2
ศักยภาพการเป็นยาเร้ากาหนัดของแตงโม (Citrullus lanatus) สายพันธุ์สายน้าผึ้ง Aphrodisiac Potential of Watermelon (Citrullus lanatus) Cv. Sai Num Peung Abstract The aims of this present study were to investigate the effect of flesh watermelon juice (Citrullus lanatus) CV. Sai Num Peung. Flesh watermelon juice was pasteurized. The animals were divided into 5 groups each consisting of 5 animals. Group 1 received distilled water at the dose of 1 mL/day. Groups 2 to 4 received flesh watermelon juice at the doses of 0.5, 0.75 and 1 mL/day respectively, daily for 35 days. Group 5 received Sildenafil citrate at the dose of 60 mg/kg body weight, one hour prior to the experiment and served as the standard group. The results showed that flesh watermelon juice significantly increased sexual parameters (P< 0.05). In addition, macro-anatomy and micro-anatomy of the reproductive organs and vital organs of male rats received the juice did not produce any sign of toxicity. Watermelon flesh contains citrulline and arginine; the contents that play an important role in the production of the potent vasodilator and penile erection, nitric oxide. The results of this experiment indicated that flesh watermelon juice can be used as an aphrodisiac agent in males. บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของน้าแตงโม (Citrullus lanatus) สายพันธุ์สายน้าผึ้งต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผู้ น้าแตงโมถูกพาสเจอร์ไรซ์ หนูแรทถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5 ตัว กลุ่มที่ 1 ได้รับน้ากลั่น 1 มิลลิลิตร/ตัว/วัน กลุ่มที่ 2-4 ได้รับน้าแตงโมปริมาณ 0.5 0.75 และ 1 มิลลิลิตร/ตัว/วัน เป็นเวลา 35 วัน กลุ่มที่ 5 ได้รับซิลดีนาฟิล ซิเตรต 60 มิลลิกรัม/น้าหนักตัว ก่อนการสังเกตพฤติกรรมทางเพศ 1 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่าแตงโมมีผลเพิ่มดัชนีพฤติกรรมการ สืบพันธุ์ แต่ไม่มีผลต่อน้าหนักสัมพัทธ์เฉลี่ยของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ รวมทั้งไม่มีผลต่อน้าหนักสัมพัทธ์เฉลี่ยของตับ ไต ต่อมหมวกไต และม้าม น้าแตงโมไม่มีผลต่อลักษณะทางจุลกายวิภาคของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ ตับ ไต ต่อมหมวกไต และม้าม แตงโมมีสารซิทูไลน์และอาร์จินีนถูกใช้เพื่อเป็นสารตั้งต้นในการสร้างไนตริก ออกไซด์ที่จ้าเป็นต่อการคลายตัวของหลอดเลือดและการแข็งตัวขององคชาต ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าแตงโมมีศักยภาพในการเป็นยาเร้าก้าหนัดในเพศชาย พณิดา อนุอัน และ พักพล มุ่งลือ สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี โรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศ หรือ (ED) เป็นความผิดปกติที่พบมากในผู้ชายท้าให้คุณภาพชีวิตของลดลง มีปัจจัยเสี่ยงหลายตัวด้วยกัน ที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ED อาทิเช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ การสูบ บุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในประเทศไทยพบ ED เพิ่มขึ้นจาก 37.5% ในปี 2000 เป็น 42.8% ในปี 2008 (Permpongkosol et al., 2008) Sildenafil citrate หรือ Viagra ถูกน้ามาใช้เพื่อเพิ่มความแข็งแรงรักษาการแข็งตัวของอวัยวะเพศและ เพิ่มความพึงพอใจทางเพศโดยไม่ต้องมีผลกระทบต่อความต้องการทางเพศในผู้ชายที่เป็นโรค ED อย่างไรก็ตาม Sildenafil citrate อาจจะ เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด หัวใจล้มเหลว หรือผู้ป่วยที่ได้รับยาลดความดันโลหิต (Lue, 2000) เมื่อไม่นานมานี้มีข้อมูล ที่แสดงให้เห็นว่าสารสกัดจากแตงโมมีผลสามารถออกฤทธิ์ในหนูแรทที่ถูกตัดมดลูกโดยยับยั้งการไหลเข้าของ Ca 2 + และบางส่วนที่มี องค์ประกอบของ Ca 2+ มีการส่งสัญญาณต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบ ( Munglue et al., 2012) ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงมี จุดมุ่งหมายในการศึกษาผลของน้าแตงโมต่อพฤติกรรมทางเพศและศึกษาผลต่อน้าหนักสัมพัทธ์ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผู1. บทนา 2. วิธีดาเนินการวิจัย คั้นน้าจากเนื้อแตงโมส่วนที่เป็นสีเหลือง กรองด้วยผ้าขาวบาง หนูแรทเพศผู้ นาหนัก 350 - 480 กลุ่มควบคุม (C) น้ากลั่น 1 มิลลิลิตร/ตัว/วัน n=5 กลุ่ม (W1) 0.5 มล/ตัว/วัน n=5 กลุ่ม (W2) 0.75 มล/ตัว/วัน n=5 กลุ่ม (W3) 1 มล/ตัว/วัน n=5 กลุ่มควบคุมเชิงบวก (S) ได้รับ Sildenafil citrate 60 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ตัว n=5 หมายเหตุ – ทุกกลุ่มจะได้รับน้าและอาหารอย่างเต็มที่ และจะได้รับน้าคั้นจากแตงโม เป็นเวลา 35 วัน ส้าหรับกลุ่มที่ได้รับ Sildenafil citrate จะป้อนในวันที่ดู พฤติกรรมก่อน 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงท้าการผ่าตัดเพื่อดูผลของแตงโมต่อน้าหนักสัมพัทธ์ของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ ตารางที่ 1 ผลของแตงโมต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผูผลการทดลองที2 ผลของแตงโมต่อน้าหนักสัมพัทธ์และมหกายวิภาคของระบบสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผูพบว่าน้าหนักสัมพัทธ์เฉลี่ย Prostate gland ของหนูในกลุ่มที่ได้รับน้าคั้น 1000 มิลลิลิตร มีความแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับ กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ผลของสารสกัดจากแตงโมต่อมหกายวิภาคระบบสืบพันธุหมายเหตุ FY = น้าจากเนื้อแตงโมเหลือง MF = ความถี่ในการขึ้นคร่อม IF = ความถี่ในการสอดใสML = ความทนต่อการขึ้นคร่อม IL = ความทนต่อการสอด ใส่ EL1 = การสอดใส่ที่เกิดการหลั่งอสุจิครั้งแรก EL2 = การสอดใส่ที่เกิดการหลั่งอสุจิครั้งที่สอง PEI = การผละออกจากกัน ค่าที่แสดงเป็น Mean ± SEM, n = 5 (จ้านวนของสัตว์ในแต่ละกลุ่ม) การวิเคราะห์ทางเดียวของความแปรปรวน (ANOVA) ถูกน้ามาใช้ * ค่า P <0.05 มีนัยส้าคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม 3. ผลการวิจัย ผลการทดลองที่ 1 ผลของแตงโมต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ของหนูแรทเพศผูผลการศึกษาพบว่าผลของน้าคั้นจากแตงโมมีฤทธิ์ท้าให้ความถี่ในการขึ้นคร่อม Mounting Frequency (MF), ความถี่ในการสอดใสIntromission Frequency (IF) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) และมีผลให้ความทนต่อการขึ้นคร่อม Mounting Latency (ML), ความทนต่อการสอดใส่ Intromission Latency (IL) ลดลงอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p <0.05) (ตารางที่ 1) หมายเหตุ * แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ; mean ± SEM; FY 0.5 mL., FY 0.75 mL., FY 1 mL., C = กลุ่มควบคุม, S = Sildenafil citrate, n = 5 (จ้านวนสัตว์ในแต่ละกลุ่ม) ผลการทดลองที3 ศึกษาผลของน้าคั้นจากแตงโม (Citrullus lanatus) ต่อมหกายวิภาคศของระบบสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผู้ พบว่า น้าคั้นจากแตงโม ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมหกายวิภาคของระบบสืบพันธุ์ (ภาพที่1,2) ภาพที่ 1 ผลของแตงโมต่อมหกายวิภาคขององคชาตในหนูแรทเพศผู้เปรียบเทียบกับกลุ่ม โดย C=กลุ่มควบคุม, FY 1 =กลุ่มที่ได้รับน้าแตงโม 0.5 mL/d, FY 2 =กลุ่มที่ได้รับน้าแตงโม 0.75 mL/d, FY 3 =กลุ่มที่ได้รับน้าแตงโม 1 mL/d, S=กลุ่มที่ได้รับ Sildenafil citrate 60 mg/kg ทั้งนีG = gland, St = fibrous stroma 4. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย 5. เอกสารอ้างอิง จาตุรณต์ บุรวัฒน์. 2555. ผลปลอดพิษของสารสกัดดอกอัญชันสีม่วงต่ออวัยวะระบบสืบพันธุ์เพศผู้ของหนูแรท. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัญฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. D. Ghosh, D. Jana, J. M. Debnath. 2002. Effects of leaf of Stephanin hernandifolia on teaticular gametogenesis and androgenesis in albino rat: a dose- dependent response study. Original research article; 65: 379-384. Lue, T. F. 2000. Erectile dysfunction. The New England Journal of Medicine. 342(24): 1802-1813. Munglue, P., Eumkep, G., Wray, S. and Kupittayanant, S. 2012. The effects of watermelon (Citrullus lanatus) extracts and L-citrullus on rat uterine contractility. Reproductive Sciences. 20(4):437-448. Permpongkosol, S., Kongkakand, A., Ratana-Olarn, K., Tantiwong, A. and Tantiwongse, K. 2008. Increased prevalence of erectile dysfunction (ED): results of the second epidemiological study on sexual activity and prevalence of ED in Thai males. Aging Male. 11: 128-133. Sandroni, P. 2001. Aphrodisiacs past and present: a historical review. Clinical Autonomic Research. 11(5):303-307. 1. ผลของแตงโมต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผูพบว่าผลแตงโมมีผลให้สมรรถภาพทางเพศหรือส่งเสริมให้เกิดการแข็งตัวของอวัยวะเพศสอดคล้องกับ Sandroni (2010) ทีรายงานว่าแตงโมมีสารตั้งต้นเพื่อสร้าง NO และ cGMP คือ Citrulline และ Arginine ส่งผลให้เกิดการขยายหลอดเลือดที่มา เลี้ยงองคชาตมากขึ้น 2. ผลของแตงโมต่อน้าหนักสัมพันธ์และมหกายวิภาคของอวัยวะในระบบสืบพันธุพบว่าน้าหนักสัมพัทธ์ขององคชาตเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ซึ่งกลไกการเพิ่มขนาดของ กล้ามเนื้อองคชาตยังไม่ทราบแน่ชัด 3. ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากการได้รับแตงโม พบว่าน้าแตงโมไม่มีผลข้างเคียงเมื่อป้อนให้หนูเป็นระยะเวลา 35 วัน จึงชี้ให้เห็นว่าแตงโมเหลืองมีความปลอดภัย หากใช้เป็นสาร เสริมสมรรถภาพทางเพศ นาไป Pasteurization ด้วยเครื่อง Water bath ที่อุณหภูมิ 70ºC นาน 2-3 นาที นาไปเก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 4ºC Treatment Prostate gland Penis Epididymis Seminal vesicle Testis C 0.258±0.039 0.116±0.012 0.428±0.012 0.436±0.467 0.962±0.027 FY (0.5 mL/d) 0.213±0.036 0.125±0.016 0.386±0.136 0.412±0.039 0.675±0.030 FY (0.75 mL/d) 0.258±0.0012 0.136±0.035 0.518±0.071 0.386±0.54 0.894±0.040 FY (1 mL/d) 0.260±0.043 0.268±0.108 * 0.406±0.029 0.385±0.048 0.900±0.057 S (60 mg/kg) 0.264±0.014 0.198±0.055 * 0.414±0.030 0.412±0.036 0.950±0.035 Treatments Paramenter Control FY (0.5 mL/d) FY (0.75 mL/d) FY (1 mL/d) Sildenafil citrate (60 mg/kg) MF 8.00±0.58 25.33±9.50 * 25.33±9.50 * 32.00±6.56 * 9.67±1.55 ns IF 0.00±0.00 22.33±6.74 * 32.33±7.51 ab 33.67±6.03 * 20.00±12.17 * ML (in sec) 213.00±9.50 106.67±2.40 * 80.00±2.89 * 61.33±1.86 * 22.67±5.24 * IL (in sec) 000±0.00 107.00±2.52 * 80.00±2.89 * 61.33±1.85 * 16.67±4.63 * EL 1 (in sec) 000±0. 00 107.00±2.52 * 80.00±2.87 * 61.67±1.85 * 16.67±4.63 * EL 2 (in sec) 000±0. 00 116.00±5.03 * 86.00±1.15 * 74.00±3.79 * 116.00±36.91 * PEI (in sec) 1535.00±57.81 1438.00±68.65 ns 1560.00±69.65 ns 1259.67±33.93 * 1751.33±22.06 *

Aphrodisiac Potential of Watermelon (Citrullus lanatus)nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015259.pdfIn addition, macro-anatomy and micro-anatomy of the reproductive organs and

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Aphrodisiac Potential of Watermelon (Citrullus lanatus)nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015259.pdfIn addition, macro-anatomy and micro-anatomy of the reproductive organs and

ศักยภาพการเป็นยาเร้าก าหนัดของแตงโม (Citrullus lanatus) สายพันธุ์สายน้ าผึ้งAphrodisiac Potential of Watermelon (Citrullus lanatus) Cv. Sai Num Peung

AbstractThe aims of this present study were to investigate the effect of flesh watermelon juice (Citrullus lanatus) CV. Sai Num Peung. Flesh watermelon juice was pasteurized. The animals were divided into 5

groups each consisting of 5 animals. Group 1 received distilled water at the dose of 1 mL/day. Groups 2 to 4 received flesh watermelon juice at the doses of 0.5, 0.75 and 1 mL/day respectively, daily for 35 days. Group 5 received Sildenafil citrate at the dose of 60 mg/kg body weight, one hour prior to the experiment and served as the standard group. The results showed that flesh watermelon juice significantly increased sexual parameters (P<0.05). In addition, macro-anatomy and micro-anatomy of the reproductive organs and vital organs of male rats received the juice did not produce any sign of toxicity. Watermelon flesh contains citrulline and arginine; the contents that play an important role in the production of the potent vasodilator and penile erection, nitric oxide. The results of this experiment indicated that flesh watermelon juice can be used as an aphrodisiac agent in males.

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของน้้าแตงโม (Citrullus lanatus) สายพันธุ์สายน้้าผึ้งต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผู้ น้้าแตงโมถูกพาสเจอร์ไรซ์ หนูแรทถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5 ตัว กลุ่มที่ 1 ได้รับน้้ากลั่น 1 มิลลิลิตร/ตัว/วัน กลุ่มที่ 2-4 ได้รับน้้าแตงโมปริมาณ 0.5 0.75 และ 1 มิลลิลิตร/ตัว/วัน เป็นเวลา 35 วัน กลุ่มที่ 5 ได้รับซิลดีนาฟิล ซิเตรต 60 มิลลิกรัม/น้้าหนักตัว ก่อนการสังเกตพฤติกรรมทางเพศ 1 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่าแตงโมมีผลเพิ่มดัชนีพฤติกรรมการสืบพันธุ์ แต่ไม่มีผลต่อน้้าหนักสัมพัทธ์เฉลี่ยของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ รวมทั้งไม่มีผลต่อน้้าหนักสัมพัทธ์เฉลี่ยของตับ ไต ต่อมหมวกไต และม้าม น้้าแตงโมไม่มีผลต่อลักษณะทางจุลกายวิภาคของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ ตับ ไต ต่อมหมวกไต และม้าม แตงโมมีสารซทิูไลน์และอาร์จินีนถูกใช้เพื่อเป็นสารตั้งต้นในการสร้างไนตริก ออกไซด์ที่จ้าเป็นต่อการคลายตัวของหลอดเลือดและการแข็งตัวขององคชาต ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าแตงโมมีศักยภาพในการเป็นยาเร้าก้าหนัดในเพศชาย

พณิดา อนุอัน และ พักพล มุ่งลือสาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี

โรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศ หรือ (ED) เป็นความผิดปกติที่พบมากในผู้ชายท้าให้คุณภาพชีวิตของลดลง มีปัจจัยเสี่ยงหลายตัวด้วยกัน

ที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ED อาทิเช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในประเทศไทยพบ ED เพิ่มขึ้นจาก 37.5% ในปี 2000 เป็น 42.8% ในปี 2008 (Permpongkosol et al., 2008) Sildenafil citrate หรือ Viagra ถูกน้ามาใช้เพื่อเพิ่มความแข็งแรงรักษาการแข็งตัวของอวัยวะเพศและเพิ่มความพึงพอใจทางเพศโดยไม่ต้องมีผลกระทบต่อความต้องการทางเพศในผู้ชายที่เป็นโรค ED อย่างไรก็ตาม Sildenafil citrate อาจจะเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด หัวใจล้มเหลว หรือผู้ป่วยที่ได้รับยาลดความดันโลหิต (Lue, 2000) เมื่อไม่นานมานี้มีข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าสารสกัดจากแตงโมมีผลสามารถออกฤทธิ์ในหนูแรทที่ถูกตัดมดลูกโดยยับยั้งการไหลเข้าของ Ca2 + และบางส่วนที่มีองค์ประกอบของ Ca2+ มีการส่งสัญญาณต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบ (Munglue et al., 2012) ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงมีจุดมุ่งหมายในการศึกษาผลของน้้าแตงโมต่อพฤติกรรมทางเพศและศึกษาผลต่อน้้าหนักสัมพัทธ์ของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุในหนูแรทเพศผู้

1. บทน า

2. วิธีด าเนินการวิจยั

ค้ันน้ าจากเนื้อแตงโมส่วนที่เป็นสีเหลือง กรองด้วยผ้าขาวบาง

หนูแรทเพศผู้ น้ าหนัก 350 - 480

กลุ่มควบคุม (C)น้ ากลั่น 1

มิลลิลิตร/ตัว/วันn=5

กลุ่ม (W1)0.5 มล/ตัว/วัน

n=5

กลุ่ม (W2)0.75 มล/ตัว/วัน

n=5

กลุ่ม (W3)1 มล/ตัว/วัน n=5

กลุ่มควบคุมเชิงบวก (S)ได้รับ Sildenafil citrate 60

มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ตัวn=5

หมายเหตุ – ทุกกลุ่มจะได้รับน้้าและอาหารอย่างเต็มท่ี และจะได้รับน้้าคั้นจากแตงโม เป็นเวลา 35 วัน ส้าหรับกลุ่มที่ได้รับ Sildenafil citrate จะป้อนในวันที่ดูพฤติกรรมก่อน 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงท้าการผ่าตัดเพื่อดูผลของแตงโมต่อน้้าหนักสัมพัทธ์ของอวัยวะในระบบสืบพันธ์

ตารางที่ 1 ผลของแตงโมต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ในหนแูรทเพศผู้

ผลการทดลองที่ 2 ผลของแตงโมต่อน้้าหนักสัมพัทธแ์ละมหกายวิภาคของระบบสืบพันธ์ุในหนูแรทเพศผู้

พบว่าน้้าหนักสัมพัทธ์เฉลี่ย Prostate gland ของหนูในกลุ่มที่ได้รับน้้าคั้น 1000 มิลลิลิตร มีความแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับ

กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ผลของสารสกัดจากแตงโมต่อมหกายวิภาคระบบสืบพนัธุ์

หมายเหตุ FY = น้้าจากเนื้อแตงโมเหลือง MF = ความถี่ในการขึ้นคร่อม IF = ความถี่ในการสอดใส่ ML = ความทนต่อการขึ้นคร่อม IL = ความทนต่อการสอดใส่ EL1 = การสอดใส่ที่เกิดการหลั่งอสุจิครั้งแรก EL2 = การสอดใส่ที่เกิดการหลั่งอสุจิครั้งที่สอง PEI = การผละออกจากกัน ค่าที่แสดงเป็น Mean ± SEM, n = 5 (จ้านวนของสัตว์ในแต่ละกลุ่ม) การวิเคราะห์ทางเดียวของความแปรปรวน (ANOVA) ถูกน้ามาใช้ * ค่า P <0.05 มีนัยส้าคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม

3. ผลการวิจัย

ผลการทดลองที่ 1 ผลของแตงโมต่อพฤติกรรมการสืบพันธ์ุของหนูแรทเพศผู้ ผลการศึกษาพบว่าผลของน้้าคั้นจากแตงโมมีฤทธิ์ท้าให้ความถี่ในการขึ้นคร่อม Mounting Frequency (MF), ความถี่ในการสอดใส่ Intromission Frequency (IF) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) และมีผลให้ความทนต่อการขึ้นคร่อม Mounting Latency (ML), ความทนต่อการสอดใส่Intromission Latency (IL) ลดลงอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p <0.05) (ตารางที่ 1)

หมายเหต ุ* แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม; mean ± SEM; FY 0.5 mL., FY 0.75 mL., FY 1 mL., C = กลุ่มควบคุม, S = Sildenafil citrate, n = 5 (จ้านวนสัตว์ในแต่ละกลุ่ม)

ผลการทดลองที่ 3 ศึกษาผลของน้้าคั้นจากแตงโม (Citrullus lanatus) ต่อมหกายวิภาคศของระบบสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผู้ พบว่าน้้าคั้นจากแตงโม ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมหกายวิภาคของระบบสืบพันธุ์ (ภาพที1่,2)

ภาพที่ 1 ผลของแตงโมต่อมหกายวิภาคขององคชาตในหนแูรทเพศผู้เปรียบเทียบกับกลุ่ม โดย C=กลุ่มควบคุม, FY1=กลุ่มที่ได้รับน้้าแตงโม 0.5 mL/d, FY2=กลุ่มที่ได้รับน้้าแตงโม 0.75 mL/d, FY3=กลุ่มที่ได้รับน้้าแตงโม 1 mL/d, S=กลุ่มที่ได้รับ Sildenafil citrate 60 mg/kg ทั้งนี้ G = gland, St = fibrous stroma

4. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

5. เอกสารอ้างอิงจาตุรณต์ บุรวัฒน์. 2555. ผลปลอดพิษของสารสกัดดอกอัญชันสีม่วงต่ออวัยวะระบบสืบพันธุ์เพศผู้ของหนูแรท. วิทยานิพนธ์

ปริญญามหาบัญฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.D. Ghosh, D. Jana, J. M. Debnath. 2002. Effects of leaf of Stephanin hernandifolia on teaticular

gametogenesis and androgenesis in albino rat: a dose- dependent response study. Original research article; 65: 379-384.

Lue, T. F. 2000. Erectile dysfunction. The New England Journal of Medicine. 342(24): 1802-1813.Munglue, P., Eumkep, G., Wray, S. and Kupittayanant, S. 2012. The effects of watermelon (Citrullus

lanatus) extracts and L-citrullus on rat uterine contractility. Reproductive Sciences. 20(4):437-448.Permpongkosol, S., Kongkakand, A., Ratana-Olarn, K., Tantiwong, A. and Tantiwongse, K. 2008. Increased

prevalence of erectile dysfunction (ED): results of the second epidemiological study on sexual activity and prevalence of ED in Thai males. Aging Male. 11: 128-133.

Sandroni, P. 2001. Aphrodisiacs past and present: a historical review. Clinical Autonomic Research. 11(5):303-307.

1. ผลของแตงโมต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ในหนูแรทเพศผู้ พบว่าผลแตงโมมีผลให้สมรรถภาพทางเพศหรือส่งเสริมให้เกิดการแข็งตัวของอวัยวะเพศสอดคล้องกับ Sandroni (2010) ที่

รายงานว่าแตงโมมีสารตั้งต้นเพื่อสร้าง NO และ cGMP คือ Citrulline และ Arginine ส่งผลให้เกิดการขยายหลอดเลือดที่มาเลี้ยงองคชาตมากขึ้น

2. ผลของแตงโมต่อน้ าหนักสัมพันธ์และมหกายวิภาคของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ พบว่าน้้าหนักสัมพัทธ์ขององคชาตเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ซึ่งกลไกการเพิ่มขนาดของ

กล้ามเนื้อองคชาตยังไม่ทราบแน่ชัด3. ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากการได้รับแตงโม พบว่าน้้าแตงโมไม่มีผลข้างเคียงเมื่อป้อนให้หนูเป็นระยะเวลา 35 วัน จึงชี้ให้เห็นว่าแตงโมเหลืองมีความปลอดภัย หากใช้เป็นสาร

เสริมสมรรถภาพทางเพศ

น าไป Pasteurization ด้วยเครื่อง Water bath ที่อุณหภูมิ 70ºC นาน 2-3 นาที น าไปเก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 4ºC

Treatment Prostate gland Penis Epididymis Seminal vesicle Testis

C 0.258±0.039 0.116±0.012 0.428±0.012 0.436±0.467 0.962±0.027

FY (0.5 mL/d) 0.213±0.036 0.125±0.016 0.386±0.136 0.412±0.039 0.675±0.030

FY (0.75 mL/d) 0.258±0.0012 0.136±0.035 0.518±0.071 0.386±0.54 0.894±0.040

FY (1 mL/d) 0.260±0.043 0.268±0.108* 0.406±0.029 0.385±0.048 0.900±0.057

S (60 mg/kg) 0.264±0.014 0.198±0.055* 0.414±0.030 0.412±0.036 0.950±0.035

Treatments

Paramenter Control FY

(0.5 mL/d)

FY

(0.75 mL/d)

FY

(1 mL/d)

Sildenafil citrate

(60 mg/kg)

MF 8.00±0.58 25.33±9.50* 25.33±9.50* 32.00±6.56* 9.67±1.55ns

IF 0.00±0.00 22.33±6.74* 32.33±7.51ab 33.67±6.03* 20.00±12.17*

ML (in sec) 213.00±9.50 106.67±2.40* 80.00±2.89* 61.33±1.86* 22.67±5.24*

IL (in sec) 000±0.00 107.00±2.52* 80.00±2.89* 61.33±1.85* 16.67±4.63*

EL1 (in sec) 000±0. 00 107.00±2.52* 80.00±2.87* 61.67±1.85* 16.67±4.63*

EL2 (in sec) 000±0. 00 116.00±5.03* 86.00±1.15* 74.00±3.79* 116.00±36.91*

PEI (in sec) 1535.00±57.81 1438.00±68.65ns 1560.00±69.65ns 1259.67±33.93* 1751.33±22.06*

Page 2: Aphrodisiac Potential of Watermelon (Citrullus lanatus)nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015259.pdfIn addition, macro-anatomy and micro-anatomy of the reproductive organs and