11
การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาปัตตานี

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro

อนุภาพ ด้วงนิ่ม

ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาปัตตาน ี

Page 2: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

1

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

การผลิตสื่อวดีิทัศน์เบื้องตน้ ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro

โปรแกรม Adobe Premiere Pro เป็นซอฟแวร์ที ่ใช้ในผลิตสื ่อวีดิทัศน์ที่ได้รับความแพร่หลาย เป็นอย่างมาก สามารถผลิตสื่อวีดิทัศน์ได้ในระดับมืออาชีพ จนถึงการนำไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ (Broadcasting System) มีการทำงานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก และรองรับไฟล์วีดีโอในฟอร์แมตที่หลากหลาย

1. การเขา้สู่โปรแกรม การเข้าสู่โปรแกรม เป็นขั้นตอนการเรียกใช้โปรแกรมเพื่อการใช้งาน สามารถสร้างชิ้นงานใหม่ และเรียกใช้ช้ินงานที่มีอยู่เดิมได ้

ภาพที่ 1: การเรียกใช้โปรแกรม Adobe Premiere Pro

2. การสร้างชิ้นงานใหม ่(New Project) การสร้างชิ้นงาน (New Project) เป็นการสร้างชิ้นงานที่จะใช้ในการผลิตสื่อวีดิทัศน์ โดยกำหนดค่าให้สอดคล้องกับไฟล์วีดีโอที่ได้ทำการบันทึกไว้ ซึ่งการสร้างชิ้นงาน มีขั้นตอนดังนี ้ 2.1 ทำการเปิดโปรแกรม Adobe Premiere Pro จะปรากฏหนาตาง Start ขึ้นมา ให้คลิก New Project โปรแกรมจะแสดงหนา้ต่าง New Project ให้ทำการตั้งชื่อชิ้นงาน และเลือกตำแหน่งทีจ่ัดเก็บชิ้นงาน แล้วคลิก OK

ภาพที่ 2: การกำหนดค่าชิ้นงานใหม่ (New Project)

1 2

3

Page 3: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

2

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

2.2 ทำการคลิกแท็บคำสั ่ง File > New > Sequence จะปรากฏหน้าต่าง New Sequence ขึ ้นมาจากนั้นให้เลือกขนาดของชิ้นงานให้สอดคล้องกับไฟล์วีดีโอที่ต้องการจะตัดต่อ เมื่อกำหนดค่าของขนาดชิ้นงานแล้วให้ตั้งช่ือ Sequence แล้วคลิก OK

ภาพที่ 3: การตั้งค่า Sequence

2.3 เมื่อทำการตั้งค่า Sequence แล้ว โปรแกรมจะแสดงหน้าต่าง เมนู เครื่องมือต่างที่จะใช้ในกระบวนการผลิตสื่อวีดิทัศน์

ภาพที่ 4: แสดงสวนประกอบของพ้ืนที่ทํางาน (Workspace) ของโปรแกรม Adobe Premiere Pro

Menu Bar ชุดคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของโปรแกรม Menu Panel แถบเมนูสำหรับกระบวนการผลิต

F

C D

E G

H

A B

A

B

1

2 3

Page 4: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

3

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

Source Monitor Panel จอแสดงภาพไฟล์ต้นฉบับที่เลือกมาจาก Project Panel Program Monitor Panel จอแสดงภาพของช้ินงานที่ตัดต่อบน Timeline Panel Project Panel พื้นที่สำหรับจัดเก็บไฟลว์ีดีโอ เสียง กราฟิก เป็นต้น Tool เครื่องมือที่ใช้สำหรับการตัดต่อ Timeline Panel พื้นที่สำหรับการตัดต่อ Audio Meters Panel แถบแสดงระดับความดังของเสียง

2.4 สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการตัดต่อมีดังน้ี

Selection Tool เลือกคลิปที่ต้องการทำงาน Track Select Tool เลือกทุกคลิปที่อยู่ใน Track เดียวกัน Ripple Edit Tool เพิ่มหรือลดเฟรมที่แสดง โดยมีผลต่อ เวลาในการแสดง Razor ตัดคลิปเป็นส่วนๆ Slip Tool เลื่อนคลิปที ่อยู ่ต ิดกัน โดยเลื ่อนเฟรมให้ซ ่อนบางส่วน และแสดงบางส่วน ซึ่งจะไม่มีผลต่อเวลาในการแสดง Pen Tool ปรับรายละเอียดระดับของ Keyframe Hand Tool เลื่อนเพ่ือดูคลิป Type Tool การเพ่ิมข้อความ

ภาพที่ 5: ประเภทเครื่องมือที่ใช้ในการตัดต่อ

3. การนำเข้าไฟล์ (Import) การนำเข้าไฟล์ (Import) เข้ามาในโปรแกรม Adobe Premiere Pro เป็นกระบวนการที่นำทรัพยากรต่างๆ เช่น วีดีโอ ภาพนิ่ง เสียง กราฟิก ข้อความ เป็นต้น เข้ามาในโปรแกรมเพื่อใช้ในการตัดต่อตามเรื่องราวที่ต้องการจะนำเสนอ ซึ่งการนำเข้าไฟล์ในโปรแกรม Adobe Premiere Pro มีขั้นตอนดังนี ้ 3.1 แยกประเภทของไฟล์ที ่จะนำเข้ามาในโปรแกรมออกเป็นโฟล์เดอร์ เพื ่อสะดวกต่อการจัดการ และการใช้งานในโปรแกรม

ภาพที่ 6: การแยกประเภทไฟล์เป็นโฟล์เดอร ์

C

D

E

F

G

H

A

B

C

D

E

F

G

H

A

B

C

D4 E

F

G

H

Page 5: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

4

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

3.2 ทำการสร้างโฟล์เดอร์ในโปรแกรม Adobe Premiere Pro โดยการคลิกที่ Icon New Bin ในแท็บ Project ของหน้าต่าง Project Panel และเปลี่ยนชื่อโฟล์เดอรใ์ห้สอดคล้องกับประเภทไฟล์ที่ได้ทำการแยกไว ้

ภาพที่ 7: การสร้างโฟล์เดอร์ในโปรแกรม Adobe Premiere Pro

3.3 ดับเบิ้ลคลิกโฟล์เดอร์ที่ต้องการจะนำเข้าไฟล์ จากนั้นคลิกขวาที่ Project Panel เลือก Import จะปรากฏหน้าต่าง Import ให้ทำงานเลือกไฟล์ที่ต้องการนำเข้า แล้วคลิก OK

ภาพที่ 8: การนำเข้าไฟล์ไปยังโปรแกรม Adobe Premiere Pro

3.4 เมื่อได้ทำการเลือกไฟล์แล้ว ไฟล์ที่ถูกเลือกจะแสดงใน Project Panel

ภาพที่ 9: Project Panel ทีแ่สดงไฟล ์

1

2

3

1 3

2

Page 6: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

5

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

4. การตัดต่อ การตัดต่อเป็นการจัดการไฟล์ต่างๆ ในพื้นที่ของ Timeline Panel เพื่อให้ได้ชิ้นงานตามความต้องการและเหมาะสม ซึ่งการตัดต่อในโปรแกรม Adobe Premiere Pro มีขั้นตอนดังนี ้ 4.1 การนำเข้าไฟล์มาวางใน Timeline 4.1.1 ทำการดับเบิ้ลคลิกไฟล์ที่ต้องการ ไฟล์ที่เลือกจะปรากฏในจอแสดงภาพ Source Monitor Panel จากนั้นคลิก Icon Play เพื่อให้ไฟล์นั้นแสดงภาพ แล้วคลิก Icon Mark In และ Icon Mark Out เพื่อกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของไฟลต์ามความเหมาะสม

ภาพที่ 10: การกำหนดช่วงของไฟล ์

4.1.2 เมื่อกำหนดช่วงของการแสดงภาพของไฟล์ได้แล้ว ให้คลิกที่จอแสดงภาพ Source Monitor Panel แล้วแดรกเมา้สเ์พื่อนำไฟล์เข้ามาวางใน Time Line ไฟล์ที่ได้ทำการเลือกก็จะปรากฏใน Time Line

ภาพที่ 11: การนำไฟล์มาวางใน Timeline

4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน Timeline เพิ่มเติม ให้ทำตามขั้นตอนในข้อ 4.1.2

ภาพที่ 12: การเพิ่มไฟล์ไปยัง Timeline

1 2 3

Page 7: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

6

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

4.2 การใส่ลักษณะพิเศษ (Effects) 4.2.1 ทำการคลิกแท็บ Effects ที่ Project Panel จากนั้นเลือกลักษณะพิเศษที่ต้องการ ในกรณีนี้ได้เลือกลักษณะพิเศษแบบ Cross Dissolve ซึ่งเป็นการใส่ลักษณะพิเศษให้กับวีดีโอ

ภาพที่ 13: การเรียกใช้งานลักษณะพิเศษ (Effects)

4.2.2 จากนั้นทำการคลิกที่ลักษณะพิเศษแบบ Cross Dissolve แล้วให้แดรกเม้าส์เพื่อนำลักษณะพิเศษไปวางใน Timeline โดยวางในตำแหน่งช่วงท้ายของไฟล์และช่วงต้นของอีกไฟล์ที่ติดกัน ลักษณะพิเศษก็จะแสดงใน Program Monitor Panel

ภาพที่ 14: การเพิ่มลักษณะพิเศษ (Effects)

1

2

1

2

Page 8: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

7

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

4.3 การสร้างข้อความ (Title) 4.3.1 คลิกแท็บคำสั่ง File > New > Legacy Title เพื่อเรียกใช้คำสั่งการสร้างข้อความ

ภาพที่ 15: การเรียกใช้คำสั่งการสร้างข้อความ

4.3.2 จากนั้นโปรแกรมจะแสดงหน้าต่าง New Title ให้ทำการตั้งค่าต่างๆ ให้ตรงกับชิ้นงาน และตั้งชื่อไฟล์ของข้อความ แล้วคลิก OK

ภาพที่ 16: การตั้งค่าของไฟล์ข้อความ

1 2

3

1

3

Page 9: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

8

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

4.3.3 โปรแกรมจะแสดงหน้าต่าง Title เพื่อสร้างข้อความ ให้ทำการสร้างข้อความและจัดการข้อความตามความเหมาะสม จากนั้นปิดหน้าต่าง Title โปรแกรมจะบันทึก Title ที่สร้างอัตโนมัต ิ

ภาพที่ 17: การจัดการข้อความ

เครื่องมือสร้างข้อความในรูปแบบต่างๆ และรูปเรขาคณิต เครื่องมือการจัดการข้อความ รูปแบบข้อความที่โปรแกรมกำหนดให้

4.3.4 ทำการแดรกเม้าส์ไฟล์ข้อความที่อยู่ใน Project Panel ไปวางใน Timeline Panel ข้อความที่ได้สร้างก็จะแสดงใน Program Monitor Panel

ภาพที่ 18: การเพิ่มข้อความใน Timeline Panel

A B

C

A

B

C

1

2

3

Page 10: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

9

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

5. การส่งออกไฟล์ (Export) การส่งออกไฟล์ (Export) เป็นกระบวนการส่งไฟล์ชิ้นงานเป็นไฟล์วีดีโอ ซึ่งมีหลากหลายนามสกุลไฟล์ เช่น .avi, .mov, .mp4, .wmv เป็นต้น แต่นามสกุลไฟล์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ .mp4 เนื่องจากขนาดของไฟล์ไม่ใหญ่จนเกินไป ทำให้ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บน้อยลง และมีความคมชัดสูง สำหรับการส่งออกไฟล์ในโปรแกรม Adobe Premiere Pro มีขั้นตอนดังนี ้ 5.1 กำหนดจุดเริ่มต้นของวีดีโอที่ต้องการจะส่งออก โดยการกำหนด Play Head ให้ตรงกับจุดเริ่มต้นของวีดีโอที่ต้องการจะส่งออก จากนั้นคลิกขวาที่แถบแสดงเวลา Timeline Panel เลือกคำสั่ง Mask In

ภาพที่ 19: การกำหนดจุด Mask In

5.2 กำหนดจุดสิ้นสุดของวีดีโอที่ต้องการจะส่งออก โดยการกำหนด Play Head ให้ตรงกับจุดสิ้นสุดของวีดีโอที่ต้องการจะส่งออก จากนั้นคลิกขวาที่แถบแสดงเวลา Timeline Panel เลือกคำสั่ง Mask Out

ภาพที่ 20: การกำหนดจุด Mask Out

1

2

1

2

Page 11: การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro · 4.1.3 เมื่อต้องการนำไฟล์ใหม่เข้าไปใน

10

การผลิตสื่อวีดิทัศน์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro อนุภาพ ด้วงนิ่ม

5.3 หลังจากที่ได้ทำการ Mask In และ Mask Out แล้ว โปรแกรมจะสร้างจุดที่ได้ทำการ Mask In และ Mask Out ใน Timeline Panel

ภาพที่ 21: การกำหนด Mask In และ Mask Out

จุด Mask In จุด Mask Out

5.4 ทำการคลิกที่แท็บคำสั่ง File > Export > Media โปรแกรมจะแสดงหน้าต่าง Export Setting ให้ทำการตั้งค่าลักษณะของไฟล์ที่ต้องการ เมื่อทำการตั้งค่าต่างๆ เสร็จแล้ว ให้คลิก OK โปรแกรมก็จะทำการส่งออกไฟล์เป็นไฟล์ตามลักษณะที่ได้ตั้งค่าไว้

ภาพที่ 22: การตั้งค่าไฟล์ทีส่่งออก

จอแสดงภาพ การเลือกประเภทของไฟล์ที่จะส่งออก การเลือกลักษณะของไฟล์ที่ส่งออก การต้ังช่ือและกำหนดตำแหน่งจัดเก็บของไฟล์ การปรับ ลด คุณภาพไฟล์

B A

A

B

B C

D

A

E

A

B

C

D

E