21
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย ภาคผนวก ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 173 ภาคผนวก ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล ตัวอยางแผนปฏิบัติงานประจําป การจัดทําแผนการทํางานประจําป จัดทําเพื่อกําหนดลวงหนาวาในแตละปจะทํากิจกรรม อะไรบาง ในชวงเดือนไหน ใชเงินทั้งหมดเทาไร และใครเปนผูรับผิดชอบเพื่อใหเห็นภาพรวมของ ทั้งป แผนการทํางานปงบประมาณ................................. ระยะเวลาปฏิบัติงาน กิจกรรม ผูรับ ผิดชอบ งบ ประมาณ .. .. .. .. .. มี.. เม.. .. มิ.. .. .. .. หมาย เหตุ 1. กิจกรรมยก ยองปราชญ ชาวบาน อําเภอ..... ..... 2. กิจกรรม ทัศนศึกษา เพื่อ แลกเปลี่ยน ความรูกับ ทองถิ่นอื่น อําเภอ..... ..... 3. กิจกรรม จัดทํา ฐานขอมูล คณะกรรม การ ชุด............

ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 173

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

ตัวอยางแผนปฏิบัติงานประจําป

การจัดทําแผนการทํางานประจําป จัดทําเพื่อกําหนดลวงหนาวาในแตละปจะทํากิจกรรมอะไรบาง ในชวงเดือนไหน ใชเงินทั้งหมดเทาไร และใครเปนผูรับผิดชอบเพื่อใหเห็นภาพรวมของทั้งป

แผนการทํางานปงบประมาณ................................. ระยะเวลาปฏิบัติงาน กิจกรรม ผูรับ

ผิดชอบ งบ

ประมาณ ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

หมายเหตุ

1. กิจกรรมยกยองปราชญชาวบาน

อําเภอ..........

2. กิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนความรูกับทองถิ่นอื่น

อําเภอ..........

3. กิจกรรมจัดทําฐานขอมูล

คณะกรรมการชุด............

Page 2: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

174 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

ตัวอยางแบบฟอรมโครงการ

ชื่อโครงการ ............................................................................................................ หนวยงานเจาของโครงการ ............................................................................................................

หลักการและเหตุผล ............................................................................................................

ขอบเขตของการอบรม ............................................................................................................

สถานที่ดําเนินการ .........................................................................................................

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. .................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................. ขั้นตอนการดําเนินการ 1. .................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................. ระยะเวลาในการดําเนินการ ........................................................................................................... ตารางเวลาในการดําเนินการ

งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

งบประมาณการดําเนินงาน .................................................................................................. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1. .................................................................................................................................. 2. ..................................................................................................................................

Page 3: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 175

ตัวอยางโครงการ คายคุณธรรม

หลักการ ดาบคมที่ไรฝก ระเบิดที่ปราศจากสลักนิรภัย อาจนําอันตรายมาสูเจาของและคนรอบขางไดทุกเมื่อฉันใด วิชาความรูที่ไมมีศีลธรรมกํากับยอมนําภัยพิบัติมาสูผูเปนเจาของความรู และอยูใกลเคียงไดฉันนั้น บุคคลที่ประกอบดวยวิชาความรูดี และความประพฤติดี จึงเปนบุคคลที่มีความสมบูรณ เปนบุคคลที่สังคมตองการ และแสวงหาการฝกอบรม คายคุณธรรมเปนกระบวนการที่ตองการใหเกิดผูมีความรูคูคุณธรรม เพื่อสรางคนรุนใหม (NEW GENERATION) ที่มีวิสัยทัศนที่ยาวไกล มีโลกทัศน และชีวทัศน มีความสมดุลระหวางสมองทั้งสองดาน มีความสมดุลระหวางโลกกับธรรม กายกับจิตวิญญาณ เหตุกับผล สติกับปญญา กอเกิดพลังสรางสรรคตนเอง และอุทิศตนเพื่อรับใชสังคมอยางรูเทาทันความเปลี่ยนแปลง และความเปนไปของโลกโดยใชคําสอนทางพระพุทธศาสนาเปนหลักในการอบรม วัตถุประสงค การจัดฝกอบรมนักเรียน และเยาวชนตามโครงการคายพุทธธรรมของสถาบันสงเสริมและพัฒนาการพระศาสนา มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดรับการฝกฝน เรียนรู ดังนี้ 1. เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึก เสริมสราง และสืบสานคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงาม และรูจักนําหลักธรรมคําสั่งสอนไปใชในชีวิตประจําวัน 2. เพื่อใหนักเรียนเกิดแรงจูงใจใครตอการศึกษาหลักพระพุทธศาสนาจากระบบนิเวศธรรมชาติ 3. เพื่อใหนักเรียนมีคุณลักษณะเปนคนดี 5 ประการ คือ ลูกดี ศิษยดี เพื่อนดี พลเมืองดี และพุทธศาสนิกชนที่ดี 4. เพื่อเปนการสงเสริมการเรียน การสอน วิชาพระพุทธศาสนาตามพระราชบัญญัติการศึกษาป พ.ศ.2542 วาดวยการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูคูคุณธรรม

5. เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูพระพุทธศาสนาดวยกิจกรรมตางๆ และปฏิบัติจริง

Page 4: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

176 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

กําหนดการอยูคายพุทธธรรม วันที่ 1 ของการอบรม 07.30-08.30 น. นักเรียนลงทะเบียนรายงานตัว 08.30-09.00 น. นักเรียนทุกคนพรอมกันในที่ประชุม 09.00-09.30 น. พิธีเปดการอยูคายพุทธธรรม - เปดเพลงพระรัตนตรัย - ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล - นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ - อาราธนาศีล และรับศีล - ประธานฝายฆราวาสรับการรายงาน - กลาวรายงาน - ประธานกลาวเปดการอบรม 09.30-10.15 น. ประธานสงฆกลาวสัมโมทนียกถา 10.15-10.30 น. แนะนําพระวิทยากร วิทยากร และคณะครูพี่เล้ียง 10.30-11.30 น. พิธีมอบตัวเปนศิษย - สัญญาใจ - คําปฏิญาณพุทธบุตร - กติกาการอยูคายพุทธธรรม 11.30-12.30 น. รับประทานอาหาร 12.30-13.00 น. พบครูอาจารยพี่เล้ียง 13.00-13.30 น. ธรรมนันทนาการ 13.30-16.30 น. แบงกลุมนักเรียน 4 ฐาน - ฐานที่ 1 ศาสนพิธี - ฐานที่ 2 มารยาทชาวพุทธ - ฐานที่ 3 กฎแหงกรรม - ฐานที่ 4 กลุมสัมพันธ

Page 5: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 177

16.30-17.30 น. นักเรียนอาบน้ํา ทําภารกิจสวนตัว 17.30-18.30 น. รับประทานอาหาร 18.30-19.30 น. ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา 19.30-20.30 น. กิจกรรมสูความเปนพุทธบุตร 20.30-21.30 น. ฉายสไลดเร่ืองพุทธประวัติ 21.30 น. นักเรียนเขานอน

วันที่ 2 (3-4) ของการอบรม 04.30-05.00 น. ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว 05.00-05.15 น. บริหารกาย 05.15-06.00 น. ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม 06.00-07.00 น. กิจกรรมหนาเสาธง 07.00-07.30 น. บําเพ็ญประโยชน 07.30-08.30 น. รับประทานอาหาร 08.30-11.30 น. แบงกลุมนักเรียนมาตรฐาน 4 ฐาน - ฐานที่ 1 พระคุณของพระรัตนตรัย - ฐานที่ 2 พระคุณของคุณพอคุณแม - ฐานที่ 3 พระคุณของคุณครู - ฐานที่ 4 พระคุณของพระมหากษัตริย 11.30-12.30 น. รับประทานอาหาร 12.30-13.00 น. พบครูอาจารยพี่เล้ียง 13.00-13.30 น. ธรรมนันทนาการ 13.30-16.30 น. แบงกลุมนักเรียนตามฐาน 4 ฐาน - ฐานที่ 1 เพื่อนที่ดี - ฐานที่ 2 พลเมืองที่ดี - ฐานที่ 3 พุทธศาสนิกชนที่ดี - ฐานที่ 4 สุขภาพอนามัยที่ดี

Page 6: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

178 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

16.30-17.30 น. นักเรียนอาบน้ํา ทําธุรกิจสวนตัว 17.30-18.30 น. รับประทานอาหาร 18.30-20.00 น. ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา 20.00-21.30 น. นักเรียนแสดงละครธรรมะเรื่อง - ความสนใจใฝรูและสรางสรรค - ความมีน้ําใจ - ความมีวินัย - ความเปนไทย 21.30 น. นักเรียนเขานอน

วันสุดทายของการอบรม 04.30-05.00 น. ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว 05.00-05.15 น. บริหารกาย 05.15-06.00 น. ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม 06.00-07.00 น. กิจกรรมหนาเสาธง 07.00-07.30 น. บําเพ็ญประโยชน 07.30-08.30 น. รับประทานอาหาร 08.30-09.30 น. อภิปรายเรื่องศิษยดีมีคุณธรรม 09.30-10.30 น. แบงกลุมเขียนเรียงความ เร่ืองพระคุณของคุณพอคุณแม พระคุณของคุณครู 10.30-11.30 น. สนทนาธรรม 11.30-12.30 น. รับประทานอาหาร 12.30-13.00 น. ธรรมนันทนาการ 13.00-16.00 น. อธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม 16.00-16.30 น. พิธีปดการอยูคายพุทธธรรม - ประธานฝกอบรมมอบวุฒิบัตร - ประธานฝกอบรมมอบศิษยคืน - ผูบริหารโรงเรียนรับศิษยคืน และกลาวปดการอบรม - พระอาจารยนํากราบพระ

Page 7: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 179

ตัวอยางโครงการ

1. ชื่อโครงการ : โครงการจัดทําฐานขอมูลดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ิน

2. หนวยงานที่รับผิดชอบ : (อบต./เทศบาล/อบจ.) ............................... 3. หลักการและเหตุผล : ศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ินของไทย จัดวาเปน “ทรัพยากรทางวัฒนธรรม” หรือ “ทรัพยสินทางวัฒนธรรม” หรือ “มรดกทางวัฒนธรรม” ของชาติ ซ่ึงจําเปนตองอนุรักษไวเพื่อสงมอบใหประชาชนรุนตอๆ ไปนําไปจัดการใหเกิดประโยชนสูงสุดอยางยั่งยืน จนสามารถนําไปสูการพัฒนาในดานตางๆ ของสังคมและวัฒนธรรมอยางตอเนื่อง ซ่ึงเปนความหมายที่แทจริงของการอนุรักษเพื่อการพัฒนา การเผยแพรความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ินอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็วเปนสิ่งสําคัญและจําเปนในยุคปจจุบัน การนําเอาวิธีการจัดการและเทคโนโลยีสมัยใหมมาชวยจัดรวบรวมขอมูลที่ยังกระจัดกระจายมาทําระบบฐานขอมูลศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ิน เปนกิจกรรมที่สามารถสงเสริมใหเผยแพรความรูนี้ประสบความสําเร็จสูงจนสามารถนําไปสูความเขมแข็งของสังคมและวัฒนธรรมไทยตอไปได เพราะวิธีการที่ชวยใหเกิดความรวมมือในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไวเพื่อนําไปใชประโยชนไดดีที่สุดก็คือการใหความรูความเขาใจที่ถูกตองในเรื่องนี้ใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดแกสาธารณชนทั่วไป ดังนั้น (อบต./เทศบาล/อบจ.).................. จึงดําเนินการจัดทําฐานขอมูลดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ินเพื่อเปนศูนยกลางการใหบริการขอมูลแกผูสนใจ 4. วัตถุประสงค : 4.1 จัดทําระบบฐานขอมูลทางศาสนาในทองถ่ิน 4.2 จัดทําระบบฐานขอมูลทางวัฒนธรรมในทองถ่ิน 4.3 จัดทําระบบฐานขอมูลทางจารีตในประเพณีทองถ่ิน 5. ระยะเวลาดําเนินการ : ตลอดปงบประมาณ............. 6. สถานที่ดําเนินการ : ................................................

Page 8: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

180 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

7. ผูเขารวมโครงการ : ครู อาจารย นักเรียน นักศึกษา และผูสนใจทั่วไปที่ใชบริการคนควาฐานขอมูลดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ินของ (อบต./เทศบาล/อบจ.)..................

8. งบประมาณ : 8.1 รายรับ จากงบประมาณบริหารองคการปกครองสวนทองถ่ิน เปนเงิน..............บาท 8.2 รายจาย เปนเงิน..............บาท หมวดคาตอบแทน - คาอาหารทําการนอกเวลาราชการปกติ - คาอาหารปฏิบัติราชการในวันหยุดราชการ - คาจางเหมาผูเชี่ยวชาญจัดทําระบบเก็บขอมูล หมวดคาใชสอย - คาถายเอกสาร - คาจางเหมาพิมพขอมูลลงเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย หมวดคาวัสด ุ - คาวัสดุสํานักงาน - คาแผนดิสก, แผน CD, วัสดุคอมพิวเตอร - คาซื้อหนังสือและเอกสารวิชาการ - คาวัสดุเชื้อเพลิงและหลอล่ืนสําหรับรถยนตที่ใชเดินทางออกเก็บขอมูล

ภาคสนาม - คาใชจายอื่น ๆ หมายเหต ุ: ขอถัวจายคาใชจายทุกรายการ

Page 9: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 181

9. แผนการดําเนินงาน : กําหนดเวลา

พ.ศ. .......... พ.ศ. ........... กิจกรรม

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. รวบรวมขอมูลทางศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่นของตําบล...........

2. จัดทําระบบฐานขอมูลและนําเขาสูระบบแมขาย (Server)

3. ทดลองเปดใหบริการคนควาแกผูสนใจทั่วไปและประเมินผล

4. เปดใหบริการคนควาแกผูสนใจทั่วไป

10 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ : 10.1 สามารถสรางระบบฐานขอมูลของวิชาการดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีต

ประเพณีทองถ่ินของ (อบต./เทศบาล/อบจ.).................. 10.2 สามารถจัดเก็บและจัดการขอมูลของวิชาการดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีต

ประเพณีทองถ่ินของ (อบต./เทศบาล/อบจ.)..................รวมไมนอยกวา ................. รายการ

10.3 สามารถใหบริการขอมูลวิชาการดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ินของ (อบต./เทศบาล/อบจ.).................. แกสาธารณชนทั่วไป

Page 10: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

182 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

11. ดัชนีชี้วัดสําหรับการประเมินโครงการ : 11.1 จํานวนฐานขอมูลของวิชาการดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถ่ิน

ของ (อบต./เทศบาล/อบจ.).......................อยางนอย ............. รายการ 11.2 จํานวนผูมาใชบริการคนควาฐานขอมูลดานศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณี

ทองถ่ินของ (อบต./เทศบาล/อบจ.).........................อยางนอย ............. รายตอป

Page 11: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 183

ตัวอยางโครงการ ชื่อโครงการ การใหความรูการบริหารจัดการทรัพยากรทองถ่ินเพื่อการทองเที่ยว

เชิงนิเวศ-วัฒนธรรม ในจังหวัดสมุทรสงคราม หนวยงานเจาของโครงการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หลักการและเหตุผล เนื่องจากวันที่ 25 กันยายน 2546 กระทรวงศึกษาธิการประชุมลงนามขอตกลงความรวมมือกับกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษยในลักษณะบูรณาการ สาระสําคัญประการหนึ่งของขอตกลงดังกลาวเนนการสนับสนุนการจัดกิจกรรมและอบรมความรูดานการทองเที่ยว การประชาสัมพันธและการอนุรักษส่ิงแวดลอมใหกับบุคลากรในสถานศึกษาระดับตางๆ (สนง.คณะกรรมการอุดมศึกษาที่ ศธ.0508/ว47 หนา 6) โครงการการใหความรูการบริหารจัดการทรัพยากรทองถ่ินเพื่อการทองเที่ยว เชิงนิเวศ-วัฒนธรรม ที่จะจัดขึ้นในจังหวัดสมุทรสงคราม สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาชาติเปนอยางยิ่ง เพราะใหความสําคัญกับการกระจายรายไดและโอกาสทางการศึกษาที่ระดับรากหญา ขณะเดียวกันกเ็นนการมีสวนรวมของชุมชนทองถ่ินในการจัดการทรัพยากรทางศิลปวัฒนธรรมกับการพัฒนาการทองเที่ยว (Community Participation-based Tourism) อยางมีคุณคาและมีมูลคาเพื่อการเรียนรูและบํารุงรักษาศิลปวัฒนธรรมใหเปนมรดกชาติสืบไป เพื่อตอบรับกับนโยบายของรัฐบาลขางตน คณะโบราณคดี ไดจัดทําโครงการบริการทางวิชาการในลักษณะของการฝกอบรมใหความรู แกนักเรียนและครูอาจารยจากสถานศึกษาตางๆ ในจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อใหมีความรูพื้นฐานในการจัดการทรัพยากรทองถ่ิน เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมสามารถจัดการทรัพยากรศิลปวัฒนธรรมทองถ่ินเพื่อ

การทองเที่ยวไดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ 2. เพื่อสงเสริมการหารายไดพิเศษของนักเรียนและสถานศึกษา 3. เพื่อตอบสนองความตองการบุคลากรที่มีความรูในอันที่จะอนุรักษและพัฒนา

ทรัพยากรทางศิลปวัฒนธรรมไดอยางยั่งยืนตอไป

Page 12: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

184 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

ขอบเขตของการอบรม การอบรมครั้งนี้เนนการฝกอบรมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนตางๆ ของจังหวัดสมุทรสงคราม ที่สนใจการเปนมัคคุเทศก โดยใหโรงเรียนสงนักเรียนเขารวมการฝกอบรม โรงเรียนละ 5 คน พรอมอาจารยผูควบคุมโรงเรียนละ 1ทาน การติดตอประสานงาน ติดตอสถานที่จัดโครงการ ทั้งบรรยายในสถานที่ และนอกสถานที่, อาหาร, รถบัส และหนวยงาน/ทองถ่ิน/โรงเรียนที่เกี่ยวของ สถานที่ดําเนินการ บานสวนภูมณี ตําบลแควออม อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ผูเขาอบรมไดรับการกระจายรายไดและโอกาสทางการศึกษา 2. ผูเขาอบรมรูวิธีอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรศิลปวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืน 3. ชุมชนระดับฐานรากไดรับการพัฒนาใหมีความเขมแข็ง ขั้นตอนการดําเนินการ 1. การสํารวจขอมูลศิลปวัฒนธรรม ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ 2. การสํารวจขอมูลภาคสนามในจังหวัดสมุทรสงคราม ระยะเวลาในการดําเนินการ การอบรม ใชเวลา 3 วัน ระหวางวันที่ 3-5 มิถุนายน 2548 ระยะเวลาที่ทําการดําเนินการ เดือนที่ 1-5 ศึกษาสํารวจขอมูลศิลปวัฒนธรรมทองถ่ินสมุทรสงคราม เดือนที่ 6 ติดตอประสานงาน และเตรียมสถานที่เพื่อการฝกอบรม เดือนที่ 7 ฝกอบรม เดือนที่ 8 ติดตามผลการอบรม เดือนที่ 9-12 สรุปและประเมินผลโครงการ

Page 13: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 185

งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 - ศึกษาสํารวจขอมูลศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นสมุทรสงคราม

- ติดตอประสานงานสถานที่และเตรียมพรอมเพื่อการจัดฝกอบรม

- อบรม - ติดตามผลการอบรม - สรุปและประเมินผลโครงการ

งบประมาณการดําเนินงาน เปนงบประมาณแผนดินประจําป พ.ศ.2548 จํานวนเงิน 200,000 บาท หมวดคาตอบแทน 26,520 บาท คาตอบแทนวทิยากรบรรยาย 4 คนๆ ละ 6 ช่ัวโมงๆ ละ 600 บาท (4 คน x 600บาท x 6 ช่ัวโมง) 14,400 บาท คาเบี้ยเล้ียงผูดาํเนินงาน 8 คน 3,720 บาท [(1 คน x 240บาท x 2 วัน) + (6 คน x 180บาท x 3 วัน)] คาที่พักผูดําเนนิงาน 14 คน 3 คืน (7 หอง x 400 บาท x 3 คืน) 8,400 บาท หมวดคาใชสอย 65,480 บาท คาจางเหมารวบรวมและวิเคราะหขอมูล 20,000 บาท คาอาหารกลางวันผูที่เขาฝกอบรม 40 คน (40 คน x 50 บาท x 4 วัน) 8,000 บาท คาอาหารวางพรอมเครื่องดื่มผูที่เขาฝกอบรม 40 คน 4,800 บาท (40 คน x 15 บาท x 4 วัน x 2 มื้อ) คาเหมาจายพมิพเอกสารและถายเอกสาร 8,000 บาท คาเชายานพาหนะพรอมน้ํามันเพื่อทัศนศกึษา 2 วนัวนัละ 8,000 บาท 16,000 บาท (8,000 บาท x 2 วัน x 1 คัน) คาเบี้ยเล้ียงผูสํารวจ 6 คน 2 วัน 2,280 บาท [(1 คน x 240บาท x 2 วัน) + (5 คน x 180บาท x 2 วัน)]

Page 14: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

186 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

คาที่พักผูสํารวจ 6 คน 1 คืน (6 คน x 400 บาท x 1 คืน) 2,400 บาท คายานพาหนะเพื่อการสํารวจ วันละ 2,000 บาท 2 วัน 4,000 บาท (2,000 บาท x 2 วัน x 1 คัน)

หมวดคาวัสด ุ 96,060 บาท คาจัดพิมพหนงัสือประกอบการอบรม (200 เลม) 80,000 บาท คาวัสดุประชาสัมพันธ 10,000 บาท คาฟลมสี 3 มวนๆ ละ 140 บาท (140 บาท x 3 มวน) 420 บาท คาลางฟลมสี 3 มวนๆ ละ 180 บาท (180 บาท x 3 มวน) 540 บาท คาฟลมสไลดและอัดขยาย 10 มวนๆ ละ 250 บาท (250 บาท x 10 มวน) 2,500 บาท คาลางและเมาทสไลด 10 มวนๆ ละ 200 บาท (200 บาท x 10 มวน) 2,000 บาท คามวน VDO เทป ความยาว 120 นาที 4 มวนๆ ละ 150 บาท 600 บาท (150 บาท x 4 มวน) คาใชจายเบ็ดเตล็ด 11,940 บาท รวมทั้งหมด 200,000 บาท หมายเหตุ ขอถัวจายคาใชจายทุกรายการ ตารางการดําเนินการ (โดยประมาณ) วันศุกรที่ 3 มิถุนายน 2548 กลุมที่ 1 จํานวน 20 คน 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน ณ บานสวนภูมณี ตําบลแควออม อําเภออัมพวา จังหวัด

สมุทรสงคราม 09.00 - 10.30 น. การจัดการทรัพยากรศิลปะโบราณคดี เพื่อการทองเที่ยวทองถ่ินอยาง

ยั่งยืน วิทยากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.สวาง เลิศฤทธิ์ 10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารวาง 10.45 - 12.15 น. ชุมชนและการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม วิทยากร

รองศาสตราจารย ชนัญ วงษวิภาค

Page 15: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 187

12.15 - 13.15 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.15 - 14.45 น. ภาษา วรรณกรรม จิตวิทยาการบริการและมนุษยสัมพันธเพื่อการ

ทองเที่ยววิทยากร อาจารย อมรชัย คหกิจโกศล 14.45 - 15.00 น. รับประทานอาหารวาง 15.00 - 16.30 น. ประวัติศาสตรศิลปะในจังหวัดสมุทรสงคราม วิทยากร อาจารย ลักษมณ บุญเรือง กลุมที่ 2 จํานวน 20 คน 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน ณ บานสวนภูมณี ตําบลแควออม อําเภออัมพวา จังหวัด

สมุทรสงคราม 09.00 - 10.30 น. ชุมชนและการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม วิทยากร

รองศาสตราจารย ชนัญ วงษวิภาค 10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารวาง 10.45 - 12.15 น. การจัดการทรัพยากรศิลปะโบราณคดี เพื่อการทองเที่ยวทองถ่ินอยาง

ยั่งยืน วิทยากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.สวาง เลิศฤทธิ์ 12.15 - 13.15 น รับประทานอาหารกลางวัน 13.15 - 14.45 น. ประวัติศาสตรศิลปะในจังหวัดสมุทรสงคราม วิทยากร อาจารย ลักษมณ บุญเรือง 14.45 - 15.00 น. รับประทานอาหารวาง 15.00 - 16.30 น. ภาษา วรรณกรรม จิตวิทยาการบริการและมนุษยสัมพันธเพื่อการ

ทองเที่ยววิทยากร อาจารย อมรชัย คหกิจโกศล วันเสารที่ 4 มิถุนายน 2548 08.00 น. ลงทะเบียน ณ โรงเรียนศรัทธาสมุทร 09.00 น. ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑวัดเขายี่สาร และวิถีชุมชนเขายี่สาร แบงกลุม กลุม 1 วิทยากรโดย รองศาสตราจารย ชนัญ วงษวิภาค กลุม 2 วิทยากรโดย อาจารย อมรชัย คหกิจโกศล กลุม 3 วิทยากรโดย อาจารย สิริอาภา รัชตะหิรัญ

Page 16: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

188 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน (ชุมชนเขายี่สาร) 13.00 น. ทัศนศึกษาและฝกนําชมแหลงโบราณคดีคูบัว จังหวัดราชบุรี (และวัด

มหาธาตุ) แบงกลุม กลุม 1 วิทยากรโดย รองศาสตราจารย ชนัญ วงษวิภาค กลุม 2 วิทยากรโดย อาจารย อมรชัย คหกิจโกศล กลุม 3 วิทยากรโดย อาจารย ลักษมณ บุญเรือง 16.00 น. เดินทางกลับโรงเรียนศรัทธาสมุทร 17.00 น. ถึงโรงเรียนศรัทธาสมุทร

วันอาทิตยที่ 5 มิถุนายน 2548 08.00 น. ลงทะเบียน ณ บานสวนภูมณี ตําบลแควออม อําเภออัมพวา จังหวัด

สมุทรสงคราม 09.00 น. ทัศนศึกษาทางเรือ เพื่อศึกษาวิถีชีวิตชาวสวน และวัดบางแคนอย แบงกลุม กลุม 1 วิทยากรโดย รองศาสตราจารย ชนัญ วงษวิภาค กลุม 2 วิทยากรโดย อาจารย อมรชัย คหกิจโกศล กลุม 3 วิทยากรโดย อาจารย ลักษมณ บุญเรือง 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน (บานสวนภูมณี) 13.00 น. ฝกหัดนําชมวิถีชีวิตและประเพณี พิธีกรรม ชุมชนลุมน้ําแมกลอง แบงกลุม กลุม 1 วิทยากรโดย รองศาสตราจารย ชนัญ วงษวิภาค กลุม 2 วิทยากรโดย อาจารย อมรชัย คหกิจโกศล กลุม 3 วิทยากรโดย อาจารย ลักษมณ บุญเรือง 16.00 น. พิธีปดการอบรม และมอบวุฒิบัตร 16.30 น. เดินทางกลับโรงเรียนศรัทธาสมุทร

Page 17: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 189

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ การฝกอบรมครั้งนี้คาดวาจะเกื้อหนุนยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวทั้งระดับทองถ่ินและระดับประเทศ 1. ผูเขารับการฝกอบรมจะสามารถบริหารจัดการทรัพยากรทองถ่ินไดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ 2. เสริมสรางความรู ความสามารถ และความเขาใจในการดูแล พิทักษ สืบสาน และพัฒนาทรัพยากรทางธรรมชาติและสังคม 3. เปนแนวทางในการบริหารทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงวัฒนธรรมอยางยั่งยืน การรับสมัคร สงแบบตอบรับการเขารวมฝกอบรมทางโทรสาร ภายในวันที่ 30 พฤษภาคม 2548

ที่นางสาวสุธาทิพย แสงเดชะ สํานักงานเลขานุการคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรเลขที่ 31 ถนนหนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200โทรศัพท 0-2224-7684 โทรสาร 0-2226-5355

Page 18: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

190 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

ตัวอยางแบบประเมินผลการจัดกิจกรรม

โครงการอบรม.....................................................................................................

ระหวางวันท่ี .......................................... (อบต./เทศบาล/อบจ.) ..............................................

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ในชองวางที่ตรงตามความคิดเห็นของทาน

ตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเขารับการอบรม ระดับความคิดเห็น เร่ือง

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด 1. ระยะเวลาที่จัดอบรมมีความเหมาะสม 2. สถานที่มีความเหมาะสม 3. อาหาร และเครื่องดื่มมีความเหมาะสม 4. ความพรอมของโสตทัศนูปกรณ 5. หัวขอการบรรยายมีความนาสนใจ 6. ความรู/ความเขาใจที่ไดรับจากการบรรยาย 7. ความประทับใจจากการเขารับการอบรม

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร วิทยากร: ..................................................

ระดับความคิดเห็น เร่ือง มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1. วิทยากรมีความรอบรูเกี่ยวกับเนื้อหาที่บรรยาย 2. ความสามารถในการบรรยายใหผูอื่นเขาใจอยางชัดเจน

3. สื่อที่ใชประกอบการบรรยายมีความความเหมาะสม

4. เอกสารประกอบการอบรมมีความความเหมาะสม 5. วิทยากรตอบคําถามไดอยางชัดเจน

Page 19: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 191

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทัศนศึกษา วันท่ี ................................................

ระดับความคิดเห็น เร่ือง มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1. ทานมีพ้ืนความรูเดิมเกี่ยวกับสถานที่แตละแหงเพียงใด 2. ทานไดรับความรูความเขาใจในแตละสถานที่เพิ่มขึ้น 3. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการบรรยายแตละสถานที่

4. ทานคิดวาความรูที่ไดรับสามารถนําไปใชประโยชนตอการประกอบอาชีพมัคคุเทศกเพียงใด

5. วิทยากรเปดโอกาสใหทานซักถามขอสงสัย 6. วิทยากรมีการเตรียมความพรอมในการบรรยาย 7. ความเหมาะสมของอาหารกลางวันและอาหารวาง 8. ทานไดรับประสบการณในการฝกหัดเปนมัคคุเทศกมากนอยเพียงใด

9. การฝกปฏิบัตินําทัวรบนรถมีความเหมาะสมเพียงใด 10. วิทยากรสามารถแนะนําเทคนิคและวิธีการนําทัวรได 11. วิทยากรสามารถดึงดูดความสนใจและใหทานเขา

มีสวนรวมในกิจกรรม

12. ทานคิดวาวิทยากรมีการเตรียมความพรอม

ขอคิดเห็นเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………….….……………….…………………………………………………………………………………..….………………………………………………………………………………………………….….………………..…………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………………………….….……………….………………………………………………………………………………….….……………….………………………………………………………………………………….….……………….

Page 20: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

มาตรฐานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทองถิ่น

192 ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล

การแปลผลคะแนนเฉลี่ย คาเฉลี่ย (Mean) เปนคาคะแนนกลาง ไดจากการนําผลรวมของคะแนนในแตละตอนหารดวยจํานวนผูที่ตอบแบบประเมนิทั้งหมดในขอนั้น 4.01-5.00 หมายถึง ผูประเมินมีความคิดเห็นในระดับดีที่สุด 3.01-4.00 หมายถึง ผูประเมินมีความคิดเห็นในระดับดีมาก 2.01-3.00 หมายถึง ผูประเมินมีความคิดเห็นในระดับปานกลาง 1.01 -2.00 หมายถึง ผูประเมินมีความคิดเห็นในระดับพอใช 0.00-1.00 หมายถึง ผูประเมินมีความคิดเห็นในระดับนอย

Page 21: ภาคผนวก ค - DLA- ความม น าใจ - ความม ว น ย - ความเป นไทย 21.30 น. น กเร ยนเข านอน ว

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก ค ตัวอยางเอกสารแบบฟอรม รูปแบบการเก็บรวบรวมขอมูล และประเมินผล 193

ตัวอยางรายละเอียดสําหรับการจัดทําฐานขอมูล ดานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและจารีตประเพณีทองถิ่น

สําหรับ (อบต. / เทศบาล / อบจ.) .........................................

เขตขอมูล รายละเอียด สถานที่ตั้ง ตําบล อําเภอ จังหวดั คําขวัญหรือตราสัญลักษณของทองถ่ิน โดย

อาจออกแบบสรางเองได พรอมสถานที่สําคัญ สถานที่ทองเที่ยว(ถามี)

ประชากร จํานวนรวม จํานวนหมูบาน จํานวนหลังคาเรือน จํานวนประชากรแยกแตละหมู แยกตามศาสนาที่นับถือ ตามกลุมอายุ ตามเพศ ตามอาชีพ

ศาสนา แยกตามศาสนา(ถามีหลายศาสนา) จํานวนวดั มัสยิด โบสถ เทวสถาน พรอมสถานที่ตั้ง จํานวนพระภกิษุ สามเณร ผูนําศาสนาที่ปฏิบัติหนาที่อยูในศาสนสถาน ประเพณีที่สําคญัทางศาสนา

ศิลปะพื้นบาน ศิลปหัตถกรรม ศิลปะการแสดง ศิลปะการละเลนพื้นบาน และกีฬาพืน้บาน โดยจดัเปนหมวดหมู พรอมประวัติปราชญทองถ่ินผูเชี่ยวชาญศิลปะแตละดาน

วัฒนธรรมและจารีตประเพณีทองถ่ิน

ภูมิปญญาทองถ่ิน วิถีชีวิต การประกอบอาชีพ การดําเนนิชวีิตของประชากรในทองถ่ิน ของดีทองถ่ิน เชน การทอผาไหม การประดิษฐหัตถกรรมตางๆ ประเพณีที่สําคัญของทองถ่ิน ทั้งในอดีตและปจจุบนั โดยอาจใหรายละเอียดที่ชัดเจนและ หากมีภาพประกอบยิ่งจะทําใหฐานขอมูลสมบูรณมากยิง่ขึ้น