18
1 ธวัช ชาญชญานนท์ นาฏกานต์ ดิลท์ส รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชายุโรปศึกษา: อังกฤษ-ฝรั่งเศส (หลักสูตรนานาชาติ) ระดับปริญญาตรี คณะวิเทศศึกษา คณะกรรมการประเมิน 1. ลงชื่อ …………………………………………………………………………………………… ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธวัช ชาญชญานนท์ ) 2. ลงชื่อ …………………………………………………………………………………………… กรรมการ (ดร.นาฏกานต์ ดิลท์ส) ตารางที่ 1 สรุปผลการดาเนินงานตามเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบที่ 1 เกณฑ์สาหรับหลักสูตรที่ใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรพ.ศ. 2548 ระดับปริญญาตรี มีจานวน 3 ข้อ เกณฑ์ ข้อทีเกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงานตามเกณฑ์ - ตามเกณฑ์ () - ไม่ได้ตามเกณฑ์ () 1 จานวนอาจารย์ประจาหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ ประจาเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจาหลักสูตรตลอดระยะเวลาทีจัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น 2 คุณสมบัติของอาจารย์ประจาหลักสูตรคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือ เทียบเท่า หรือดารงตาแหน่งทางวิชาการไม่ตากว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน อย่างน้อย 2 คน 3 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กาหนดต้องไม่เกิน 5 ปี (จะต้องปรับปรุงให้เสร็จและอนุมัติ/ให้ความเห็นชอบโดยสภา มหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อให้หลักสูตรใช้งานในปีท่ 6) ประกาศใช้ในปีท8) สรุปผลการดาเนินงานองค์ประกอบที่ 1 ตามเกณฑ์ข้อ 1-3 ได้มาตรฐาน ไม่ได้มาตรฐาน เพราะ........................................................................

รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

1

ธวัช ชาญชญานนท์

นาฏกานต์ ดิลท์ส

รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชายุโรปศึกษา: อังกฤษ-ฝรั่งเศส (หลักสูตรนานาชาติ) ระดับปริญญาตรี คณะวิเทศศึกษา

คณะกรรมการประเมิน

1. ลงชื่อ …………………………………………………………………………………………… ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธวัช ชาญชญานนท์)

2. ลงชื่อ …………………………………………………………………………………………… กรรมการ (ดร.นาฏกานต์ ดิลท์ส)

ตารางท่ี 1 สรุปผลการด าเนินงานตามเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบที่ 1

เกณฑ์ส าหรับหลักสูตรที่ใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรพ.ศ. 2548 ระดับปริญญาตรี มีจ านวน 3 ข้อ

เกณฑ์ข้อที่

เกณฑ์การประเมิน ผลการด าเนินงานตามเกณฑ์ - ตามเกณฑ์ () - ไม่ได้ตามเกณฑ์ ()

1 จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ประจ าเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจ าหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น

2 คุณสมบัติของอาจารย์ประจ าหลักสูตรคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือด ารงต าแหน่งทางวิชาการไม่ต่ ากว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน อย่างน้อย 2 คน

3 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่ก าหนดต้องไม่เกิน 5 ปี(จะต้องปรับปรุงให้ เสร็จและอนุมัติ /ให้ความเห็นชอบโดยสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน เพ่ือให้หลักสูตรใช้งานในปีที่ 6) ประกาศใช้ในปีที่ 8)

สรุปผลการด าเนินงานองค์ประกอบที่ 1 ตามเกณฑ์ข้อ 1-3 ได้มาตรฐาน ไม่ได้มาตรฐาน เพราะ........................................................................

Page 2: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

2

ตารางท่ี 2 สรุปผลการด าเนินงานตามเกณฑ์ AUN QA

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

1. Expected Learning Outcomes 2 1.1 The expected learning outcomes have

been clearly formulated and aligned with the vision and mission of the university [1,2]

- ก าหนด ELO และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยในการเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน า เชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากล และวิสัยทัศน์ของคณะ (a leader in the international affairs phenomena at the regional and international levels)

- กระบวนการได้มาของ ELO และความชัดเจนของ ELO ในข้อ have intercultural awareness

2

1.2 The expected learning outcomes cover both subject specific and generic (i.e. transferable) learning outcomes [3]

- ระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3 ข้อ - ELO ที่ระบุ subject specific LO และgeneric LO ความสมดุลระหว่าง LO

2

1.3 The expected learning outcomes clearly reflect the requirements of the stakeholders [4]

เนื่องจากยังไม่มีบัณฑิตจบ SH จึงมีเฉพาะอาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน มหาวิทยาลัย คณะ ตลาดแรงงานในพ้ืนที่อันดามัน TQF

- การระบุ stakeholders ที่ส าคัญให้ครอบคลุม ระบุ ความคาดหวัง (expectation) ความจ าเป็น (needs) หรือrequirements ต่าง ๆ ของ stakeholders ในแต่ละกลุ่ม เช่น อาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน มหาวิทยาลัย คณะ ตลาดแรงงานในพ้ืนที่อันดามันทั้งภาครัฐ เอกชน TQF มาก าหนด ELO

1

Page 3: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

3

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

2. Programme Specification 3 2.1 The information in the programme

specification is comprehensive and up-to-date [1,2]

- programme specification ระบุสารสนเทศเกี่ยวกับโปรแกรม สื่อสารผ่าน website ของคณะ คู่มือนักศึกษา ประกอบด้วย institution name, curricular title, degree title, duration of study, Admission criteria, Programme structure, course divided into groups, contact person

- programme specification ระบุสารสนเทศท่ีครบถ้วนตามเกณฑ์ เช่น Expected Learning outcomes of the programme. Relevant subject benchmark statements and other external and internal reference points used to provide information on programme outcomes. เป็นต้น - กระบวนการอัพเดทของข้อมูลสารสนเทศ

3

2.2 The information in the course specification is comprehensive and up-to-date [1,2]

- course specification ระบุชื่อรายวิชา ชื่อผู้สอน - course requirement course objectives assessment plan course outline update ทุกภาคการศึกษาโดยอาจารย์ประจ ารายวิชา

- course specification ระบุข้อมูลครบถ้วน เช่น ELO ของรายวิชา กลยุทธ์การสอน การประเมินผล

3

2.3 The programme and course specifications are communicated and made available to the stakeholders [1,2]

- สื่อสาร programme spec ผ่าน website ของคณะ คู่มือนักศึกษา - สื่อสาร course specification ผ่านระบบ LMS ที่ผู้เกี่ยวข้องสามารถใช้ user name. password เข้าถึงได้

- กระบวนการสื่อสาร programme specification, course specifications ไปที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ครบถ้วน รวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอนาคต เช่น ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน นายจ้างในอนาคต - การประเมินการรับทราบข้อมูลของ stakeholders

3

Page 4: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

4

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

3. Programme Structure and Content 1 3.1 The curriculum is designed based on

constructive alignment with the expected learning outcomes [1]

- การออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับ ELO โดยค านึงถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน

1

3.2 The contribution made by each course to achieve the expected learning outcomes is clear [2]

-แสดงความสอดคล้องแต่ละรายวิชากับ ELO รวมถึงวัตถุประสงค์ของรายวิชา การเรียนการสอน การประเมิน

1

3.3 The curriculum is logically structured, sequenced, integrated and up-to-date [3,4,5,6]

หลักสูตรได้รับการออกแบบให้เนื้อหามีความต่อเนื่อง การเรียนเป็นไปตามล าดับ โดยเริ่มจาก general education ไปสู่ specific courses วางแผนที่จะบูรณาการรายวิชาในปี 2560 เช่น French writing กับ survey of modern English literature เป็นต้น

การประเมินผลการออกแบบหลักสูตรด้านโครงสร้าง ล าดับ บูรณาการ และการปรับเนื้อหาของหลักสูตรให้เป็นปัจจุบัน -การปรับข้อมูลหลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

3

4. Teaching and Learning Approach 2 4.1 The educational philosophy is well

articulated and communicated to all stakeholders [1]

- การสื่อสารปรัชญาการศึกษาการมหาวิทยาลัยที่ได้ก าหนดไว้ (progressivism) กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม เช่น อาจารย์ผู้สอน ผู้เรียน ให้สามารถน าปรัชญาการศึกษาไปแสดงให้เห็นเป็นรูปธรรมในหลักสูตร

1

Page 5: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

5

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

4.2 Teaching and learning activities are constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes [2,3,4,5]

- ออกแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น project presentation, discussion, role play. Lectures, field trip รวมทั้งการใช้ educational technology ต่าง ๆ

- การจัดรูปแบบการเรียนการสอนกิจกรรมในการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ ELO แต่ละข้อ (ใน ELO แต่ละข้อ จัดการเรียนการสอน แตกต่างกันอย่างไร)

2

4.3 Teaching and learning activities enhance life-long learning [6]

- มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่น language skills, presentation skills, professional training และ small research project

- การประเมินผลประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

3

5. Student Assessment 3 5.1 The student assessment is

constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes [1,2]

การประเมินผู้เรียนเพื่อให้บรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร มีดังนี้

1. การประเมินการรับนักศึกษา โดยการทดสอบภาษาอังกฤษเพ่ือแบ่งกลุ่มผู้เรียน

2. การประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การทดสอบกลางภาคและทดสอบปลายภาค การประเมินโครงงาน การประเมินรายงาน

3. การประเมินก่อนจบการศึกษา โดยใช้ exit exam เพ่ือให้มั่นใจในความสามารถด้าน

- วิธีการหรือรูปแบบการประเมินที่แตกต่างกัน สร้างความมั่นใจว่าผู้เรียนได้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3 ด้านที่ก าหนด

3

Page 6: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

6

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

ภาษาอังกฤษ French proficiency และมี independent study

5.2 The student assessments including timelines, methods, regulations, weight distribution, rubrics and grading are explicit and communicated to students [4,5]

- มีการวางแผนการประเมิน (TQF3) โดยผู้สอนก่อนเปิดภาคเรียน สื่อสารผ่านระบบ LMS online ก ากับการประเมินโดยคณะ

-ระบบในการแจ้งรายละเอียดการประเมิน รายละเอียดการวัดผลกับนักศึกษา - การทบทวนการประเมินนักศึกษาที่ต้องใช้ rubrics การทบทวนการก ากับการประเมินผลของอาจารย์ผู้สอนในทุกรูปแบบการประเมิน

3

5.3 Methods including assessment rubrics and marking schemes are used to ensure validity, reliability and fairness of student assessment [6,7]

- มีกระบวนการ peer review ที่แสดงว่า การวัดผลมี validity การให้คะแนน จะมี answer key ที่เหมือนกันให้ผู้สอนได้ใช้ประเมิน ในรายวิชาที่มีหลาย sections

-assessment rubrics -marking schemes ก าหนดคะแนน มีการอธิบายคะแนน โดยหลักสูตรมีการด าเนินการ เพื่อให้มีการประเมินที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ต่อผู้เรียน การประเมินมีการบันทึกและน ามาทบทวน ปรับปรุง

2

5.4 Feedback of student assessment is timely and helps to improve learning [3]

- หลักสูตรประกาศผลการประเมินในเวลาที่เหมาะ เช่น คะแนนกลางภาค เพ่ือให้นักศึกษาวางแผนการเรียนท าให้คะแนนดีขึ้น หรือตัดสินใจถอนรายวิชา การให้ข้อมูลป้อนกลับผลการประเมินอ่ืน ๆเช่น project presentation, writing tasks,และ quizzes. ข้อมูลป้อนกลับช่วยให้ผู้เรียนเห็นจุดแข็ง จุดอ่อน

- กลไกป้อนกลับผลการประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ที่ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ดีขึ้นในทุกรายวิชา

3

Page 7: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

7

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

5.5 Students have ready access to appeal procedure [8]

- นักศึกษาสามารถอุทธรณ์ผลการทดสอบไปที่คณะ การอธิบายผลการทดสอบ การแก้เกรด

- กลไกการเข้าถึงการอุทธรณ์ผลการประเมิน /การสอบที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ (ใคร ท าอะไร ที่ไหน อย่างไร วิธีการ)

2

6. Academic Staff Quality (Overall opinion) 2 6.1 Academic staff planning (considering

succession, promotion, re-deployment, termination, and retirement) is carried out to fulfil the needs for education, research and service [1]

- หลักสูตรมี staff planning ที่พิจารณาจากการมอบหมายงานสอนที่เหมาะสม และพิจารณาrecruitment. ในการประชุมเมื่อมิถุนายน 2560 มีโครงการ recruitอาจารย์ใหม่ในปี 2562 เพ่ือให้มีสัดส่วนที่เพียงพอส าหรับการรับนักศึกษาเพ่ิม

- แผนพัฒนาอาจารย์ที่ระบุ succession, promotion, re-deployment, termination, retirement ผลการวิเคราะห์อัตราก าลัง -กระบวนการในการส่งเสริมอาจารย์ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาอาจารย์

2

6.2 Staff-to-student ratio and workload are measured and monitored to improve the quality of education, research and service [2]

- เฝ้าระวัง Staff-to-student ratio และใช้ข้อมูลนี้เพ่ือท าให้คุณภาพการจัดการศึกษา การวิจัยและบริการวิชาการดีข้ึน -กระบวนการและวีธีการก าหนดภาระงานของอาจารย์

1

6.3 Recruitment and selection criteria including ethics and academic freedom for appointment, deployment and promotion are determined and communicated [4,5,6,7]

การสรรหาและการคัดเลือกอาจารย์ ตามข้อก าหนดของมหาวิทยาลัย เลือกจากคุณสมบัติพ้ืนฐานทางวิชาการ, การสอนและประสบการณ์วิจัย. ผ่านกระบวนการสรรหาจากงานการเจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัย

ความรับผิดชอบอาจารย์ ต่อมหาวิทยาลัย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเป็นอิสระทางวิชาการและจริยธรรมวิชาชีพ

2

Page 8: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

8

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

6.4 Competences of academic staff are identified and evaluated [3]

- มีระบบประเมินสมรรถนะของอาจารย์โดยคณะกรรมการ ผ่านระบบ competency online ปีละ 2 ครั้ง โดยประเมิน Main competency ด้าน Professionalism ด้าน Social responsibility ด้าน Unity ประเมิน Management competency ด้าน Leadership skill ด้าน Adaptation skill และด้าน Communication skill

- ควรทบทวนการก าหนดสมรรถนะของ อาจารย์ให้ครอบคลุมในแต่ละด้าน (รวมถึงการออกแบบและส่งมอบการเรียนการสอนหลักสูตร ความหลากหลายของวิธีสอน การเลือกวิธีประเมินที่เหมาะสม การใช้สื่อการสอน เฝ้าระวัง ประเมินความสามารถในการสอน ประเมินรายวิชาที่ส่งมอบ การสะท้อนกิจกรรมการสอนและการท าวิจัย/บริการวิชาการ) - การน าผลการประเมินสมรรถนะของอาจารย์มาแก้ไขปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ

2

6.5 Training and developmental needs of academic staff are identified and activities are implemented to fulfil them [8]

- ภายใต้การด าเนินการระดับคณะ อาจารย์ทุกคนมีโอกาสในการฝึกอบรมและพัฒนาตามความสนใจทางวิชาการ ทั้งภายในที่จัดโดยมหาวิทยาลัย และภายนอก (conference/seminar) โดยมีงบสนับสนุน 12,000 บาทต่อปี

- ควรทบทวน การก าหนดความต้องการในการฝึกอบรมและพัฒนาอย่างเป็นระบบ การน าสู่การปฏิบัติ (การระบุ training needs ที่เป็นระบบ แผนการฝึกอบรม พัฒนาสะท้อนพันธกิจ วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย/คณะ)

2

6.6 Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service [9]

- Staff’s performance ถูกประเมิน 2 ครั้งต่อปี โดยมี TOR และระบบ competency online หัวข้อในการประเมินจะมีส่วนกระตุ้น สนับสนุนให้อาจารย์มุ่งมั่นต่อการจัดการเรียนการสอน วิจัยและ

- การวางแผนการพัฒนาอาจารย์ในหลักสูตรด้านต่างๆและการจัดการเก่ียวกับรางวัลและการยกย่องผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานที่น่าชื่นชม

3

Page 9: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

9

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

บริการวิชาการ - การให้รางวัล academic work ตามประกาศของคณะ และมหาวิทยาลัย เช่น มีการให้รางวัลการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ มีการมอบรางวัลเชิดชูเกียรติคุณอาจารย์ผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น

6.7 The types and quantity of research activities by academic staff are established, monitored and benchmarked for improvement [10]

- คุณภาพของกิจกรรมวิจัย ถูกด าเนินการโดยกรรมการวิจัยของคณะ ที่มีคณบดี ร่วมด้วย ในปี 2559 มีผลงานวิจัยของอาจารย์ในระดับชาติ 1 เรื่อง

-การจัดการเก่ียวกับประเภทและคุณภาพของผลงานวิจัยของอาจารย์ในหลักสูตร -การเทียบเคียง (benchmark) ผลงานวิจัยเพื่อการปรับปรุง

3

7. Support Staff Quality (Overall opinion) 2 7.1 Support staff planning (at the library,

laboratory, IT facility and student services) is carried out to fulfil the needs for education, research and service [1]

การด าเนินการอย่างเป็นระบบในการวางแผนส าหรับบุคลากรสายสนับสนุนให้สอดคล้องกับ needs ในการจัดการศึกษา วิจัยและบริการ (การวิเคราะห์อัตราก าลัง ความสามารถ อายุการท างาน อายุจริง การขยายงานขององค์กร การจัดบริการใหม่ แผนการรับบุคลากร เป็นต้น) -การส ารวจความต้องการของ Support Staff Quality

1

Page 10: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

10

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

7.2 Recruitment and selection criteria for appointment, deployment and promotion are determined and communicated [2]

ด าเนินการสรรหา คัดเลือก ตามเกณฑ์การสรรหาและการคัดเลือกของมหาวิทยาลัย ระบุคุณสมบัติเฉพาะต าแหน่ง รวมทั้งความสามารถที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน โดยมีการประกาศวันทดสอบและวันสัมภาษณ์

การก าหนดและมีการคาดการ การเปลี่ยนแปลงและเลื่อนต าแหน่งของพนักงานสายสนับสนุน (การสื่อสารให้สายสนับสนุนทราบ) การมอบหมายโดยตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของคุณธรรม คุณสมบัติและประสบการณ์ (คุณสมบัติที่เหมาะสมกับต าแหน่งของสายสนับสนุน)

2

7.3 Competences of support staff are identified and evaluated [3]

- มีการประเมินสมรรถนะเพ่ือปรับปรุงงานให้ดีขึ้นและเพ่ิมเงินเดือนแต่ละบุคคล

-การน าผลประเมินมาวิเคราะห์และปรับปรุง

2

7.4 Training and developmental needs of support staff are identified and activities are implemented to fulfil them [4]

- บุคลากรสายสนับสนุนท าข้อตกลงในการพัฒนาตนเองและฝึกอบรม. คณะสนับสนุนให้มีกิจกรรมเพ่ือพัฒนาตนเอง เช่น การใช้ Tell Me More เพ่ือให้การใช้ภาษาอังกฤษดีขึ้น ท าวิจัยและงานวิชาการ เข้าร่วมโปรแกรมฝึกอบรมอย่างน้อยหนึ่งครั้งต่อรอบประเมิน เงินสนับสนุน 8,000 บาท เพื่อร่วมสัมมนา ฝึกอบรม

- ควรทบทวนการระบุ training needs และ development needs ของสายสนับสนุน การประเมินการฝึกอบรม/พัฒนาของพนักงานสายสนับสนุน ตาม training needs ขอองค์กร

2

7.5 Performance management including rewards and recognition is implemented to

- การประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงภาระงานตามรอบการประเมินที่มหาวิทยาลัยก าหนด และ

- การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุนอย่างเป็นระบบ

2

Page 11: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

11

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

motivate and support education, research and service [5]

คณะให้ 1,000 บาทต่อเดือนส าหรับคนที่มี English proficiency ได้ตาม requirementของคณะ และมีงบให้ 8,000 บาทต่อปี ส าหรับการฝึกอบรม สัมมนา

- การประเมินที่สร้างแรงจูงใจ สนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอน วิจัยและบริการ

8. Student Quality and Support (Overall opinion) 3 8.1 The student intake policy and admission

criteria are defined, communicated, published, and up-to-date [1]

- ประกาศเกณฑ์การรับโดย admission section ของมหาวิทยาลัย ผู้สมัครต้องจบการศึกษามัธยมปลายหรือเทียบเท่าและมีนโยบายการรับของคณะ. admission section ของวิทยาเขตภูเก็ต ท าให้เกณฑ์การรับทุกโครงการเป็นปัจจุบันและส่งให้ผู้ประสานงานหลักสูตร

- การบวนการปรับปรุง/พฒันาระบบ กลไก หรือแนวทางการรับนักศึกษา เพ่ือวางแผนการรับนักศึกษา

3

8.2 The methods and criteria for the selection of students are determined and evaluated [2]

- การวางแผน ในการคัดเลือกนักศึกษาเพ่ือให้เป็นไปตาม ELO

2

8.3 There is an adequate monitoring system for student progress, academic performance, and workload [3]

- ระบบการเฝ้ าระวังนั กศึกษา จะใช้ student information system SIS ที่อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้สอนจะเข้าถึงข้อมูลบันทึกการลงทะเบียนและ performance อ าจ ารย์ ที่ ป รึ กษ าส าม ารถ ให้ค าปรึกษาและดูบันทึกทางการศึกษาของผู้เรียนได้

- การปรับปรุงและพัฒนาการควบคุมการดูแลการให้ค าปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา

3

Page 12: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

12

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

8.4 Academic advice, co-curricular activities, student competition, and other student support services are available to improve learning and employability [4]

- คณะมีกิจกรรมที่หลากหลายเพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และมีงานท า อาจารย์ที่ปรึกษาพบนักศึกษาทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพ่ือให้ค าปรึกษา ข้อมูลทั้งหมดจะถูกบันทึกใน SIS

- การประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในประเด็นการท าให้การเรียนรู้ดีขึ้น ประโยชน์ในการท างาน - กระบวนการได้มาของกิจกรรมเพ่ือให้นักศึกษาได้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและมีทักษะต่างๆ

3

8.5 The physical, social and psychological environment is conducive for education and research as well as personal well-being [5]

- วิทยาเขตภูเก็ต สร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร ที่เหมาะส าหรับการเรียนรู้

- ควรทบทวนระบบประเมิน physical, social และ psychological environment -แนวทางการพัฒนาและปรับปรุง

2

9. Facilities and Infrastructure (Overall opinion) 3 9.1 The teaching and learning facilities and

equipment (lecture halls, classrooms, project rooms, etc.) are adequate and updated to support education and research [1]

- วิทยาเขตภูเก็ต มีผลประเมินความเพียงพอต่อ computers (average 3.79, SD=0.89) ส าหรับการสืบค้นข้อมูลในห้องสมุด มีผลประเมินเครือข่าย internet (average 3.90, SD=0.88). นักศึกษาทุกคนในคณะ จะได้รับ computer เพ่ือใช้ส าหรับการเรียนรู้ - มี facilities และ equipment เช่น lecture halls, classrooms, library, blue-screen room, computer rooms, study rooms, อ่ืน ๆ ส าหรับการจัดการศึกษา ห้องเรียนทุกห้องมีอุปกรณ์พร้อม และมีเจ้าหน้าที่คอยดูแล

- ควรทบทวน การประเมินความเพียงพอและทันสมัยของ teaching และ learning facilities และ equipment โดยตรง การเฝ้าระวังอุบัติการณ์ที่เกิดจากความไม่เพียงพอ

3

Page 13: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

13

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

- หลักสูตรมี European Corner room ส าหรับการท ากิจกรรมของผู้เรียน และเป็น self-study room. - Facilities ทั้งหมดรวมทั้งโครงสร้างภายใน ได้รับการบ ารุงรักษาโดยคณะและวิทยาเขต

9.2 The library and its resources are adequate and updated to support education and research [3,4]

- ด าเนินการจัดหาหนังสือที่สอดคล้องกับความต้องการของอาจารย์ประจ าหลักสูตร ภาควิชา โดยผ่านการคัดเลือก พิจารณาจากอาจารย์ประจ าหลักสูตร

- การประเมินความเพียงพอและทันสมัยของหนังสือ สื่อการเรียนรู้ต่างๆส าหรับหลักสูตร

3

9.3 The laboratories and equipment are adequate and updated to support education and research [1,2]

- คณะจัดให้มีห้องปฏิบัติการและเครื่องคอมพิวเตอร์ส าหรับการเรียนการสอน วิจัย ในหลักสูตรโดยมีห้องคอมพิวเตอร์ มีโปรแกรม TELL ME MOREส าหรับฝึกภาษาอังกฤษ Art laboratory และ Blue screen room

- การประเมินความเพียงพอและทันสมัยของห้องปฏิบัติการภาษาและอุปกรณ์ต่าง ๆเพ่ือสนับสนุนการศึกษาและวิจัย

3

9.4 The IT facilities including e-learning infrastructure are adequate and updated to support education and research [1,5,6]

- มหาวิทยาลัยจัดให้มี free WI-FI เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ นักศึกษาแต่ละคนได้รับ internet user I.D. เพ่ือเข้าใช้ระบบ

- การประเมินความเพียงพอและทันสมัยของ IT facilities (รวมทั้ง hard ware และ software) จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา อาจารย์ สายสนับสนุน -การดูแลรักษาและรักษาความเสถียรของระบบ

2

Page 14: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

14

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

9.5 The standards for environment, health and safety; and access for people with special needs are defined and implemented [7]

- มหาวิทยาลัยสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี มาตรฐานสุขภาพ ความปลอดภัย ระบบรักษาความปลอดภัย คลินิกพยาบาลที่ไม่มีค่าจ่าย มีพยาบาลพร้อมให้บริการและตารางการตรวจของแพทย์ และการจัดการสิ่งแวดล้อมในวิทยาเขต การประกันอุบัติเหตุให้นักศึกษา และดูแลโดยฝ่ายกิจการนักศึกษากรณีเกิดเหตุ นอกจากนี้ยังมีเครื่องอ านวยความสะดวกส าหรับนักศึกษาท่ีต้องการการดูแลพิเศษ เช่น ทางลาดและลิฟต์

- การประเมินผลตามมาตรฐานต่าง ๆ ได้แก่ environment, health and safety -การส ารวจความเพียงพอต่อจ านวนผู้ใช ้

3

10. Quality Enhancement (Overall opinion) 2 10.1Stakeholders’needs and feedback serve

as input to curriculum design and development [1]

- ให้ข้อเสนอแนะและระบุความต้องการต่อหลักสูตร โดยผู้เรียน ภาครัฐในพื้นที่ และภาคธุรกิจ การอภิปรายและใช้ผลข้อวิจารณ์ ข้อเสนอแนะของผู้เรียน เพ่ือปรับปรุงคุณภาพการสอน

-การใช้ needs และ feedback ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม มาปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตร

2

10.2 The curriculum design and development process is established and subjected to evaluation and enhancement [2]

- หลักสูตรได้ประเมินพบว่าจ านวนรายวิชาการศึกษาทั่วไป มากเกินไป เสนอแล้วแต่ไม่ได้รับการอนุมัติ

-ควรทบทวนกระบวนการการออกแบบหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย -กระบวนการปรับปรุงหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร(ปรับปรุงส่วนไหน อย่างไร สมเหตุสมผลหรือไม่)

2

Page 15: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

15

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

10.3 The teaching and learning processes and student assessment are continuously reviewed and evaluated to ensure their relevance and alignment [3]

- วิธีการทบทวน กระบวนการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน การประเมินผลความสอดคล้องระหว่างวิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลผู้เรียนกับการบรรลุ ELO

1

10.4 Research output is used to enhance teaching and learning [4]

-วิธีการและการประยุกต์ใช้ผลการวิจัยอาจารย์ผุ้สอนในหลักสูตรเพ่ือปรับใช้ในการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียน

1

10.5 Quality of support services and facilities (at the library, laboratory, IT facility and student services) is subjected to evaluation and enhancement [5]

- การแสงผลการประเมินคุณภาพของ support services และ facilities -แนวทางและกระบวนการในการปรับปรุงและพัฒนา (ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และบริการนักศึกษา)

1

10.6 The stakeholder’s feedback mechanisms are systematic and subjected to evaluation and enhancement [6]

-กระบวนการที่ได้ข้อมูล feedback จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีระบบ ชัดเจน

1

11. Output (Overall opinion) 1 11.1 The pass rates and dropout rates are

established, monitored and benchmarked for improvement [1]

การวางแผนเก็บข้อมูล แปลงเป็นสารสนเทศ วิเคราะห์ ทบทวน ใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น

1

Page 16: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

16

Criteria Strengths Areas for improvement Score (1-7)

11.2 The average time to graduate is established, monitored and benchmarked for improvement [1]

การวางแผนเก็บข้อมูล แปลงเป็นสารสนเทศ วิเคราะห์ ทบทวน ใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น

1

11.3 Employability of graduates is established, monitored and benchmarked for improvement [1]

การวางแผนเก็บข้อมูล แปลงเป็นสารสนเทศ วิเคราะห์ ทบทวน ใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น

1

11.4 The types and quantity of research activities by students are established, monitored and benchmarked for improvement [2]

การวางแผนเก็บข้อมูล แปลงเป็นสารสนเทศ วิเคราะห์ ทบทวน ใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น

1

11.5 The satisfaction levels of stakeholders are established, monitored and benchmarked for improvement [3]

1

Overall 2

Page 17: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

17

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมิน

จุดแข็ง 1. หลักสูตรระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 8 ข้อ ประกอบด้วย generic LO และ subject specific LO 2. หลักสูตรได้รับการออกแบบให้เนื้อหามีความต่อเนื่อง การเรียนเป็นไปตามล าดับความยากง่าย อย่าง

สมเหตุสมผล โดยเริ่มจากระดับพ้ืนฐาน ต่อไปยังระดับกลางและระดับสูงตามล าดับ และแต่ละรายวิชาในหลักสูตรมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างเป็นระบบ โดยการจัดรายวิชารวมทักษะซึ่งเป็นรายวิชาส าคัญของหลักสูตรกระจายการสอนใน 3 ปีการศึกษาตามล าดับความยากง่ายของรายวิชา

3. การประเมินผู้เรียนเพ่ือให้บรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร มีดังนี้ การประเมินการรับนักศึกษา การประเมินระหว่างเรียน หลักสูตร ได้ก าหนดให้รายวิชาต่างๆ มีการก าหนดเกณฑ์ในการวัดประเมินผลการเรียน โดยอาจารย์ผู้สอนรายวิชาในหลักสูตร ออกแบบการวัดประเมินผลนักศึกษา รูปแบบต่างๆ ได้แก่ การทดสอบย่อย ทดสอบกลางภาคและทดสอบปลายภาค การน าเสนอผลงานรายบุคคล และรายกลุ่ม

4. หลักสูตรฯ ก าหนดการประเมินผลล่วงหน้า และติดตามความก้าวหน้าในการเรียน โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย พร้อมทั้งมีการแบ่งส่วนคะแนนของการประเมินผลแสดงไว้ในรายวิชาเพ่ือให้นักศึกษาทราบ อาจารย์แจ้งข้อตกลงเกณฑ์การประเมินผล เกณฑ์การก าหนดคะแนนเมื่อมีการมอบหมายงานหรือการทดสอบในรายวิชาต่างๆ

5. กลไกการให้ข้อมูลป้อนกลับหลังประเมินนักศึกษา ในกรณีข้อสอบมีการเฉลยค าตอบเพ่ือให้นักศึกษาน าไปพิจารณาข้อผิดพลาด การน าเสนอผลงานรายกลุ่มรายบุคคล ผู้สอนมีการให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นต่อผลงานทันที เมื่อนักศึกษาน าเสนอผลงานเสร็จ

6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน จะมีข้อตกลงระหว่างหัวหน้าภาควิชา และบุคลากรสายวิชาการ และจะถูกน ามาใช้เป็นพ้ืนฐานในการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรตามระเบียบของมหาวิทยาลัย หัวข้อในการประเมินจะมีส่วนกระตุ้น สนับสนุนให้อาจารย์มุ่งมั่นต่อการจัดการเรียนการสอน วิจัยและบริการวิชาการ การให้รางวัลและยกย่องผลการปฏิบัติงานเพ่ือสร้างแรงกระตุ้นและสนับสนุนการสอน วิจัย และการบริการวิชาการ เช่น มีการให้รางวัลการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ มีการมอบรางวัลเชิดชูเกียรติคุณอาจารย์ผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น

7. คณะจัดให้มีห้องปฏิบัติการภาษา อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้เพื่อประกอบการเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถท าการจองหรือเปลี่ยนแปลงห้องเรียนได้ตามสะดวกผ่าน website

จุดที่ควรพัฒนา 1. ความชัดเจนของการก าหนด ELOและการก าหนด ELO ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยใน

การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน า และพันธกิจที่จะเป็นผู้น าทางวิชาการ เชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากล หรือสมรรถนะและโลกทัศน์สากล และวิสัยทัศน์ของคณะ ที่จะเป็นองค์กรชั้นน าในเอเชียแปซิฟิก

2. ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อ่ืนๆ เช่น นายจ้าง ศิษย์เก่า มาก าหนด ELO 3. การก าหนดปรัชญาการศึกษาและสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Page 18: รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามระบบ CUPT QA ...web52.phuket.psu.ac.th/qa/pqa2559/FIS11.pdf ·

18

4. การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เป็นระบบ (เช่น การสื่อสารเหมือนเจ้าของภ าษ า ก ารสื่ อ ส า รภ าษ าต่ า งป ระ เท ศ Digital competence; Learning to learn; Social and civic competences; Sense of initiative และentrepreneurship; รวมทั้ง Cultural awareness และ expression)

5. วิธีการประเมินผู้เรียนที่มั่นใจว่า validity (เช่นมี table of specification) , reliability (เช่น มีการวิเคราะห์ข้อสอบ) และ fairness (ถ้ามีการจัดสอบหลายรอบ หลาย section)

6. เฝ้าระวัง Staff-to-student ratio และใช้ข้อมูลนี้เพ่ือท าให้คุณภาพการจัดการศึกษา การวิจัยและบริการวิชาการดีข้ึน

7. การก าหนดสมรรถนะของ อาจารย์ในแต่ละด้าน (รวมถึงการออกแบบและส่งมอบการเรียนการสอนหลักสูตร ความหลากหลายของวิธีสอน การเลือกวิธีประเมินที่เหมาะสม การใช้สื่อการสอน เฝ้าระวัง ประเมินความสามารถในการสอน ประเมินรายวิชาที่ส่งมอบ การสะท้อนกิจกรรมการสอนและการท าวิจัย/บริการวิชาการ) รวมทั้งการประเมินการใช้ผลการประเมิน

8. การด าเนินการอย่างเป็นระบบในการวางแผนส าหรับบุคลากรสายสนับสนุนให้สอดคล้องกับ needs ในการจัดการศึกษา วิจัยและบริการ

9. การเฝ้าระวัง (monitoring system) ที่เพียงพอ เป็นระบบ ส าหรับการติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน academic performance และ workload

10. วิธีการทบทวน กระบวนการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน การประเมินผลความสอดคล้องระหว่างวิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลผู้เรียนกับการบรรลุ ELO

11. แสดงผลลัพธ์เวลาเฉลี่ยที่ใช้เพื่อการศึกษา (หลักสูตร 4 ปี) ของทุกปีการศึกษาย้อนหลัง 12. แสดงระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ครอบคลุม การทบทวนและปรับปรุงเพ่ือให้ระดับ

ความพึงพอใจของ stakeholders เพ่ิมข้ึน

ข้อเสนอแนะต่อมหาวิทยาลัย 1. ก าหนดปรัชญาการศึกษา และชี้แจงให้ผู้มีส่วนได้เสียทราบ 2. เกณฑ์การรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ที่ต้องมีการปรับปรุงจากปัญหาของแต่ละหลักสูตร เช่น

เกณฑ์เฉพาะหลักสูตร 3. การสนับสนุนให้ไปศึกษาต่อในระหว่างเรียน เพ่ือให้เห็นภาพของจริงเช่น วัฒนธรรม ประสบการณ์ใน

สถานประกอบการจริง 4. การจัดให้มีการอบรม sar writing หลังจากเข้าใจเกณฑ์และได้พัฒนาปรับปรุงไประยะหนึ่ง