14
1 การใชกิจกรรมศิลปะเพื่อสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม บัญญัติ ยงยวน ปช.ด.(ประชากรศาสตร), ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ชัยวัฒน ผดุงพงษ ค.ม.(ศิลปศึกษา), อาจารย ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี บทคัดยอ ศิลปศึกษา คือ วิชาหนึ่งที่ครูสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือในการสรางการยอมรับความแตกตางทางวัฒนธรรม และความหลากหลายใหกับนักเรียน เนื่องจากกิจกรรมศิลปะจะชวยสงเสริมใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจ ในตนเอง (Self-Esteem) ซึ่งความภาคภูมิใจในตนเองหรือในวัฒนธรรมของตนนี้จะเปนพื้นฐานสําคัญใหบุคคล นั้นยอมรับ (Respect) ในวัฒนธรรมของคนอื่นดวย นอกจากนี้กิจกรรมศิลปะยังชวยใหนักเรียนเกิดความเขาใจ ถึงความเกี่ยวของกัน (Connections) และความแตกตาง (Differences) ระหวางตนเองกับบุคคลอื่นทําใหนักเรียน เกิดความตระหนักรูถึงความสลับซับซอน (Complexity) ของสังคม ขณะเดียวกันกิจกรรมศิลปจะมีประโยชน ในการกระตุน สงเสริมใหนักเรียนมีวิธีการมองและวิธีการคิดที่มีความหลากหลายโดยครูจะเปนผูนําการอภิปราย ถึงความแตกตางทางวัฒนธรรม และการอยูรวมกันในโลกที่เต็มไปดวยความหลากหลาย และนักเรียนจะเกิด ความตระหนักรูถึงความหลากหลายในที่สุด คําสําคัญ: กิจกรรมศิลปะ, การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม

การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

1

การใชกิจกรรมศิลปะเพื่อสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหวุัฒนธรรม

บัญญัติ ยงยวน ปช.ด.(ประชากรศาสตร), ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ชัยวัฒน ผดุงพงษ ค.ม.(ศิลปศึกษา), อาจารย ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

บทคัดยอ ศลิปศกึษา คือ วชิาหนึง่ทีค่รสูามารถนาํมาใชเปนเครือ่งมอืในการสรางการยอมรบัความแตกตางทางวฒันธรรม

และความหลากหลายใหกบันกัเรียน เนื่องจากกิจกรรมศิลปะจะชวยสงเสริมใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจ ในตนเอง (Self-Esteem) ซึง่ความภาคภูมใิจในตนเองหรอืในวฒันธรรมของตนนีจ้ะเปนพืน้ฐานสําคัญใหบุคคล นัน้ยอมรับ (Respect) ในวฒันธรรมของคนอืน่ดวย นอกจากนี้กจิกรรมศิลปะยังชวยใหนกัเรยีนเกดิความเขาใจ ถงึความเกีย่วของกนั (Connections) และความแตกตาง (Differences) ระหวางตนเองกบับุคคลอืน่ทําใหนกัเรยีน เกิดความตระหนักรูถึงความสลับซับซอน (Complexity) ของสังคม ขณะเดียวกันกิจกรรมศิลปจะมีประโยชน ในการกระตุน สงเสรมิใหนกัเรยีนมวีิธกีารมองและวิธกีารคิดที่มคีวามหลากหลายโดยครูจะเปนผูนําการอภิปราย ถึงความแตกตางทางวัฒนธรรม และการอยูรวมกันในโลกที่เต็มไปดวยความหลากหลาย และนักเรียนจะเกิด ความตระหนักรูถึงความหลากหลายในที่สุด

คําสําคัญ: กิจกรรมศิลปะ, การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม

Page 2: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

2

บทนํา พืน้ท่ีสามจงัหวดัชายแดนภาคใตของไทย

ไดแก จังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส ประกอบดวยประชาชน 3 กลุมหลกั ๆ คอื ชาวไทย เชื้อสายมลายู ชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวไทย สยาม ซึ่งชาวไทยเชื้อสายมลายูจะมีจํานวนมาก ท่ีสุด คดิเปนรอยละ 80 ท่ีเหลอืรอยละ 20 คือ ชาวไทยเชือ้สายจนีและชาวไทยสยามนอกจากความ หลากหลายทางเชือ้ชาตแิลวยังมีความหลากหลาย ทางภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนยีมประเพณี โดยชาวไทยเชือ้สายมาลายูจะใชภาษาหลกัในการสือ่ สาร คอื ภาษามลายูถ่ิน นบัถือศาสนาอิสลาม และมี วถีิชวีติ ตามหลกัคาํสอนของอิสลามขณะท่ีชาวไทย เชือ้สายจนีและชาวไทยสยามจะใชภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถ่ินใต เปนภาษาหลัก และสวนใหญ จะนับถือศาสนาพุทธความแตกตางและความ หลากหลายทางวฒันธรรมนี ้ นบัวาเปนเอกลกัษณ อยางหนึง่ของพืน้ท่ีนี ้ ในอดตีประชาชนท้ังสามกลุม สามารถอยูรวมกันไดโดยสงบสขุแมวาในบางชวง จะมีปญหากระทบกระท่ังกันบาง ก็สามารถแกไข จนลุลวงไปได แตในปจจุบันพื้นท่ีสามจังหวัดนี้ มีเหตกุารณความไมสงบเกิดขึ้นมาอยางตอเนื่อง นานนับปสงผลทําใหวิถีชีวิตของประชาชนท้ัง สามกลุ มท่ี เคยอาศัยอยู รวมกันอยางสงบสุข ตองเปลี่ยนไปอยางมาก เกิดความหวาดระแวง ไมไวเนื้อเชือ่ใจกัน เกิดอคติ (Prejudice) ทาง เชื้อชาติ ศาสนา เกิดการแบงพรรคแบงพวก (Discrimination) ซึง่สภาวการณของการไมยอม รับความแตกตางทางวฒันธรรมและการอยูรวมกัน ในสงัคมท่ีมีความหลากหลายนีจ้ะสงผลกระทบตอ ความม่ันคงและความสงบสุขของประชาชนและ สังคมโดยรวม

บทบาทสําคญัของสถาบันการศึกษา คือ การจดัการศกึษาใหตอบสนองตอปญหาและความ

ตองการเรงดวนของสังคมและประเทศชาติ ซึ่ง ปญหาเรงดวนของพืน้ท่ีสามจงัหวดัชายแดนภาคใต คอื ประชาชนกลุมตาง ๆ เกิดความหวาดระแวง เกิดอคติระหวางกันไมยอมรับในความแตกตาง และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ดังท่ีกลาว ขางตน การจัดการศึกษาในพื้นท่ีพหุวัฒนธรรม เชนนีจ้งึควรมีลกัษณะพเิศษ กลาวคอืควรปลกูฝง คานยิมในเร่ืองการยอมรับความหลากหลายวฒันธรรม ใหเกิดข้ึนในตวันกัเรียนทุกกลุม เพือ่ใหเปนพืน้ฐาน ของการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมอยาง สงบสุขตอไป

วัฒนธรรม (Culture) และความหลากหลาย (Diversity)

วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของมนุษย ในแตละสงัคมอันเปนผลมาจากการท่ีมนษุยเรียนรู จากธรรมชาติและจากสังคมมนุษยดวยกัน แลว สั่งสมประสบการณท่ีเรียนรูนั้นไว ปรับตัวและ ถายทอด และปรับเปลีย่นตามเหตปุจจยัท่ีไมเคย หยุดนิง่ และเคลือ่นไหวไปตามอนจิจงัของสรรพสิง่ เราจะเห็นวาสั งคมวัฒนธรรมไมเคยหยุดนิ่ ง หากแตเคลือ่นไหว เปลีย่นแปลงและมีพฒันาการ อยูตลอดเวลาไมวาในแนวทางท่ีเปนความเจริญข้ึน หรือเสื่อมลง โดยนัยนี้ทุกสังคมวัฒนธรรมยอม มีพลวัต (Dynamism) พลวัตนี้ตัวการสําคัญ คอืมนษุย (เอกวทิย ณ ถลาง 2543: 87, อางถึง ในจํานงค อดิวฒันสิทธิ์และคณะ, 2547: 15)

วัฒนธรรมเปนองคประกอบพืน้ฐานของ สงัคมมนษุย ท้ังนีเ้พราะวฒันธรรมเปนแบบแผน การดาํรง และดาํเนนิชวีติของคนในสงัคมวฒันธรรม เปนตัวกําหนดพฤติกรรม หรือความประพฤติ ของมนุษยในแตละสังคมพระยาอนุมานราชธน หรือเสฐียรโกเศศ (อางถึงในจํานงค อดวิฒันสทิธิ์ และคณะ, 2547: 15) ไดกลาวถึงเร่ืองวฒันธรรม

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 3: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

3

ตอนหนึง่วา “มนษุยเกิดในวฒันธรรมท่ีจะเกิดอยู นอกวฒันธรรมไมได คนจะเปนคนข้ึนมาไดก็ดวย มีวฒันธรรม ถาไมมีวฒันธรรมก็ไมใชคนแตเปน สัตวชนิดหนึ่งซึ่งมีวิถีชีวิตอยางธรรมชาติเทานั้น วฒันธรรมเปนสวนสําคญัของคนเพราะเขาไปซมึ และประกอบเปนรูปวถีิชวีติของคนตัง้แตเกิดมาโดย ไมมีใครรูสกึตวั วฒันธรรมจงึเปนทุกสิง่ทุกอยางท่ี เปนนสิัยคอืความประพฤตท่ีิเคยชนิของสังคมซึง่ มนษุยเองเปนผูสราง และปรับปรุงจากธรรมชาติ และเรียนรูจากกันและกันเพราะฉะนัน้วัฒนธรรม จงึเปนท้ังท่ีสงัคมสรางและท่ีสงัคมเรียนรูควบคูกัน ไปในตัว คนในสังคมจะมีลักษณะเปนอยางไร เปนคนดหีรือเปนคนเลว ก็อยูท่ีวฒันธรรมซึง่คน สรางข้ึนมาเปนสิ่งท่ีบันดาลใหเปนไป

กอนท่ีมนษุยจะเกิดข้ึนก็มีความหลากหลาย ทางธรรมชาติเปนพื้นฐานมากอน มนุษยเกิดขึ้น

ในสภาพสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมท่ีตางกัน ในแตละแหง มนุษยก็ยอมเรียนรูท่ีจะอยูรวมกัน อยางสอดคลองกับธรรมชาตจิงึมีวถีิชวีติท่ีแตกตาง กันเรียกวาความหลากหลายทางชวีภาพกับความ หลากหลายทางวฒันธรรม (Cultural Diversity) ก็เปนสิ่งท่ีเชื่อมโยงกันเพราะวาชีวิตตองเกิดขึ้น ในท่ีตาง ๆ ศาสนาก็เปนพืน้ฐานหนึง่ คือ เปน วัฒนธรรมรวม ศาสนาพุทธเปนวัฒนธรรมของ คนไทยสวนหนึง่ศาสนาอิสลามก็เปนวฒันธรรมของ คนไทยอีกสวนหนึ่ง ประเทศไทยเปนท่ีอยูของ คนไทยท่ีมีความหลากหลายทางเชือ้ชาต ิ มีท้ังไทย จนี ญวน ลาว พมา มอญ มลายู หลากหลายทาง ศาสนามีท้ังศาสนาพทุธ อสิลาม คริสต ฮินด ูซกิส ดงันัน้ ความหลากหลายทางวฒันธรรมจงึเปนความ แตกตางทางวัฒนธรรมในเร่ื องของเชื้ อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรมท่ีเปนผลมาจาก การเรียนรูหรือถายทอด

รูปแบบความสมัพันธในสังคม Allport (1954 cited in Klein, 1992: 10) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันไดพฒันาลําดบัข้ันของ

ความสัมพันธทางสังคมของมนุษยไว 7 ข้ัน จากลําดับต่ําสุดคือ ความสัมพันธแบบมุงราย (Hostile) จนไปสูความสัมพันธสงูสุดคอื ความสัมพนัธแบบเปนมิตร (Friendly) ดงัรายละเอียดตอไปนี้

ความเปนมิตร - การรวมมือ (Cooperation) (Friendly)

- การยอมรับ (Respect)

- การอดทนอดกลัน้ (Tolerance)

- การเก่ียวของสัมพนัธเฉพาะบางคน (Predilection)

- การมีอคติ (Prejudice)

- การแบงพรรคแบงพวก (Discrimination)

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 4: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

4

ความมุงราย - การโยนความผดิ (Scapegoating) (Hostile)

จากลําดับข้ันความสัมพันธทางสังคม ดงักลาวจะพบวา ความสมัพนัธของมนษุยลําดบั ต่ําสุด ซึง่เปนในลักษณะมุงรายตอกัน คือ ความ สัมพันธแบบโยนความผิด หรือ แพะรับบาป (Scapegoating) เปนการแสดงออกในเชงิตําหนิ ติเตยีน ซัดโทษ โดยท่ีอีกฝายหนึ่งไมมีความผิด แตอยางใด (Reber, 1985: 664) เปนการ แสดงออกถึงความมุงรายอยางเปดเผย พรอม ท่ีจะทําลายฝายตรงขามไดตลอดเวลา

ลําดบัความสัมพนัธตอมา คอืการแบง พรรคแบงพวก (Discrimination) จะมีลักษณะ ของความมุงราย นอยกวาแบบโยนความผิด กลาวคอืจะเปนการแยกพวก แยกกลุมโดยปฏบิตัิ ตอบุคคลหรือกลุม แตกตางกันออกไปอยาง เลือกท่ีรักมักท่ีชัง อยางไมยุติธรรม อยางไมมี ความเสมอภาค(อรทัย ชืน่มนษุย, 2525: 25)

¢³ Ð∙ Õè การมอีคติ (Prejudice) เปนความ สัมพันธท่ีลดความมุงรายลงกวาการแบงพรรค แบงพวกโดยถือวาอคตเิปนทัศนคตท่ีิจะโนมนาํลวง หนาใหบคุคล คดิ รับรู รูสึก หรือกระทํา ไปใน ลกัษณะท่ีนาพงึพอใจ หรือไมนาพงึพอใจตอบคุคล หรือกลุมบคุคล เชน อคตติอเชือ้ชาตขิองตนวามี ความย่ิงใหญกวาใคร ๆ หรืออคตติอคนเชือ้ชาติ อ่ืนวาต่าํตอยกวาเชือ้ชาตขิองตนหรือไรความเจริญ (อรทัย ชืน่มนษุย, 2525: 9-10)

การติดตอสัมพันธ เฉพาะบางคน (Predilection) จะมีลักษณะของความมุงราย ลดนอยกวาการมีอคต ิ โดยบคุคลจะตดิตอสมัพนัธ กับคนท่ีมีวฒันธรรมแตกตางจากตนไดตามเหตผุล

และความจําเปน ตามสถานการณแวดลอม ขณะที่ การอดทนอดกลั้น (Tolerance)

เปนรูปแบบของการติดตอสัมพันธท่ีบุคคลหนึ่ง ยอมใหบุคคลท่ี มีวัฒนธรรมแตกตางจากตน การกระทําการใด ๆ ไดตามสิทธิอันชอบธรรม ไม เข าไปแทรกแซง แมว าการกระทํานั้ นตน จะไมชอบหรือไมเห็นดวยก็ตาม

การยอมรับ (Respect) เปนรูปแบบ การติดตอสัมพันธท่ีบุคคลหนึ่งยอมรับ เชื่อถือ เชือ่ม่ันในคณุคาและความสามารถของบคุคลหนึง่ ท่ีมีวฒันธรรม ความเชือ่ท่ีแตกตางจากตนยอมรับ ในความแตกตางทางวัฒนธรรมและการอยูรวม กันภายใตความหลากหลาย

การรวมมอื (Cooperative) เปนรูปแบบ การตดิตอสมัพนัธระหวางบคุคลท่ีมีความแตกตางกัน โดยท่ีท้ังสองฝายพรอมท่ีจะกระทํากิจกรรมรวมกัน ใหบรรลเุปาหมาย บนพืน้ฐานของการยอมรับนบัถือ การใหเกียรตซิึง่กันและกัน ถอยทีถอยอาศยั อดทน อดกลั้น ไมถือโทษโกรธกันในเร่ืองเลก็นอยและ สามารถบอกกลาวพูดคุยความในใจและความ ตองการของตนใหอีกฝายไดรับรู เพื่อใหบรรลุ เปาหมายสงูสดุรวมกันคอื ความสงบ ความมีสนัติ

จากลําดับข้ั นของความสัมพันธดั งท่ี กลาวมานีจ้ะพบวา ถาบุคคลทีมี่คุณลกัษณะหรือ มีเจตคติทางบวก (ความเปนมิตร) สูง ก็จะมี คณุลกัษณะหรือเจตคตทิางลบ (ความมุงราย) ต่าํ ซึง่เปนความสัมพนัธในลักษณะผกผันกัน

ทฤษฎีอคติ (Theories of Prejudice)

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 5: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

5

รูปแบบความสมัพนัธในสงัคมพหุวฒันธรรม ท่ีมีการศึกษากันอยางกวางขวางคือการมีอคติ (Prejudice) ระหวางบคุคลหรือกลุมบคุคลท่ีมีความ แตกตางกัน โดยจะกลาวถึงทฤษฎีอคต ิ ดังนี้

1. ทฤษฎีการสะทอนสังคม (Social Reflection Theory)

Cancilla (2002: 10-11) ไดสรุป ทฤษฎีการสะทอนสังคมกลาวคือ เจตคติและ ความเชื่อเก่ียวกับอคติ (Prejudice) ของคนใน สังคมคือสิ่งท่ีสะทอนถึงโครงสรางลําดับชั้นทาง สงัคม (Stratified Social Structure) โดยกลุมคน ท่ีมีสถานภาพ (Status) และอํานาจ (Power) ท่ีแตกตางกัน ก็จะได รับคุณคาความสําคัญท่ี แตกตางกัน ดังนั้น ประชาชนก็คือผลผลิตของ สภาพแวดลอมทางสังคม และเดก็จะเรียนรูและ ยอมรับในเชื้อชาติ สถานภาพและบทบาททาง สังคมของตน และเชื้อชาติสถานภาพทางสังคม ของคนกลุมอ่ืน โดยเรียนรูผานทางพอแมหรือ ผูเลี้ยงดู หรือกลาวไดวาประสบการณและความ เชื่อของพอแม ผูเลี้ยงดูจะมีอิทธิพลตอเจตคติ ความเชือ่ทางสังคมของเด็ก

ทฤษฎีการสะทอนสังคมนี้ไดรับการ วพิากษวจิารณวาเปนทฤษฎท่ีีงายเกินไป ไมซบัซอน แตก็มีขอบเขตการอธบิายอยูในวงจาํกัด เนือ่งจาก เปนการพูดแบบเหมารวม โดยไมพิจารณาถึง ความแตกตางของบุคคล เชน อายุ และเพศ ทฤษฎนีีไ้มไดอธิบายวาเด็กท่ีเตบิโตขึน้จะมีความ สามารถในการสังเกตและเขาใจถึงคานิยมและ บรรทัดฐานของสังคม เพิ่มมากขึ้นหรือไม เม่ือ เตบิโตข้ึนเปนผูใหญ พวกเขาจะเกิดความตระหนกั รูถึงสถานภาพทางสงัคมท่ีไมเทาเทียมกันระหวาง กลุมเพิ่มข้ึนหรือไม เม่ือเด็กอายุเพิม่ข้ึนจะรับ เอาเจตคตแิละความเชือ่เก่ียวกับอคติ (Prejudice) เพิม่ข้ึนหรือไม ขณะเดยีวกันทฤษฎนีียั้งไมสามารถ

อธบิายไดวาเพราะเหตใุดคนท่ีมีเชือ้สายหรืออยูใน กลุมสงัคมเดยีวกัน จงึมีอคตมิากกวาอีกคนหนึง่ แตทําไมบางคนจึงไมมีอคติกับคนกลุมอ่ืนเลย จดุแข็งของทฤษฎนีีค้อื สามารถอธบิายการเกิดอคติ ในสังคมท่ีเกิดจากการแบงชนชั้นทางสังคมจาก คนรุนหนึง่ไปสูคนอีกรุนหนึ่งได สามารถอธบิาย ไดวาเพราะเหตุใด คนบางกลุมในสังคมจึงมี โอกาสความนาจะเปนของการเกิดอคตไิดมากกวา คนอีกกลุมหนึ่ง

2. ทฤษฎีสภาวะขางใน (Inner State Theory)

Adorno et al (1950 cited in Cancilla, 2002: 12) ไดเสนอแนวคิดเก่ียวกับอคติจาก พื้นฐานทฤษฎีจิตวิทยา กลาวคือ อคติเปนผล จากความขัดแยงภายในจติใจระหวางความปรารถนา ท่ีจะเปนคนด ีแตในความเปนจริงคนเราไมสามารถ เปนคนดไีดตลอดเวลา เชน เดก็ท่ีถูกพอแมทําโทษ อาจจะรูสึกโกรธและตองการโตตอบ แตความรู สึกนี้จะถูกเก็บกดไวเพื่อหลีกเลี่ยงการปฏิเสธ อํานาจของพอแมท่ีมีเหนอืพวกตนซึง่ความมุงราย ท่ีถูกเก็บกดไวจะถายโอนไปสูคนท่ีไมมีอํานาจ ในสงัคม เชน ชนกลุมนอย (Minority Groups)

ทฤษฎนีีส้ามารถอธบิายถึงอคตท่ีิเกิดกับ บคุคลแตละคน และสามารถอธบิายไดวาเพราะเหตุ ใดบางคนจึงมีอคติมากกวาอีกคนหนึ่งแตทฤษฎี นีก็้มีขอจาํกัด คอื เชือ่วาชนกลุมนอยทุกกลุมไมมี พลงัอํานาจในการตอรองในสงัคม ดงันัน้ ชนกลุม นอยทุกคน หรือทุกกลุมคือผูท่ีไดรับผลกระทบ จากอคตขิองคนกลุมใหญในสงัคม ซึง่ไมสามารถ ยืนยันไดวาความเชือ่นีเ้ปนจริงเสมอไปขณะเดยีว กันทฤษฎีนียั้งไมสามารถแยกแยะความแตกตาง ระหวางอคตท่ีิเกิดในเดก็กับอคตท่ีิเกิดในผูใหญได อีกท้ังยังไมสามารถทํานายไดวาเม่ืออายุเพิ่มข้ึน อคติจะเพิ่มข้ึนหรือไม และจุดออนสําคัญของ

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 6: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

6

กลุมอ่ืนมากข้ึน พวกเขาจะพัฒนาความสามารถ ในการบรูณาการความคดิดข้ึีน ตองการใหตนเองมี ความสาํคญัหรือเดนกวาคนอ่ืนๆ มีการใชหลกัการแลก เปลีย่น การตอรอง (Principle of Reciprocity) ซึ่งแสดงวาแตละกลุมเร่ิมมีอคติตอกลุมอ่ืนๆ แตคําอธิบายในข้ันนี้ยังไมมีรายละเอียดสมบูรณ ดงันัน้ จงึเปนการยากท่ีจะตัดสนิวาพัฒนาการใน ชวงอายุนี้จะเกิดอคติมากนอยเพียงใด

จากท่ีกลาวถึงทฤษฎอีคติ ท้ังสามทฤษฎี สรปุวา อคติจะกอตัวข้ึนตัง้แตวยัเด็ก โดยเดก็จะ รับรูและเรียนรูอคตจิากการมีปฏสิมัพนัธกับคนรอบ ขาง ไดแก พอแม ผูเลีย้งด ู คนในชมุชน ครูและ เพือ่นท่ีโรงเรยีน อยางไรก็ตามทฤษฎีเหลานียั้ง ไมสามารถอธบิายสาเหตขุองการเกิดอคตไิดอยาง ครบถวน

แนวทางการลดอคตแิละเสรมิสรางการยอมรบั ความหลากหลายวัฒนธรรม

เนื่องจากคานิยม (Values) สามารถ เรียนรูตั้งแตวัยเด็กตอนตน (อายุ 3-4 ขวบ) และจะเปนรูปรางชัดเจนเม่ือตอนเขาสู วัยรุน เชนเดียวกับการตระหนักในความแตกตางทาง เชื้อชาติ เด็กจะเริ่มเรียนรูไดตั้งแตอายุ 3 ขวบ จากการศึกษาของ Kenneth and Clark (1950 cited in Titus, 1998: 1) พบวา เดก็อเมริกัน ผวิขาว อายุประมาณ 4 ขวบ จะเลอืกเลนกับเดก็ ผวิขาวดวยกัน ขณะท่ีเดก็อเมริกันเชือ้สายเม็กซกัิน และแอฟริกันจะถูกกันออกไป นอกจากนี้ Allen and Stevens (1994 cited in Titus, 1998: 1) พบวา เดก็ระดบัมัธยมปลาย (Middle Grades) จะเร่ิมมีอคติ (Prejudice) และการแบงพรรค แบงพวก (Discrimination) พวกเขาเชื่อวาการ ศกึษาข้ันพืน้ฐานถือวามีบทบาทอยางสําคญัย่ิงใน การสรางคานยิมท่ีถูกตองใหกับเดก็ใหเปนพลเมือง

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

ทฤษฎนีีค้อื ผลการวจิยัท่ีพบวาการนยิมใชอํานาจ ของพอแม ไมมีความสัมพันธกับการเกิดอคติ ในตัวลูกแตอยางใด (Aboud, 1988 cited in Cancilla, 2002: 12)

3. ทฤษฎีพัฒนาการความคิด-สังคม (Social-Cognitive Development Theory)

Piaget and Weil (1951 cited in Cancilla, 2002: 13-14) เชื่อวาบุคคลท่ีมี อายุตางกันจะมีอคติแตกตางกัน อันเปนผลจาก การเปลี่ยนแปลงโครงสรางความคิด แมวาอคติ จะเปนสิ่งท่ีเกิดขึ้นโดยไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตอคตก็ิไมจาํเปนตองเกิดขึน้ตลอดไปพฒันาการ ทางความคิดของบุคคลจะสงผลตอวิธีการคิด และการรับรูสภาพแวดลอมของบุคคล เด็กท่ีมี พัฒนาการทางการคิดชากวาปกติจะมีโอกาสได รับขอมูลท่ีบดิเบอืนจากสภาพแวดลอมไดมากกวา อาจกลาวไดวาอคต ิ ก็คอืความคดิท่ีท่ีถูกบดิเบอืน โดยอคติจะเกิดขึ้นพรอม ๆ กับพัฒนาการทาง ความคิดของบุคคล ใน 3 ข้ันตอน คือ

ข้ันท่ี1 อยูในชวงอายุ 4-7 ป เปนชวง ท่ีเดก็จะยึดตนเองเปนศนูยกลาง โดยเดก็จะมีโลก สวนตวัของเขา จงึสนใจเฉพาะเร่ืองของตนมากกวา ท่ีจะสนใจวา เพือ่นคนอ่ืน ๆ จะมีเชือ้ชาตแิตกตาง จากตนหรือไม สอดคลองกับข้ันพัฒนาการของ เพยีเจตข้ัน Pre-Operational Stage of Reasoning

ข้ันท่ี 2 อยูในชวงอายุ 7-10 ปี เปน ชวงท่ีเด็กเร่ิมลดความสนใจในตนเองลงและ หันมาสนใจสังคม (คนอ่ืน) มากขึ้น เด็กเร่ิม รวมตวักันเปนกลุมเร่ิมรับรูวาคนกลุมอ่ืนมีความ แตกตางจากกลุมตน (ความคดิเชงิเปรียบเทียบ) ซึ่งสอดคลองกับข้ันพัฒนาการของเพียเจตข้ัน Concrete Operational Stage of Thinking

ข้ันท่ี 3 อยูในชวงอายุ 10-15 ป ีใน ชวงนี้ เด็กจะมีโอกาสเก่ียวของสัมพันธกับคน

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 7: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

7

ท่ีมีความรับผิดชอบตอสังคม เม่ือเด็กมีคานิยม ท่ีถูกตองแลวก็จะสงผลในการลดอคตติอกลุมคน ท่ีมีความแตกตางจากตนได

จากผลการวิจัยดังกลาว แสดงใหเห็น วาครูคือผู ท่ี มีบทบาทสําคัญในการเสริมสราง เจตคต ิ คานยิมทางเชือ้ชาตท่ีิถูกตองใหกับนกัเรียน โดยผานกระบวนการสอนและการกระทําตนเปน แบบอยางท่ีดีใหกับนักเรียน ดังนั้น การรับรู เจตคติ และพฤติกรรมของครูเก่ียวกับความ แตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรมของ นักเรียน ตองเปนไปในทิศทางบวก ครูจะตอง เปนผูท่ียอมรับแนวคิดในเร่ืองของความแตกตาง ทางวัฒนธรรม และการอยูรวมกันในสังคมท่ีมี ความหลากหลาย ครูจะตองมีความรู เจตคติ และทักษะการสื่อสารในชัน้เรียนสรางบรรยากาศ ในชัน้เรียน และจัดกิจกรรมในบทเรียน เพือ่ให นักเรียนไดเขาใจและยอมรับความแตกตางทาง วฒันธรรมและความหลากหลาย (Titus, 1998: 2) อาจกลาวไดวา ครูประจาํชัน้และครูประจําวชิา ในสงัคมพหวุฒันธรรมของสถาบนัการศกึษา คอื ผู ท่ี มีบทบาทสําคัญในการสงเสริมเจตคติใน เร่ืองของการยอมรับในบุคคลและกลุมบุคคล ท่ีมีความแตกตางจากตนไมวาความแตกตางนั้น เปนเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา หรือวัฒนธรรม และ ท่ีสําคัญที่สุดคือ ครูจะตองปราศจากอคติความ ลาํเอียงตอนกัเรียนท่ีมีลกัษณะแตกตางจากตนและ เรียนรูนกัเรียนกลุมตาง ๆ เพือ่นําไปสูการสือ่สาร และการปฏบิตักิิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะสม และสงเสริมการยอมรับซึ่งกันและกัน

ครูสอนศลิปศกึษา คอืบคุคลสาํคญัอีกกลุม หนึ่งท่ีจะมีบทบาทในการใชวิชาศิลปศึกษาหรือ กิจกรรมศลิปะเพื่อการสงเสริมการยอมรับความ หลากหลายวัฒนธรรมใหแกนักเรียนในสังคม พหุวฒันธรรม เชน ในพืน้ท่ีสามจงัหวดัชายแดน

ภาคใต ดงัท่ี Zimmerman (1990: 1) กลาววา การสอนศลิปศกึษาในบริบทของสงัคมพหุวฒันธรรม จะมีบทบาทในการเตรียมนกัเรียนใหเปนพลเมือง ของโลกเขาใจและซาบซึ้งในความแตกตางทาง วัฒนธรรม ซึง่สอดคลองกับท่ี Dufrene (1991 : abstract) กลาววาภาควชิาศลิปศกึษาในมหาวทิยาลยั จะตองเตรียมผลติครูศิลปศกึษาท่ีพรอมปฏิบัติ การสอนในสงัคมท่ีมีความหลากหลายวฒันธรรม และเชือ้ชาติ

บทบาทของศิลปศึกษากบัการสงเสรมิการยอม รับความหลากหลายวัฒนธรรม

Veale (1992: abstract) ไดกลาวถึง บทบาทของศิลปศึกษาหรือกิจกรรมศิลปะใน ประเทศออสเตรเลียโดยเชื่อวากิจกรรมศิลปะ ถือเปนสวนหนึ่งของการใหการศึกษาและการ สงเสริมพฒันาการทางสตปิญญาในนกัเรียนตัง้แต ชั้นอนุบาล ชวยใหนักเรียนไดเรียนรู ถึงมรดก ทางวฒันธรรมของชาต ิ โดยผานทางงานศลิปะของ ชาว Aborigin สอดคลองกับท่ี Barbosa (1992: 3) เชือ่วางานศลิปะ คอื เคร่ืองมือในการนาํเสนอ หรือการแสดงออกของศลิปนในดานจติวิญญาณ (Spiritual) สตปิญญา อารมณ ความรูสกึ วถีิชวีติ คานิยม ประเพณ ีความเชื่อ กลาวโดยสรุปก็คือ เราสามารถเขาใจถึงวฒันธรรมของประเทศใดประเทศ หนึง่ได โดยผานผลงานศลิปะของประเทศนัน้ ๆ ในขณะเดียวกันผลงานศลิปะจะกระตุนใหคนใน ชาติเกิด ความตระหนักรูถึงความเปนพลเมือง (Citizenship)ของตน

Lin (1997: 1) กลาววาในประเทศ แคนาดา ซึ่งเปนสังคมท่ีประกอบดวยคนหลาย เชือ้ชาต ิหรือท่ีเรียกวาสงัคมพหวุัฒนธรรม ไดมี การนําศิลปศึกษามาใชเปนเคร่ืองมือในการสอน ใหนกัเรียน เกิดความตระหนกัรูในเร่ืองของความ

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 8: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

8

แตกตางทางวัฒนธรรม และสิ่งสําคัญท่ีสุดคือ ครูสอนศิลปศึกษา จะตองมีความรูความเขาใจ อยางเพยีงพอเก่ียวกับประวตัศิาสตรและวฒันธรรม ของกลุมชนนั้น ๆ สอดคลองกับท่ี Goldblatt (1998: abstract) เชือ่วาศลิปศกึษาสามารถนาํมา ใชเปนเคร่ืองมือในการกระตุนวิธีการมองและ วธิกีารคดิใหมีความหลากหลาย (Diverse Ways) โดยกิจกรรมศิลปะจะสามารถเปนสื่อกลางใน การกระตุ นความสนใจของนักเรียนให มีการ อภิปรายพูดคุยกันในประเดน็ของความแตกตาง ทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมหรือใชชีวิตใน สังคมท่ีมีความหลากหลายเชนนี้

เชนเดยีวกับ Stewart (1992: 4) กลาววา การสอนศลิปศึกษาแนวพหุวัฒนธรรมจะชวยให นกัเรียนมีโลกทัศนท่ีกวางขวางตระหนักรูถึงอคติ หรือความลําเอียงท่ีเกิดกับตน กอใหเกิดการ เขาใจและยอมรับความแตกตางทางวัฒนธรรม สอดคลองกับท่ี Devers (1997: abstract) กลาววา ศิลปศึกษาแนวพหุวัฒนธรรมจะชวยใหนักเรียน ซึง่อยูในสังคมเดี่ยว (Monoculture) ไดเกิดการ รับรูและซาบซึ้งถึงความอุดมสมบูรณมั่งคั่งทาง วัฒนธรรม (Cultural Richness) ท้ังของกลุม ตนเองและวฒันธรรมของกลุมคนอ่ืน ๆ สอดคลอง กับท่ี Lewis (1997: 125) เชือ่วากิจกรรมศลิปะ สามารถนํามาเปนเคร่ืองมือในการทําจิตบําบัด (Psychotherapy) ใหกับคนไขท่ีอยูในสังคม พหุวฒันธรรม โดยกิจกรรมศลิปะจะชวยใหคนไข ไดเกิดการสํารวจและตระหนกัรูในวฒันธรรมของ ตนเองและวัฒนธรรมของกลุมอ่ืน และกิจกรรม ศลิปะยังชวยลดความวติกกังวล ความขัดแยงความ รูสึกผิดของคนไขไดอีกดวย

Chanda (1992: 16) เสนอแนะวาอาจารย ท่ีสอนศิลปะในมหาวิทยาลัย จะตองตระหนักถึง ความสําคัญของความหลากหลายทางวัฒนธรรม

การวเิคราะห วพิากษวจิารณงานศลิปะของนกัศกึษา ควรสงเสริมใหมองออกไปจากมิตขิองศลิปะของ ทางตะวนัตก เพือ่ใหนกัศกึษาไดเขาใจคนอ่ืนมากข้ึน สอดคลองกับท่ี Hatton (2003: 1) กลาววา หลกัสตูรศลิปศกึษาตัง้แตการศกึษาภาคบงัคบัไป จนถึงระดับอุดมศึกษา ควรตองคํานึงถึงความ หลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural Diversity) ผู เรียนควรได เรียนรูและเขาใจถึงศิลปะและ วฒันธรรม ท่ีไมใชตะวนัตก (Non-Western Cul- tures) มากข้ึน

McFee(1977: abstract) มีความเห็นวา ภาพวาดของเด็กมิใชเพียงการนําเสนอสิ่งท่ีเด็ก มองเห็นเทานัน้ แตยังแสดงใหเห็นถึงความเขาใจ ในตนเอง และเขาใจในวัฒนธรรมของตนเอง ซึง่การวิเคราะหคุณภาพจากภาพวาดของเด็กนัน้ นบัเปนวถีิทางหนึง่ท่ีดย่ิีงในการศกึษาอิทธพิลดาน วัฒนธรรม ประเด็นดานวัฒนธรรมเปนท่ีสนใจ ในหมูนกัวชิาการดานศลิปศกึษาท่ัวโลกมาโดยตลอด เนือ่งจากปจจยัดานวฒันธรรมเปนปจจยัหลกัท่ีทํา ใหผูชม เห็น รูสึก เขาใจ ตอบรับ หรือใหคุณคา งานศลิปะท่ีแตกตางกัน

จากท่ีกลาวมาพอสรุปไดว า การสอน ศิลปศึกษา หรือกิจกรรมทางศิลปะตั้งแตระดับ อนุบาล จนถึงระดับอุดมศึกษา จะมีสวนสําคัญ ในการสงเสริมใหผูเรียนเกิดความตระหนักรูใน คุณคาและวัฒนธรรมของตนองและวัฒนธรรม ของคนอ่ืนยอมรับในความแตกตางทางวฒันธรรม และความหลากหลายเกิดเจตคติท่ีดีระหวางคน ตางเชื้อชาติ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม โดย กิจกรรมศลิปะแนวพหวุฒันธรรม (Multicultural Art Activities) เหมาะท่ีจะนํามาใชกับนักเรียน ท้ังในสังคมพหุวฒันธรรม (Multiculture) และ สังคมเดีย่ว (Monoculture)

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 9: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

9

กิจกรรมศิลปะแนวพหุวัฒนธรรม (Multicul tural Art Activities)

กิจกรรมศิลปะแนวพหุวัฒนธรรม หรือ อาจเรียกวา ศิลปศึกษาแนวพหุวัฒนธรรม คือ วิธีการหนึ่งท่ีนักการศกึษานํามาใชเปนเคร่ืองมือ ในการสงเสริมใหนักเรียนท่ีอยูในสังคมท่ีมีความ แตกตางทางวัฒนธรรม ไดเกิดความตระหนักรู ในคณุคาทางวฒันธรรมท้ังของกลุมตนและกลุมอ่ืน เขาใจและยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ท้ังในดานเชือ้ชาต ิ ภาษา ศาสนา ขนบประเพณี และวิถีชีวิต ซึ่งถือวาเปนการเตรียมตัวนักเรียน ท่ีอยูในสงัคมพหุวฒันธรรมใหมีความพรอมท่ีจะ ใชชวีติอยูในสงัคมปจจุบนัและในอนาคตไดอยาง มีความสุขตอไป

Chanda (1992: 12-16) ไดเขียน บทความเร่ือง “Multicultural Education and the Visual Arts” ไวอยางนาสนใจ โดยสรุปมีดังนี้ คือ การสอนศิลปศึกษาใหกับนักเรียนท่ีมีความ แตกตางทางชาติพันธุและวัฒนธรรม ครูจะตอง เขาใจถึงบริบทหรือเบื้องหลังความเปนมาของ นักเรียนในหองเรียนอยางถูกตอง เนื่องจากพบ วางานศิลปะชิ้นเดียวกัน นักเรียนท่ีมีชาติพันธุ หรือวัฒนธรรมท่ีแตกตางกันอาจจะใหคุณคา หรือประเมินคางานชิน้นัน้แตกตางกัน เชนนกัเรียน จากชาตติะวนัตกจะตคีวามหมายของภาพวาดมังกร ของจนี ในทางรายเนือ่งจากมังกรในความเชือ่ของ คนชาตติะวนัตกคอื อสรูราย ในขณะท่ีนกัเรียนจนี ใหคุณคาของมังกรในทางดี เพราะมังกรคือ สัญลักษณของความเปนสิริมงคล Chandaกลาว ตอวาครูสอนศลิปศกึษาสวนใหญไมใสใจกับความ หลากหลายวฒันธรรมของผูเรียนและมักจะเชือ่วา มนษุยทุกคนจะมองเห็นความงามของศลิปะเหมือน กันทุกคน ซึ่งความจริงไมไดเปนเชนนั้นดังนั้น การสอนศิลปศึกษาแนวพหุวัฒนธรรม (Multi

cultural Art Education) จึงมีความสําคัญในอัน ท่ีจะสงเสริมใหนักเรียนไดสํารวจถึงความแตก ตางดานวัฒนธรรม ความเชื่อ และเกิดความ เขาใจบคุคลอ่ืนท่ีมีวฒันธรรมตางจากตนไดอยาง ลึกซึ้ ง และเกิดการยอมรับความหลากหลาย ทางวฒันธรรม

Congdon (1989 cited in Chanda, 1992: 15-16) กลาวถึง กลวิธีการสอนศิลป ศึกษาแนวพหุวัฒนธรรม วามี 3 วิธีหลัก ๆ คือ

1. การวพิากษงานศลิปะ (Art Criticism) เนื่องจากการใหนักเรียนไดวิพากษงานศิลปะจะ สามารถสะทอนใหครูไดเขาใจถึงการมองโลก หรือการมองสิง่ตาง ๆ รอบตวัของนักเรียนอยาง ชดัเจน

2. ประวตัศิาสตรศลิปะ (Art History) จะ ทําใหนกัเรียนกลุมชาตพินัธุหรือวฒันธรรมตาง ๆ ไดเขาใจถึงท่ีมาของงานศิลปะและยอมรับใน เอกลกัษณหรือคณุคาของงานศลิปะและกลุมชาติ พันธุนัน้ ๆ

3. การชืน่ชมความงามของศลิปะ(Aesthetic) จะฝกใหนักเรียนไดมองโลกในแงดีเห็นคุณคา ของงานศลิปะและความสามารถของเจาของผลงาน ศิลปะ ท้ังท่ีเปนชาติพันธุเดียวกับตน หรือของ ชาตพิันธุอ่ืน

Banks (1989 cited in Chanda, 1992: 14-15) กลาวถึงวิธีการสอนศิลปศึกษาแนว พหุวัฒนธรรม (Multiethnic Art Education) โดยการบูรณาการเนื้อหาเก่ียวกับชาติพันธุของ นักเรียนเขาไปในกิจกรรมการเรียนการสอน ศิลปศึกษา ซึ่งแบงออกได 4 วิธี คือ

1. การกระจายเนือ้หาของกลุมชาติพนัธุ โดยเทาเทียมกัน (The Contributions Approach) คื อการสอนศิลปศึกษาท่ี ใหความสําคัญกับ เนื้อหาศิลปะของกลุมชาตพินัธุตางๆ ของนกัเรียน

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 10: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

10

โดยเทาเทียมกัน ในทุกมิติของการสอนศิลปะ ไดแก ความงามทางศลิปะ(Aesthetics) การวพิากษ งานศลิปะ(Art Criticism) และประวัติศาสตร ศิ ลปะ (Art History) เช นเม่ื อมีการสอน ประวตัศิาสตรศลิปะ ครูจะยกตวัอยางศลิปนดเีดน ท้ังของคนอเมริกันผวิขาว(European–American) และศิลปนดี เดนของคนผิ วดํา (African– American) ควบคูกันไป

2. การเพิ่ มเติมเนื้ อหาของกลุ มชาติ พนัธุในภายหลงั (The Ethnic Additive Approach) คือ การสอนศิลปศึกษาโดยการกําหนดเนื้อหา หรือหนวยการเรียนท่ีเปนเร่ืองของกลุมชาติพันธุ หนึง่ แลวเพิม่เตมิเนือ้หาของอีกกลุมชาตพินัธหนึง่ เขาไป เชน หนวยการเรียนประวตัศิาสตรศลิปะ จะใชเนือ้หาประวตัศิาสตรศลิปะของยุโรปเปนหลกั และในขณะท่ีสอน ครูก็จะสอดแทรกเนื้ อหา ประวัติศาสตรศิลปะของแอฟริกันเขาไปดวย ขณะท่ีหนวยการเรียนการวาดภาพบนผืนทราย (Sandpaintings) ครูจะใชเนื้อหาสาระของการ วาดภาพบนผืนทรายของชาวอเมริกันพื้นเมือง (Native American Sandpainting) เปนหลัก

3. การเปลี่ยนแปลงเนื้ อหาสาระและ รูปแบบการสอนตามสถานการณ (The Transformation Approach) คือ การสอนศลิป ศกึษาแนวพหุชาตพินัธุ โดยเปาหมายและโครงสราง ของหลักสูตรจะถูกเปลี่ยนไปตามมุมมองท่ีแตก ตางกัน เชน ขณะท่ีสอนศลิปะแนวสนุทรียศาสตร (Aesthetic Perspective) นกัเรียนอาจจะเปลีย่น ความสนใจของตนจากจุดเนนท่ีผลงานศิลปะ (Product Orientation) ไปเปนกระบวนการสราง ผลงานศิลปะ (Process Orientation) แทนหรือ ในขณะมีการอภปิรายผลงานศลิปะก็จะมีการถาม คําถามในมุมมองจากกลุมชาติพันธุตาง ๆ ถึง

การตีความ (Interpret) ในงานศิลปะชิน้นัน้ ๆ 4. การเชื่อมโยงผลงานศิลปะกับสังคม

(The Social–Action Approach) ถือว า เป นการสอนศิ ลปศึ กษาแนวพหุชาติ พั นธุ ในข้ันสงูสดุ คอื การท่ีครูกระตุนสงเสริมใหนกัเรียน ไดใชความคดิเชงิวเิคราะห (Critical Thinking) โดยใชประเด็นปญหาเชิงคุณธรรม จริยธรรม มาเปนศูนยกลาง เพือ่กระตุนใหนักเรียนไดคิด วเิคราะห จากมุมมองทางศลิปะแนวสนุทรียศาสตร และประวัติศาสตรศิลปะ ขณะท่ีแนวทางการ วิพากษงานศิลปะ (Art Criticism) จะใชเปน เคร่ื องมือในการตรวจสอบมโนทัศนพื้ นฐาน (Basic Concepts) กระบวนทัศน (Paradigms) และทัศนะ (Perspectives) ของนักเรียนในกลุม ชาตพิันธุตาง ๆ

ซึง่ท้ัง 4 วิธกีารนี้ Banks เชื่อวาครูศิลป ศึกษาสวนใหญยังคงใชวิธกีารสอนแบบท่ี 1 และ 2 ซึ่ งก็ไมถือวาท้ัง 2 วิธีเปนสิ่ งผิด แตครู ศลิปศกึษาควรท่ีจะพฒันาการสอนใหอยูในแบบท่ี 3 และ 4 จะดท่ีีสดุ โดยในแบบท่ี 3 คอื การเปลีย่น แปลงเนื้ อหาสาระและรูปแบบการสอนตาม สถานการณจะชวยใหนักเรียนเขาใจถึงวิธีการท่ี แตกตางกันในการมองและการแสดงออกตาม ความเปนจริงและจนิตนาการทําใหเกิดความเขาใจ ในความงามและปรัชญาพื้นฐานของคนกลุมอ่ืน มากย่ิงข้ึน

งานวิจยัทีเ่กีย่วของระหวางกจิกรรมศิลปะกบัการ ยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม

Otcasek (1989: abstract) ไดศึกษา ผลของโปรแกรมศิลปะบําบัด (Art Therapy) ในนักเรียนผิวดําชั้นมัธยมศึกษาข้ัน 4 และ 5 ในเขตเมือง พบวาภายหลังการทดลองนักเรียน มีความภาคภมิูใจในตนเองสงูข้ึน สอดคลองกับ

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 11: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

11

การศกึษาของ Omizo and Omizo (1989 อาง ถึงใน บญัญตั ิ ยงยวน, 2535: 60-67) ไดทดลอง ใชการใหคําปรึกษาเปนกลุม โดยเนนกิจกรรม ศิลปะเพื่อพัฒนาความนับถือในตนเอง (Self- esteem) ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเชือ้ชาติ ผสม (ระหวางเชื้อชาติฮาวายและเชื้อชาติอ่ืน) ในมลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา ผลการวจิยัพบวา นั กเรียนกลุ มทดลองมีความนั บถือตนเอง ดานสังคม กลุมเพื่อน และดานการเรียนเพิ่มสูง ข้ึนอยางมีนยัสําคัญทางสถิติ

Kalish–Weiss (1989 c ited in Henderson and Gladding, 1998: 186) ได ทดลองใชการบําบัดดวยศิลปะและการเลนกับ เดก็ท่ีเปนชนกลุมนอยในเมือง Los Angles ผล การทดลองพบวาสามารถลดปญหาความยุงยาก ทางอารมณ ลดความวติกกังวลและความซมึเศรา ความเชือ่ม่ันในตนเองและแกปญหาการเรียนใหกับ นักเรียนกลุมนีไ้ด

Russo (1994: abstract) ไดริเร่ิมโครงการ Tolerance through Exposure ในนกัเรียนข้ันท่ี 8 เพื่อสรางความเขาใจในความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและเชื้อชาติ ผานกระบวนการศึกษา วเิคราะหประวตัศิาสตร วรรณคด ีดนตรี และศลิปะ ผลปรากฎวานักเรียนเกิดความตระหนักรู ใน วฒันธรรม และความหลากหลายมากข้ึนเกิดการ ยอมรับและอดทนอดกลัน้ (Tolerance) ในความ แตกตางทางวัฒนธรรมเพิม่ข้ึน

Sears (1995: abstract)ไดทดลองสอน ศิลปศึกษาแนวพหุวัฒนธรรม (Multicultural Arts Education) ใหกับนกัเรียนชัน้อนบุาลพบวา นกัเรียนเกิดความตระหนกัรูในวฒันธรรมเพิม่ข้ึน เขาใจถึงความหลากหลายและเกิดการยอมรับ ในวัฒนธรรมของตนเองและบุคคลอ่ืนมากข้ึน

Appleton and Dykeman (1996:

abstract) ไดใชกิจกรรมศิลปะผสมผสานไปใน กระบวนการใหคําปรึกษาแบบกลุ ม (Group Counseling) กับนักเรียนอเมริกันท่ีเปนชนพื้น เมือง (Native American) อายุระหวาง 7-17 ป พบวา นักเรียนเหลานีเ้กิดความรูสึกม่ันคงปลอด ภัยมากข้ึน ภายใตวัฒนธรรมของชนชาติยุโรป กลาท่ีจะพดูคยุสนทนากับคนตางวฒันธรรมมากข้ึน

ผลการวิจัยดังกลาว สรุปไดวากิจกรรม ศลิปะ สามารถสงเสริมพฒันาใหนกัเรียนเกิดความ ภาคภมิูใจในตนเอง ความภาคภมิูใจในวฒันธรรม ของตน เกิดความเชื่อม่ัน เกิดความตระหนักรู ในวัฒนธรรม และความหลากหลาย เกิดการ ยอมรับ และมีเจตคติท่ีดีตอวัฒนธรรมของคน ตางวัฒนธรรม มากข้ึน

บทสรุป จากท่ีกลาวมาจะเห็นไดวากิจกรรมศลิปะ

ท่ีจัดข้ึนในสถานศึกษา มิใชเปนเพียงวิชาหนึ่งท่ี นกัเรียนตองเรียนเพือ่ทําคะแนนใหไดดหีรือสอบ ผานเทานัน้แตครูผูสอนยังสามารถบรูณาการเนือ้หา ดานวัฒนธรรมเพื่อใหผูเรียนเกิดความรูความ เข าใจในวัฒนธรรมของตนเองและกลุ มอ่ื น เขาใจถึงความเหมือนและความตางในวฒันธรรม มีโลกทัศนกวางขวาง อันจะนําไปสูการยอมรับ เห็นคณุคาของความหลากหลายวัฒนธรรม และ นําไปสูความสัมพันธท่ีดีของผูคนในสังคม โดย เฉพาะอยางย่ิงสังคมพหุวัฒนธรรม เชนในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต ของไทย

การจะเปลี่ ยนพฤติกรรมการสอนของ ครูศิลปศึกษาควรจะตองเร่ิมจากสถาบันท่ีผลิต ครูศลิปศกึษา โดยบรรจเุนือ้หาสาระของการสอน ศิลปศึกษาแนวพหุวัฒนธรรมไวในหลักสตูรเพือ่ หวงัวาวาท่ีครูสอนศลิปศกึษาจะตระหนกัถึงคณุคา ของการสงเสริมการยอมรับความหลากหลาย

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 12: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

12

วฒันธรรมและเม่ือออกไปปฏบิตัหินาท่ีจะสามารถ จดักิจกรรมศลิปะใหเปนไปในแนวทางท่ีคาดหวงั

นอกจากนีค้วรมีการอบรม ใหความรูแก ครูประจาํการท่ีสอนศลิปศกึษาทุกระดบัใหตระหนกั ถึงความสําคัญของการปลูกฝงคุณลักษณะการ

ยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ใหเกิดใน ตวัผูเรียน และเชือ่วาครูศลิปศกึษาจะเปนอีกพลงั หนึง่ท่ีจะสรางสงัคมใหเกิดความสงบสุขโดยผาน กิจกรรมศิลปแนวพหุวฒันธรรม

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 13: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

13

เอกสารอางองิ

จำนงค อดวิฒันสทิธิ ์และคณะ. (2547). สงัคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สาํนกัพมิพมหาวทิยาลยั เกษตรศาสตร.

บญัญตั ิ ยงยวน (แปลและเรียบเรียง). (2535). การใหคาํปรึกษาแบบกลุมโดยเนนกิจกรรมทางศลิปะ เพือ่พัฒนาความนับถือตนเอง. วารสารแนะแนว. ปท่ี 26, ฉบบัท่ี 138, หนา 60-67.

อรทัย ชืน่มนษุย. (2525). จิตวิทยาอคต.ิ กรุงเทพมหานคร: วัชรินทรการพิมพ. Appleton, Valerie E. and Dykeman, Cass. (1996). Using art in group counseling with

Native American youth. Journal for Specialists in Group Work. Vol. 21, No. 4, pp. 224–231.

Barbosa, Tavares B. (1992). The Role of Education in the Cultural and Artistic Development of the Individual: Developing Artistic and Creative Skills. Paper Presented at the UNESCO International Conference on Education. (43 rd Session, Geneva, Switzerland, Sep. 14–19, 1992).

Cancilla, Justine M. (2002). The Development and Evaluation of a School–based Multi– cultural PromoteRespect for Individuality and Diversity in Elementary School Children: ACase Study. (Online) Available: http://proquest.umi.com Accessed (12/6/2005).

Chanda, Jacqueline. (1992). Multicultural education and the visual arts. Arts Education Policy Review. Vol. 94, No.1, pp. 12–16.

Devers, Karen D. (1997). Enhancing monocultural education students’ multicultural awareness through Art experiences and art appreciation. Multicultural Education. Vol.5, No.1, pp. 34–40.

Dufrene, Phoebe. (1991). Resistance to Multicultural Art Education; Strategies for Multicultural FacultyWorking in Predominantly White Teacher Education Programs. (Online). Available: http://www.eric.ed.gov. Accessed (23/1/2006).

Goldblatt, Patricia F. (1998). Using Art to Teach Multicultural Issues. (Online). Available: http://www.eric.ed.gov. Accessed (6/1/2006).

Klein, Tracy E. (1992). Teaching Tolerance: Prejudice Awareness and Reduction in Secondary Schools. A thesis presented to the Faculty of the Dominican College Department of Education, California, May 1992.

Lewis, Penny. (1997). Multiculturalism and globalism in the arts in psychotherapy. The Arts in Psychotherapy. Vol. 24, No.2, pp. 123–127.

Lin, Patricia Yuen–Wan. (1997). Stereotyping Chinese in Multicultural Art Education. (Online). Available : http://www.eric.ed.gov. Accessed (24/12/2005).

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550

Page 14: การใช กิจกรรมศิลปะเพื่อส งเสริมการยอมรับความหลากหลาย ...edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2550/1-2550.pdf ·

14

McFee. J.K. (1977). Art Culture and Environment. Belmont: Wadworth. Otcasek, Monica M. (1989). An Art Therapy Program as an Enhancement of Self–esteem

in an Inner City School. (Online). Available: http://Proquest.umi.com. Accessed (12/6/2005).

Reber, Arthur S. (1985). Dictionary of Psychology. Middlesex; Penguin Books. Russo, Carolyn. (1994). Tolerance through Exposure. (Online). Available: http://

www.eric.ed.gov. Accessed (31/7/2005). Sears, Laurie A. (1995). Raising the Level of Cultural Awareness of K–5 Aged Students

through Multicultural Arts Education. Doctoral Dissertation, Nova University. Stewart, Rohn. (1992). The REACH Center and Multicultural (Multi–ethnic) Art

Education. (Online). Available: http://www.eric.ed.gov. Accessed (25/12 2005).

Titus, Dale. (1998). Teaching Tolerance and Appreciation for Diversity; Applying the Research on Prejudice Reduction. Paper presented at the Association of Supervision and Curriculum Development 53 rd Annual Conference and Exhibit Show, San Antonio, March 23, 1998.

Veale, Ann. (1992). Art Education for Yong Children of the 21 st Century. (Online). Available: http://www.eric.ed.gov. Accessed (24/12/2005).

Zimmerman, Enid. (1990). Teaching Art from a Global Perspective. (Online). Available: http://www.eric.ed.gov. Accessed (24/122005).

การใชกิจกรรมศิลปะเพ่ือสงเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ในสังคมพหุวัฒนธรรม

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิ.ย. 2550