34
°“√ ”√«® ∂“π°“√≥凥Á°·≈– μ√’„πª√–‡∑»‰∑¬ ‚¥¬°“√„™âæÀÿ¥—™π’·∫∫®—¥°≈ÿà¡ (MICS) √“¬ß“π √ÿª

π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

°“√ ”√«® ∂“π°“√≥凥Á°·≈– μ√’„πª√–‡∑»‰∑¬‚¥¬°“√„™âæÀÿ¥—™π’·∫∫®—¥°≈ÿà¡ (MICS)

√“¬ß“π √ÿª

Õߧ尓√¬Ÿπ‘‡´ø ª√–‡∑»‰∑¬19 ∂ππæ√–Õ“∑‘μ¬å°√ÿ߇∑æœ 10200ª√–‡∑»‰∑¬‚∑√»—æ∑å : (66-2) 356 9499‚∑√ “√ : (66-2) 281 6032Õ’‡¡≈ : [email protected]‡«Á∫‰´μå : www.unicef.org/thailand

Page 2: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม (MICS) รายงานสรุป

Page 3: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

สงวนลิขสิทธิ์ : โดยองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย การจัดพิมพ์รายงานฉบับนี้เพื่อการเผยแพร่ต่อสามารถกระทำได้โดยระบุเจ้าของลิขสิทธิ์ของข้อมูล ภาพปก : @ UNICEF Thailand/2006/Few ออกแบบโดย : Keen Media (Thailand) Co., Ltd. พิมพ์ในประเทศไทย องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย 19 ถนนพระอาทิตย์ กรุงเทพฯ 10200 ประเทศไทย โทรศัพท์ : (66-2) 356 9499 โทรสาร : (66-2) 281 6032 อีเมล : [email protected] เว็บไซต์ : www.unicef.org/thailand

Page 4: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

สารบัญ คำนำ 4 ผลการสำรวจ 6 1 สุขภาพและโภชนาการ 6 2 อนามัยเจริญพันธุ์ 13 3 เชื้อไวรัสเอชไอวี/เอดส์ 15 4 การศึกษา 21 5 การคุ้มครองเด็ก 26 6 การจัดหาที่อยู่อาศัยให้เพียงพอ 30

Page 5: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

คำนำ ประเทศไทยประสบความสำเร็จจากความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจสังคมอย่างสูง ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ได้แก่

• อัตราการเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๗๐ ในพ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นร้อยละ ๙๕ ในพ.ศ. ๒๕๔๗ • จำนวนประชากรที่มีชีวิตอยู่ต่ำกว่าเกณฑ์วัดความยากจนลดลงอย่างมาก คือ ลดลงจากร้อยละ ๑๖

ในพ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นร้อยละ ๑๐ ในพ.ศ. ๒๕๔๕ จากผลของการสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทยโดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม (Multiple-Indicator Cluster Survey หรือ MICS) ซึ่งเป็นการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีที่สมบูรณ์ที่สุดครั้งหนึ่งเท่าที่เคยดำเนินการมาในประเทศไทย ชี้ให้เห็นถึงผลความก้าวหน้าอย่างมากทางด้านภาวะโภชนาการของเด็ก เช่น สัดส่วนของเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปีที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงจากร้อยละ ๒๖ ในพ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นร้อยละ ๙ ในพ.ศ. ๒๕๔๙ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีความก้าวหน้าโดยรวมในระดับประเทศ แต่ในขณะเดียวกัน ยังคงมีความเหลื่อมล้ำของความก้าวหน้าระหว่างจังหวัด ระหว่างพื้นที่ในตัวเมืองกับท้องถิ่นชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีการศึกษาดีกับกลุ่มประชากรที่ด้อยการศึกษา ระหว่างเพศชายกับเพศหญิง และระหว่างชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยกับประชากรส่วนใหญ่ นอกจากนี้ ในทางเศรษฐกิจ ความไม่เท่าเทียมกันทางรายได้ได้เพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๓ ส่วนด้านการพัฒนาสังคม ยังคงมีความไม่เสมอภาคเช่นกัน และยังขาดการติดตามสถานการณ์ที่เป็นระบบในระดับชาติ การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทยโดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม (MICS) ครั้งนี้ เป็นการสำรวจซึ่งครอบคลุม ๔๐,๕๑๑ ครัวเรือนจากการสุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ ซึ่งทำให้ได้ข้อมูลทางสถิติที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของเด็กและสตรีในประเทศไทยในปัจจุบัน การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทยโดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม (MICS) นี้ จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อสอบถามข้อเท็จจริง และดำเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการสำรวจ เช่น การชั่งน้ำหนักตัวเด็ก การตรวจสอบการบริโภคเกลือที่มีสารไอโอดีน ตลอดจนสำรวจถึงประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในด้านสุขภาพ การพัฒนาการของเด็ก และการคุ้มครองเด็กและสตรี โดยใช้แบบสอบถามที่มีมาตรฐาน ประเด็นต่างๆ ดังกล่าว ได้แก่

• ภาวะโภชนาการ • การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียว • การบริโภคเกลือที่มีสารไอโอดีน • การสร้างภูมิคุ้มกัน • การเข้าถึงน้ำดื่มน้ำใช้ที่ปลอดภัยและการส่งเสริมสุขอนามัย • อนามัยเจริญพันธุ์ • การตระหนักในเรื่องเอชไอวี/เอดส์ • การศึกษาและการเข้าเรียน • การคุ้มครองเด็ก

Page 6: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป �

40,511

36,960

9,409

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000

(99%)

(96%)

(99%)

®”π«π·∫∫ Õ∫∂“¡∑’ˉ¥â√—∫§”µÕ∫

·∫∫ 

Õ∫∂“

¡ ”À

√—∫

‡¥Á°Õ“¬ÿµË”°«à“ 5 ªï

 µ√’Õ“¬ÿ 15 - 49 ªï

§√—«‡√◊Õπ

การสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันของเด็กและสตรีในประเทศไทยให้มากยิ่งขึ้น และเพื่อเป็นการวัดความก้าวหน้าของประเทศในการบรรลุเป้าหมายระดับนานาชาติตามที่ประเทศไทยได้ให้คำมั่นว่าจะต้องดำเนินการให้สำเร็จ เป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ ปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (The Millennium Declaration), เป้าหมายเพื่อการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (The Millennium Development Goals - MDGs) เป้าหมายเพื่อโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก (A World Fit for Children Goals) ซึ่งการดำเนินการนั้นจำเป็นต้องมีเงื่อนเวลาและตัวชี้วัดความก้าวหน้าในประเด็นต่างๆ ทั้งในด้านที่เกี่ยวกับความอยู่รอด การพัฒนาการ การคุ้มครองเด็ก และการมีส่วนร่วมของเด็ก

แผนภูมิ 1 จำนวนแบบสอบถามและอัตราส่วนคำตอบ

ผลการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในหลายๆ ด้านที่เกี่ยวกับเด็กและสตรี แต่ในขณะเดียวกัน ก็บ่งชี้ว่าประเทศไทยยังคงมี “ภารกิจที่ยังไม่ลุล่วง” ในส่วนที่เกี่ยวกับเป้าหมายสำคัญในระดับนานาชาติอยู่หลายประการ เช่น อัตราการบริโภคเกลือไอโอดีนในประเทศซึ่งยังอยู่ในระดับต่ำ การส่งเสริมให้ประชากรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวในช่วง ๖ เดือนแรก นอกจากนี้ ยังคงมีความเหลื่อมล้ำในสถานภาพของเด็กและสตรี เช่น การเข้าถึงข้อมูลและบริการพื้นฐาน รวมทั้งโภคภัณฑ์ที่จำเป็น โดยผลสำรวจได้ชี้ให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำระหว่างตัวเมืองกับชนบท ระหว่างจังหวัด ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนกลุ่มน้อยกับประชาชนส่วนใหญ่ และระหว่างกลุ่มที่มีสถานะทางเศรษฐกิจสังคมที่แตกต่างกัน (เช่น ฐานะยากจน รวย มีการศึกษาดี ด้อยการศึกษา) รายงานสรุปฉบับนี้ได้แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของสถานการณ์เด็กและสตรีที่สมบูรณ์ที่สุดฉบับหนึ่ง

Page 7: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

20

15

13

4

6

8

0

5

10

15

20

25

√âÕ¬≈

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 9%

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

∞“𖬓°®π¡“°

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊ËπÊ

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

¡“√¥“‰¥â√—∫°“√»÷°…“„π√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

¡“√¥“‰¡à¡’°“√»÷°…“

ผลการสำรวจ ๑) สุขภาพและโภชนาการ ภาวะทุพโภชนาการ ในภาพรวม เด็ก ๑ ใน ๑๐ ราย (คิดเป็นร้อยละ ๙) ในประเทศไทย ที่อายุต่ำกว่า ๕ ปี มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ เด็กร้อยละ ๑๒ มีภาวะทุพโภชนาการเรื้อรัง คือมีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (เตี้ยเกินไปเมื่อเทียบกับอายุ) และร้อยละ ๔ มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ผอมเกินไปเมื่อเทียบกับอายุ) นอกจากนี้ ทารก ๑ ใน ๑๐ ราย เกิดมาด้วยน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ซึ่งตามหลักสากลถือว่าเป็นน้ำหนักขั้นต้นสำหรับเด็กที่เกิดมามีน้ำหนักตัวน้อย แผนภูมิ 2 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

ผลสำรวจยังแสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำของการพัฒนา ตัวอย่างเช่น เด็กที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะยากจนมาก มักจะมีน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งคิดเป็นจำนวนมากกว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่ร่ำรวยมากถึง ๔ เท่า (ระหว่างร้อยละ ๑๕ กับร้อยละ ๔ ตามลำดับ) เด็กที่มีแม่ไม่รู้หนังสือมักจะมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าเด็กที่มีแม่ที่มีความรู้อย่างน้อยในระดับมัธยม (ระหว่างร้อยละ ๑๓ กับร้อยละ ๖ ตามลำดับ) นอกจากนี้ ยังพบความแตกต่างของน้ำหนักตัวระหว่างเด็กที่พูดภาษาไทยกับเด็กที่ไม่ได้พูดภาษาไทย (ระหว่างร้อยละ ๘ กับร้อยละ ๒๐ ตามลำดับ) และระหว่างภูมิภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ (ร้อยละ ๖, ร้อยละ ๑๒ และร้อยละ ๑๓ ตามลำดับ)

Page 8: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป �

0

10

20

30

40

50

60

70

√âÕ¬≈

 “∏“√≥√—∞ª√–™“∏‘ª‰µ¬

ª√–™“™π‡°“À≈’ æ.». 2547

‡¢¡√ æ.». 2548

®’π æ.». 2548

øî≈‘ªªîπ å æ.». 2546

µ‘¡Õ√å æ.». 2546

‡«’¬¥π“¡ æ.». 2540

‰∑¬ æ.». 2549

© UNICEF Thailand/200�/Mohan

แผนภูมิ 3 การศึกษาเปรียบเทียบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (อย่างเดียว) ระหว่างประเทศ ในภาคพื้นเอเชีย ตะวันออกและแปซิฟิค

ในทางกลับกัน พบว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่ร่ำรวยกว่ากลับมีปัญหาเรื่องการมีน้ำหนักตัวเกินกว่าเกณฑ์ (คิดเป็นร้อยละ ๑๑) และพบว่าร้อยละ ๑๐ ของเด็กที่อาศัยอยู่ในตัวเมือง มีน้ำหนักตัวเกินกว่าเกณฑ์ เมื่อเปรียบเทียบกับร้อยละ ๖ ของเด็กที่อาศัยอยู่ในชนบท

Page 9: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม ่ การเลีย้งลกูดว้ยนมแม ่คอื วธิทีีด่ทีีส่ดุทีจ่ะทำใหเ้ดก็ไดร้บัสารอาหารทัง้มวลทีม่คีวามจำเปน็ตอ่พฒันาการทางรา่งกายและจติใจ โดยเฉพาะในระยะ ๖ เดือนแรกหลังคลอด ดังนั้น จึงไม่ควรมีของเหลวหรืออาหารใดๆ แม้แต่น้ำที่ให้กับทารกในระยะดังกล่าว เนือ่งจากอาจมกีารปนเปือ้นในอาหารนัน้ๆ และกอ่ใหเ้กดิการตดิเชือ้ เชน่ ทอ้งรว่ง ซึง่เปน็โรคเกีย่วกบัทางเดนิอาหาร ผูเ้ชีย่วชาญยังได้ตั้งข้อสังเกตว่า การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่กับพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กนั้น ถือเป็นความผูกพันอย่างแท้จริงอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทย มีเด็กเพียงร้อยละ ๕ เท่านั้นที่ได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง ๖ เดือนแรกหลังคลอด ซึ่งถือเป็นประเทศที่มีอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวในระยะ ๖ เดือนแรกที่ต่ำที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในภาคกลาง มีเพียงร้อยละ ๒ เท่านั้น นอกจากนี้ ยังพบว่าในกลุ่มเด็กที่มีแม่ไม่รู้หนังสือ จะได้กินนมแม่เพียงอย่างเดียว น้อยกว่าเด็กที่มีแม่เรียนจบชั้นมัธยม คือ ระหว่างร้อยละ ๒ กับร้อยละ ๗ ตามลำดับ) แผนภูมิ 4 การศึกษาเปรียบเทียบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (อย่างเดียว) จำแนกตามการศึกษาของมารดา

การบริโภคเกลือที่มีสารไอโอดีน ความผดิปกตทิีเ่กดิจากการขาดสารไอโอดนี (Iodine Deficiency Disorders -IDD) เปน็สาเหตใุนอนัดบัตน้ๆ ของโลก ทีท่ำให้เกดิการพฒันาการทางสมองชา้ และการมรีา่งกายเตบิโตชา้กวา่วยั ซึง่เปน็ความผดิปกตทิีส่ามารถปอ้งกนัได ้ การไดร้บัสารไอโอดนีไมเ่พยีงพอของมารดาในขณะตัง้ครรภจ์ะสง่ผลใหเ้กดิความดอ้ยของสมองในทารกและเดก็ เกดิภาวะปญัญาออ่น และมีผลตอ่ความบกพรอ่งของพฒันาการทางรา่งกายและสตปิญัญาของเดก็ทีส่ามารถปอ้งกนัได ้ นอกจากนี ้ สมรรถภาพของสมองของเดก็ในวยัเรยีนซึง่ไม่ไดร้บัสารไอโอดนีอยา่งเพยีงพอในการรบัประทานอาหารแตล่ะมือ้ อาจหยดุยัง้การเจรญิเตบิโต และสง่ผลใหเ้รยีนหนงัสอืได้ไมด่เีทา่ทีค่วร วธิทีีด่ทีีส่ดุในการทำใหป้ระชากรทัว่ไปไดร้บัสารไอโอดนีอยา่งเพยีงพอ กค็อื การเตมิสารไอโอดนีลงไปในเกลอืทกุชนดิทีท่ัง้คน

4

√âÕ¬≈

0

1

2

3

4

¡“√¥“‰¥â√—∫°“√»÷°…“√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

¡“√¥“‰¥â√—∫°“√»÷°…“√–¥—∫ª√–∂¡»÷°…“

¡“√¥“‰¡à¡’°“√»÷°…“

5

6

7

8

7

2

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 5%

Page 10: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป �

© UNICEF Thailand/200�/Few

√âÕ¬≈

°≈“ß √«¡ °∑¡. „µâ ‡Àπ◊Õ µ–«—πÕÕ°‡©’¬ß‡Àπ◊Õ

23

54

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

60 60

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 47%

และสตัวก์นิได ้ (โครงการเตมิสารไอโอดนีในเกลอืทัว่ประเทศ) เนือ่งจากเกลอืเปน็สว่นประกอบของอาหารเพยีงอยา่งเดยีว ทีท่กุคนไมว่า่ เพศ วยั หรอื ชาตพินัธุ์ใดตา่งบริโภคไมม่ากกน็อ้ยในทกุๆ วนั ประเทศไทยมขีอ้ผกูพนัในการทำโครงการเตมิสารไอโอดนีในเกลอืทัว่ประเทศใหป้ระสบผลสำเรจ็ภายในพ.ศ. ๒๕๕๔ ตามที่ไดท้ำขอ้ตกลงไว้ในระดบันานาชาตเิมือ่ พ.ศ.๒๕๓๘ อยา่งไรกด็ ี ขอ้มลูจากการสำรวจสถานการณเ์ดก็ในประเทศไทยโดยการใชพ้หดุชันแีบบจดักลุม่แสดงใหเ้หน็วา่ มเีพยีงรอ้ยละ ๕๕ ของครอบครวัคนไทยทีม่ีโอกาสบริโภคเกลอืทีม่สีารไอโอดนี ทางภาคใตแ้ละภาคกลางของประเทศมอีตัราการบริโภคเกลอืที่มสีารไอโอดนีสงูกวา่ภาคอืน่ๆ อยูเ่ลก็นอ้ย คอื อยูท่ีร่อ้ยละ ๖๐ พบวา่ในภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื มอีตัราตำ่ทีส่ดุเพยีงรอ้ยละ ๒๓ เทา่นัน้ นอกจากนี ้ ยงัพบวา่ครวัเรอืนทีอ่าศยัอยู่ในตวัเมอืงมแีนวโนม้จะไดบ้ริโภคเกลอืทีม่สีารไอโอดนีอยา่งเพยีงพอ มากกวา่ครอบครวัทีอ่าศยัอยู่ในชนบท (ระหวา่งรอ้ยละ ๖๒ กบัรอ้ยละ ๔๐ ตามลำดบั) ในขณะเดยีวกนั ครอบครวัทีม่ฐีานะยากจนจะมีโอกาสได้บริโภคเกลอืทีม่สีารไอโอดนีนอ้ยกวา่ครอบครวัทีร่ำ่รวย คดิเปน็จำนวนถงึเกอืบ ๔ เทา่ตวั คอืระหวา่งรอ้ยละ๒๔ กบัรอ้ยละ ๖๙ ตามลำดบั แผนภูมิ 5 ร้อยละของครัวเรือนที่บริโภคเกลือที่มีไอโอดีนอย่างเพียงพอ จำแนกตามภาค

Page 11: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

10 การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

© UNICEF Thailand/200�/Mohan

62

69

40

24

% √âÕ¬≈

∞“𖬓°®π¡“°∞“π–√Ë”√«¬¡“° πÕ°‡¢µ‡∑»∫“≈„π‡¢µ‡∑»∫“≈

80

70

60

50

40

30

20

10

0

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 47%

แผนภูมิ 6 ร้อยละของครัวเรือนที่บริโภคเกลือที่มีไอโอดีนอย่างเพียงพอ จำแนกตามฐานะเศรษฐกิจของครัวเรือนและลักษณะการอยู่อาศัย

การสร้างภูมิคุ้มกัน อัตราการได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคสำหรับเด็กในประเทศไทยนั้น โดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ เนื่องจากครอบคลุมประชากรเด็กส่วนใหญ่ของประเทศ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีช่องว่างที่จะต้องปรับปรุงอยู่ กล่าวคือ ร้อยละ ๘๓ ของเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑ ปี จะได้รับการฉีดวัคซีนในการป้องกันโรคที่จำเป็น ซึ่งวัคซีนสามารถป้องกันได้ ๗ โรคด้วยกัน ได้แก่ วัณโรค (Tuberculosis) โรคคอตีบ (Diphtheria) โรคไอกรน (Pertussis) โรคบาดทะยัก (Tetanus) โรคไวรัสตับอักเสบ บี (Hepatitis B) โรคโปลิโอ (Polio) และโรคหัด (Measles) แต่จากสัดส่วนดังกล่าวจะเห็นว่ายังมีเด็กอีกจำนวนประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ คนที่ยังตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการติดโรค อัตราการได้รับการฉีดวัคซีนของเด็กในครัวเรือนที่ไม่พูดภาษาไทย จะต่ำกว่ากลุ่มที่พูดภาษา

Page 12: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 11

√âÕ¬≈

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊Ëπ Ê

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

∞“𖬓°®π¡“°

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

80

82

84

86

88

90

98

94

96

92

100

91

81

92

86

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 90%

9697

68

91

82

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

∞“𖬓°®π¡“°

√âÕ¬≈

À—«Àπⓧ√—«‡√◊Õπ‰¥â√—∫°“√»÷°…“

√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

À—«Àπⓧ√—«‡√◊Õπ‰¡à¡’°“√»÷°…“

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊Ëπ Ê

98

80

90

100

70

60

50

40

30

20

10

0

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 94%

ไทยอย่างเห็นได้ชัด (ระหว่างร้อยละ ๘๑ กับร้อยละ ๙๑ ตามลำดับ) เมื่อพิจารณาตามสภาพภูมิศาสตร์ จะพบว่าอัตราเด็กที่ได้รับการฉีดวัคซีนในภาคกลาง (ร้อยละ ๘๔) และในภาคใต้ (ร้อยละ ๘๖) จะมีจำนวนน้อยกว่าเด็กที่อยู่ในภาคเหนือ (ร้อยละ ๙๕) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ ๙๔)

แผนภูมิ 7 ร้อยละของเด็กที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบก่อนอายุครบ 2 ปี จำแนกตามฐานะทางเศรษฐกิจและภาษาที่ใช้พูดในครัวเรือน

น้ำดื่มน้ำใช้ที่ปลอดภัย ร้อยละ ๙๔ ของประชากรในประเทศไทยสามารถเข้าถึงแหล่งน้ำดื่มน้ำใช้ที่ปลอดภัย อย่างไรก็ตาม พบว่าประชากรในภาคใต้ และประชากรในครัวเรือนที่หัวหน้าครอบครัวไม่รู้หนังสือจะเข้าถึงแหล่งน้ำดื่มน้ำใช้ที่ปลอดภัยได้น้อยกว่าประชากรทั่วไป (ร้อยละ ๘๒ และ ร้อยละ ๘๒ ตามลำดับ) ข้อน่าสังเกตอีกประการหนึ่ง คือ เพียงร้อยละ ๖๘ ของประชากรในครัวเรือนที่ไม่ได้พูดภาษาไทยเท่านั้น ที่สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำดื่มน้ำใช้ที่ปลอดภัย แผนภูมิ 8 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้น้ำดี่มจากแหล่งน้ำดื่มที่สะอาด จำแนกตามฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน

ระดับการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือนและภาษาที่ใช้พูดในครัวเรือน

Page 13: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

12 การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

เหนือ: ��%

ตะวันออกเฉียงเหนือ: ��%

กลาง รวม กทม: ��%

ใต้: ��%

แผนที่ 1 สัดส่วนของประชากรที่ใช้น้ำดี่มจากแหล่งน้ำดื่มที่สะอาด จำแนกตามภาค

การส่งเสริมอนามัย เกือบทุกคนในประเทศไทยอาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีการกำจัดสิ่งขับถ่ายทั่วไปอย่างถูกสุขลักษณะ (ร้อยละ ๙๙) แต่ เพียงร้อยละ ๖๕ ของครัวเรือนเท่านั้น ที่กำจัดของเสีย (อุจจาระ) ของเด็กเล็กในครอบครัวของตนได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ซึ่งถือเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคอันตรายที่สามารถติดต่อไปยังเด็กและผู้ใหญ่ได้ พบวา่ครวัเรอืนทีก่ำจดัสิง่ขบัถา่ยทัว่ไปอยา่งถกูตอ้งตามสขุอนามยัมจีำนวนตำ่มากเปน็พเิศษในบางจงัหวดัทางภาคใต ้เชน่ จงัหวดัยะลา (ร้อยละ ๗๑) นราธิวาส (ร้อยละ ๗๑) และปัตตานี (ร้อยละ ๗๔)

Page 14: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 13

๒) อนามัยเจริญพันธุ ์ การคุมกำเนิด เกือบ ๓ ใน ๔ (ร้อยละ ๗๒) ของสตรีวัยตั้งแต่ ๑๕ – ๔๙ ปีที่แต่งงานแล้ว หรืออยู่กินกับคู่ของตน ใช้การคุมกำเนิดแบบสมัยใหม่ ซึ่งได้แก่ยาเม็ดคุมกำเนิด (ร้อยละ ๓๑) การทำหมันหญิง (ร้อยละ ๒๕) และการฉีดยา (ร้อยละ ๑๐) อย่างไรก็ตาม พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมากในระหว่างภูมิภาค คือ มีการคุมกำเนิดอย่างแพร่หลายในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ ๗๖) และน้อยที่สุดในภาคใต้ (ร้อยละ ๕๗) ในกลุ่มของสตรีที่ไม่ได้พูดภาษาไทย มีเพียงร้อยละ ๕๒ เท่านั้นที่ใช้วิธีคุมกำเนิดดังกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้ว่าความชุกของเชื้อเอชไอวี และอัตราการติดต่อของโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ยังคงสูงในประเทศไทย แต่มีเพียงร้อยละ ๑.๔ ของสตรีในวัย ๑๕-๔๙ ปีเท่านั้น ที่แต่งงานหรือใช้ชีวิตอยู่กับคู่ครองโดยใช้ถุงยางอนามัย ตัวเลขดังกล่าวลดลงเหลือร้อยละ ๐.๙ ในสตรีที่อาศัยอยู่ในชนบท ร้อยละ ๐.๖ ในสตรีที่มีฐานะยากจนที่สุด และร้อยละ ๐.๓ ในสตรีที่ไม่รู้หนังสือ

แผนที่ 2 อัตราการคุมกำเนิดของสตรีสมรสอายุ 15 - 49 ปี จำแนกตามภาค

เหนือ: ��%

ตะวันออกเฉียงเหนือ: ��%

กลาง รวม กทม: ��%

ใต้: ��%

Page 15: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

1� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

แผนภูมิ 9 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของสตรีสมรสอายุ 15 - 49 ป ี

© UNICEF Thailand/200�/Mohan

3

1

3

1

2

00

5

10

„π‡¢µ‡∑»∫“≈

πÕ°‡¢µ‡∑»∫“≈

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

∞“𖬓°®π¡“°

 µ√’¡’°“√»÷°…“√–¥—∫

¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

 µ√’‰¡à¡’°“√»÷°…“

√âÕ¬≈

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 1.4%

Page 16: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 1�

๓) เชื้อไวรัสเอชไอวี/เอดส์ ความรู้เรื่องการแพร่เชื้อไวรัสเอชไอวี/เอดส์ น้อยกว่าครึ่ง (ร้อยละ ๔๙) ของสตรีวัย ๑๕-๔๙ ปีรู้จักวิธีป้องกันหลัก ๓ วิธีในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี (๓ วิธีดังกล่าว คือ ซื่อสัตย์ต่อคู่ครอง ใช้ถุงยางอนามัย และงดเว้นการมีเพศสัมพันธ์) แต่สำหรับสตรีผู้ไม่รู้หนังสือแล้ว ตัวเลขค่อนข้างตํ่ามาก กล่าวคือ เกือบ ๑ ใน ๓ของสตรีเหล่านี้ (ร้อยละ ๓๐) ไม่รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอชไอวี และร้อยละ ๒๕ บอกว่าไม่เคยได้ยินเรื่องเกี่ยวกับโรคเอดส์มาก่อน สตรีที่ไม่พูดภาษาไทยจะรู้จักวิธีป้องกันตนเองน้อยกว่าสตรีที่พูดภาษาไทย (ระหว่างร้อยละ ๕ กับร้อยละ ๑๓ ตามลำดับ ) สตรีที่อยู่ในภาคกลางและภาคใต้ รู้จักวิธีป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี น้อยกว่าสตรีที่อยู่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กล่าวคือ ร้อยละ ๕๔ ของสตรีในภาคเหนือ และร้อยละ ๕๕ ของสตรีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รู้จักวิธีป้องกันหลักทั้ง ๓ วิธี เมื่อเทียบกับ ร้อยละ ๔๖ ของสตรีในภาคใต้ และร้อยละ ๔๓ ของสตรีในภาคกลาง

แผนที่ 3 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปี ที่ทราบวิธีป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวีเอดส ์

เหนือ: ��%

ตะวันออกเฉียงเหนือ: ��%

กลาง รวม กทม: �3%

ใต้: ��%

Page 17: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

1� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

แผนภูมิ 10 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปี ที่ทราบวิธีการแพร่เชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก จำแนกตามระดับ การศึกษา และภาษาที่ใช้พูดในครัวเรือน

© UNICEF Thailand/200�/Mohan

83

55

67 69

65

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

∑√“∫«à“‡™◊ÈÕ‡Õ™‰Õ«’  “¡“√∂·æ√ஓ°·¡à Ÿà≈Ÿ°‰¥â ∑√“∫«‘∏’°“√·æ√à‡™◊ÈÕ‡Õ™‰Õ«’∑—Èß “¡«‘∏’∑’Ë∂Ÿ°∂“¡

√âÕ¬≈

 µ√’‰¡à¡’°“√»÷°…“ µ√’¡’°“√»÷°…“√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊Ëπ Ê

66

95 94

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 68%

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 93%

โดยรวมแล้ว ร้อยละ ๙๓ ของสตรีรู้ว่าเชื้อเอชไอวีสามารถแพร่จากแม่สู่ลูกได้ แต่มีเพียงร้อยละ ๖๘ เท่านั้นที่รู้ว่าจะเกิดขึ้นได้จากสามทาง สตรีส่วนมากจะรู้จักแต่ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น โดยร้อยละ ๘๘ รู้ว่าการติดเชื้ออาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการตั้งครรภ์ ร้อยละ ๘๓ รู้ว่าเกิดขึ้นได้จากการให้นมลูก และเพียงร้อยละ ๗๖ รู้ว่าเด็กสามารถติดเชื้อขณะคลอดได ้ นอกจากนี้ ยังพบว่าระดับความรู้เรื่องเอชไอวี/เอดส์ ยังขึ้นอยู่กับภาษาพูดและระดับการศึกษา ตัวอย่างเช่น ร้อยละ ๙๔ ของผู้ที่พูดภาษาไทย และร้อยละ ๙๕ ของสตรีที่จบการศึกษาอย่างน้อยในระดับมัธยม ทราบว่าเชื้อเอชไอวีสามารถส่งผ่านจากแม่สู่ลูกได้ ในขณะที่เพียงร้อยละ ๘๒ ของผู้ที่ไม่พูดภาษาไทย และร้อยละ ๖๖ ของสตรีที่ไม่รู้หนังสือ จะทราบเรื่องดังกล่าว

Page 18: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 1�

ไม่สามารถติดเชื้อเอชไอวีได้โดย ผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง อาจมีเชื้อเอชไอวี

ได้

มีความเข้าใจถูกต้องเกียวกับวิธีการติดเชื้อที่มักเข้าใจผิดทั้ง 2วิธี และทราบว่าผู้ที่ดูว่ามี

สุขภาพแข็งแรงสามารถติดเชื้อได้

วิธีทางไสยศาสตร์ ถูกยุงกัด กินอาหารร่วมกันกับผู้ติดเชื้อ

การศึกษา

ไม่มีการศึกษา 64 43 50 51 35

ประถมศึกษา 92 65 76 76 59

มัธยมศึกษาขึ้นไป 96 79 82 81 66

ฐานะทางเศรษฐกิจ ของครัวเรือน

ยากจนมาก 89 63 76 73 58

ร่ำรวยมาก 96 79 81 80 66

ภาษาที่ใช้พูดในครัวเรือน

ภาษาไทย 94 73 79 79 64

ภาษาอื่น ๆ 79 57 63 60 42

รวม 93 72 78 78 62

ยังคงมีความเข้าใจผิดในบางเรื่องเกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ กล่าวคือ มากกว่า ๑ ใน ๔ (ร้อยละ ๒๘) ของสตรีเชื่อว่าเชื้อเอชไอวีสามารถแพร่ได้โดยผ่านยุง และร้อยละ ๒๒ ของสตรีไม่ทราบว่า คนที่ดูปกติ สุขภาพแข็งแรง อาจมีเชื้อเอชไอวีได้ และเข้าใจผิดว่าเชื้อเอชไอวีสามารถติดต่อได้โดยการกินอาหารร่วมกัน

ตารางที่ 1: ร้อยละของสตรีอายุ 15-49 ปี ที่ทราบว่า:

การถูกตราหน้าและการเลือกปฏิบัต ิ การขาดความรู้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเลือกปฏิบัติในสังคม ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อชีวิตของเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวี/เอดส์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๖๕) ระบุว่า จะไม่ซื้ออาหารจากคนขายที่เป็นโรคเอดส์ มากกว่า ๑ ใน ๓ (ร้อยละ ๓๗) จะเก็บเรื่องที่คนในครอบครัวป่วยด้วยโรคเอดส์เป็นความลับ และกว่า ๑ ใน ๔ (ร้อยละ ๒๙) บอกว่าจะไม่ยอมให้ครูที่ป่วยเป็นโรคเอดส์สอนหนังสือ ข้อสังเกตคือ ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ ๗๙ เห็นด้วยกับอย่างน้อยหนึ่งในความคิดเห็นที่เป็นการเลือกปฏิบัติดังกล่าว

Page 19: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

1� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

√âÕ¬≈

„µâ µ–«—πÕÕ°‡©’¬ß‡Àπ◊Õ °≈“ß √«¡ °∑¡. ‡Àπ◊Õ

82 81 80

73

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 79%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

√âÕ¬≈

‡ÀÁπ¥â«¬°—∫°“√µ—ÈߢâÕ√—߇°’¬®

Õ¬à“ßπâÕ¬ 1 ¢âÕ

®–‰¡à´◊ÈÕÕ“À“√®“°ºŸâ∑’˵‘¥‡™◊ÈÕ

®–‡°Á∫‰«â‡ªì𧫓¡≈—∫∂â“¡’ ¡“™‘°„π§√Õ∫§√—«µ‘¥‡™◊ÈÕ

‡™◊ËÕ«à“§√Ÿ∑’˵‘¥‡™◊ÈÕ‰¡à§«√„Àâ¡“ ÕπÀπ—ß ◊Õ

®–‰¡à π„® ¡“™‘°„π§√Õ∫§√—«∑’˪ɫ¬¥â«¬‚√§‡Õ¥ å

79

65

37

29

5

แผนภูมิ 11 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปี ที่มีทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรคเอดส ์

แผนภูมิ 12 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปี ที่เห็นด้วยกับการตั้งข้อรังเกียจอย่างน้อย 1 ข้อต่อการอยู่ร่วมกับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรคเอดส์ จำแนกตามภาค

การผดุงครรภ์และการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี การตรวจเลือดหาเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับสตรีมีครรภ์ เพื่อเป็นการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก แม่ที่ติดเชื้อเอชไอวีมีโอกาสส่งผ่านเชื้อไปยังเด็กขณะคลอดถึงประมาณร้อยละ ๓๓ แต่ด้วยวิธีการรักษาในปัจจุบันที่ง่ายและไม่แพง สามารถช่วยลดความเสี่ยงดังกล่าวเหลือเพียงร้อยละ ๒

Page 20: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 1�

88 86

68

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

58

% √âÕ¬≈

 µ√’∑’Ë¡’°“√»÷°…“√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

 µ√’‰¡à¡’°“√»÷°…“ §√—«‡√◊ËÕπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

§√—«‡√◊ËÕπ∑’Ë查¿“…“Õ◊ËπÊ

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 84%

© UNICEF Thailand/200�/Mohan

ร้อยละ ๙๘ ของสตรีในวัย ๑๕-๔๙ ปีซึ่งให้กำเนิดบุตรในช่วงสองปีที่ผ่านมาจะได้รับการผดุงครรภ์จากเจ้าหน้าที่อนามัย ซึ่งส่งผลดี อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ทุกคนที่ได้รับคำปรึกษาและข้อมูลเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวี (ร้อยละ ๘๖ เท่านั้นที่ได้รับข้อมูลดังกล่าว) หรือได้รับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี (ร้อยละ ๘๘ ที่ได้รับการตรวจเลือด) และสำหรับผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดนั้น ร้อยละ ๑๖ ไม่ทราบผลเลือดก่อนคลอด ตัวเลขนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๓๒ ในกลุ่มสตรีที่ไม่พูดภาษาไทย และร้อยละ ๔๒ ในกลุ่มสตรีที่ไม่รู้หนังสือ

แผนภูมิ 13 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปี ที่ได้ตรวจเชื้อเอชไอวีเอดส์ และได้รับผลการตรวจก่อนคลอด จำแนกตามระดับการศึกษา และภาษาที่ใช้พูดในครัวเรือน

Page 21: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

20 การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

© UNICEF Thailand/200�/Few

เหนือ: ��%

ตะวันออกเฉียงเหนือ: ��%

กลาง รวม กทม: ��%

ใต้: ��%

แผนที่ 4 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปี ที่ได้ตรวจเชื้อเอชไอวีเอดส์ และได้รับผลการตรวจก่อนคลอด จำแนกตามภาค

Page 22: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 21

54

78

59 58

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

√âÕ¬≈

‡Àπ◊Õ °≈“ß √«¡ °∑¡. µ–«—πÕÕ°‡©’¬ß‡Àπ◊Õ „µâ

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 61%

๔) การศึกษา การศึกษาก่อนวัยเรียน วัยปฐมเยาว์ของเด็กคือช่วงเวลาแห่งการพัฒนาสมองที่สำคัญยิ่ง เพราะเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อในการเจริญเติบโตทางสมอง ทางร่างกาย และทางอารมณข์องเดก็ การไดร้บัการศกึษากอ่นวยัเรยีนทีม่คีณุภาพ จะชว่ยเตรยีมความพรอ้มใหเ้ดก็เขา้สูร่ะบบการศกึษาในโรงเรยีน และนำไปสูผ่ลการเรยีนทีด่ขีึน้ในระดบัประถมศกึษา ถงึกระนัน้กต็าม มเีพยีงรอ้ยละ ๖๑ ของเดก็ในวยัระหวา่ง ๓-๕ ขวบในประเทศไทยที่ไดร้บัการศกึษาในหลกัสตูรกอ่นวยัเรยีนแบบใดแบบหนึง่ เดก็ทีอ่ยู่ในครวัเรอืนทีย่ากจนมาก และไมพ่ดูภาษาไทยเปน็กลุม่ที่ไม่ไดร้บัการศกึษากอ่นปฐมวยัสงูทีส่ดุ (คอืมเีพยีงรอ้ยละ ๕๕ และรอ้ยละ ๔๕ ตามลำดบัเทา่นัน้ที่ไดเ้รยีน) เดก็ในภาคเหนอื มกัจะเขา้เรยีนชว่งกอ่นวยัเรยีน (รอ้ยละ ๗๘) มากกวา่เดก็ในภาคกลาง (รอ้ยละ ๕๙) ภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื (รอ้ยละ ๕๘) และภาคใต ้(รอ้ยละ ๕๔)

แผนภูมิ 14 ร้อยละของเด็กที่มีอายุระหว่าง 3 - 5 ปี ที่กำลังเรียนระดับก่อนวัยเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จำแนกตามภาค

นอกเหนอืจากเรือ่งการเตรยีมความพรอ้มกอ่นวยัเรยีนแลว้ ยงัมคีวามนา่เปน็หว่งในเรือ่งการกระตุน้ความสนใจของเดก็ กลา่วคอื เดก็ ๑ ใน ๓ (รอ้ยละ ๓๒) อยู่ในบา้นทีม่หีนงัสอืทัว่ไปนอ้ยกวา่สามเลม่ และมากกวา่ครึง่ (รอ้ยละ ๕๗) อยู่ในบา้นทีม่หีนงัสอืสำหรบัเดก็นอ้ยกวา่สามเลม่ และในขณะทีข่องเลน่เปน็อปุกรณส์ำคญัของการพฒันาเดก็เลก็ แตเ่ดก็เกอืบ ๑ ใน ๑๐ ไมม่อีะไรจะเลน่ (รอ้ยละ ๘)

Page 23: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

22 การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

เหนือ: �2%

ตะวันออกเฉียงเหนือ: ��%

กลาง รวม กทม: ��%

ใต้: �2%

การศึกษาในระดับประถมและมัธยม มีความก้าวหน้าอย่างมากในการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาทั่วประเทศ ร้อยละ ๙๘ ของเด็กในวัยระหว่าง ๗-๑๒ ปี เข้าเรียนในระดับประถมศึกษา สำหรับเด็กจากครัวเรือนที่ไม่พูดภาษาไทยก็มีอัตราการเข้าเรียนสูงเช่นเดียวกัน (ร้อยละ ๙๕) แต่สำหรับการศึกษาระดับมัธยมศึกษานั้น มีเพียงร้อยละ ๘๐ ของเด็กในวัยระหว่าง ๑๓-๑๘ ปี ที่เข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษา ดังนั้น ประเทศไทยจึงต้องเร่งมือในการบรรลุตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษเพิ่มเติม ที่กำหนดให้เด็กทุกคนได้เข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างทั่วถึงภายในปี พ.ศ.๒๕๕๘ อย่างไรก็ตาม พบว่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตราการเข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษาสูงที่สุด (ร้อยละ๘๕) รองลงมาคือภาคเหนือ (ร้อยละ ๘๒) และต่ำสุดในภาคใต้ (ร้อยละ ๗๒)

แผนที่ 5 อัตราการเข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษาหรือสูงกว่าของเด็กวัยเรียนระดับมัธยมศีกษา จำแนกตามภาค

มีเด็กหญิงได้เข้าเรียนมากกว่าเด็กชายในโรงเรียนมัธยมศึกษา (ระหว่างร้อยละ ๘๓ กับร้อยละ ๗๗ ตามลำดับ) และความไม่เสมอภาคของจำนวนเด็กหญิงและเด็กชายนี้เห็นได้ชัดในภาคใต้ (ระหว่างร้อยละ ๘๐ กับ ร้อยละ ๖๔ ตามลำดับ)

Page 24: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 23

™“¬ À≠‘ß

√âÕ¬≈

60

65

70

75 78

74

64

80 80 80

85 87

82

90

85

‡Àπ◊Õ °≈“ß √«¡ °∑¡.µ–«—πÕÕ°‡©’¬ß‡Àπ◊Õ „µâ

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 83%

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 77%

© UNICEF Thailand/200�/Few

แผนภูมิ 15 อัตราการเข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษาหรือสูงกว่าของเด็กวัยเรียนมัธยมศึกษา อายุ 13 - 18 ปี จำแนกตาม เพศ และภาค

พบว่าโอกาสของเด็กที่ได้จะเข้าเรียนในโรงเรียนมัธยมหรือไม่นั้น เกี่ยวข้องระดับการศึกษาของแม่และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว มีเพียงร้อยละ ๕๔ ของเด็กวัยระหว่าง ๑๓-๑๘ ปี ซึ่งมีแม่ที่ไม่รู้หนังสือ ได้เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา นอกจากนี้ มีเพียงร้อยละ ๗๕ ของเด็กวัยเดียวกันที่มาจากครอบครัวที่ยากจนมากได้เเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับร้อยละ ๘๙ ของเด็กที่มาจากครอบครัวที่ร่ำรวยมาก ยังมีความเหลื่อมล้ำดังกล่าวระหว่างเด็กในครัวเรือนที่พูดภาษาไทยและไม่พูดภาษาไทยอีกด้วย (ระหว่าง ร้อยละ ๘๑ กับ ร้อยละ ๖๖ ตามลำดับ) ข้อสังเกตอีกประการหนึ่ง คือ ยังมีปัญหาเรื่องการเข้าเรียนล่าช้า ซึ่งหมายความว่าเด็กเข้าเรียนไม่ตรงตามอายุ เด็กควรเริ่มเรียนชั้นประถมศึกษาเมื่ออายุได้ ๖ ปี แต่ร้อยละ ๑๙ ของเด็กวัย ๖ ปี ไม่ได้เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ซึ่งหมายความว่า ในแต่ละปีมีเด็กจำนวนประมาณ ๗๖๐,๐๐๐ คนที่อาจจะเข้าเรียนล่าช้า หรือเข้าเรียนก่อนเกณฑ์

Page 25: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

2� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

94

89

77

83

50

55

60

65

70

75

80

85

90

95

100

54

75

√âÕ¬≈

¡“√¥“¡’°“√»÷°…“√–¥—∫

¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

¡“√¥“‰¡à¡’°“√»÷°…“

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

∞“𖬓°®π¡“°

À≠‘ß ™“¬

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 80%

© UNICEF Thailand/200�/Few

แผนภูมิ 16 ร้อยละของเด็กอายุ 13 - 18 ปี ที่กำลังเรียนในระดับมัธยมศึกษา จำแนกตามระดับการศึกษาของมารดา ฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนและเพศ

การรู้หนังสือของสตร ี การสำรวจชี้ให้เห็นว่า ร้อยละ ๙๖ ของสตรีในวัย ๑๕-๒๔ ปี รู้หนังสือ แต่ยังคงมีความเหลื่อมล้ำระหว่างสตรีที่พูดภาษาไทยกับสตรีที่ไม่พูดภาษาไทย (ระหว่างร้อยละ ๙๗ กับร้อยละ ๘๒ ตามลำดับ) สัดส่วนของสตรีที่รู้หนังสือจากภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานคร อยู่ที่ร้อยละ ๙๗ ในขณะที่อัตราการรู้หนังสือของสตรีในภาคใต้ยังล้าหลังภาคอื่นๆ คือเพียงร้อยละ ๙๓

Page 26: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 2�

√âÕ¬≈

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬ §√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊Ëπ Ê70

75

80

85

90

95

100 98

82

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 96%

เหนือ: ��%

ตะวันออกเฉียงเหนือ: ��%

กลาง รวม กทม: ��%

ใต้: �3%

แผนภูมิ 17 อัตราการรู้หนังสือของสตรีอายุ 15 - 49 ปี จำแนกตามภาษาที่ใช้พูดในครัวเรือน

แผนที่ 6 อัตราการรู้หนังสือของสตรีอายุ 15 - 49 ปี จำแนกตามภูมิภาค

Page 27: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

2� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

15

10

18

7

21

12

0

5

10

15

20

25

%

√âÕ¬≈

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊Ëπ Ê

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

∞“𖬓°®π¡“°

πÕ°‡¢µ‡∑»∫“≈

„π‡¢µ‡∑»∫“≈

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 13%

๕) การคุ้มครองเด็ก การดูแลก่อนวัยเรียน อุบัติเหตุ คือ สาเหตุอันดับต้นๆ ของการตายในเด็กที่มีอายุมากกว่า ๑ ปี ดังนั้น จึงจำเป็นที่เด็กเล็กจะต้องมีผู้คอยดูแลอยู่ตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม ในสัปดาห์ก่อนที่การสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทยโดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม (MICS) เริ่มขึ้น เด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปีมากกว่า ๑ ใน ๑๐ (ร้อยละ ๑๓) ถูกทิ้งให้อยู่คนเดียว หรือปล่อยให้เด็กอายุต่ำกว่า ๑๐ ปี ดูแลกันเอง ตัวเลขดังกล่าวสูงมากที่สุดในเด็กจากครัวเรือนที่ไม่พูดภาษาไทย (ระหว่างร้อยละ ๒๑ เมื่อเทียบกับร้อยละ ๑๒ ของเด็กที่มาจากครัวเรือนที่พูดภาษาไทย) เด็กในชนบท (ระหว่างร้อยละ ๑๕ เมื่อเทียบกับร้อยละ ๑๐ ของเด็กที่อยู่ในตัวเมือง) และสำหรับเด็กที่มีฐานะยากจนมาก (ระหว่างร้อยละ ๑๘ เมื่อเทียบกับร้อยละ ๗ ของเด็กที่มีฐานะร่ำรวย) นอกจากนี้ มีเด็กเพียงประมาณ ๑ ใน ๓ (ร้อยละ ๓๗) ของเด็กอายุระหว่าง ๐-๑๗ ปี ที่อาศัยอยู่กับทั้งพ่อและแม่ หรือกับคนใดคนหนึ่ง ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาครอบครัว หรือจากการที่ฝ่ายหนึ่งเสียชีวิตไปก่อน หรือไม่ก็จากการที่ทั้งพ่อและแม่ หรือคนใดคนหนึ่งต้องย้ายจากถิ่นที่อยู่ไปทำงาน เด็กที่มีฐานะยากจนมากมักไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ (ร้อยละ ๔๔) และแม้แต่ในครัวเรือนที่ร่ำรวยมากพบว่าจะมีพ่อแม่หรือคนใดคนหนึ่งไม่อยู่บ้าน ในภาพรวมร้อยละ ๒๗ หรือมากกว่า ๑ ใน ๔ ของเด็กทั้งหมดไม่ได้อาศัยอยู่กับทั้งพ่อและแม่ เด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อและแม่มีจำนวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากพ่อแม่จำนวนมากย้ายถิ่นฐานไปทำงานในจังหวัดอื่น คือ ร้อยละ ๔๔ ของเด็กทั้งหมดที่อายุระหว่าง ๐-๑๗ ปี ต้องอยู่บ้านโดยไม่มีพ่อแม่ เทียบกับร้อยละ ๓๙ ในภาคเหนือ ร้อยละ ๓๔ ในภาคกลาง และร้อยละ ๒๒ ในภาคใต ้

แผนภูมิ 18 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่ถูกปล่อยให้เด็กอายุต่ำกว่า 10 ปีดูแลหรือถูกปล่อยให้อยู่ตามลำพังในช่วง 1 สัปดาห์ก่อนวันสัมภาษณ ์

Page 28: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 2�

23

14

33

30

11

19

√âÕ¬≈

 µ√’∑’ˉ¡à¡’°“√»÷°…“

‰¥â√—∫°“√»÷°…“„π√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“‰∑¬

§√—«‡√◊Õπ∑’Ë查¿“…“Õ◊ËπÊ

πÕ°‡¢µ‡∑»∫“≈

„π‡¢µ‡∑»∫“≈

40

10

20

30

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 20%

© UNICEF Thailand/200�/Few

การแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย สตรีที่แต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยรุ่น จะมีโอกาสตั้งครรภ์เร็ว และต้องหยุดเรียนไป ทั้งยังมีแนวโน้มที่จะมีลูกอีกหลายคน เสี่ยงต่อการมีโรคแทรก หรือการเสียชีวิตในระหว่างตั้งครรภ์หรือการคลอดบุตรมากขึ้น สตรี ๑ ใน ๕ (ร้อยละ ๒๐) ที่อายุต่ำกว่า ๑๘ ปี แต่งงานแล้วหรือใช้ชีวิตคู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราการแต่งงานหรือใข้ชีวิตคู่ของสตรีที่อาศัยอยู่ในชนบท จะสูงกว่าสตรีที่อยู่ในตัวเมือง (ระหว่างร้อยละ ๒๓ กับ ร้อยละ ๑๔ ตามลำดับ) ความแตกต่างดังกล่าวยังพบระหว่างสตรีที่ไม่รู้หนังสือกับสตรีที่จบชั้นมัธยม (ระหว่างร้อยละ ๓๓ กับร้อยละ ๑๑ ตามลำดับ) และระหว่างสตรีที่ไม่พูดภาษาไทยกับสตรีที่พูดภาษาไทย (ระหว่างร้อยละ ๓๐ กับร้อยละ ๑๙ ตามลำดับ)

แผนภูมิ 19 ร้อยละของสตรีอายุ 20 - 49 ปีที่สมรสหรืออยู่กินกับชายก่อนอายุ 18 ป ี

Page 29: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

2� การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

8

1

4

1

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

√âÕ¬≈

‰¡à¡’°“√»÷°…“

‰¥â√—∫°“√»÷°…“„π√–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“¢÷Èπ‰ª

∞“𖬓°®π¡“°

∞“π–√Ë”√«¬¡“°

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 2%

ในด้านความแตกต่างระหว่างภูมิภาค ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือมีสตรีที่อายุต่ำกว่า ๑๘ ปีที่แต่งงานหรือใช้ชีวิตคู่มากกว่า (ร้อยละ ๒๔) เมื่อเปรียบเทียบกับภาคกลาง (ร้อยละ ๑๕) แม้ว่าร้อยละของเด็กหญิงที่แต่งงานแล้วหรืออยู่กับคู่ครองก่อนอายุ ๑๕ ปี จะมีน้อยกว่ามาก (ร้อยละ ๒) แต่ยังมีเด็กหญิงอีกเกือบ ๔๔,๐๐๐ คน โดยเฉพาะเด็กหญิงที่ไม่รู้หนังสือ มีแนวโน้มที่จะแต่งงานก่อนอายุ ๑๕ ปี มากกว่าเด็กหญิงที่จบการศึกษาอย่างน้อยในชั้นมัธยม ถึง ๘ เท่า (ระหว่างร้อยละ ๘ กับร้อยละ ๑) เด็กกลุ่มนี้มักจะมีคู่ที่อายุมากกว่าตนประมาณ ๑๐ ปีหรือมากกว่า (คิดเป็นร้อยละ ๓๔ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์เฉลี่ยระดับประเทศที่ร้อยละ ๑๕)

แผนภูมิ 20 ร้อยละของสตรีอายุ 15 - 49 ปีที่สมรสหรืออยู่กินกับชายก่อนอายุ 15 ป ี

เด็กกำพร้าและเด็กที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เด็ก ๑ ใน ๒๐ คนที่ทำการสำรวจ เป็นกำพร้า คือ พ่อหรือแม่ หรือทั้งสองคนเสียชีวิต อัตราของภาวะทุพโภชนาการในเด็กกำพร้าและเด็กที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (ได้แก่ เด็กที่อยู่กับผู้ใหญ่ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง) จะมีมากกว่าในกลุ่มประชากรทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น ร้อยละ ๑๓ ของเด็กกำพร้าและเด็กที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ มีน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์เฉลี่ยในระดับประเทศที่ร้อยละ ๙) พบว่าครัวเรือนที่มีเด็กกำพร้าหรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ได้รับความช่วยเหลือจากภายนอกน้อยมาก ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการแพทย์ สังคมจิตวิทยา หรือการศึกษา ในบรรดาครัวเรือนดังกล่าว เพียงร้อยละ ๒๑ ได้รับความช่วยเหลือ ในปีที่ผ่านมา ครัวเรือนในภาคเหนือ (ร้อยละ ๓๔) ได้รับความช่วยเหลือมากกว่าครัวเรือนในภาคใต้ (ร้อยละ ๒๗) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ ๑๖) และภาคกลาง (ร้อยละ ๑๕)

Page 30: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

รายงานสรุป 2�

34

27

1615

√âÕ¬≈

‡Àπ◊Õ „µâ µ–«—πÕÕ°‡©’¬ß‡Àπ◊Õ °≈“ß √«¡ °∑¡0

10

20

30

40

50

§à“‡©≈’ˬ„π√–¥—∫ª√–‡∑»: 21%

© UNICEF Thailand/200�/Few

แผนภมู ิ21 รอ้ยละของเดก็กำพรา้หรอืเดก็ทีอ่ยู่ในภาวะเสีย่งทีค่รวัเรอืนไดร้บัความชว่ยเหลอืจากภายนอกในปทีีแ่ลว้

Page 31: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

30 การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย โดยการใช้พหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม

© UNICEF Thailand/200�/Few

(๖) การจัดหาที่อยู่อาศัยให้เพียงพอ การสำรวจชี้ให้เห็นว่า ร้อยละ ๑๐ ของครอบครัวที่อยู่ในตัวเมืองอาศัยอยู่ในชุมชนแออัด (หมายถึงเป็นบ้านที่ก่อสร้างอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ มีแหล่งน้ำที่ไม่เพียงพอ การสุขาภิบาลไม่ดีพอ และสมาชิกในบ้านนอนรวมในห้องเดียวกันมากกว่า ๓ คน) ยังพบว่าส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๒๒) ของครอบครัวทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัด คือครอบครัวที่ยากจนมาก

Page 32: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม
Page 33: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม
Page 34: π°“√≥凥 Á°·≈– μ√ ’„πª ... · 2007. 6. 28. · ซึ่งคณะทำงานได้สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม

°“√ ”√«® ∂“π°“√≥凥Á°·≈– μ√’„πª√–‡∑»‰∑¬‚¥¬°“√„™âæÀÿ¥—™π’·∫∫®—¥°≈ÿà¡ (MICS)

√“¬ß“π √ÿª

Õߧ尓√¬Ÿπ‘‡´ø ª√–‡∑»‰∑¬19 ∂ππæ√–Õ“∑‘μ¬å°√ÿ߇∑æœ 10200ª√–‡∑»‰∑¬‚∑√»—æ∑å : (66-2) 356 9499‚∑√ “√ : (66-2) 281 6032Õ’‡¡≈ : [email protected]‡«Á∫‰´μå : www.unicef.org/thailand