พัฒนาเด็กปฐมวัย 4.0 ดวย K-STEM Model

ผศ.นพ.พนม เกตุมาน ประธานชมรมจิตแพทยเด็กและวัยรุนแหงประเทศไทยศ.พญ.วินัดดา ปยะศิลป สมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย

(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

ผศ.ปรณัฐ กิจรุงเรือง คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะจากเทศบาลนครนครปฐม

มีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ

ศ.เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน และคณะสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดสำหรับนักเรียนในสังคมพหุวัฒนธรรม

ผศ.ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ และคณะคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

สรางพลวัตการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูในโรงเรียน

ผศ.ดร.จารุวัจน สองเมืองมหาวิทยาลัยฟาฏอนี และคณะ

ศน.รังสิมา จันทะโชติ และคณะหนวยศึกษานิเทศก เมืองพัทยา

สรางสรรคนวัตกรรมรักษสิ่งแวดลอม PLCอาจารย ผกาพันธุ วีระสิงห และคณะ

โรงเรียนเมืองพัทยา 7 (บานหนองพังแค)

นพ.อุดม เพชรสังหาร และอาจารย วิชัย เขียวรัตนMBRT-Drum Circle

อาจารย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ และคณะคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

และสถาบัน Math Express

อาจารย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ และคณะคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

และสถาบัน Math Express

ดร.ทิพวรรณ นันตระกูลORIGO Education

การพัฒนาความเขาใจเรื่อง Number Factในระดับปฐมวัยถึงระดับปฐมศึกษาตอนตน

ผศ.ดร.น้ำมนต เรืองฤทธิ์ และคณะคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

นวัตกรรมสมัยใหมสำหรับการจัดการเรียนการสอนในยุค 4.0

รศ.นพ.สุริยเดว ทรีปาตีสถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว

มหาวิทยาลัยมหิดล

จิตวิญญาณความเปนครู:ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน

รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รศ.ยืน ภูวรวรรณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ทำไมวิทยาการคำนวณจึงมีความสำคัญ(Why Computing is so Important ?)

ดร.วิริยะ ชัยพาณิชย และคณะเว็บไซต eduzones

เปลี่ยนมุมมองครูเกี่ยวกับความสามารถพิเศษอาจารย ดร.ลินดา เยห และ ผศ.ดร.ธิดา ทับพันธุ

คณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผศ.ดร.เมษา นวลศรี และ อาจารย ดร. นิติกร ออนโยนคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ

ในพระบรมราชูปถัมภ

การสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทียบเคียงตัวชี้วัด

อาจารยกฤษดา สงวนสิน และคณะโรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ศูนยวิจัยและพัฒนาการศึกษา

การจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับประถมศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560):การวิเคราะหสูการกฏิบัติ

Phenomenon-based Teaching & Learningการสอนและการจัดการเรียนรูโดยใชปรากฏการณเปนฐาน

อาจารย ดร.พงศธร มหาวิจิตร คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เขาใจกลุมคนที่ถูกลืมในระบบการศึกษาไทย:ทำไม อยางไร ไดอะไร?

อาจารย Timo Tapani Ojanen และคณะคณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อาจารย ดร.สุนทรี ศิริอังกูร และอาจารย สมบุญ พุทธบุตรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

การใชชุมชนแหงการเรียนรูเชิงวิชาชีพสรรสราง 1 โรงเรียน 1 นวัตกรรมการเรียนรู (OSOI)

ผศ.ดร.อังคณา ขันตรีจิตรานนท และคณะคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การปรับพฤติกรรมและการจัดการเรียนรูสำหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษในชั้นเรียน

1 โรงเรียน 1 อาชีพ(One School One Career : OSOC)

มากมายคุณอนันต ผลิตภัณฑจากทุเรียนคุณครูอัธยา บุณยรัตเศรณี

โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก

การเรียนรูบูรณาการเนนการสรางผลิตภัณฑสรางสรรคในงานมงคล

ผอ.วิสา จรัลชวนะเพท และคณะโรงเรียนบานบางเหนียว

โปรแกรมการเรียนภาษาอังกฤษที่เนนผูเรียนใหสามารถปฏิสัมพันธกับเนื้อหากิจกรรม

Interactive E-learningผอ.วิสา จรัลชวนะเพท และคณะ

โรงเรียนบานบางเหนียว

วิจัยในชั้นเรียนผาน PLC: บทบาทครูนวัตกร ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร

สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดล

Executive Functions (EFs):ทักษะของครูในศตวรรษที่ 21

อาจารย ดร.ฑมลา บุญกาญจนคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Critical Thinking:การคิดอยางมีวิจารณญาณสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย ดร.ปยะนันท หิรัณยชโลทรคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คุณครูภูริทัต ชัยวัฒนกุล และคณะ

โรงเรียนเพลินพัฒนา

สอนใหสนุกผานเกมกระดาน(Using Board Games for Teaching) (2)

อาจารย ดร.พุทธชาด อังณะกูร และคณะคณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Characteristics of Teachersand Students’ Creativity

รศ.ดร.อารี พันธมณีมูลนิธิสงเสริมเด็กปญญาเลิศ

(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)ผอ.ฐานันดร ไบรนางกูร และคณะ

โรงเรียนกฤตศิลปวิทยา

พัฒนาการเขียนแผนบูรณาการความพอเพียงกับการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนดวย PLC:

สรางโรงเรียนแหงความสุขดร.พิรุณ ศิริศักดิ์ และคณะ

โรงเรียนราชินีบน

ดร.พิรุณ ศิริศักดิ์ และคณะโรงเรียนราชินีบน

Positive Psychology and Learning (1)ผศ.นพ.พนม เกตุมาน ประธานชมรมจิตแพทยเด็กและวัยรุนแหงประเทศไทยศ.พญ.วินัดดา ปยะศิลป สมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย

(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

Positive Psychology and Learning (2)

อาจารยอธิษฐาน คงทรัพย และคณะคณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ทักษะการโคชเพื่อครู เครือขายการพัฒนาสถานศึกษาสูการเรียนรูอยางมีความสุข: กรณีตัวอยางโรงเรียนขนาดเล็ก

ผศ.ปรณัฐ กิจรุงเรือง คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะจากโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

การพัฒนารูปแบบการสอนตามอัตลักษณของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพทั้งโรงเรียน : กรณีตัวอยางโรงเรียน

สาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุลและคุณครูเครือขาย Thai Civic Education

พลเมืองโลกเพื่อความยั่งยืน:จากแนวคิดสูการปฏิบัติในชั้นเรียน และโรงเรียน

รศ.ดร.กัมปนาท ภักดีกุลคณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การสอนแนวคิดเชิงระบบเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอม(How to Teach System Thinking for

Environmental Management)รศ.ดร.กัมปนาท ภักดีกุล

คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

เรียนรูทักษะชีวิต:เตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ

รศ.ดร.ลัดดา ภูเกียรติ และคณะ โรงเรียนสาธิตพัฒนา

การเสริมสรางพลังอำนาจของครู ผานการศึกษาบทเรียนที่เชื่อมโยงดวยการทำวิจัยปฏิบัติการ และ

การเรียนรูแบบรวมมือรวมพลังในชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ: วิถีทางของโรงเรียน

อาจารยกนก จันทราโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฝายมัธยม

การรูเรื่องภูมิศาสตรกับความสามารถในการเขาใจปฏิสัมพันธระบบมนุษยและธรรมชาติ

รศ.ดร.นวลจันทร จุฑาภักดีกุลสถาบันชีววิทยาศาสตรโมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

Executive Function (EF) กับการศึกษาอาจารยนิธิ จันทรธนู และคณะ

โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตร

นิเวศการเรียนรูสูหองเรียนที่มีชีวิต

ผศ.ดร.สิทธิชัย วิชัยดิษฐ และคณะคณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

STEM Canvas: เครื่องมือชวยครูออกแบบการเรียนรูสะเต็มศึกษาดวยตนเอง

สอนใหสนุกผานเกมกระดาน(Using Board Games for Teaching) (1)

อาจารย ดร.พุทธชาด อังณะกูร และคณะคณะวิทยาการเรียนรูและศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เครือขาย Thai Civil Education และ Documentary Club

เรียนรูจากหนัง:การรับชมภาพยนตรและวงเสวนาจากภาพยนตรสารคดี “Childhood: โรงเรียนริมปา”

ผศ.ดร.วศิณีส อิสรเสนา ณ อยุธยา และคณะโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

ฝายประถม และสถาบันอาศรมศิลป

การพัฒนาทักษะเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ผานการจัดประสบการณสะเต็มศึกษา

การพัฒนาแอปพลิเคชัน เพื่อเสริมสรางการอาน-การเขียน ของเด็กที่มีปญหาการเรียนรู

อาจารย ดร.ศศินันท ศิริธาดากุลพัฒน และคณะคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

สอนเด็กทําโครงงานวิทยตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (ครูระดับประถมศึกษา)

อาจารยกิ่งทอง ใบหยก อาจารยวันเพ็ญ เขียนเอี่ยม และคณะสมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษาไทย

สอนเด็กเขียนรายงานโครงงานอยางถูกตอง(สําหรับครูทุกระดับ)

ผศ.ดร.อลิศรา ชูชาติ และคณะสมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษาไทย

ครูไทยรูทันเทคโนโลยีดิจิทัล: แนวทางรังสรรค(สําหรับครูทุกระดับ)รศ.ดร.บุปผชาติ ทัฬหิกรณ

สมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษาไทย

อาจารย นพ. พิพัฒน ชุมเกษียร และคณะสมาคมจิตวิทยาแหงประเทศไทย

สติปญญา และคุณ คาของความเปนครูยุค 4.0 (Cognition and Value of

Being the Teacher in 4.0 Era)ครู 4.0 จัดการตนเองเทาทันชีวิตยุคดิจิทัล

ดร.วันทนา ปทุมอนันต และคณะสมาคมจิตวิทยาแหงประเทศไทย

อาจารย ดร.สุธาวัลย หาญขจรสุขมูลนิธิสงเสริมเด็กปญญาเลิศ

(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

Growth Mindset School

รศ.ดร.ศศิลักษณ ขยันกิจ และคณะคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

AfL: จากประเมินสูวิจัยในชั้นเรียนของครูอนุบาล

3 in 1 : กระบวนการเรียนรูลูกเสือสำหรับนักเรียนในศตวรรษที่ 21คุณครูศุภานัน เอกธีรธรรม และคณะ

โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย

Page 16: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

15

WORKSHOP PROGRAM DAY 2: วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม 2561

หอง

Grand DiamondBallroom

เวลา

201

202

203

204

205

206

102

103

104

105

106

107

108

109

110

111

112

9.00 - 10.30 11.00 - 12.30 13.30 - 15.00 15.30 - 17.00

การพัฒนาวิชาชีพครูดวยกระบวนการชุมชนแหงการเรียนรูเชิงวิชาชีพ (PLC-LS) : แนวคิดสูการปฏิบัติจริง

การเรียนรูวิทยาศาสตรเพื่อคิดผลิตภาพดวยเทคโนโลยี

ครูของครู: ใครฝก และ ฝกอยางไร (Who train, How to train them)

รศ.ดร.ไมตรี อินทรประสิทธิ์คณะศึกษาศาสตร

และสถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครูสําหรับ อาเซียนมหาวิทยาลัยขอนแกน

รศ.ดร.อุษณีย อนุรุทธวงศ และคณะสมาคมพัฒนาศักยภาพและอัจฉริยภาพมนุษย(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

The New Role of Teachers

อาจารยสุทัศน เอกา

การถอดบทเรียนเพื่อสรางกิจกรรมการเรียนรู

Make learning fun! - How mobile micro-learning foster learner engagement and improve memorization and skill development of

21st century studentsMaik Fuellmann and team from QUIZZBIZZ Hong Kong,

UNIQUIZZ Thailand (Edtech Companies)(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ มีลามแปลสรุปตลอดการทํากิจกรรม)

การออกแบบและใชสื่อ Infographicเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู

อาจารยฐิติวุฒิ นันทิภาคยหิรัญ และอาจารยคมจรัส แกวชัยเจริญกิจ

Wizes Creative Media

ผศ.ดร.ปรณัฐ กิจรุงเรือง และคณะคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผศ.สุรางค มันยานนทคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบานจอมบึง

ภาษาอังกฤษเนนทักษะการสื่อสารสําหรับเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 แนวคิดสื่อการสอนเพลงและเกม

PLC Interactive Innovation กับการสรางมโนทัศนและ

ความคิดรวบยอดในการเรียนอาจารย ดร.อรุณรัสมิ์ บํารุงจิตร และคณะ

โรงเรียนบานหมากแขง

คุณเข็มพร วิรุณราพันธสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน

และเครือขาย Thai Civic Education

พื้นที่เรียนรูสาธารณะเพื่อสรางพลเมือง

สถาปตยกรรมเพื่อการเรียนรู - การพัฒนาและบริหารจัดการเชิงกายภาพ

เพื่อการเรียนการสอนอาจารยเอกภพ สุขสุดไพศาล

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทบาทของครูในการพัฒนาเด็กแบบองครวมโดยใชแนวการสอนแบบมอนเทสซอรีมีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ/Simultaneous translation is provided from English – Thai – English

Special Seminar by Association of Montessori Internationale (AMI) and Montessori Association of Thailand (MAT)"Montessori Method For Holistic Development of the Child"

ดร.นาฎฤดี จิตรรังสรรค โรงเรียนสาธิตบางนา และ คุณยุวเรศ ภูมิวัฒน บริษัท แพคริมฟวเจอรลีดเดอร

วินัย 4 ประการ สูความสําเร็จอยางยั่งยืน

Lesson Study (LS) ผาน PLC สูงานวิจัยในชั้นเรียน:บทเรียนสำคัญจาก WALS 2017 (World Association of Lesson Studies)

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล ศน.ณัฏฐเมธร ดุลคณิตและคณะครูในเครือขาย Thai Civic Education

พลเมืองโลกกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูในกลุมสาระสังคมศึกษาฯ

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล ศน.ณัฏฐเมธร ดุลคณิตและคณะครูในเครือขาย Thai Civic Education

พลเมืองโลกกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการขามกลุมสาระฯ

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล คุณครูปราศรัย เจตสันติ์และคณะครูในเครือขาย Thai Civic Education

หองเรียนสรางความเปนพลเมืองดวยกระบวนการ Geo-Literacy

อาจารยเข็มพร วิรุณราพันธ และอาจารยอินทิรา วิทยสมบูรณสถาบันสื่อเด็กและเยาวชนและเครือขาย Thai Civic Education

พื้นที่เรียนรูสาธารณะเพื่อสรางพลเมือง (Workshop)

รศ.ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา และ อาจารย ดร.สิริกร โตสติคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การวิจัยในชั้นเรียนดวยการรูจักผูเรียนรศ.ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา และ อาจารย ดร.สิริกร โตสติ

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การวิจัยในชั้นเรียนดวยนวัตกรรม

คุณครูปรีชากร ภาชนะโรงเรียนภูเขียว

กระบวนการใชแผนภาพเพื่อเสริมสรางการคิดสรางสรรคทางคณิตศาสตร

ดร.นาฎฤดี จิตรรังสรรค และอาจารยอนิวัฒน ทองสีดาโรงเรียนสาธิตบางนา

การพัฒนาชุมชนการเรียนรูของครูสูการสอนศิลปสรางสุข

ผศ.ดร.ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย และอาจารย ดร.จิตรณรงค เอี่ยมสําอางค

มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะครูโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม

การพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดวยกระบวนการ PLC

รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ และคุณคงวุฒิ นิรันตสุขคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

การออกแบบโครงงานสะเต็มที่บูรณาการสาระ

อาจารยโตมร อภิวันทนากรกลุมมานีมานะ และเครือขาย Thai Civic Education

การรูเทาทันสื่อในสังคมพหุวัฒนธรรม

คุณโตมร อภิวันทนากรกลุมมานีมานะ และเครือขาย Thai Civic Education

การออกแบบเนื้อหาเรียนรูเพื่อสรางคุณลักษณะเด็กที่มีสุขภาวะทางเพศสำหรับชั้นประถมศึกษา

อาจารย ดร.พัทธธีรา นาคอุไรรัตน และคณะสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

สันติภาพศึกษากับการสรางพลเมืองประชาธิปไตย

ศน.รังสิมา จันทะโชติ และคณะหนวยศึกษานิเทศกเมืองพัทยา

นวัตกรรมในการเริ่มตนทํา PLC เพื่อพัฒนาครูในโรงเรียนและเครือขาย

คุณครูนฤมล อินทพงษ และคณะร.ร.เมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา)

การใชคําถามตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21

ศน.รังสิมา จันทะโชติ และคณะหนวยศึกษานิเทศกเมืองพัทยา

สอน STEM ผาน PLCสําหรับครูอนุบาลและครูศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

ผศ.ดร.ศศิเทพ ปติพรเทพิน และ ผศ.ดร.อรพรรณ บุตรกตัญู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผศ.ดร.อรพรรณ บุตรกตัญู และ ผศ.ดร.ศศิเทพ ปติพรเทพิน

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การคิดเปนภาพสูการคิดผลิตภาพของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21

อาจารย ดร.เฉลิมลาภ ทองอาจโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฝายมัธยม

คุณคาของครูภาษาไทยกับการเปนแบบอยางทางปญญา (cognitive modeling)ในการสอนอานเอาความ (reading comprehension)

ภาษาไทยระดับประถมศึกษาDr. Camilla Highfield, University of Auckland

**มีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ**

Special seminar by Embassy of New Zealand"Teachers and leaders responding

to culturally diverse students in New Zealand"

Maree BranniganTātai Angitu Institute of Education, Massey University

**มีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ**

Special Seminar by Embassy of New Zealand"Teaching as Inquiry – a professional learning tool

for teachers by teachers– the New Zealand model in practice"

aree BranniganTātai Angitu Institute of Education, Massey University

**มีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ**

Special Seminar by Embassy of New Zealand"Te Whāriki – weaving personalised and inclusive

teaching and learning together"

ผศ.พญ.สุภิญญา อินอิวสมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย

วัยรุน วัยวุน

รศ.พญ.จิราภรณ อรุณากูรสมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย

การลอแกลง รังแกในโรงเรียน(Bullying at School) รศ.นพ.ชาญวิทย พรนภดล และ พญ.ทิพาวรรณ บูรณสิน

สมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

E-Sport & Game Addiction

อาจารย ดร.ศิริพร ศรีจันทะ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยProf. Lin, Kuen-Yi, National Taiwan Normal University และคณะ

ปฏิบัติการเรียนรูตามแนวคิด STEAM Education: ประสบการณของไทยและไตหวันสําหรับครูประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

อาจารย ดร.ชนิศา ตันติเฉลิม และคณะคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เทคนิคการสอนเด็กพิเศษ: จากหิ้ง (วิจัย) สูหอง (เรียน)

(มีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ/Simultaneous translation is provided from English – Thai – English )

International Special Workshop by Raffle Girls School (RGS), Singapore"Developing PLC in School"

อาจารย ดร.สิริลักษณ โปรงสันเทียะ และคุณครูปทมาภรณ เสือทองปาน

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

จิตศึกษากับชั้นเรียนรวม(Jitsuksa for Inclusive Classroom)

Ms.Dolly SethiDenla Kindergarten School

(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ/Conducted in English)

Incorporating Songs with English Language Lesson to Enhance Fun Learning

for Young learners aged 2.5 - 6 years oldคุณหสตกมล ดวงมณี คุณพันทิวา ลาคํา

คุณพัฒน ทรงชาติ และคุณมินตรา พิทักษเมธากุล(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ /Conducted in English)

Sharing for the Best:The Key Process in TLC

อาจารยอรวิภา ดุรงคธรรมมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และคณะ

สอนภาษาอังกฤษอยางไรใหเด็กอานออก:การแกไขปญหา การอานไมออกในระดับประถม

และมัธยมศึกษา

ถ้ํา..ไมใชแครูในภูเขาอาจารย ดร.ชัยพร ศิริพรไพบูลย

นักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

คณะครูผูไดรับรางวัล Innovative Teachers Leadership Awardผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูดำเนินรายการ

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสําหรับหองเรียนยุคดิจิทัล:เสวนากับครูรางวัล

Innovative Teachers Leadership Awardอาจารย ดร.กิตติพันธ อุดมเศรษฐ และคณะ

โรงเรียนปรินสรอยแยลสวิทยาลัย

Flipped Learning & Active Learnersในโรงเรียนปรินสรอยแยลสวิทยาลัย

ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา โรงเรียนสัตยาไสรศ.ประพันธศิริ สุเสารัจ

ประธานสภาคณบดีคณะครุศาสตร ศึกษาศาสตรแหงประเทศไทยและคุณครูเรียม สิงหทอง โรงเรียนบานขอบดง

เสวนา "อนาคตครูในยุคดิจิทัล"

อาจารย ดร.เบญจรัตน แซฉั่ว และคณะสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

และเครือขาย Thai Civic Education

สิทธิมนุษยชนศึกษาในโรงเรียน

ผศ.ดร.ดนีญา อุทัยสุขคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทเพลงพระราชนิพนธเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผูเรียน

ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และคณะ

การบูรณาการเทคโนโลยีกับกิจกรรมการเรียนการสอน Active Learning

อาจารย ดร.แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

และอาจารยดรณี จันทรหลานักจิตวิทยาคลินิค โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม

พัฒนาเด็กอยางสมดุล: อารมณ สังคมความคิดและพฤติกรรม

กลุม Thailand Principal Forum

Lesson Study (LS) ผาน PLC สรางโรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู:กรณีตัวอยางโรงเรียนไทยทุกสังกัด

กลุม Thailand Principal Forum

องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.)

ของเลนวิทยาศาสตรภูมิปญญาไทย

อาจารยฐาปนา จอยเจริญ และคณะคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ

รหัสลับการออกแบบการจัดการประสบการณตามแนวทางสะเต็มศึกษาสำหรับครูปฐมวัย

Page 17: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

16

WORKSHOP PROGRAM DAY 3: วันศุกรที่ 19 ตุลาคม 2561

หอง

Grand DiamondBallroom

เวลา

201

202

203

204

205

206

102

103

104

105

106

107

108

109

110

111

112

9.00 - 10.30 11.00 - 12.30 13.30 - 15.00 15.30 - 17.00

Active Learning-PLC กับ Logbook: สอนครูบันทึกและนับภาระงาน

รศ.ดร.พิมพันธ เดชะคุปต และ รศ.พเยาว ยินดีสุข คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การเรียนรูเชิงรุกแบบรวมพลังเสริมสรางทักษะการคิดแหงศตวรรษที่ 21รศ.ดร.พิมพันธ เดชะคุปต และ รศ.พเยาว ยินดีสุข

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาอังกฤษในยุคศตวรรษที่ 21

โดยใชหลักการของเกม (Gamification)ดร.กัญชร มัททวีวงศ และคณะ

บริษัท ไทยอินฟอรเมชั่นพับลิชชิ่งซิสเต็มส จํากัด

จาก CMS (LS) สราง PLC สู SLC:เจริญจากภายใน

รศ.ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา และคณะคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คุณสมบัติครูประถมศึกษาในยุคดิจิทัล บทบาทการเปนครูประจําชั้นบริบทสังคมยุคดิจิทัล

ผศ.ดร.ยศวีร สายฟาคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การจัดหองเรียนเชิงบูรณาการเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต

อาจารย ดร.ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัยคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

พิพิธภัณฑกับการจัดการเรียนรูอาจารยปทุมมา บําเพ็ญทาน

คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Bae, Sang Hoon, Ph.D. (มีบริการหูฟงแปลภาษาอังกฤษ - ไทย - อังกฤษ/Simultaneous translation is provided from English – Thai – English )

Special Seminar by Korean Education Center"What Should Be Taught in the Age of Uncertainty: Korean Context"

อาจารยสืบศักดิ์ นอยดัด และคณะสถาบันอาศรมศิลปและโรงเรียนรุงอรุณ

การจัดการเรียนรูแบบองครวม (Holistic Learning) ผานการออกแบบหลักสูตรที่เขาถึงระบบคุณคา (Value Oriented Curriculum: VOC)

โดยเนนบูรณาการการเรียนแบบใฝรู (Active Learning)

Special Seminar by Embassy of New Zealand"ถอดรหัสการศึกษานิวซีแลนดสูการเตรียมผูเรียนสําหรับอนาคต

(Decoding New Zealand Educationto prepare students for the future)"

Dr. Poonpatra Bulbon(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

e-PLC :Ethics Professional Learning Community

ผศ.ดร.ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน และคณะคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

เครือขายคนรุนใหมกับการศึกษาในโลกที่ผันแปรเครือขาย Thai Civic Education

ทีมจาก EDWINGs Education และ Saturday Schoolดร.วิริยะ ชัยพาณิชย และอาจารยณิชานันทน คําเสริฐ

เว็บไซต eduzones

การสอนแบบสรางสรรคเปนฐานความคิดสรางสรรค(Creativity-based Learning: CBL)

ฟอรั่ม ครูใหญ : Principal Forumการรูเทาทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล

เพื่อสรางพลเมืองอาจารยเข็มพร วิรุณราพันธ สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน

และคณะครูในเครือขาย Thai Civic Education

วงเสวนาเปดตัวหนังสือถอดประสบการณชีวิตครูรุนใหม 16 คน

"ครูผูสรางพลเมือง"ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล

และครูในเครือขาย Thai Civic Education

PLC ของคุณครูสูการพัฒนาวินัยเชิงบวกในชั้นเรียนประถมศึกษาอาจารย ดร.เรวณี ชัยเชาวรัตน และคณะ

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

การเรียนรูประวัติศาสตรเพื่อกาวขามความเกลียดชัง

คุณครูทวิช ลักษณสงาและคุณครูในเครือขาย Thai Civic Education

การทดสอบทางจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาผูเรียนผศ.ดร.กมล โพธิเย็น และคณะ

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

การรับรูความสามารถของครู (Self-efficacy)อาจารย ดร.จรินทร วินทะไชย

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กิจกรรมทางคณิตศาสตรสําหรับผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ในยุค Thailand 4.0:

ประถมศึกษาอาจารย ดร.จงกล ทําสวน

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กิจกรรมทางคณิตศาสตรสําหรับผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ในยุค Thailand 4.0:

มัธยมศึกษาตอนตนอาจารย ดร.จงกล ทําสวน

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กิจกรรมทางคณิตศาสตรสําหรับผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ในยุค Thailand 4.0:

มัธยมศึกษาตอนปลายอาจารย ดร.จงกล ทําสวน

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การรูเทาทันดานเศรษฐศาสตร (Economic Literacy)การเงิน (Financial Literacy) และผูประกอบการ(Entrepreneur Literacy) สมรรถนะแหงอนาคต

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุลและครูในเครือขาย Thai Civic Education

ความเชื่อ อัตลักษณ ความเปนผูนําของคนเปนครูผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล

เครือขาย Thai Civic Education

กระบวนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาเสนทางทองเที่ยวในทองถิ่น

ดร.เฉลิมชัย พันธเลิศ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

และอาจารย ดร.วศิน ปญญาวุธตระกูล มหาวิทยาลัยนเรศวร

เกมและนิทานภาพประกอบเพื่อเสริมสรางทักษะการเอาชีวิตรอดจากภัยพิบัติ: จากญี่ปุน

สูกรณี 13 ชีวิตทีมฟุตบอลหมูปา อคาเดมี จ.เชียงรายคุณรัตติกร วุฒิกร คุณธนะชัย สุนทรเวช

และเครือขายเยาวชนไทยจากโครงการ HANDsเครือขาย The Japan Foundation, Bangkok

Assess for Success

Mr.Patthanah SongchatWat Ban Kae School and team

(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ/Conducted in English)

English Language Teachingthrough Performing Arts

Mr.Bundith Punsiri and the team fromEngage to Learn Co., Ltd.

(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ/Conducted in English)

นวัตกรรมสําหรับทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21ทําอยางไรในชั้นเรียนคณิตศาสตร ระดับประถม

ผศ.ดร.นฤมล ชางศรี และคณะคณะศึกษาศาสตร และสถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครู

สําหรับอาเซียน มหาวิทยาลัยขอนแกน

นวัตกรรมสําหรับทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21ทําอยางไรในชั้นเรียนคณิตศาสตร ระดับมัธยม

รองศาสตราจารยเอื้อจิตร พัฒนจักร และคณะคณะศึกษาศาสตร และสถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครู

สําหรับอาเซียน มหาวิทยาลัยขอนแกน

คุณคาของครูภาษาไทยกับการสอนวรรณคดีไทยระดับมัธยมศึกษา เพื่อใหผูเรียนเปนผูสรางความหมายดวย

วิธีสนทนาของโสกราตีส (Socratic Method)รศ.ขัณธชัย อธิเกียรติ

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

7 อุปนิสัยของผูมีประสิทธิผลสูง (7 Habits)อาจารยสมพงษ เลี้ยงเจริญ

พัฒนาชีวิตคิดแบบ Startupรศ.ดร.นภดล รมโพธิ์

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การมุงสูวิสัยทัศนไมทิ้งใครไวขางหลังดวยกระบวนการสังเกตและชวยเหลือนักเรียน

ของโรงเรียนเพลินพัฒนา ฝายมัธยมคุณครูภูริทัต ชัยวัฒนกุล และคณะ

โรงเรียนเพลินพัฒนา

ดาราศาสตรและอวกาศเพื่อเสริมสรางการรูวิทยาศาสตร ของนักเรียนมัธยม

อาจารย ดร.พรเทพ จันทราอุกฤษฎ และคณะโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฝายมัธยม

การเรียนรูเรขาคณิตโดยเปนภาพมโนทัศน

ผศ.ดร.ทรงชัย อักษรคิดคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การรูเทาทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลเพื่อสรางพลเมือง (Workshop)

คุณเข็มพร วิรุณราพันธ สถาบันสื่อเด็กและเยาวชนและคุณครูในเครือขาย Thai Civic Education

การจัดการหองเรียน และ เด็กบกพรองดานการเรียนรูศ.คลินิก พญ.วินัดดา ปยะศิลป และ อาจารย พญ.สุธาทิพย เอมเปรมศิลป

สมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย

Evaluation & Intervention for Developmental Problems in Preschoolรศ.พญ.อิสราภา ชื่นสุวรรณ และ รศ.นพ.วีระศักดิ์ ชลไชยะ

สมาคมกุมารแพทย และราชวิทยาลัยกุมารแพทย(บรรยายเปนภาษาไทย/Conducted in Thai)

การวัดประเมินผล Soft Skills

ผศ.ดร.ณัฏฐภรณ หลาวทองคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Powerland กับระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

รศ.นพ.สุริยเดว ทรีปาตี และคณะสถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว

และกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข

เหตุผลดีก็มีชัยในวิจัยไปกวาครึ่ง: การคิดเชิงเหตุผลกับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนอาจารย ดร.กณิษฐ ศรีเคลือบ

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กระบวนการ LS-PLC กับการพัฒนาอาชีพของเด็ก: เกาะลานโมเดล

ศน.รังสิมา จันทะโชติ และคณะหนวยศึกษานิเทศกเมืองพัทยา

เทคนิคการสอนควบคูการประเมินหลากหลายสูผลการเรียนรูเด็ก (SLO)

คุณครูวิราวรรณ สมเขื่อน และคณะหนวยศึกษานิเทศกเมืองพัทยา

เรียนรูจากหนัง: การรับชมภาพยนตรและวงเสวนาจากภาพยนตรสารคดี Reach for the SKY: ฝากฝนไวที่ปลายฟา

เครือขาย Thai Civil Education และ Documentary Club

การจัดประสบการณตามแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย(Reggio Emilia) ในหองเรียนเด็กปฐมวัยสี่ภูมิภาค

ตามบริบทสังคมไทยอาจารย ดร.สุจินดา ขจรรุงศิลป สถาบันอาศรมศิลป

และภาคีเครือขาย สพป.ตราด สพป.พะเยา เขต 2 สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 และสพป.ศรีสะเกษ เขต 1

เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ดวย Digital Learning

อาจารย ดร.ธีรศักดิ์ สรอยคีรีคณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

การจัดการเรียนรูตามแนวสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียน Eco School

ผอ.วสันต ปญญาและคณะครูจากโรงเรียนเมืองกระบี

Coaching-Mentoring ผาน PLC:ยุทธศาสตรเพิ่มพลังโรงเรียน

เปนชุมชนแหงการเรียนรูผอ.วสันต ปญญา

และคณะครูจากโรงเรียนเมืองกระบี

การสรางความเปนพลเมืองประชาธิปไตยผานวิชาประวัติศาสตรไทย

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล คุณครูปราศรัย เจตสันตและคุณครูในเครือขาย Thai Civic Education

การยับยั้งชั่งใจ: กุญแจสูการควบคุมอารมณ(Inhibition: A Key to Emotional Regulation)

อาจารย จันทิมา ขณะรัตน และคณะหลักสูตรจิตวิทยาระดับบัณฑิตศึกษา

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

เทคนิคการใหคําปรึกษาสําหรับครูเพื่อชวยเหลือนักเรียนที่มีปญหาความเสี่ยงทางอารมณ(Counseling Techniques for Teachersto Help Emotional At-risk Students)

อาจารยเทพรัตน พานิชย่ิง และคณะหลักสูตรจิตวิทยาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ทําอยางไรใหนักเรียนของคุณเปนซุปเปอรแมนในแบบของเขา

(How to enable your students to be SUPERMAN?)คุณสรวิศ ไพบูลยรัตนากร และคณะ

มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร (Saturday School)

การออกแบบการจัดการเรียนรูแบบActive Learning เพื่อสงเสริมทักษะการคิดขั้นสูง

อาจารย.ดร.ปรมะ แขวงเมือง และคณะคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยนครพนม

หลักสูตรดานการออกแบบสามารถสรางผูเรียนใหเปนนักออกแบบเพื่อความยั่งยืนไดอยางไร

อาจารย ดร.ตรีชฎา โชติรัตนาภินันทอาจารยเกวลิน ศักด์ิสยามกุล และคณะนักศึกษาจากมัณฑนศิลป

มหาวิทยาลัยศิลปากร

เรียนไปทำไม?UP level หองเรียนผานกระบวนการ 4C

อาจารยณัฐรดา เลขะธนชลท และคณะEDWINGS Education

วิทยนอกหองกับวิศวกรรมรอบตัวองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.)

ปนความคิด สูนักคิดดิจิทัลองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.)

การเก็บรักษาตัวอยางพรรณไมองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.)

การประชุมสภาคณบดีคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรแหงประเทศไทย(ไมเปดใหลงทะเบียน)

Page 18: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

แพคเกจการลงทะเบียนเขารวมงาน EDUCA 2018

หมายเหตุ1. คาลงทะเบียนขางตนไมรวมคาธรรมเนียมในการทำธุรกรรมผานธนาคาร2. EDUCA ขอสงวนสิทธิ์ไมคืนเงินคาลงทะเบียนไมวาในกรณีใด ๆ ทั้งสิ้น และสิทธิประโยชนที่ไดจากการลงทะเบียน เขางานไมสามารถโอนใหกับผูอื่นได3. แพคเกจการลงทะเบียนและสิทธิประโยชนตาง ๆ มีไวสำหรับการลงทะเบียนออนไลนตั้งแตเดือนสิงหาคมจนถึง วันที่ 5 ตุลาคม 2561 เทานั้น4. กำหนดการการลงทะเบียนอาจมีการเปลี่ยนแปลงโดยไมตองแจงลวงหนา โดยผูที่สนใจสามารถติดตามขาวสาร การลงทะเบียนไดทาง Website และ Facebook Page ของ EDUCA ไดตลอดเวลา

แพคเกจการลงทะเบียนเขารวมงานราคาปกติ

สิทธิในการเขารวมการประชุมเชิงปฎิบัติการ 4 หัวขอในวันที่เลือก ไมรวมอาหาร

One Day Pass 300 บาทตอวัน (17, 18 หรือ 19 ตุลาคม 2561)

1,500 บาท

800 บาท

550 บาท

450 บาท

Package C: Workshop Package

Package A: International Conference Package

Package B: All-inclusive workshop package

Package D: Limited Workshop Package

สิทธิในการเขารวมการประชุมนานาชาติ (17 ตุลาคม 2561)พรอมอาหารกลางวัน 1 วัน

สิทธิในการเขารวมการประชุมเชิงปฎิบัติการ 12 หัวขอพรอมอาหารกลางวัน ตลอด 3 วัน

สิทธิในการเขารวมการประชุมเชิงปฎิบัติการ 12 หัวขอตลอด 3 วัน ไมรวมอาหารกลางวัน

สิทธิในการเขารวมการประชุมเชิงปฎิบัติการ 8 หัวขอตลอด 3 วัน ไมรวมอาหารกลางวัน

1,300 บาท

** แพ็คเกจโปรโมชั่นมีจำนวนจำกัดสำหรับผูลงทะเบียน 500 คนแรกเทานั้น

หมดเขตโปรโมชันวันที่ 31 สิงหาคม 2561

สิทธิในการเขารวมการประชุมนานาชาติวันที่ 17 ตุลาคม 2561 + อาหารกลางวัน 1 วัน

สิทธิในการเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ4 หัวขอตามความสนใจไมรวมอาหารกลางวัน

แพคเกจโปรโมชั่นEarly-bird International Conference Package

Montessori Special Seminarรวมอาหารกลางวัน 1 วัน

1,500 บาท

2,500 บาท

PLC Special Seminar by RGSรวมอาหารกลางวัน 1 วัน

การสัมมนานานาชาติ

17

บริการเพิ่มเติม

+200 บาท

+300 บาท

อาหารกลางวันเพิ่มเติม 1 วัน

อาหารกลางวันเพิ่มเติม 2 วัน

18 ตุลาคม 2561

Page 19: หนังสือประชาสัมพันธedu.kps.ku.ac.th/2016/wp-content/uploads/2018/09/... · - กำหนดการสัมมนานานาชาติ

Tel. +66 2748 7007 ตอ 147Facebook & LINE official: @educathai

Email: [email protected]: www.educathai.com

สนใจสอบถามขอมูลไดที่

ณ อิมแพ็ค ฟอรั่มอิมแพ็ค เมืองทองธานี

17-19 ตุลาคม 2561

งานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 11