17
ภาคผนวก

ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

ภาคผนวก ก. ความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.)

จปฐ

ไดผลผลิตดี

ไมมีลูกมาก

อยากรวมพัฒนา

ครอบครัวดีปลอดภัย

ศึกษาอนามัยถวนถี่

มีบานอาศัย

อาหารดี พาสูคุณธรรม

ความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูล จปฐ. คือ ขอมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจําเปนของคนในครัวเรือนในดางตางๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ไดกําหนดมาตรฐานขั้นต่ําเอาไววา คนควรจะมีคุณภาพชีวิต ในเรื่องนั้นๆ อยางไรในชวงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อใหมีชีวิตและสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคม ไดอยางมีความสุข ความเปนมา ป 2528 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการปรณรงคคุณภาพชีวิตและประกาศใหมีปรณรงคคุณภาพชีวิตของประชาชนในชาติ (2528 – 2530) โดยใชเครื่องชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน 8 หมวด 32 เครื่องชี้วัด เปนเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพชีวิตของคนไทย วาอยางนอยคนไทยควรมี คุณภาพชีวิตในเรื่องอะไรบาง และควรมีระดับความเปนอยูไมตํ่ากวาระดับไหน ในชวงระยะเวลาหนึ่งๆ

Page 3: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

262

ป 2531 กชช. มีมติใหสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มอบโครงการปรณรงคใหกระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานรับผิดชอบ ดําเนินงานตอ ภายใตชื่องานวา “งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท (พชช.)” ป 2531 กชช . มีมติ เห็นชอบแผนการจัดเก็บขอมูล จปฐ . และคณะอนุกรรมการ แผนพัฒนาระดับภูมิภาคและทองถิ่น พิจารณารายละเอียดแผนการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ป 2533 ป 2533 เป น ต น ม า มี ก ารจั ด เก็ บ ข อมู ล จปฐ . ทุ กค รั ว เรื อ นทั่ วป ระ เท ศทุ กป และกรมการพัฒนาชุมชน ทําการประมวลผลวิเคราะหคุณภาพชีวิตของคนไทยในภาพรวม ทั่วประเทศ ป 2534 มติที่ประชุมคณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในชนบท เห็นชอบใหมีการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ตอไป ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 – 2539) แตใหปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. ใหมีความเหมาะสม มากขึ้น โดยแตงตั้งคณะทํางานขึ้นเพื่อพิจารณาปรับปรุง ป 2535 กชช. มีมติเห็นชอบเครื่องชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน 9 หมวด 37 เครื่องชี้วัด ใหเปนเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพชีวิตของคนไทยในชวงแผนฯ 7 และคณะอนุกรรมการแผนพัฒนาระดับภูมิภาคและทองถิ่น พิจารณาและอนุมัติแผนการดําเนินงานโครงการจัดเก็บขอมูล ความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) และขอมูลแหลงน้ําระดับ หมูบาน ประจําปงบประมาณ 2535 ซึ่งสรุปไดดังนี้ หลักการ 1. ใชเครื่องชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) เปนเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู ของประชาชนในหมูบาน เพื่อใหประชาชนในหมูบานทราบถึงสภาพความเปนอยูของตนเอง ครอบครัวและชุมชน วาบรรลุตามเกณฑความจําเปนพื้นฐานแลวหรือไม 2. สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนา โดยผานกระบวนการ จปฐ. นับต้ังแต การกําหนดปญหาความตองการที่แทจริงของชุมชน ตลอดจนคนหาสาเหตุและแนวทางแกไขปญหา โดยใชขอมูล จปฐ. ที่มีอยู และการดําเนินงานแกไขปญหาของชุมชน ตลอดจนการประเมินผลการดําเนินงานที่ผานมา 3. ใชขอมูล จปฐ. เปนแนวทางในการคัดเลือกโครงการตางๆ ของรัฐใหสอดคลองกับสภาพปญหาที่แทจริงของชุมชน สามารถใชท รัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางทั่ วถึง และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการประสานระหวางสาขาในดานการปฏิบัติมากขึ้น

Page 4: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

263

วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนในชนบท สามารถพัฒนาชีวิตความเปนอยูของตนเองและครอบครัว ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยางนอยบรรลุข้ันต่ําตามเกณฑจําเปนพื้นฐาน โดยมีเครื่องชี้วัด จปฐ. เปนเครื่องมือ เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิต ขอมูล จปฐ. มีเครื่องชี้วัดทั้งหมด 9 หมวด 37 ตัวชี้วัด ดังนี้คือ หมวดที่ 1 ประชาชนไดกินอาหารที่ถูกสุขลักษณะและเพียงพอกับความตองการ ของรางกาย 1. หญิงตั้งครรภไดบริโภคอาหารอยางเพียงพอ ซึ่งมีผลทําใหเด็กแรกเกิดมีน้ําหนักตั้งแต 3,000 กรัมข้ึนไป 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ไดรับการเฝาระวังทางโภชนาการและไมขาดสารอาหารในระดับ ที่เปนอันตรายตอสุขภาพในระดับ 1 , 2 และ 3 3. เด็กอายุ 6 – 14 ป ไดบริโภคอาหารถูกตองครบถวนตามความตองการของรางกาย

4. ครัวเรือนไมกินอาหารประเภทเนื้อสัตวที่ดิบหรือสุกๆ ดิบๆ 5. ครัวเรือนไดบริโภคอาหารควบคุมที่มีฉลาก อย. หมวดที่ 2 ประชาชนมีที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอมที่เหมาะสม 6. ครัวเรือนมีที่อยูอาศัยที่มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม 7. ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนและบริเวณบานใหเปนระเบียบถูกสุขลักษณะ 8. ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับด่ืมเพียงพอตลอดป 5 ลิตร ตอคนตอวัน 9. ครัวเรือนมีและใชสวมถูกสุขลักษณะ 10. ครัวเรือนไมถูกรบกวนจากสิ่งรําคาญ หมวดที่ 3 ประชาชนมีโอกาสเขาถึงบริการสังคมขั้นพื้นฐานที่จําเปนแกการดํารงชีวิต 11. หญิ งตั้งครรภได รับการดูแลกอนคลอด โดยมีการตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีน

ครบตามกําหนด 12. หญิงตั้งครรภไดรับบริการทําคลอด และการดูแลหลังคลอดจากแพทย หรือพยาบาล

หรือผดุงครรภ หรือผดุงครรภที่อบรมแลว 13. เด็กอายุต่ํากวา 1 ป ไดรับการฉีดวัคซีนปองกันโรควัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก

โปลิโอ หัด ตับอักเสบชนิดบี ครบตามเกณฑอายุ 14. เด็กวัยประถมศึกษาไดรับการฉีดวัคซีนปองกันโรควัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก

และหัด

Page 5: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

264

15. ครัวเรือนมีความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 16. ครัวเรือนรูจักวิธีปองกันโรคเอดส 17. เด็กอายุ 3 – 6 ป ไดรับบริการเลี้ยงดูที่ถูกตอง 18. เด็กที่มีอายุตามเกณฑการศึกษาภาคบังคับ ไดเขาเรียนการศึกษาภาคบังคับ 19.เด็กที่ จบการศึกษาภาคบังคับได เขาศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาตอนตน

หรือเทียบเทา 20. ผูที่จบการศึกษาภาคบังคับและไมไดศึกษาตอ ไดรับการฝกอบรมดานอาชีพตางๆ 21. คนในครัวเรือนอายุ 14 – 50 ป อานออกเขียนได 22. ครัวเรือนไดรับขาวสารที่เปนประโยชนอยางนอยสัปดาหละครั้ง หมวดที่ 4 ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 23. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 24. ครัวเรือนมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ หมวดที่ 5 ประชาชนมีการประกอบอาชีพและมีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีวิต 25. ครัวเรือนมีการประกอบอาชีพและมีรายไดเฉลี่ยแลวไมนอยกวาคนละ 15,000 บาท

ตอป หมวดที่ 6 ครอบครัวสามารถควบคุมชวงเวลา และจํานวนของการมีบุตรไดตามตองการ 26. คูสมรสที่ภรรยาอายุ 15 – 44 ป ใชบริการคุมกําเนิด 27. คูสมรสมีบุตรไมเกิน 2 คน หมวดที่ 7 ประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาความเปนอยูและการกําหนดชีวิตของตนเอง

และชุมชน 28. ครัวเรือนเปนสมาชิกกลุมที่ตั้งขึ้นในหมูบาน ตําบล อยางนอย 1 กลุม 29. คนในครัวเรือนไปใชสิทธิเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย 30. ครัวเรือนไดเขารวมในการบํารุงรักษาสาธารณสมบัติและกิจกรรมพัฒนาอื่นๆ หมวดที่ 8 ประชาชนมีการพัฒนาจิตใจตนเองใหดีข้ึน 31. คนในครัวเรือนปฏิบัติศาสนกิจอยางนอยสัปดาหละ 1 คร้ัง 32. คนในครัวเรือนไมติดสุรา 33. คนในครัวเรือนไมติดบุหร่ี 34. คนในครัวเรือนเขารวมทํากิจกรรมตามประเพณี ศิลปวัฒนธรรมในทองถิ่น 35. คนสูงอายุไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน

Page 6: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

265

หมวดที่ 9 ประชาชนมีจิตสํานึกและรวมกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 36. ครัวเรือนไดทํากิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ 37. ครัวเรือนไดทํากิจกรรมการปองกันและควบคุมส่ิงแวดลอม กรมการพัฒนาชุมชนวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบกับเกณฑความจําเปนพื้นฐาน 9 หมวด

37 ตั วชี้ วั ด จะทํ า ให ท ราบภาพ รวม ใน ระดั บหมู บ าน ว ามี เ ร่ือ งใดบ รรลุ เป าหมาย และไม บ รรลุ เปาหมายที่จะตองแกไข ซึ่งสามารถสรุปภาพรวมในระดับประเทศและระดับภาค ดังนี้

ตารางที่ 7 ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2535 (ระดับประเทศ)

ผลการสํารวจ การเปรียบเทียบ เปาหมาย

ผลการสํารวจ

ไมผานเกณฑ ไมผานเกณฑ ไมผานเกณฑ ไมผานเกณฑ

เครื่องชี้วัด จปฐ.

จํานวนที่ สํารวจ ทั้งหมด จํานวน รอย

ละ จํานวน รอย

ละ

เปาหมาย ป 2539 (รอยละ)

ผล

จํานวน ที่สํารวจ ทั้งหมด จํานวน รอย

ละ จํานวน รอย

ละ หมวดที่ 1 อาหารดี

1. เด็กแรกเกิดน้ําหนักเกิด 3 กิโลกรัม 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ไมขาดสารอาหาร 2.1 ขาดสารอาหารระดับ 1 2.2 ขาดสารอาหารระดับ 2 2.3 ขาดสารอาหารระดับ 3 3. เด็กอายุ 6-14 ป กินอาหารถูกตอง ครบถวน 4. ครัวเรือนไมกินอาหารที่ดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ 5. ครัวเรือนกินอาหารที่มีฉลาก อย.

หมวดที่ 2 มีบานอาศัย 6. ครัวเรือนมีบานคงทนถาวร อยางนอย 5 ป 7. ครัวเรือนจัดบานเปนระเบียบ 8. ครัวเรือนมีสวม 9. ครัวเรือนมีน้ําสะอาดดื่ม 10. ครัวเรือนไมถูกรบกวนจากสิ่งรําคาญ

หมวดที่ 3 ศึกษาอนามัยถวนถ่ี 11. หญิงต้ังครรภไดรับการดูแล กอนคลอด 12. หญิงต้ังครรภไดรับบริการกอนคลอด และดูแลหลังคลอด 13. เด็กตํ่ากวา 1 ป ไดรับวัคซีนครบ 14. เด็กวัยประถมไดรับวัคซีนครบ

หมวดที่ 4 ครอบครัวดีปลอดภัย 15. ครัวเรือนมีความรูเรื่องโรคเอดส 16. ครัวเรือนรูจักวิธีปองกันโรคเอดส 17. เด็กอายุ 3-6 ป ไดรับบริการเลี้ยงดู ถูกตอง 18. เด็กอายุตามเกณฑไดรับการศึกษา ภาคบังคับ 19. เด็กจบภาคบังคับไดเรียนตอ มัธยมศึกษา 20. เด็กไมไดเรียนตอไดรับการฝกอาชีพ

603,742 คน

2,486,854 คน 2,486,854 คน 2,486,854 คน 2,486,854 คน 5,825,422 คน

6,957,342 ครัว

6,954,435 ครัว

6,957,288 ครัว

6,960,090 ครัว 6,960,128 ครัว 6,960,128 ครัว 6,960,128 ครัว

632,496 คน

595,422 คน

613,695 คน 970,228 คน

6,960,006 ครัว 6,960,006 ครัว 2,028,649 คน

5,060,074 คน

1,031,942 คน

450,819 คน

110,206 301,522 270,993 26,668 3,861

484,468

2,554,057

1,300,834

656,718

2,129,243 1,229,763 2,685,235

930,717

31,178

22,894

34,790 22,135

1,189,039 1,239,062

342,821

125,474

450,819

306,230

18.3 12.2 10.9 1.1 0.2 8.3

36.7

18.7

9.4

30.6 17.7 38.6 13.4

4.9

3.8

5.7 2.3

17.1 17.8 16.9

2.5

43.7

67.9

493,536

2,185,332

5,340,954

4,403,285

5,653,601

6,300,570

4,830,847 5,730,365 4,274,893 6,029,411

601,318

572,528

578,905 948,093

5,770,967 5,720,944 1,685,828

4,934,600

581,123

144,589

81.7 87.8

91.7

63.3

81.3

90.6

69.4 82.3 61.4 86.6

95.1

96.2

94.3 97.7

82.9 82.2 83.1

97.5

56.3

32.1

70

ถึงเปาหมายท้ัง 3ระดับไมเกิน 10 ไมเกิน 1 ไมมี 93

60

75

90

90 95 95 80

75

80

95 99

80 80 60

99

73

80

59,648 59,648 59,648 59,648 59,648 59,648

59,648

59,648

59,648

59,648 59,648 59,648 59,648

59,648

59,648

59,648 59,648

59,648 59,648 59,648

59,648

59,648

59,648

13,737 27,663 24,042 10,565 1,159 18,976

23,605

16,539

16,577

39,959 34,528 44,947 12,001

3,206

3,573

7,230 4,002

18,088 18,871 9,251

8,219

38,964

47,283

23

46.4 40.3 17.7 1.9 31.8

39.6

27.7

27.8

67

57.9 75.4 20.1

5.4

6

12.1 6.7

30.3 31.6 15.5

13.8

65.3

79.3

45,911 31,985 35,606 49,083 58,489 40,672

36,043

43,109

43,071

19,689 25,120 14,701 47,647

56,442

56,075

52,418 55,646

41,560 40,777 50,397

51,429

20,684

12,365

77

53.6 59.7 82.3 98.1 68.2

60.4

72.3

72.2

33

42.1 24.6 79.9

94.6

94

87.9 93.3

69.7 68.4 84.5

86.2

34.7

20.7

Page 7: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

266

ผลการสํารวจ การเปรียบเทียบ เปาหมาย

ผลการสํารวจ

ไมผานเกณฑ ไมผานเกณฑ ไมผานเกณฑ ไมผานเกณฑ

เครื่องชี้วัด จปฐ.

จํานวนที่ สํารวจ ทั้งหมด จํานวน รอย

ละ จํานวน รอย

ละ

เปาหมาย ป 2539 (รอยละ)

ผล

จํานวน ที่สํารวจ ทั้งหมด จํานวน รอย

ละ จํานวน รอย

ละ 21. คนอายุ 14-50 ป อานเขียนได 22. ครัวเรือนไดรับขาวสารครบ 23. ครัวเรือนปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน 24. ครัวเรือนปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

หมวดที่ 5 ไดผลผลิตดี 25. ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยไมนอยกวา คนละ 15,000 บาทตอป

หมวดที่ 6 ไมมีลูกมาก 26. คูสมรสใชบริการคุมกําเนิด 27. คูสมรสมีลูกไมเกิน 2 คน

หมวดที่ 7 อยากรวมพัฒนา 28. ครัวเรือนเปนสมาชิกกลุม 29. คนไปใชสิทธิเลือกต้ัง 30. ครัวเรือนรวมรักษาสาธารณสมบัติ

หมวดที่ 8 พาสูคุณธรรม 31. ครัวเรือนปฏิบัติศาสนกิจสม่ําเสมอ 32. คนไมติดสุรา 33. คนไมติดบุหรี่ 34. ครัวเรือนรวมประเพณีศิลปวัฒนธรรม 35. คนสูงอายุไดรับการดูแล

หมวดที่ 9 บํารุงส่ิงแวดลอม 36. ครัวเรือนรวมอนุรักษและพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติ 37. ครัวเรือนรวมปองกันและควบคุม สิ่งแวดลอม

18,947,327 คน 6,956,996 ครัว 6,956,996 ครัว

6,956,996 ครัว

6,956,996 ครัว

4,790,391 คู 4,790,391 คู

6,956,996 ครัว 19,331,087 คน 6,956,996 ครัว

6,956,996 ครัว 24,185,874 คน 24,185,874 คน

6,955,301 ครัว 2,476,346 คน

6,955,274 ครัว

6,955,274 ครัว

899,019 1,184,946 203,025

366,315

4,268,811

826,332 1,902,212

2,622,995 4,429,810 1,123,136 1,358,594 1,187,487 6,130,801 492,223 83,141

1,301,274

1,325,843

4.7 17 2.9

5.3

61.3

17.2 39.7

37.7 22.9 16.1 19.7 4.9 25.3 7.1 3.4

18.7

19.1

18,048,308 5,775,020 6,756,941

6,593,651

2,691,155

3,904,059 2,888,179

4,336,971

14,901,277 5,836,830

5,591,372 22,998,387 18,055,073 6,463,078 2,393,205

5,653,999

5,659,431

95.3 83

97.1

94.7

38.7

82.8 60.3

62.3 77.1 83.9

80.3 95.1 74.7 92.9 96.6

81.3

80.9

99 85 100

60

70

77 75

60 90 80

90 90 90 90 90

90

90

59,648 59,648 59,648

59,648

59,648

59,648 59,648

59,648 59,648 59,648

59,648 59,648 59,648 59,648 59,648

59,648

59,648

20,594 20,929 15,471

1,478

46,305

14,557 41,125

24,787 38,111 16,695

24,632 6,524 43,250 11,788 5,117

24,320

24,486

34.5 35.1 25.9

2.5

77.6

24.4 68.9

41.6 63.9 28

41.3 10.9 72.5 19.8 8.6

40.8

41.1

39,054 38,719 44,177

58,170

13,343

45,091 18,523

34,861 21,537 42,953

35,016 53,124 16,398 47,860 54,531

35,328

35,162

65.5 64.9 74.1

97.5

22.4

75.6 31.1

58.4 36.1 72

58.7 89.1 27.5 80.2 91.4

59.2

58.9

ที่มา : คณะกรรมการพัฒนาชนบทและกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค (กชช.ภ.), 2536. ระบบขอมูลเพื่อการพัฒนาชนบท. ศูนยขอมูลเพื่อการพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย, กรมการพัฒนาชุมชน.

Page 8: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

267

ตารางที่ 8 ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2535 (ระดับภาค)

ภาค ที่

หมวด

เครื่องชี้วัด จปฐ.

เปาหมาย ป 2539 (รอยละ)

กลาง (รอยละ)

ตะวันออกเฉียงเหนือ(รอยละ)

เหนือ (รอยละ)

ใต (รอยละ)

1 อาหารดี เด็กแรกเกิดมีน้ําหนัก 3,000 กรัมขึ้นไป 70 86.2 82.7 75.1 82.8 2 “ เด็ก 0-5 ป ไมขาดสารอาหาร ถึงเปาหมายทั้ง 3 ระดับ 94.9 84.8 86.2 89.8 ไมเกิน 10 4.7 13.8 11.9 9.4 ไมเกิน 1 0.3 1.3 1.6 0.7 ไมมี = 0 0.1 0.1 0.3 0.1 3 “ เด็กอายุ 6-14 ป ไดกินอาหารครบ 93 95.3 91.7 88.8 90.6 4 “ ครัวเรือนไมกินอาหารประเภท 60 89.4 46.9 48.2 97.4 เนื้อสัตวที่ดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ 5 “ ครัวเรือนกินอาหารที่มีฉลาก อย. 75 85.6 83.7 76.5 76.6 6 มีบานอาศัย ครัวเรือนมีที่อยูอาศัยคงทน 5 ป 90 93 93 84.8 90.3 7 “ ครัวเรือนจัดบานถูกสุขลักษณะ 90 83.7 66.5 66.2 61.6 8 “ ครัวเรือนมีและใชสวมถูกหลักสุขาภิบาล 95 88.2 81.9 83.4 72.6 9 “ ครัวเรือนมีน้ําสะอาดดื่มเพียงพอ 95 75.1 60.1 55.6 54.8

10 “ ครัวเรือนไมถูกรบกวนจากสิ่งรําคาญ 80 88.4 88.4 82.4 86.5 11 ศึกษาอนามัยถวนถี่ หญิงตั้งครรภไดรับการดูแลกอนคลอด 75 96.8 96.6 92.5 92.2 12 “ หญิงตั้งครรภไดรับการทําคลอด 80 98 97 93.1 95.6

และการดูแลหลังคลอด 13 “ เด็กต่ํากวา 1 ป ไดรับฉีดวัคซีนครบ 95 97.2 96.6 93.5 85.9 14 “ เด็กประถมศึกษาไดรับฉีดวัคซีนครบ 99 97.6 98.7 96.3 97.2 15 “ ครัวเรือนมีความรูเร่ืองโรคเอดส 80 88.2 84.9 79.3 75.7 16 “ ครัวเรือนรูจักวิธีการปองกันโรคเอดส 80 87.8 84.2 78.5 74.8 17 “ เด็ก 3-6 ป ไดรับการเลี้ยงดูถูกตอง 60 87.5 82.3 83.3 79.7 18 “ เด็กวัยประถมศึกษาไดเขาเรียนภาคบังคับ 99 98.2 98.7 94.6 96.9 19 “ เด็กจบภาคบังคับไดเรียนตอ 73 66.9 48 58.3 63.6

ระดับมัธยมศึกษา 20 “ เด็กไมไดเรียนตอไดรับการฝกอาชีพ 80 42.3 28.4 33.7 32.2 21 “ คนอายุ 14-50 ป อานเขียนได 99 97.7 97.5 90.2 93.4 22 “ ครัวเรือนไดรับขาวสารครบ 85 89.2 87 76.5 73.9

Page 9: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

268

แผนภูมิที่ 10 ประโยชนของ จปฐ. ในระดับตางๆ ระดับชาติ

จัดสรรทรัพยากรไปสูประชาชนที่ขาดคุณภาพชีวิต

จปฐ.

ระดับบริหาร - ปฏิบัติ - พัฒนาแผน หนวยงานใหสอดคลอง ผสมผสาน สูเปาหมายเดียวกัน คือ คุณภาพชีวิต - รวมกันทํางานอยางจริงจัง

ระดับประชาชน คุณภาพชีวิต

Page 10: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

269

ตารางที่ 9 ความจําเปนพื้นฐานของคนไทยและเครื่องชี้วัด

ความจําเปน องคประกอบ จปฐ. เครื่องชี้วัด คําจํากัดความ 1. ประชาชนในครอบครัวไดกิน 1.1 ทารกและเด็กกอนเรียน 1. ใชน้ําหนักและสวนสูง - มาตรฐานที่กําหนด -มาตรฐาน อาหารถูกสุขลักษณะและเพียง (อายุต้ังแตแรกเกิดถึง 5 ป) ตามอายุเทียบกับมาตรฐาน ที่กําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข พอกับความตองการของรางกาย ไดรับการเฝาระวังทางโภชนาการ ที่กําหนด และไมมีการขาดอาหาร การขาด อาหารในระดับที่เปนอันตราย ตอสุขภาพ 1.2 เด็กอายุต้ังแต 5 ป ถึง 14 ป 2. ใชน้ําหนักและสวนสูงเทียบ - มาตรฐานที่กําหนด -มาตรฐาน ไดรับสารอาหารครบถวน กับมาตรฐานที่กําหนด ที่กําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข ตามความตองการของรางกาย 1.3 หญิงมีครรภมีการบริโภค 3. น้ําหนักตัวเด็กแรกเกิด อาหารอยางถูกตองเพียงพอ ไมนอยกวา 3,000 กรัม 2. ประชาชนในครอบครัว 2.1 บานเรือนทําดวยวัสดุ 1. บานเรือนทําดวยวัสดุเหมาะสม - วัสดุเหมาะสมคงทนถาวร - มีที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอม เหมาะสม คงทนถาวร คงทนถาวร อยางนอย 5 ป ทําดวยวัสดุอะไรก็ได ที่เหมาะสม ซ่ึงคงทนไมนอยกวา 5 ป 2.2 ครอบครัวมีการจัดบาน 2. ภายในบานสะอาดและใน ใหถูกสุขลักษณะ บริเวณบานมีที่เก็บขยะมูลฝอย และมูลสัตวเปนสัดสวนและ ไมมีน้ําโสโครกขังอยู 2.3 ครอบครัวมีสวมถูกหลัก 3. มีสวมถูกหลักสุขาภิบาล - สวมถูกหลักสุขาภิบาล - สวม สุขาภิบาลใช ตามมาตรฐานกําหนด ราดน้ํา 2.4 คนในครอบครัวมีน้ําสะอาด 4. มีน้ําสะอาดดื่มวันละ 2 ลิตร - น้ําสะอาด - น้ําฝนหรือน้ํา (น้ําฝนหรือน้ํากรองแลว หรือน้ํา กรองแลว หรือน้ําประปา ประปาหรือน้ําจากบอ หรือน้ําจากบอถูกสุขลักษณะ สุขลักษณะ) ด่ืมวันละ 2 ลิตร 3. ประชาชนมีโอกาสเขาถึง 3.1 เด็กและเยาวชนมีโอกาส 1. เด็กอายุตํ่ากวา 1 ป ไดรับ บริการสังคมขั้นพื้นฐานที่จําเปน เขาถึงบริการขั้นพื้นฐาน ภูมิคุมกันคอตีบ วัณโรค บาด- แกการดํารงชีวิตและการ ทะยัก ไอกรน โปลิโอ และหัด ประกอบอาชีพ 2. เด็กและเยาวชนไดเขาเรียน - การศึกษาภาคบังคับ - ประถม การศึกษาภาคบังคับ ปที่ 1 ถึงประถมปที่ 6 3. เด็กวัยประถมศึกษาไดรับ ภูมิคุมกันคอตีบซํ้า บาดทะยัก และไทฟอยด 4. ประชาชนอายุ 14 ป ขึ้นไป - รูหนังสือ - จบการศึกษา รูหนังสือ ช้ันประถมปที่ 6 และสามารถ อานออกเขียนได

Page 11: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

270

ความจําเปน องคประกอบ จปฐ. เครื่องชี้วัด คําจํากัดความ 3.2 ประชาชนมีโอกาสเขาถึง 1. การไดรับขาวสารเพื่อการ - ขาวสาร – เชน ขาวการเกษตร บริการขั้นพื้นฐานดานสังคม ประกอบอาชีพ การดํารงชีวิต ขาวเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย และการประกอบอาชีพ การปองกันภัยและการคุมครอง กฎหมาย ผูบริโภค 3.3 หญิงมีครรภไดรับการดูแล 1. หญิงมีครรภไดรับภูมิคุมกัน - ไดรับภูมิคุมกันบาดทะยัก - บาดทะยัก ไดฉีดครบ 2 เข็ม หรือ ถายังไมถึง กําหนดก็ต้ังใจจะไปฉีดใหครบ 2 เข็ม 2. ไดรับการดูแล 4 ครั้ง - การดูแลกอนคลอด - ไดรับการ กอนคลอดจากเจาหนาที่ของรัฐ ตรวจครรภอยางนอย 4 ครั้ง หรือผดุงครรภโบราณที่ไดรับ กอนคลอดหรือถายังไมถึงกําหนด การอบรมแลว นัด ก็ต้ังใจจะไปรับการตรวจ ใหครบ 4 ครั้ง - เจาหนาที่ของรัฐ - แพทย พยาบาลผดุงครรภ และ พนักงาน อนามัย 3.4 หญิงมีครรภไดรับบริการ 1. หญิงมีครรภไดรับบริการ - บริการทําคลอด - การคลอด ทําคลอดและการดูแลหลังคลอด ทําคลอดโดยเจาหนาที่ของรัฐ ที่โรงพยาบาล คลีนิค หรือผดุงครรภโบราณที่ไดรับ สถานีอนามัย หรือมีเจาหนาที่ การอบรมแลว มาทําคลอดที่บาน 2. หญิงหลังคลอดและทารก - การดูแลหลังคลอด - การที่ ไดรับการดูแลหลังคลอด เจาหนาที่สาธารณสุขไปให 6 สัปดาห จากเจาหนาที่ของรัฐ การดูแลแมหลังคลอด 6 สัปดาห หรือผดุงครรภโบราณที่ไดรับ และใหคําแนะนําในเรื่องการ การอบรมแลว ปฏิบัติตนหลังคลอดและการ เลี้ยงดูเด็ก เชน การโภชนาการ การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคและ การวางแผนครอบครัว ฯลฯ 4. ประชาชนมีความมั่นคง 4.1 ประชาชนปลอดภัยจากโจร 1. ความปลอดภัยในการสัญจร ไปมายามวิกาล 5. ประชาชนมีการผลิตหรือ 5.1 การเกษตรตามหลักวิชาการ 1. ความสามารถปรับปรุงดิน จัดอาหารอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหเหมาะสมกับการปลูกพืช เลี้ยงสัตว (โดยการปลูกพืช หมุนเวียนและการปรับดิน เชน ดินกรดจัด หรือการปองกันการ ชะลาง พังทะลาย) 2. การรูจักใชพันธุพืชและสัตว ที่เปนพันธุดี

Page 12: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

271

ความจําเปน องคประกอบ จปฐ. เครื่องชี้วัด คําจํากัดความ 3. การใชปุยสูตรที่ถูกตองกับดิน และพืช และมีการใชปุยอินทรีย เพื่อบํารุงดิน 4. ความสามารถปองกัน และกําจัดศัตรูพืช 5. ความสามารถปองกัน และกําจัดโรคสัตว 6. ครอบครัวสามารถควบคุม 6.1 คูสมรสมีบุตรไมเกิน 2 คน 1. คูสมรสมีบุตรไมเกิน 2 คน ชวงเวลาและจํานวนของการมี และสามารถเขาถึงและเลือกใช และสามารถเขาถึงและเลือกใช บุตรไดตามความตองการ บริการวางแผนครอบครัวได บริการวางแผนครอบครัวได มากกวา 1 วิธี มากกวา 1 วิธี 7. ประชาชนมีสวนรวมเพื่อการ 7.1 ประชาชนมีสวนรวมในการ 1. การเปนสมาชิกของกลุม พัฒนาความเปนอยูและกําหนด พัฒนาความเปนอยูในดาน เพื่อรวมมือชวยเหลือกันในการ วิถีชีวิตของชุมชนของตน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ปรับปรุงฐานะทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม และสังคม 2. การมีสวนรวมในการพัฒนา ตนเองและชุมชน 3. การมีสวนรวมบํารุงรักษา สาธารณสมบัติ ทั้งที่รัฐและ ชุมชนสรางขึ้น และที่มีอยูเอง ตามธรรมชาติ 4. การมีสวนรวมบํารุงรักษา มรดกทางวัฒนธรรม ใหคงสภาพที่เหมาะสม 5. การมีสวนรวมอนุรักษ สภาพแวดลอมของธรรมชาติ 7.2 ประชาชนมีสวนรวมในการ 1. การไปใชสิทธิเลือกต้ัง กํานัน กําหนดวิถีชีวิตของตนเอง และผูทรงคุณวุฒิ สภาตําบล ผูใหญบาน และคณะกรรมการ หมูบาน 2. ความสามารถวางแผน ดําเนินการตามแผนและ จัดระบบการบํารุงรักษาผลงาน ดวยตนเองได

Page 13: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

272

ความจําเปน องคประกอบ จปฐ. เครื่องชี้วัด คําจํากัดความ 8. ประชาชนมีการพัฒนาจิตใจ 8.1 ประชาชนมีการดําเนินชีวิต 1. การไมหลงมัวเมาในการ ใหดีขึ้น ตามหลักศาสนา เสพสุรา เลนการพนัน และเสพสิ่งเสพติดรายแรง 2. การมีสวนรวมกิจกรรม ในวันสําคัญทางศาสนา 8.2 ประชาชนถือปฏิบัติ 1. การไมใชจายฟุมเฟอย ตามคานิยมพื้นฐาน ในพิธีกรรมตามหลักศาสนา (การบวช) และทางประเพณี (แตงงาน วันเกิด)

Page 14: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

273

ตารางที่ 10 เครื่องชี้วัด จปฐ. เปาหมายป 2534 และเปาหมายภายใน 20 ป (ป 2544)

เครื่องชี้วัด จปฐ. เปาหมายในป 2534

(รอยละ) เปาหมาย 20 ป 2544 (รอยละ)

(จปฐ. ขอ 1 ประชาชนในครอบครัวไดกินอาหาร ถูกสุขลักษณะ เพียงพอกับความตองการของรางกาย) 1. ทารกและเด็กกอนวัยเรียน (อายุตั้งแตแรกเกิดถึง 5 ป) ภาวะปกติ 73 ภาวะปกติ 65 ไดรับการเฝาระวังทางโภชนาการ และไมมีการขาดอาหาร ภาวะขาดอาหาร ภาวะขาดอาหาร ในระดับที่เปนอันตรายตอสุขภาพ โดยใชน้ําหนักและ ระดับ 1 ไมเกิน 25 ระดับ 1 ไมเกิน 15 สวนสูงตามอายุเทียบกับมาตรฐานที่กําหนด ระดับ 2 ไมเกิน 2 ระดับ 2 ไมเกิน 7 ระดับ 3 ไมมี ระดับ 3 ไมมี (ทุกหมูบาน) 2. เด็กอายุตั้งแต 5 ปถึง 14 ป ไดรับสารอาหารครบถวน ไมนอยกวา 92 100 ตามความตองการของรางกาย โดยใชน้ําหนักและสวนสูง เทียบกับมาตรฐานที่กําหนด 3. หญิงมีครรภมีการบริโภคอยางถูกตองเพียงพอ ไมนอยกวา 60 ไมนอยกวา 60 โดยน้ําหนักตัวเด็กแรกเกิดไมนอยกวา 3,000 กรัม (จปฐ. ขอ 2 ประชาชนในครอบครัวมีที่อยูอาศัย และสภาพแวดลอมที่เหมาะสม) 4. บานเรือนทําดวยวัสดุเหมาะสม คงทนถาวร 84 90 อยางนอย 5 ป 5. ภายในบานสะอาดและบริเวณบานมีที่เก็บขยะมูลฝอย 60 80 และมูลสัตว เปนสัดสวนและไมมีน้ําโสโครกขังอยู 6. มีสวมถูกหลักสุขาภิบาลตามมาตรฐานที่กําหนด 75 80 (สวมราดน้ํา) 7. มีน้ําสะอาดดื่มวันละ 2 ลิตร / คน / วัน 95 98 (จปฐ. ขอ 3 ประชาชนมีโอกาสเขาถึงบริการสังคม ขั้นพื้นฐานที่จําเปนแกการดํารงชีวิตและการประกอบ อาชีพ 8. เด็กอายุต่ํากวา 1 ป ไดรับภูมิคุมกันคอตีบ วัณโรค 90 95 บาดทะยัก ไอกรน โปลิโอ และหัด 9. เด็กและเยาวชนไดเขาเรียนการศึกษาภาคบังคับ เขาเรียน 99 เขาเรียน 99 (จบ ป.6 ภายใน 6 ป (จบ ป.6 ภายใน 6 ป รอยละ 70) รอยละ 90)

Page 15: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

274

เครื่องชี้วัด จปฐ. เปาหมายในป 2534

(รอยละ) เปาหมาย 20 ป 2544 (รอยละ)

10. เด็กวัยประถมศึกษาไดภูมิคุมกันคอตีบซ้ํา วัณโรค 90 95 11. ประชาชนอายุ 14 ปขึ้นไป รูหนังสือ ไมรูหนังสือ 5 ไมรูหนังสือ 5 12. การไดรับทราบขาวสาร (จากวิทยุ โทรทัศน หรือ ไมนอยกวา 85 ไมนอยกวา 90 หนังสือพิมพ หรือหนวยงานรัฐ) เพื่อการประกอบอาชีพ การดํารงชีพ การปองกันภัย และการคุมครองผูบริโภค 13. หญิงมีครรภไดรับการดูแล 13.1 หญิงมีครรภไดรับภูมิคุมกันบาดทะยัก ไมนอยกวา 70 ไมนอยกวา 80 13.2 หญิงมีครรภไดรับการตรวจครรภ 4 ครั้ง ไมนอยกวา 70 ไมนอยกวา 80 กอนคลอดจากเจาหนาที่ของรัฐหรือผดุงครรภโบราณ ที่อบรมแลว 14. หญิงมีครรภไดรับบริการทําคลอดและดูแลหลังคลอด 14.1 หญิงมีครรภไดรับบริการทําคลอดโดยเจาหนาที่ ไมนอยกวา 70 ไมนอยกวา 80 ของรัฐหรือผดุงครรภโบราณที่อบรมแลว 14.2 หญิงหลังคลอดและทารก ไดรับการดูแล ไมนอยกวา 70 ไมนอยกวา 80 หลังคลอดภายใน 6 สัปดาห จากเจาหนาที่ของรัฐ หรือผดุงครรภโบราณที่อบรมแลว (จปฐ. ขอ 4 ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน) 15. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน มีความปลอดภัย มีความปลอดภัย อัตราจับกุมได อัตราจับกุมได อุกฉกรรจ 32 อุกฉกรรจ 34 ชีวิตรางกาย 60 ชีวิตรางกาย 65 ทรัพย 61 ทรัพย 64 (จปฐ. ขอ 5 ประชาชนมีการผลิตหรือจัดอาหาร อยางมีประสิทธิภาพ) 16. ความสามารถปรับปรุงดินเพื่อใหเหมาะสมกับ 30 85 การปลูกพืช เล้ียงสัตว โดยการปลูกพืชหมุนเวียน และ การปรับดิน เชน ดินกรดจัด หรือการปองกันการชะลาง พังทะลาย

Page 16: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

275

เครื่องชี้วัด จปฐ. เปาหมายในป 2534

(รอยละ) เปาหมาย 20 ป 2544 (รอยละ)

17. การใชพันธุพืชและสัตวที่มีพันธุดี 60 100 18. การใชปุยสูตรที่ถูกตองกับดินและพืช และมีการใชปุย 50 100 อินทรียเพื่อบํารุงดิน 19. ความสามารถปองกันและกําจัดศัตรูพืช 60 80 (มีการใชยาตามทางราชการแนะนํา) 20. มีการปองกันการระบาดของโรคสัตว 40 (จปฐ. ขอ 6 ครอบครัวสามารถควบคุมชวงเวลา และจํานวนของการมีบุตรไดตามตองการ) 21. คูสมรสมีบุตรไมเกิน 2 คน และสามารถเขาถึง 75 80 และเลือกใชบริการวางแผนครอบครัวไดมากกวา 1 วิธี (จปฐ. ขอ 7 ประชาชนมีสวนรวมเพ่ือการพัฒนา ความเปนอยูและกําหนดวิถีชีวิตของชุมชนของตน) 22. การเปนสมาชิกของกลุม (กลุมพัฒนาเศรษฐกิจ) 50 75 เพื่อรวมชวยเหลือกันในการปรับปรุงฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคม 23. การมีสวนรวมในการพัฒนาตนเองและชุมชน มี มี (การเปนสมาชิกกลุมออมทรัพย หรือกองทุนกลางฯ) 24. การมีสวนรวมบํารุงรักษาสาธารณสมบัติทั้งที่รัฐ มี มี และชุมชนสรางขึ้น และที่มีอยูเองตามธรรมชาติ (แหลงน้ํา ปาไม) 25. การมีสวนรวมบํารุงรักษามรดกทางวัฒนธรรม มี มี ใหคงสภาพที่เหมาะสม 26. การมีสวนรวมอนุรักษสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ มี มี 27. การไปใชสิทธิเลือกตั้ง กํานันและผูทรงคุณวุฒิ 50 60 สภาตําบล ผูใหญบานและคณะกรรมการหมูบาน 28. ความสามารถวางแผน ดําเนินการตามแผน มี มี และจัดระบบการบํารุงรักษาผลงานดวยตนเองได

Page 17: ภาคผนวก - Chiang Mai Universityagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/A-2.pdf · 2. เด็กแรกเกิดถึง 5 ป ได รับการเฝ

276

เครื่องชี้วัด จปฐ. เปาหมายในป 2534

(รอยละ) เปาหมาย 20 ป 2544 (รอยละ)

(จปฐ. ขอ 8 ประชาชนมีการพัฒนาจิตใจใหดีขึ้น) 29. ประชาชนในหมูบานมีความสามัคคี เอื้อเฟอเผ่ือแผกัน มี มี 30. การไมหลงมัวเมาในการเสพสุรา เลนการพนัน 85 ไมนอยกวา 90 และเสพสิ่งเสพติดรายแรง 31. การมีสวนรวมกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา 85 ไมนอยกวา 90 32. การไมใชจายฟุมเฟอยในพิธีกรรมตามหลักศาสนา 85 ไมนอยกวา 90 (การบวช) และทางประเพณี (แตงงาน วันเกิด) ที่มา : คูมือปฐมนิเทศและฝกอบรมวิทยากร “งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท”

(พชช.) เร่ือง การจัดเก็บขอมูล จปฐ. 2532. กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย