1
นภัทรสกร พวงท้าว และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, อาเภอวารินชาราบ , จังหวัดอุบลราชธานี, 34190 บทคัดย่อ การศึกษาปัจจัยของช่วงเวลา พีเอช อุณหภูมิ และอัตราการบ่มเขย่าในการเลี้ยง เชื้อเพื่อผลิตเอ็นไซม์ลิเพสโดยแบคทีเรีย isolate TWS-II ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน เมื่อเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว enrichment olive oil medium ผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยง เชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II เพื่อผลิตเอนไซม์ลิเพสคือ pH เท่ากับ 4.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ด้วยอัตราเร็วรอบในการบ่มเขย่า 130 รอบต่อนาที นาน 48 ชั่วโมง โดยจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถนาผลการทดลองมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ พัฒนาการผลิตเอนไซม์ลิเพสในระดับอุตสาหกรรมต่อไปได้ บทนา Lipase เป็นเอนไซม์ในกลุ่ม Serine hydrolase ที่มีความสามารถในการเร่ง ปฏิกิริยา hydrolysis ester linkage ของไขมันให้เป็นกลีเซอรอลและกรดไขมัน (นิตยา ,2527) เอนไซม์ชนิดนี้ถูกสกัดได้จาก พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ (เชื้อรา ยีสต์ และแบคทีเรีย) จุลินทรีย์เป็นแหล่งเอนไซม์ลิเพสที่สาคัญ เนื่องจากง่ายในการผลิตการเก็บเกี่ยว และการ ทาให้ลิเพสบริสุทธิ์ ด้วยคุณสมบัติที่มีความคงทนต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง อุณหภูมิสูง และมีความจาเพราะต่อสับสเตรทหลายชนิด จึงมีการนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใช้ใน อุสาหกรรมหลายชนิดได้แก่ อุตสาหกรรมการอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องสาอาง อุตสาหกรรมน้ายาซักล้าง อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ อุตสาหกรรมยาฆ่าแมลง และ อุตสาหกรรมเวชภัณฑ์และยา ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่วงเวลา ,ค่า pH ,อุณหภูมิ และอัตรา การบ่มเขย่า (RPM) ที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II เพื่อให้ได้ ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์ลิเพส ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการผลิตใหได้ปริมาณเอนไซม์ลิเพสสูงที่สุด และเพื่อการนาไปใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่างๆให้มี ประสิทธิภาพมากที่สุด วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาช่วงเวลา ค่าพีเอช อุณหภูมิ และอัตราการบ่มเขย่าทีเหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II เพื่อผลิตเอนไซม์ลิเพส วิธีการศึกษา 1.การเตรียมหัวเชื้อเริ่มต้น โดยเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียในอาหารเหลว enrichment medium broth (NB) 20 มล. บ่มที่อุณหภูมิห้อง (RT 29±2) บ่มเขย่าที่ 150 rpm 18 ชั่วโมง 2.การศึกษาช่วงเวลาที่เหมาะสม โดยปิเปตหัวเชื้อตั้งต้น 5 มล. (OD600 = 0.5) ลง ในอาหาร enrichment olive oil medium broth (pH 7) บ่มที่อุณหภูมิห้อง* 150 rpm เป็นเวลา 12,24,36,48 ชั่วโมง จากนั้นทาการแยกเซลล์ด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยง ความเร็ว 19,000x g 10 นาที แล้วนาส่วนใสที่ได้ไปวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์ลิเพส ทา การทดลอง 3 ซ้า การทดลอง 3.การศึกษาค่า pH เริ่มต้นที่เหมาะสม โดยปรับค่า pH ของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 4,5,6,7,8,9,10 และบ่มในช่วงเวลาที่เหมาะสม ทาการทดลอง 3 ซ้า การทดลอง 4.การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยปรับค่า pH ที่เหมาะสม บ่มที่อุณหภูมิ 25 ,30 ,37 ,45 และ 50 °C และช่วงเวลาที่เหมาะสม ทาการทดลอง 3 ซ้า การทดลอง 5.การศึกษาอัตราการบ่มเขย่าที่เหมาะสม โดยปรับค่า pH ที่เหมาะสมจากการ ทดลอง บ่มที่อุณหภูมิที่เหมาะสม ปรับความเร็วรอบ 100 ,130 ,150 และ 180 rpm และบ่มในเวลาที่เหมาะสม ทาการทดลอง 3 ซ้า การทดลอง ผลการศึกษา จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ กาลังขยาย 100x พบว่า เชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II เป็นแบคทีเรีย แกรมลบ และมีรูปร่างท่อน สรุปผลการศึกษา กิตติกรรมประกาศ เอกสารอ้างอิง จากการทดลองในครั้งนี้พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II เพื่อผลิตเอนไซม์ลิเพส คือ เมื่อเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II ในอาหารเหลว enrichment olive oil medium โดยมีพีเอชของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 4 บ่มที่อุณหภูมิ 30 °C 130 rpm นาน 48 ชั่วโมง เชื้อสามารถผลิตเอนไซม์ลิเพสได้สูงสุด โดยผล การศึกษาครั้งนี้สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นในการศึกษาในขั้นต่อไป ขอขอบพระคุณท่าน รศ.ดร.ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้ คาปรึกษา และแนะแนวทาง ในการจัดทาสารนิพนธ์ครั้งนี้ให้เสร็จสมบูรณ์ด้วยดี สุดท้ายนีขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาข้าเพจ้า และขอบคุณเพื่อนๆทุกคน ที่ให้กาลังใจเสมอมา Pallavi Pogaku*, A. Suresh, P. Srinivas and S. Ram Reddy .2009. Optimization of lipase production by Staphylococcus sp. Lp12 . นิธิยา รัตนาปนนท์. 2527. เคมีนมและผลิตภัณฑ์นม .หน้า 46. ภาพที่ 1 ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการผลิต เอนไซม์ลิเพส โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II ภาพที่ 2 pH เริ่มต้นที่เหมาะสมในการผลิต เอนไซม์ลิเพส โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II ภาพที่ 3 อุณหภูมิที่เหมาะสมในการผลิต เอนไซม์ลิเพส โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II ภาพที่ 4 อัตราการบ่มเขย่าที่เหมาะสมใน การผลิตเอนไซม์ลิเพส โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II

นภัทรสกร พวงท้าว และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาลnestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015245.pdf · นภัทรสกร

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: นภัทรสกร พวงท้าว และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาลnestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015245.pdf · นภัทรสกร

นภัทรสกร พวงท้าว และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, อ าเภอวารินช าราบ , จังหวัดอุบลราชธานี, 34190

บทคัดย่อ การศึกษาปัจจัยของช่วงเวลา พีเอช อุณหภูมิ และอัตราการบ่มเขย่าในการเลี้ยงเชื้อเพื่อผลิตเอ็นไซม์ลิเพสโดยแบคทีเรีย isolate TWS-II ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน เมื่อเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว enrichment olive oil medium ผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II เพื่อผลิตเอนไซม์ลิเพสคือ pH เท่ากับ 4.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ด้วยอัตราเร็วรอบในการบ่มเขย่า 130 รอบต่อนาที นาน 48 ชั่วโมง โดยจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถน าผลการทดลองมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการผลิตเอนไซม์ลิเพสในระดับอุตสาหกรรมต่อไปได้

บทน า Lipase เป็นเอนไซม์ในกลุ่ม Serine hydrolase ที่มีความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา hydrolysis ester linkage ของไขมันให้เป็นกลีเซอรอลและกรดไขมัน (นิตยา ,2527) เอนไซม์ชนิดนี้ถูกสกัดได้จาก พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ (เชื้อรา ยีสต์ และแบคทีเรีย) จุลินทรีย์เป็นแหล่งเอนไซม์ลิเพสที่ส าคัญ เนื่องจากง่ายในการผลิตการเก็บเกี่ยว และการท าให้ลิเพสบริสุทธิ์ ด้วยคุณสมบัติที่มีความคงทนต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง อุณหภูมิสูง และมีความจ าเพราะต่อสับสเตรทหลายชนิด จึงมีการน าเอนไซม์ชนิดนี้ ไปใช้ในอุสาหกรรมหลายชนิดได้แก่ อุตสาหกรรมการอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องส าอาง อุตสาหกรรมน้ ายาซักล้าง อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ อุตสาหกรรมยาฆ่าแมลง และอุตสาหกรรมเวชภัณฑ์และยา ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่วงเวลา ,ค่า pH ,อุณหภูมิ และอัตราการบ่มเขย่า (RPM) ที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II เพื่อให้ได้ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์ลิเพส ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการผลิตให้ได้ปริมาณเอนไซม์ลิเพสสูงที่สุด และเพื่อการน าไปใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่างๆให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาช่วงเวลา ค่าพีเอช อุณหภูมิ และอัตราการบ่มเขย่าที่เหมาะสมในการเล้ียงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II เพื่อผลิตเอนไซม์ลิเพส

วิธีการศึกษา 1.การเตรียมหัวเชื้อเริ่มต้น โดยเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียในอาหารเหลว enrichment medium broth (NB) 20 มล. บ่มที่อุณหภูมิห้อง (RT 29±2) บ่มเขย่าที่ 150 rpm 18 ชั่วโมง 2.การศึกษาช่วงเวลาที่เหมาะสม โดยปิเปตหัวเชื้อตั้งต้น 5 มล. (OD600 = 0.5) ลงในอาหาร enrichment olive oil medium broth (pH 7) บ่มที่อุณหภูมิห้อง* 150 rpm เป็นเวลา 12,24,36,48 ชั่วโมง จากนั้นท าการแยกเซลล์ด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยงความเร็ว 19,000x g 10 นาที แล้วน าส่วนใสที่ได้ไปวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์ลิเพส ท าการทดลอง 3 ซ้ า การทดลอง 3.การศึกษาค่า pH เริ่มต้นที่เหมาะสม โดยปรับค่า pH ของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 4,5,6,7,8,9,10 และบ่มในช่วงเวลาที่เหมาะสม ท าการทดลอง 3 ซ้ า การทดลอง 4.การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยปรับค่า pH ที่เหมาะสม บ่มที่อุณหภูมิ 25 ,30 ,37 ,45 และ 50 °C และช่วงเวลาที่เหมาะสม ท าการทดลอง 3 ซ้ า การทดลอง 5.การศึกษาอัตราการบ่มเขย่าที่เหมาะสม โดยปรับค่า pH ที่เหมาะสมจากการทดลอง บ่มที่อุณหภูมิที่เหมาะสม ปรับความเร็วรอบ 100 ,130 ,150 และ 180 rpm และบ่มในเวลาที่เหมาะสม ท าการทดลอง 3 ซ้ า การทดลอง

ผลการศึกษา จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ก าลังขยาย 100x พบว่าเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II เป็นแบคทีเรีย แกรมลบ และมีรูปร่างท่อน

สรุปผลการศึกษา

กิตติกรรมประกาศ

เอกสารอ้างอิง

จากการทดลองในครั้งนี้พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II เพื่อผลิตเอนไซม์ลิเพส คือ เมื่อเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย Isolate TWS-II ในอาหารเหลว enrichment olive oil medium โดยมีพีเอชของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 4 บ่มที่อุณหภูมิ 30 °C 130 rpm นาน 48 ชั่วโมง เชื้อสามารถผลิตเอนไซม์ลิเพสได้สูงสุด โดยผลการศึกษาครั้งนี้สามารถน ามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นในการศึกษาในขั้นต่อไป

ขอขอบพระคุณท่าน รศ.ดร.ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้ค าปรึกษา และแนะแนวทาง ในการจัดท าสารนิพนธ์ครั้งนี้ให้เสร็จสมบูรณ์ด้วยดี สุดท้ายนี้ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาข้าเพจ้า และขอบคุณเพื่อนๆทุกคน ที่ให้ก าลังใจเสมอมา

Pallavi Pogaku*, A. Suresh, P. Srinivas and S. Ram Reddy .2009. Optimization of lipase production by Staphylococcus sp. Lp12 .

นิธิยา รัตนาปนนท์. 2527. เคมีนมและผลิตภัณฑ์นม .หน้า 46.

ภาพที่ 1 ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์ลิเพส

โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II

ภาพที่ 2 pH เริ่มต้นทีเ่หมาะสมในการผลิตเอนไซม์ลิเพส

โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II

ภาพที่ 3 อุณหภูมทิีเ่หมาะสมในการผลิตเอนไซม์ลิเพส

โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II

ภาพที่ 4 อัตราการบ่มเขย่าที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์ลิเพส

โดยเชื้อแบคทีเรีย isolate TWS-II