55
I นักบุญอันตนแหงปาดัว นักบุญแหงอัศจรรย โดย พอสุรชัย ชุมศรีพันธุ นักบุญอันตนแหงปาดัว มีชื่อเสียงอยางมาก ในเรื่องอัศจรรยตางๆ ที่เกิดขึ้น คริสตชนทั้งหลายตางพากันไปขออัศจรรยจากทานอยูเสมอ ใครที่เคยไปแสวงบุญทีมหาวิหารนักบุญอันตนที่เมืองปาดัว (Padova) คงตองตื่นเตนที่ไดเห็นคําขอบคุณตอทาน นักบุญจํานวนมากมายสําหรับอัศจรรยที่ตนไดรับ นอกจากนี้ ยังไดสวดภาวนาตอหนาหลุม ศพของทานดวยตนเอง เพราะเหตุนี้ พอจึงขอแนะนําใหรูจักกับนักบุญอันตน และมหา วิหารของทาน นักบุญอันตน เปนชาวโปรตุเกส เกิดที่เมืองลิสบอน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1195 เดิมชื่อ Fernando de Boullion จากครอบครัวขุนนางซึ่งมาจากสงครามครูเสด (Crusade) อายุเพียง 15 ป สมัครเปนโนวิสในคณะออกัสติเนียน ที่อาราม San Vincenzo ที่เมือง Coimbra ป ค.ศ. 1219 บวชเปนพระสงฆเมื่ออายุ 24 ป ป ค.ศ. 1220 มรณสักขี 5 ทาน คณะฟรังซิสกัน ซึ่งถูกตัดศีรษะที่ Morocco ถูกนํามาทีเมือง Coimbra เปนแรงดลบันดาลใจใหทานตองการเปนมรณสักขีในการ ประกาศพระวรสาร และดวยการอนุญาตของเจาคณะออกัสติเนียน และ เจาคณะฟรังซิสกัน ทานไดเขาเปนสมาชิก “คณะฟรังซิสกัน” ไดรับชื่อวา “อันโตนิโอ” (Antonio) และสมัครเปนมิชชันนารีในอัฟริกา แตทานเปน มาเลเรียระหวางเดินทาง จึงถูกสงกลับระหวางการสมัชชาคณะฟรังซิส กันที่เมือง Assisi วันที่ 30 พฤษภาคม 1221 ทานไดรับหนาที่อภิบาล สมาชิกคณะที่เปนฆราวาสที่เมือง Montepaolo ที่นี่เอง ทานไดมีโอกาส เทศนในระหวางพิธีบวชพระสงฆ โดยไมมีการเตรียมตัวมากอนและเทศน ไดอยางอัศจรรย ทานไดรับมอบหมายจากนักบุญฟรังซิส ใหทานเปนผู เทศนสอนของคณะและเปนอาจารยเทววิทยา ทานไดประจําอยูหลาย แหง ในอิตาลีและฝรั่งเศส เปนนักเทศนที่มีชื่อเสียงมาก ป 1223 ทาน กอตั้งสํานักเทววิยาเพื่อสอนสมาชิกคณะ ซึ่งตอมาสํานักนี้ไดกลายเปน สวนหนึ่งของมหาวิทยาลัย โบโลญา ในระหวางนี้เองนักบุญฟรังซิส แหงอัสซีซีไดเสียชีวิต 3 ตุลาคม 1226 และไดประจักษมาสนทนากับทาน ดวย ป ค.ศ. 1227 เจาคณะแขวงอิตาลีภาคเหนือ แตขอลาออกจากตําแหนงนี้และกลับไป ประจําที่อารามที่ทานกอตั้งขึ้นที่ปาดัว ป ค.ศ. 1228 รับเชิญจากพระสันตะปาปา เกรกอรี่ ที่ 9 ใหเทศนในเทศกาลมหาพรต ผูฟงเทศนในสันตะสํานักมาจากประเทศตาง ๆ และตางก็ไดยินบทเทศน

Buon Giorno,italia

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ทัวร์แสวงบุญ เขต 2 ประเทศอิตาลี

Citation preview

Page 1: Buon Giorno,italia

I นักบุญอันตนแหงปาดัว นักบุญแหงอัศจรรยโดย พอสุรชัย ชุมศรีพันธุ

นักบุญอันตนแหงปาดัว มีชื่อเสียงอยางมาก ในเรื่องอัศจรรยตางๆ ท่ีเกิดข้ึนคริสตชนท้ังหลายตางพากันไปขออัศจรรยจากทานอยูเสมอ ใครท่ีเคยไปแสวงบุญท่ีมหาวิหารนักบุญอันตนท่ีเมืองปาดัว (Padova) คงตองตื่นเตนท่ีไดเห็นคําขอบคุณตอทานนักบุญจํานวนมากมายสําหรับอัศจรรยท่ีตนไดรับ นอกจากนี้ ยังไดสวดภาวนาตอหนาหลุมศพของทานดวยตนเอง เพราะเหตุนี้ พอจึงขอแนะนําใหรูจักกับนักบุญอันตน และมหาวิหารของทาน

นักบุญอันตน เปนชาวโปรตุเกส เกิดท่ีเมืองลิสบอน เม่ือวันท่ี 15 สิงหาคม 1195เดิมชื่อ Fernando de Boullion จากครอบครัวขุนนางซ่ึงมาจากสงครามครูเสด(Crusade) อายุเพียง 15 ป สมัครเปนโนวิสในคณะออกัสติเนียน ท่ีอาราม SanVincenzo ท่ีเมือง Coimbraป ค.ศ. 1219 บวชเปนพระสงฆเม่ืออายุ 24 ปป ค.ศ. 1220 มรณสักขี 5 ทาน คณะฟรังซิสกัน ซ่ึงถูกตัดศีรษะท่ี Morocco ถูกนํามาท่ี

เมือง Coimbra เปนแรงดลบันดาลใจใหทานตองการเปนมรณสักขีในการประกาศพระวรสาร และดวยการอนุญาตของเจาคณะออกัสติเนียน และเจาคณะฟรังซิสกัน ทานไดเขาเปนสมาชิก “คณะฟรังซิสกัน” ไดรับชื่อวา“อันโตนิโอ” (Antonio) และสมัครเปนมิชชันนารีในอัฟริกา แตทานเปนมาเลเรียระหวางเดินทาง จึงถูกสงกลับระหวางการสมัชชาคณะฟรังซิสกันท่ีเมือง Assisi วันท่ี 30 พฤษภาคม 1221 ทานไดรับหนาท่ีอภิบาลสมาชิกคณะท่ีเปนฆราวาสท่ีเมือง Montepaolo ท่ีนี่เอง ทานไดมีโอกาสเทศนในระหวางพิธีบวชพระสงฆ โดยไมมีการเตรียมตัวมากอนและเทศนไดอยางอัศจรรย ทานไดรับมอบหมายจากนักบุญฟรังซิส ใหทานเปนผูเทศนสอนของคณะและเปนอาจารยเทววิทยา ทานไดประจําอยูหลายแหง ในอิตาลีและฝรั่งเศส เปนนักเทศนท่ีมีชื่อเสียงมาก ป 1223 ทานกอตั้งสํานักเทววิยาเพื่อสอนสมาชิกคณะ ซ่ึงตอมาสํานักนี้ไดกลายเปนสวนหนึ่งของมหาวิทยาลัย โบโลญา ในระหวางนี้เองนักบุญฟรังซิสแหงอัสซีซีไดเสียชีวิต 3 ตุลาคม 1226 และไดประจักษมาสนทนากับทานดวย

ป ค.ศ. 1227 เจาคณะแขวงอิตาลีภาคเหนือ แตขอลาออกจากตําแหนงนี้และกลับไปประจําท่ีอารามท่ีทานกอตั้งข้ึนท่ีปาดัว

ป ค.ศ. 1228 รับเชิญจากพระสันตะปาปา เกรกอรี่ ท่ี 9 ใหเทศนในเทศกาลมหาพรตผูฟงเทศนในสันตะสํานักมาจากประเทศตาง ๆ และตางก็ไดยินบทเทศน

Page 2: Buon Giorno,italia

2

เปนภาษาของตนเอง และพระกุมารเยซูไดประจักษมาหาทานดวยพระสันตะปาปาตั้งฉายาใหทานวา หีบพระสัญญา (Ark of theCovenant) ท่ีฝงศพปจจุบันของทานในมหาวิหารจึงถูกเรียกวา The Ark13 มิถุนายน 1231 ปวยหนักและขอกลับมาท่ี Padova แตทานมาไมถึงเพราะเสียชีวิตในอารามคณะ Clarisse ท่ี Convent dell’ Arcella ใกล ๆเมือง Padova ดวยอายุรวมเพียง 35 ปเทานั้น วัดท่ีทานเคยประจําท่ีเมืองPadova ไดแก Convento di Santa Maria Mater Domini ดําเนินเรื่องขอศพของทาน แต Convent dell’ Arcella ไมยอม ในท่ีสุด เจาคณะฟรังซิสกันสั่งใหฝงทานท่ี Santa Maria Mater Domini ปจจุบัน วัดนี้ไดกลายเปน วัดนอยท่ีอยูภายในมหาวิหารนักบุญอันตน ตรงแทน “แมพระดํา”

ป ค.ศ. 1232 พระสันตะปาปา เกรกอรี่ ท่ี 9 ประกาศใหทานเปน “นักบุญ” เม่ือวันท่ี 30พฤษภาคม 1232 นั่นคือ 1 ปหลัง จากความตาย (สมัยนั้น ขบวนการแตงตั้งนักบุญแตกตางจากปจจุบันมาก)

ป ค.ศ. 1263 ยายศพของทานจากท่ีเดิมมาอยูกลางมหาวิหาร ในการยายครั้งนี้ มีการตรวจศพของทาน นักบุญโบนาแวนตูราไดพบวา ลิ้นของทานไมเนาเปอยจึงแยกมาเก็บรักษาไว (ชมไดท่ี Treasury Chapel ภายในมหาวิหาร)

ป ค.ศ. 1946 พระสันตะปาปา ปโอ ท่ี 12 ประกาศใหทานเปน “นักปราชญของพระศาสนจักร”

อัศจรรยตาง ๆ ของนักบุญอันตนมีผูรวบรวมเรื่องราวอัศจรรยตาง ๆ ของทาน และพิมพเปนหนังสือ มีผูศรัทธาใน

ทานมากมาย มิใชแตเพียงอัศจรรยในระหวางท่ีทานมีชีวิตอยู แตรวมถึงอัศจรรยท่ีเกิดข้ึนหลังจากความตาย จนกระท่ังปจจุบัน แมเวลาจะลวงเลยมานานถึง 800 ปแลวก็ตาม- นักบุญอันตน เปนองคอุปถัมภของผูอดอยาก ผูท่ีทําสิ่งของหาย และผูยากจน- ทานเคยทําหนังสือสวด Breviary หายไป และทานก็ไดพบโดยอัศจรรย เปนท่ีมาของ

องคอุปถัมภผูท่ีทําของหาย- ทานเคยไลผี ทํานายเหตุการณ รักษาโรคตาง ๆ ผูประสบภัยทางเทา ขา เพราะทาน

เคยตอขาใหชายคนหนึ่ง ซ่ึงเสียใจท่ีเตะแมตนเอง เขาตัดขาท้ิง แตทานนักบุญตอขาให ผูท่ีเปนโรคหัวใจ เทศนใหปลาฟง เพราะพวกเฮเรติ๊กท่ีเมือง Rimini ไมยอมฟงทานทานสั่งใหลาคุกเขาตอหนาศีลมหาสนิท มีคนเห็นทานอยูในสถานท่ี 2 แหงในเวลาเดียวกัน เห็นทานอุมพระกุมารเยซู ฯลฯ อีกมากมาย

Page 3: Buon Giorno,italia

3

มหาวิหารนักบุญอันตน เปนสมบัติของนครรัฐวาติกัน ในรูปแบบ Extra Territoryมหาวิหารนี้สรางข้ึนตั้งแตทานไดรับประกาศเปนนักบุญ ใชระยะเวลากอสรางและ

ตอเติมเรื่อยมา มีวัดเล็กวัดนอยภายในมากมาย พอขอแนะนําผูแสวงบุญเย่ียมชมสวนท่ีสําคัญ ๆ ของมหาวิหาร ดังตอไปนี้ :

1. วัดนอยหลุมศพของนักบุญอันตนท่ีนี่ เราจะเห็นเครื่องหมายแหงการขอบคุณสําหรับอัศจรรยท่ีไดรับมากมาย

ผูแสวงบุญจะเดินสวดและรําพึง พรอมท้ังลูบหลุมศพของทาน มาถึงท่ีนี่ท้ังที ก็ควรท่ีจะวอนขออะไรบางนะครับ สถานท่ีนี้เปนท่ีรูจักกันในชื่อวา Ark

แตเดิม ศพทานตั้งอยูท่ีวัดนอย Santa Maria Mater Domini ปจจุบัน เปนวัดนอย “แมพระดํา” ภายในมหาวิหารนี้เองค.ศ. 1231-1263 อยูท่ีวัดนอย Santa Maria Mater Dominiค.ศ. 1263-1310 อยูกลางมหาวิหาร ใตโดมบริเวณท่ีนักบวชสวดทําวัตร (Presbytery)ค.ศ. 1310-1350 ไมระบุวาศพของทานอยูท่ีใดค.ศ. 1350-ปจจุบัน

บริเวณดานหลังของพระแทนนี้ มีการแสดงใหเห็นถึงชีวิตและอัศจรรยตาง ๆ ของทาน เชน ทานรับเสื้อเขาคณะฟรังซิสกัน, สามีข้ีอิจฉา, เด็กหนุมกลับคืนชีพ, เด็กสาวกลับคืนชีพ และ เด็กนอยคืนชีพ รวมถึงหลานชายของทานดวย, ตอขาใหหนุมท่ีตัดขาของตน เพราะเสียใจท่ีไปเตะแมตัวเอง, เด็กเกิดใหมพูดได

2. วัดนอยขุมทรัพย (Treasury Chapel)วัดนอยนี้ตั้งอยูท่ีหลังพระแทนกลาง เกือบสุดปลายมหาวิหาร ท่ีนี่เอง ผูแสวงบุญ

ทุกคนตองการจะเห็น ไดแก ลิ้นท่ีไมเนาของทานนักบุญ (อยาคาดหวังวาจะพบลิ้นสีแดงนะครับ แตเปนลิ้นท่ีไมเนาเปอยไปอยางท่ีควรจะเปน), รัดประคดและตราประทับ ท่ีเคยอยูในโลงศพของทาน, ผาคลุมท่ีทานเองเคยใช (Tunic), กรามของทานรวมท้ังแขนซายและพระธาตุอื่น ๆ อีก อยาลืมสวดภาวนาเม่ือมาถึงท่ีนี่ นักบุญบอนาแวนตูราเม่ือพบลิ้นของทานไมเนาใน ป ค.ศ. 1263 นั้น ทานไดภาวนาวา:

“โอ ลิ้นท่ีไดรับพระพร เจาไดสรรเสริญพระเจา และนําพาคนอื่น ๆ ท้ังหลายใหสรรเสริญพระองค พวกเราเขาใจแจมแจงแลววา เจาเปนผูมีบุญตอเฉพาะพระพักตรพระเจาไดอยางไร”

3. วัดนอยแมพระดํา (Chapel of the Black Madonna)เคยเปนวัด Santa Maria Mater Domini ทานเคยสวดและประจําท่ีนี่ ศพของ

ทานเคยอยูท่ีนี่จนถึงป ค.ศ. 1263 กอนยายไปกลางมหาวิหาร ท่ีนี่เอง ปจจุบัน เปนท่ีฝงศพของบุญราศี Luca Belludi เพื่อนและผูสืบตําแหนงของนักบุญอันตนนักเรียนนักศึกษามักจะมาภาวนาท่ีนี่ เพื่อวอนขอสําหรับงานยาก ๆ ท่ีไดรับมอบหมาย

Page 4: Buon Giorno,italia

4

รวมท้ังสําหรับการเตรียมสอบและการสอบ เรายังสามารถเห็นโลงศพท่ีวางเปลาของทานนักบุญอันตนดวย

4. วัดแหงพระพร (Chapel of Benedictions)ผูท่ีซ้ือรูปพระ สายประคํา วัตถุตาง ๆ ท่ีตองการใหเสก ก็จะมาท่ีวัดนอยแหงนี้

เชื่อกันวา ทานนักบุญอันตนเปนผูเสกใหเอง เราจะพบภาพท่ีทานนักบุญเทศนใหปลาฟงท่ีเมือง Riminiมหาวิหารใหญมาก มีอีกหลายแหงภายในท่ีนาชม แตเสนอใหสวดภาวนาภายในนี้ใหมาก ๆ เพราะคําภาวนาของเราจะไดรับการตอบสนองเสมอขอถวายมิสซาท่ีนี่ไดท่ีหองซาคริสตี

มิสซาแรกของการจาริกแสวงบุญ ปแหงความเชื่อ ขอแนะนําสําหรับการรับพระคุณการุณยครบบริบูรณ ดังนี้ครับ1. ตั้งใจเวลานี้เลยวา เราขอรับพระคุณการุณยครบบริบูรณวันนี้ เพื่อ

ก. รับการยกโทษของบาปท้ังสิ้นของตัวเราเองหรือข. รับการยกโทษบาปท้ังสิ้นของ ผูท่ีตายไปแลว(วิญญาณหนึ่งดวงในไฟชําระ

นั่นเอง)2. เย่ียมชมและรําพึงถึงชีวิตของทานนักบุญอันตน ในมหาวิหารและท่ีหลุมศพของทาน3. สวดภาวนาตามจุดประสงคของสมเด็จพระสันตะปาปา

ก. บทขาพเจาเชื่อถึงพระเจาข. บทขาแตพระบิดาค. บทวันทามารียง. พระสิริรุงโรจน

4. แกบาป (กรณีท่ีมีบาป) และรับศีลมหาสนิทอยงดี ภายใน 7 วัน (แนะนําใหแกบาปกอนเดินทาง) และรับศีลมหาสนิทไดตลอดการเดินทางทุกครั้งท่ีมีมิสซา ใครตองการแกบาปเปนภาษาอังกฤษ ก็เตรียมหนังสือ เตรียมรับศีลอภัยบาปท่ีมีภาษาอังกฤษไปดวย)

II Abbazia และ Basilica Santa Giustinaไมไกลจากมหาวิหารนักบุญอันตนมากนัก มีวัดท่ีนาสนใจมากสําหรับคาทอลิก

อีกวัดหนึ่งครับ แปลใหฟงกอนนะครับ แปลวา อารามฤาษีและมหาวิหารนักบุญจุสตินาในอิตาลีและในยุโรป เราจะพบกับคําวาBasilica หรือมหาวิหารมากมาย มหาวิหารมีท้ังแบบ major และแบบ minor จะอธิบายตอนนี้ก็จะยาวไป มหาวิหารแหงนี้สรางข้ึนมาจากซากปรักหักพังของวิหารเทพเจาเปนวิหารท่ีเกาแกท่ีสุด และมีความสําคัญทางสถาปตยกรรมมากท่ีสุดของเมือง ปาโดวา สรางข้ึนราวๆ ศต.ท่ี 5 เหนือหลุมศพของมรณสักขี Giustina ชาวเมืองนี้เองท่ีถูกฆาตาย ป 304 สมัยจักรพรรดิ Massimiliano(ปตอมาจักรพรรดิผูนี้พายแพสงครามใหแกจักรพรรดิ Constantino ซ่ึงชนะสงครามนี้

Page 5: Buon Giorno,italia

5

ดวยอัศจรรยแหงไมกางเขน ในป 305 ทําใหยุติการเบียดเบียนศาสนาคริสต และใหคริสตเปนศาสนาประจําชาติโรมัน)

บิดาของ Giustina ชื่อ Vitaliano เปนขาราชการของจักรพรรดิ ไดกลับใจมาเปนคริสตโดยนักบุญ Prosdocimo เปนผูเริ่มสรางสวนสําคัญของวิหาร และตอมาไดกลายเปนวิหารท่ีเปนศูนยกลางของเมืองๆนี้ ตอมาวิหารนี้ ไดสรางอารามเบเนดิกติน ซ่ึงทําใหวิหารนี้มีความเจริญกาวหนา และเต็มไปดวยพระธาตุของบรรดานักบุญตางๆวิหารนี้ไดรับการบูรณะหลังจากแผนดินไหวในป 1117 เรื่อยมาจนเปนสถานท่ีเห็นในปจจุบันนี้ สําเร็จลงในป 1579 โดยสถาปนิกท่ีมีชื่อเสียงหลายคนโดยเฉพาะ AndreaMoroni และ Andrea da Valle

การตกแตงดานหนาของมหาวิหารนี้ใชเวลานานมาก เพราะใชหินออนสีแดงของเวโรนา ตกแตงหลังคาดานหนาอยางเดียวถึง 85 ป เพราะใชเงินและวัสดุท่ีมีราคาแพงจํานวนมาก ท่ีเมืองนี้ เวลาท่ีคิดถึงงานท่ีทําแลวไมรูจักเสร็จสักที เขาจะมีสํานวนพูดวา longo come a fabrica de Santa Giustina มหาวิหารนี้ มีโดมท้ังหมด 8 โดมดวยกันและหอระฆังเกาแกท่ีมีตั้งแตสมัยกลาง

ยาวท้ังหมด 122 เมตร แสงสวางเขาทางกระจกท่ีอยูบโดมใหญเปนอันดับท่ี 9ของโลก ภายในมี Pozzo dei Martiri (1566) มีพระธาตุของนักบุญท่ีเปนชาวปาโดวามากมาย ทางดานขวา มีพระธาตุนักบุญลูกา และวัดนอยสําหรับ น. Prosdocimo หลุมฝงศพของ สาวชาวเวนิช หญิงคนแรกท่ีจบการศึกษาสูงสุดแบบชาย ในป 1678 ชื่อElena Lucrezia Cornaro Piscopia เสียชีวิต ป 1684 อายุเพียง 38 ปเทานั้น(ศิลาจาริกเปนหินออนสีดํา)

อารามฤาษีเบเนดิกตินแหงนี้ถูกปดไปโดย จักรพรรดิ นโปเลียน ในป 1818เปลี่ยนเปน คายทหารและโรงพยาบาล พวกฤาษีไดรับคืนในป 1919 และฟนฟูอารามข้ึนใหม ป 1943 ภายในอารามมีศิลปะมากมาย หองสมุดสมัยกลาง ตู ชั้นวางของนโปเลียนสั่งใหปด และขาวของทรัพยสินสําคัญๆ ทางศิลปะ สูญหายไปจํานวนมาก

นักบุญลูกา ผูนิพนธพระวรสารนอยคนนักท่ีจะรูวาศพของนักบุญลูกาไดถูกยายมาอยูท่ีนี่ ตั้งแตศตวรรษท่ี 5

แลว พระสงฆชาวอิตาเลียนบางองคก็ยังไมทราบมากอนเลย พระธาตุของนักบุญลูกาเปนหนึ่งในจํานวนไมก่ีคน ท่ีไดรับการยืนยันวาเปนของแท จากการตรวจสอบทางวิทยาศาสตรตามการสืบคนทางประวัติศาสตร น.ลูกา เสียชีวิตตอนแก ราวๆ 74-84 ปท่ี Bitinia ราวๆ ป 130 A.D. หองทดลองระบุวา กระดูกนี้เปนของชายอายุประมาณ 80ป สูง 1.65 ม. มหาวิทยาลัย Padova,Oxford และ Tucson ของ Arizona เห็นเหมือนกันวา อยูในชวงเวลาท่ีทานนักบุญเสียชีวิต จากการตรวจสอบ DNA มหาวิทยลัยFerrara ระบุวา เปนของชาวซีเรีย (เชื้อชาติของ น.ลูกา) ยายจาก Constantinople มาท่ี

Page 6: Buon Giorno,italia

6

Padova ในหีบตะก่ัว ใหนับจากการเบียดเบียน สมัย Giuliano ซ่ึงตองการทําลายพระธาตุตางๆ ลงใหหมด ใน ศต.ท่ี 4 ภายในโลงของทาน นักวิทยาศาสตรพบซากโครงกระดูกของงูอยูสิบกวาโครงและพบวาเปนงูท่ีมีอยูเฉพาะในเขตเมืองปาโดวาเทานั้นดวยแสดงวาศพของทานไดถูกยายมาอยูท่ีเมืองนี้แลวตั้งแตศตวรรษท่ีหา มีหนังสือรับรองจากจักรพรรดิ ชารลท่ี 4 ท่ีมอบกะโหลกศีรษะใหแก อาสนวิหารแหงปราก ซ่ึงเก็บรักษาไวจนถึง ศต.ท่ี 14 และพระผูใหญของอาสนวิหารรับรูถึงกระดูกท่ีอยูท่ีปาโดวา จึงสั่งกระโหลกมาใหดวย และรอยตอของกระโหลกกับกระดูกๆ อื่นๆ นั้น เขากันพอดีท้ังหมดนี้มีหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีไดรับการบันทึกไว

III เวนิซ, Venice, Veneziaมาถึงแลวครับ เมืองเวนิซ ถาจะเรียกใหถูกนาจะเรียกวา นครเวนิซมากกวา

เพราะเปนเมืองท่ีมีอิทธิพลทางการเมือง การคา เศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม การกอสรางวรรณกรรม และสําหรับ พวกเราก็คือ ทางศาสนาดวย นับเปนรัฐท่ีไดรับเกียรติพิเศษจากพระศาสนจักรคาทอลิกเสมอมา พระสังฆราชแหงเวนิซ จะไดรับเกียรติเปนพระคารดินัลเสมอมา รูจักกันในตําแหนง Patriarch และหลายๆ องคท่ีเรารูจักกันดีก็ไดเปนพระสันตะปาปาและนักบุญดวย เชน พระสันตะปาปา ปโอ ท่ี 10, พระสันตะปาปายอหน ท่ี 23 ซ่ึงเวลานี้เปนบุญราศีแลว เปนตน เม่ือเราถึงมหาวิหารนักบุญ เปโตรท่ีกรุงโรม เราก็จะเขาไปคํานับและสวดภาวนาตอหนาหลุมฝงศพของพระองคดวยครับ,Pope John Paul I ก็มาจากเวนิซเหมือนกันและกําลังไดรับการดําเนินเรื่องเปนบุญราศีดวย

ผูคนอยากมานครเวนิซ ก็เพราะเหตุผลหลายประการ เรารูจักเวนิซ เพราะการกอสรางบานเมืองบนน้ําอยางอัศจรรย คูคลองท่ีมีมากมาย พรอมเรือกอนโดลา ท่ีมีชื่อเสียงของความโรแมนติก อยาลืมวา เมืองนี้ เปนเมืองท่ีกลาวขวัญถึงนักรักกองโลกอยาง คาสโนวา ผลิตผลของงานกระจกแบบ มูราโน การเปาแกว ท่ีเปนเอกลักษณของเวนิซ รวมไปถึงหนากากรูปแบบตางๆ ซ่ึงในสมัยกอน โดยเฉพาะในยุคกลาง พวกขุนนาง เจาครองนครตางชอบจัดงานเลี้ยงเตนรําแบบใสหนากาก นี่แหละรวมไปถึงพระสังฆราช คารดินัล ในสมัยยุคเสื่อมของศาสนาดวย (ท่ีเสื่อมก็เพราะมีความร่ํารวยมากไป จนลืมฐานะทางศาสนา ไปหนทางของโลกมากไปนั้น) แตพวกเรามาท่ีนครแหงนี้มีจุดมุงหมายท่ีจะมาสวดภาวนาตอหนาหลุมศพของนักบุญ 2 องคครับ คือ

1. นักบุญมารโก ผูนิพนธพระวรสาร ตนฉบับแหงความเชื่ออีกผูหนึ่ง นักบุญองคอุปถัมภเมืองเวนิซ ท่ีจริงเราจะเห็นรูปของนักบุญ Theodore ท่ีเมืองเวนิซนี้ เพราะเปนนักบุญองคอุปถัมภของเวนิซองคแรก เปนนักบุญ นักรบชาวกรีก เคยมีวัดนอยมอบใหทานนักบุญดวย อยูขางๆวัดนักบุญมารโกหลังปจจุบันนั่นเอง ในป 828-829 ไดมีการ

Page 7: Buon Giorno,italia

7

นําพระธาตุของทานนักบุญมารโก มาท่ีเมืองเวนิซ จากเมือง Alexandria ในประเทศอียิปต ชาวเมืองและ Doge ผูครองนครรับมาเปน นักบุญองคอุปถัมภของเมือง เพราะเปนนักบุญท่ีทําใหแถบเมืองเวนิซนี้กลับใจ และทําใหเมืองมีความสําคัญจนกระท้ังสามารถเปนอิสระจาก Byzantine ได

- วัดหลังแรกสรางสมัย ศต.ท่ี 9 หลังปจจุบันนี้เปนหลังท่ี 2 สรางในศต.ท่ี 12- หินออนและเสาหินตางๆ ถูกนํามาจาก Constantinople ตอนท่ีสงครามครูเสด

เขายึดนครนี้และนําสิ่งตางๆ จากเมืองนี้มาท่ี เวนิซมากมาย ป 1204 ครูเสดครั้งท่ี 4(ดานหนาของ มหาวิหารนี้) นอกจากนี้ก็มีรูปสําริดท่ีเรียกวา Tetrarch เขาใจวาเปนลูกๆของจักรพรรดิคอนแสตนติน (เดิมคิดวาเปนผูแทน 4 คนท่ีปกครองอาณาจักรโรมัน สมัยDiodetian) เทาขางหนึ่งท่ีหายไปจากรูปนี้ถูกพบท่ีเมืองคอนสแตนติโนเปล เปนหลักฐานชี้วารูปนี้ ถูกนํามาจากท่ีนั่นจริงๆ

- มา 4 ตัวและสิงโตทองบรอนซมีปกและมีอาวุธ ท่ีจริงสิงโตเปนรูปสัญลักษณของนักบุญมารโก ถูกยายไป Paris สมัยนโปเลียน ในป 1797 และ พอแตงตั้งลูกเลี้ยงมาครองนครนี้ แลว ไดขยายวัดมารโกและอาคารรอบๆ จตุรัสอีกสวนหนง นโปเลียนจึงใหยายมาท้ังสี่ตัวนี้ กลับมาไวท่ีเวนิซท้ังหมด ในป 1814 แตในระหวางการขนยายสิงโตทองบรอนซแตก ตองซอมจนถึงป 1816 สวนมาท้ังสี่ตัวนั้น ปจจุบันตั้งอยูในพิพิธภัณฑในมหาวิหาร สวนท่ีแสดงอยูดานหนามหาวิหารนั้นเปนรูปจําลอง

* ท่ีจริงเวนิซมีท่ีใหเท่ียวชมมากมาย เปนเกาะเล็กเกาะนอย นักทองเท่ียวจะชอบไปเย่ียมชม มูราโน บูราโนและตอรแชลโล มีวัดวาอารามอยูแทบจะทุกแหงหน มีประวัติศาสตรอันยาวนานมาก มีมนตเสนหในหลากหลายรูปแบบ บางคนอยากจะหยุดเวลาไวท่ีนี่เลยอาหารทะเลท่ีนี่แพงมาก โรงแรมในสถานท่ี เปนสถานท่ีทองเท่ียวแบบนี้ บอกไดเลยวาไปหาโรงแรมนอกเมืองแลวเดินทางมาเท่ียวดีกวากันเยอะเลยครับ* ถนนท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุดคือ Rialto ถนนสินคา การคาขาย และเศรษฐกิจของเวนิซ ลวนสรางโดย Doge สินคาท่ีผูคนสนใจจากเวนิซ ก็มีพวกเครื่องแกวมูราโน สวยงามมากครับแตการขนยาย อาจลําบากหนอย เพราะแตกงาย เนื่องจากการตกแตงท่ีวิจิตรก็จะมีสวนท่ีหักงายมาก แลวก็เปน พวกหนากากรูปแบบตางๆ แตราคาสูงมาก ท่ีผานมาก็มีคนไทยชอบซ้ือนาฬิกาท่ีมีแกวมูราโนประดับอยู สวยและเกดี ราคาตกประมาณ 13 ถึง 15 ยูโรมีแบบและสีใหเลือกมากมาย

2. Basilica San Marco มหาวิหาร น.มารโก- ภายในมหาวิหารมี Treasure และ Museum การตกแตงมหาวิหารแหงนี้ ลวน

ถูกนํามาจาก Constantinople จากผลของสงครามครูเสด ครั้งท่ี 4 ซ่ึงนําโดยชาวเวนิซ

Page 8: Buon Giorno,italia

8

เขายึดกรุง Constantinople และนําสมบัติตางๆมาท่ีเวนิซ สงครามครั้งนั้นไปไมถึงแผนดินศักดิ์สิทธ์ิ แตนําความย่ิงใหญมาใหเวนิซอยางมาก

- การออกแบบมหาวิหาร เปนรูปกางเขนกรีก มีโดม 5 โดม อยูบนกางเขนนั้นหมายถึง การประทับอยูของพระเจา

- ของมีคามากมาย แตมากท่ีสุดคือ Pala d’Oro ท่ีใสพระธาตุนักบุญมารโก เปนฉากหลังแทนบูชา

- มา 4 ตัว ทองบรอนซ นํามาจาก Constantinople, Napoleon นําไป Parisและนํามาคืน หลังจากใหลูกชายเปนผูครองนคร เวลานี้อยูในพิพิธภัณฑ 4 ตัว ภายนอกเปนรูปลําจอง เปน มา 4 ตัว ประดับท่ี Arch of Trajenสําหรับการเขาชมมหาวิหาร มีนักทองเท่ียวมาเวนิซจํานวนมากทุกวัน การเขาแถวซ้ือบัตรเขาชมภายใน จึงใชเวลามากจนบางคนอาจทอใจได ผูท่ีตองการชมจริงๆ จึงควรวางแผนจัดการเวลาใหเหมาะสมดวย ภายในเขา หามการบรรยายใดๆ จึงเปนการเย่ียมชมสวนตัวโดยสวนใหญ

3. San Geremia และ Santa Lucia สถานีรถไฟท่ีมาถึงเวนิซชื่อวาสถานีSanta Lucia ท่ีจริงแตเดิมมีวัดนอยนักบุญลูเชียท่ีนี่ และเม่ือมีการสรางสถานีรถไฟท่ีนี่จึงจําเปนตองรื้อวัดออกไป ตอนนั้นก็จําเปนตองยายพระธาตุอัฐิของนักบุญลูเชียไปไวท่ีอื่น และท่ีนั่นก็คือ วัดนักบุญเยเรมีอา ไมหางจากสถานีรถไฟมากนัก เดินถึงภายใน5 นาทีเทานั้น

- เรื่องท่ีนาแปลกใจอยูตรงนี้ครับ นักบุญลูเชียเปนชาวเมือง Siracusa ซ่ึงอยูท่ีเกาะ Sicilia ทางใตของประเทศอิตาลี เปนมรณะสักขีท่ีเมืองนี้เอง แตทําไมศพของทานจึงมาอยูท่ีเมืองเวนิซ นักบุญ Lucia เปนชาวเมือง Siracusa, องคอุปถัมภผูมีปญหาเรื่องตา ชื่อเธอมาจากคําวา Lux แปลวา แสงสวางครับ

เธอมาจากครอบครัวร่ํารวย Eutichia และ Lucio เปนมารดาและบิดาของเธอLucia มาจากจดหมายของ Paolo บุตรแหงความสวาง ถวายตัวแดพระตั้งแตเด็กอยางลับๆโดยแมแตแม ก็ไมทราบมากอนวาจะถือความบริสุทธ์ิ

- เธอกับแมท่ีปวยเปนโรคท่ีรักษาไมได ไปท่ี Catania เมืองท่ีอยูไมไกลจากเมืองของเธอมากนัก ฉลองนักบุญอากาทา เพราะมีอัศจรรยมากมาย เธอแนะนําแมใหไปจับหินศพของทาน เพื่อใหหายจากโรค เธอและแมกลับหลับไหลไปภายในวัดอากาทานั้นเองนักบุญอากาทามาเขาฝนบอกวา ทําไมมาขอใหรักษาแม ในเม่ือเธอเองก็ทําใหหายไดและท่ีสุดแม ของเธอก็มองเห็นไดอยางดี เธอแนะนําใหแมขายทรัพยสินท้ังหมดแจกจายใหแกคนยากจน

- ในสมัยของการเบียดเบียนศาสนา เธอถูกบังคับใหถวายของแดพระเท็จเทียมแตเธอยอมตาย ไมยอมทําตามนั้นดวยการถูกตัดศีรษะ

Page 9: Buon Giorno,italia

9

- ศพของเธอถูกฝงไว คาตาคอมบ ภายหลังการเบียดเบียนยายมาอยูวัดนอยท่ีสรางเปนเกียรติใหแกเธอ และท่ีสุดก็ไดสราง Basilica มีอารามดวยท่ี Siracusa ตอมาอีกไมนานนัก แขกอาหรับบุกยึด Siracusa มีคนนําศพเธอไปซอนไว ในป 1039กองทัพ Byzantine ไลแขกอาหรับไปได จึงนําพระธาตุไปไวท่ี Constantinople และในป1204 Doge ของเวนิซ หลังจากยึดครองเมืองคอนแสตนติโนเปลแลวนําศพกลับมาท่ีVenice พรอมกับพระธาตุของอากาทาดวย แรกทีเดียวอยูท่ี San Giorgio Maggiore มีคนมาแสวงบุญมาก จนเกิดโศกนาฎกรรมจมน้ําตาย ยายมาอยู ท่ีวัด S. MariaAnnunziata มีการแหอยางย่ิงใหญ ป 1280 และในป 1313 มีวัด S.Lucia ตั้งอยูในท่ีท่ีเปนสถานีท่ีรถไฟมาเวนิซ จนกระท่ังในป 1860 ยายมาท่ีวัด S.Geremia เพราะตองรื้อวัดซานตา ลูเชีย เพื่อสรางสถานีรถไฟ บุญราศี Pope John 23 เปนผูแนะนําใหทําหนากากเงินสําหรับพระธาตุเธอดวย เราจะเห็นท่ีใบหนาของทานมีหนากากเงินสวมอยู

เราอาจจะไมสามารถถวายมิสซาท่ีมหาวิหารนักบุญมารโก แตเราก็จะถวายมิสซาท่ีวัดซานเยเรมีอา สวดขอทานนักบุญลูเชีย ตัวอยางความเชื่อของเราคริสตชน

IV Firenze หรือ Florenceผานมาถึงเมืองฟเรนเซหรือท่ีรูจักกันในภาษาอังกฤษวา ฟลอเรนซ ก็ตองแวะให

สักหนอย ถาไมแวะเลยก็ออกจะเสียดาย แตแวะนานไปก็ไมได เพราะเวลาบังคับมากเหลือเกิน หากจะชมฟลอเรนซใหจุใจจริงๆ ก็ควรอยูท่ีนี่เลยอยางนอยก็สามวันครับ แตถารักศิลปะและศิลปนแบบท่ีเรียกวาอยูในสายเลือด ก็ตองอยูเปนเดือนๆละครับ ท่ีนี่มีพิพิธภัณฑและท่ีแสดงงานศิลปะอยูเกือบรอยแหง มีงานทางสถาปตยกรรมอีกมากมายพรอมท้ังประวัติศาสตรอันยาวนานของเมืองนี้ มีสถานท่ีท่ีนาสนใจอยูหลายแหง จะแนะนําเล็กนอย อยางนอยรูไวใชวานะครับ

แหงแรก ขอแนะนําใหรูจักกับ Duomo ของเมืองนี้ เกือบทุกเมืองในอิตาลีจะมีDuomo เพราะคืออาสนวิหาร วัดประจําตําแหนงสังฆราชของเมืองนั่นเอง ท่ีนี่เขาไมคอยชอบใชคําวา Cathedral หรือ Cattedrale เขาใชคําวา Duomo บางแหงใชจนเปนชื่อของวิหารไปเลยก็มี เชน Duomo ท่ีมิลาน เปนตน

Duomo Santa Maria del Fioreสําหรับวิหารแหงนี้มีชื่อเปนทางการวา อาสนวิหารพระนางมารียแหงดอกไม

Santa Maria del Fiore คงมีประวัติเก่ียวกับท่ีมาของชื่อนี้ เพราะเปนชื่อแมพระท่ีเราไมคอยไดยินและรูจัก วิหารนี้สรางโดย Giotto ศิลปนท่ีมีชื่อเสียงมากท่ีสุดคนหนึ่งในยุคนั้นเริ่มสรางในป 1334 และเม่ือเขาตายไป งานนี้ก็สืบตอโดย Andrea Pisano จนกระท่ังมาถึงสมัยของ Brunelleschi วัดนี้สรางในแบบโกธิคท่ีมีความหมายวา นําไปสูสวรรค

Page 10: Buon Giorno,italia

10

ครับ ลักษณะเดนก็คือศิบปะท่ีมียอดแหลมนําทุกคนไปหาพระเจา สรางในตําแหนงท่ีครั้งหนึ่งเคยเปนวัดของนักบุญ Santa Reparata องคนี้ก็เหมือนกันครับ ยังไมคอยรูจักเปนวัดเดิมท่ีสรางตั้งแตศตวรรษท่ี 7 ซากของวัดเดิมนี้ยังถูกเก็บรักษาไวท่ีวัดนอยใตดินของอาสนวิหารนี้เอง แมวาการเขาชมอาสนวิหารจะไมมีคาเขา แตจะลงไปในคริปตใตดินนี้จะตองเสียสตางค จากภายนอกของอาสนวิหารจุดเดนของวิหารนี้คือ การใชหินออน 3 สีคือ สีชมพู สีขาวและสีเขียว ทําใหวิหารดูมีชีวิต ตางจากภายในวิหารท่ีใชสีโทนเดียวกันและเรียบงาย ท้ังนี้ เพื่อใหลวดลายของการปูหินโมเสส Mosaic โดดเดนข้ึนนอกจากนี้แสงสวางท่ีเขามาทางหนาตางของวิหาร ยังชวยใหการชมวิหารมีรสชาติเพิ่มข้ึนดวย

เหนือทางเขาภายในวิหาร มีนาฬิกาเรือนหนึ่งแขวนอยู ออกแบบในป 1443 โดยPaolo Uccello เวลาของอิตาลีสมัยนั้น ชั่วโมงท่ี 24 ซ่ึงเปนสิ้นสุดวันคือ เวลาพระอาทิตยตก นาฬิกาเรือนนี้ถูกออกแบบใหใชเวลาตามนั้น ปจจุบันก็ยังคงทํางานอยูครับแตใครจะดูออกและเขาใจแคไหนก็คงแลวแตการสังเกตของแตละคนละครับ เขาวิหารแลวแหงนดูเปนขวัญตาหนอยก็ดีครับ แลวมาเลาใหฟงหนอยวามันทํางานอยางไร

จุดเดนของวิหารนี้อีกอยางหนึ่งก็คือ โดมแปดเหลี่ยม ชาวอิตาเลียนเขาเรียกวาCupola สรางโดย Filippo Brunelleschi ซ่ึงชนะการประกวดออกแบบในป 1418 เปนรูปไขและในการยกโดมข้ึน ไมมีการใชนั่งรานอีกดวย โดมนี้ถือวา เปนโดมท่ีใหญท่ีสุดในโลกสมัยนั้นทีเดียวครับ สรางเสร็จในป 1436 และทําการเสกทันที ท้ังๆท่ีสวนอื่นๆของวิหารยังไมเสร็จดีดวยซํ้า เขาไปในวิหารแลวมองข้ึนไปท่ีโดมก็จะพบกับภาพวาดแบบเฟรซโค เปนการวาดบนปูนท่ีเปยกหมาดๆ ตองใชความสามารถและการเตรียมการลวงหนาอยางดี ภาพจะติดแนนกับปูนนานเทานาน ออกแบบโดย Visari ในป 1572 แตคนวาดคือลูกศิษยของเขาชื่อ Zuccari เสร็จในป 1579 เปนภาพการตัดสินครั้งสุดทายของพระหรือท่ีเราเรียกวา การพิพากษา ประมวลพรอมนั่นแหละครับ ไหนๆก็แหงนหนาดูท่ีโดมแลวก็ดูอีกนิดหนึ่ง เราจะเห็นระเบียงใตโดมดวย ท่ีนาสังเกตก็คือระเบียงแปดเหลี่ยมนี้ มีเพียงระเบียงเดียวท่ีสรางเสร็จ อีกเจ็ดดานยังเปนเพียงหินหยาบๆเทานั้นไมไดรับการตกแตงอะไร ระเบียงสรางโดย Baccio d’Agnolo ในป 1507 หลังจากสรางเสร็จไปหนึ่งดาน มีคนไปถามความเห็นของ Michelangelo ซ่ึงทุกคนเคารพและถือวาเปนปรมาจารยแหงศิลปะ ไมเคิ้ล แอนเยโล ตอบวา มันดูเหมือนกรงจิ้งหรีด คําตอบนี้ทําใหงานท่ีเหลือท้ังเจ็ดดานหยุดไปทันทีจนถึงทุกวันนี้ ผูท่ีตองการข้ึนไปชมภาพวาดเฟรซโคชัดๆ และชมวิวเมืองฟเรนเซก็สามารถซ้ือตั๋วข้ึนไปชมได ท่ีนี่ไมมีลิฟทบริการ ตองเดินข้ึนบันไดไป มีท้ังหมดแค 463 ข้ันเทานั้นเอง ภาพเฟรซโคนี้ เพิ่งไดรับการทําความสะอาดลาสุดในป 1996 นี้เอง ใชเงินไปมหาศาล จนกระท่ังชาวเมืองฟเรนเซเองยังตําหนิวา ใชเงินไปมากมาย โดยไมมองความจําเปนของประชาชน ขอแนะนําเฉพาะคนหนุมคนสาวหากมีโอกาสก็ข้ึนไปนะครับ เปนประสบการณท่ีจะไมมีวันลืมเลย แตถาอายุมากพอควร

Page 11: Buon Giorno,italia

11

แลวหัวใจไมดีก็อยาเสี่ยงชีวิตเลยครับ ดูรูปภาพเอาเองดีกวา สวยกวาท่ีเราจะข้ึนไปดูเองนะครับ

Baptistery สถานที่ลางบาปไมแนใจนักวา จะไดเขาชมหรือไมเพราะตองเสียคาใชจายและมีผูเขาชมมาก แต

สถานท่ีไมใหญมากนัก นับเปนสิ่งกอสรางท่ีเกาแกท่ีสุดหลังหนึ่งในฟเรนเซ ไมรูเวลาท่ีแนชัด ในยุคกลางเชื่อกันวา เปนวิหารของชาวโรมันมอบถวายแด เทพอังคารโดยดูจากการตกแตงและการออกแบบ แตยังไมมีหลักฐานแนชัดเก่ียวกับเรื่องนี้

ในบานเราไมมีท่ีลางบาปในลักษณะนี้เลย อยางมากท่ีสุดก็จะมีอางลางบาปท่ีทําเฉพาะ เพื่อการลางบาปเทานั้น เชน ท่ีวัดอัสสัมชัญของเรา แตเดิมผูท่ียังไมไดรับศีลลางบาป ไมสามารถเขารวมในพิธีมิสซาไดเลย พวกเขาตองอยูภายนอกวัด แมแตผูท่ีกําลังเตรียมตัวเปนคริสตชนก็ยังเขาไดเพียงบางสวนเทานั้น การลางบาปจึงทํากันภายนอกวัดจึงมีการสรางท่ีลางบาปข้ึน และเนื่องจากการลางบาปเปนการเกิดใหมในพระเจา เปนลูกของพระเจา การสรางนี้จึงสรางอยางสงางามและสมเกียรติ ในอิตาลีท่ีเรายังพบเห็นอยูก็มีท่ี ปซา และท่ีเมืองซีเอนา จึงไมนาแปลกใจ ท่ีเราจะเห็นท่ีลางบาปแตละแหงสรางอยางวิจิตรบรรจง เพื่อตอนรับตริสตชนใหมนั่นเอง จากนั้นพวกเขาจะสามารถเขาไปในวัดวิหาร รวมพิธีกรรมอยางสมบูรณ

ท่ีฟเรนเซนี้ เราจะเห็นการแกะสลักประตูของท่ีลางบาปนี้ เปนงานแกะท่ีสําคัญท่ีสุด ในแควนทัสโคนีเลย ประตูถูกแกะสลัก ทําดวยทองสําริด ประตูทิศใตเปนฝมือของAndrea Pisano ในป 1336 ประตูทางทิศเหนือและตะวันออกเปนฝมือของ LorenzoGhiberti ในป 1427และ 1452 มีชื่อเรียกวา ประตูแหงสวรรค Gate of Paradiseนับเปนศิลปะท่ีดีท่ีสุดชิ้นหนึ่ง ประตูแทๆ เวลานี้อยูในพิพิธภัณฑของอาสนวิหาร ท่ีแสดงอยูภายนอกนี้เปนของจําลอง อีกชิ้นหนึ่งท่ีแสดงอยูในพิพิธภัณฑก็คือ งานสลักหินออนท่ีอยูเหนือประตูท่ีเปนรูปพระเยซูเจารับพิธีลาง ฝมือของ Andrea Sansovino ท่ีเห็นอยูนี้เปนรูปจําลองครับ

ถาดูไดแคภายนอกก็แนะนําใหไปดูประตูแหงสวรรคนะครับ แมเปนรูปจําลองแตก็คลายของจริงมากๆ มีท้ังหมด 10 รูปดวยกัน เราคริสตชนดูแลวพอนึกเรื่องออกแตถาไมใชก็คงเขาใจไดยากมาก ดูเอาเองนะครับวา รูปไหนอยูไหน รูปอาดัมกับเอวา กาอินกับอาแบล นอแอเมาเหลา อาบราฮัมและอิซาอัค เอเซากับยากอบ โยเซฟถูกขายเปนทาส โมเสสกับบัญญัติสิบประการ เมืองเยริโคลมสลาย เดวิดกับโกไลแอท โซโลมอนกับราชินีแหงเชบา นอกจากนี้ก็มีงานสลักอีกมากท่ีสามารถชมไดจากภายนอก เขาไปภายในกันบาง ถาเขาได เราจะพบงานหินโมสาอิคท้ังท่ีโดมเองและท่ีพื้นดวย เปนงานในสมัยศตวรรษท่ี 12 และ 13 มีงานทางดาราศาสตรชิ้นแรกอยูในงาน โมซาอิคครั้งนี้ดวย และยังมีงานปนตางๆภายในท่ีนาสนใจสําหรับผูท่ีชื่นชอบศิลปะเปนพิเศษ รวมท้ังงานของ

Page 12: Buon Giorno,italia

12

Cimabue ซ่ึงเปนอาจารยของ Giotto ผูสรางอาสนวิหารดวย ภายในยังมีหลุมฝงศพของ ยอหนท่ี 23 ซ่ึงเปนแอนตี้โปป และมาตายท่ีเมืองฟเรนเซในป 1426 เรื่องของแอนตี้โปปนี้ มีหลายองคมาก เปนเรื่องสมัยท่ีพระศาสนจักรมีพระสันตะปาปาพรอมกันถึงสององค และตอมาพรอมกันถึงสามองค องคท่ีไมใชพระสันตะปาปาแทถูกเรียกวา แอนตี้โปปครับ

คิดวาคงจบการชมฟเรนเซแลว ก็อยางท่ีบอกเขาชมอาสนวิหารไมเสียตัง แตเขาอาจจะขอรองใหเชาหูฟงเพื่อไมไหใชเสียงมากในวิหาร การเขาชมพิพิธภัณฑ การชมวัดนอยใตดิน การข้ึนไปชมโดมและชมวิวเมือง การข้ึนชมวิวเมืองโดยใชทางข้ึนหอระฆัง ชมท่ีลางบาป ลวนแตตองซ้ือตั๋ว เขามีหลายประเภท ถาเขาชมทุกอยาง ราคาก็จะถูกลงครับ ถาซ้ืออยางเดียวก็แพงหนอย อิตาเลียนไมแพใครเรื่องการคานะครับ

ก็อยางท่ีบอกครับ ฟเรนเซมีท่ีนาชมอีกมากมาย แตเฉพาะผูท่ีมีเวลาและรักศิลปะอยางเชนท่ี Galleria dell’ Accademia ถามใครท่ีนี่ตองรูจัก เพราะตองการไปดูงานชิ้นเอกของไมเคิ้ล แอนเยโล รูปสลักหินออนเดวิด แตเดิมรูปนี้ตั้งอยูท่ี Piazza dellaSignoria ซ่ึงตั้งรูปจําลองไวใหชมกันเหมือนกัน พิพิธภัณฑท่ีมีชื่อเสียงอีกแหงหนึ่งก็คือGalleria Uffizi อีกแหงหนึ่งท่ีนาสนใจ ก็คือ สะพานเกา Ponte Vecchio เดิมเปนตลาดขายเนื้อนะครับ ตอมาเปนท่ีขายทองคํา รูปพระทองคําท่ีนี่ก็ไมเลวเลยนะครับ แตก็แพงมาก เปนสะพานท่ีสามารถชมความงามของเมืองไดจากกลางสะพาน วากันวาเปนสะพานเดียวท่ีไมไดรับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งท่ีสอง เวลาเย็นคือเวลาท่ีสวยงามท่ีสุด สงสัยเราจะอยูไมถึงเย็นนะครับ ใครท่ีจะมาอีกครั้งหนึ่งท่ีนี่ ก็อยาลืมจัดเวลาหลายวันหนอยจะดีกวา สําหรับพวกเราสวดภาวนากันท่ีนี่ ชมศิลปะทางศาสนาก็อิ่มใจแลวละครับ

V Assisi อัสซีซีเมืองเล็กๆท่ีทัวรไทยท่ัวไปไมพานักทองเท่ียวมา ยกเวนทัวรคาทอลิกเทานั้น

ผูท่ีมาก็เปนคาทอลิกท่ีรูจักหรือรับรูความศักดิ์สิทธ์ิของนักบุญฟรังซิสแหงอัสซีซีและนักบุญคลารา ครั้งหนึ่ง เคยมีภาพยนตรเรื่อง Brother Sun and Sister Moon มาฉายในเมืองไทยดวย จําไมไดวาตั้งชื่อเรื่องเปนภาษาไทยวาอยางไร ทําใหเรารูจักชีวิตสวนหนึ่งของนักบุญท้ังสองดีข้ึน แนนอนวาหนังเรื่องนี้ไมสามารถทําเงินไดมากนักในบานเราเราจะมาเย่ียมนักบุญท้ังสองกันท่ีอัสซีซี เมืองท่ีนักบุญฟรังซิสเกิดและตาย เมืองท่ีเกิดคณะท่ีเรารูจักในนามคณะฟรังซิสกัน ชื่อคณะคือ Friars Minor หรือภราดานอย

Page 13: Buon Giorno,italia

13

Basilica Papale di San Francescoมหาวิหารแหงนี้วางศิลาฤกษโดยพระสันตะปาปา เกรโกรี ท่ี 9 วัน ท่ี 16

กรกฎาคม 1228 วันเดียวกับท่ีพระองคประกาศใหทานเปนนักบุญ พระองคประกาศดวยวามหาวิหารนี้เปนสมบัติโดยตรงของพระสันตะปาปา มหาวิหารมีสองชั้น ชั้นลางสรางเสร็จในป 1230 และในวันสมโภชพระจิตเจา 25 พฤษภาคม 1230 มีพิธีแหแหนรางกายท่ีไมเนาเปอยของทาน จากท่ีฝงศพชั่วคราว ของทานท่ีวัดนักบุญ George (ปจจุบันก็คือมหาวิหารนักบุญคลาราแหงอัสซีซี)มาไวท่ีมหาวิหารชั้นลางนี้เอง ทําไมศพของทานไปอยูท่ีวัดชั่วคราว ก็เพราะวา หากไมนําไปซอนแลวศพของทาน อาจถูกขโมยได เพราะทุกคนตองการพระธาตุของทาน สวนมหาวิหารชั้นบน สรางเสร็จในป 1253 มหาวิหารท้ังสองชั้นนี้เสกโดยพระสันตะปาปา อินโนเซนตท่ี 4 ในป 1253 จัตุรัสท่ีอยูหนามหาวิหารเต็มไปดวยเสาหินมากมายนี้ เปนอาคารท่ีพักสําหรับผูจาริกแสวงบุญมากมายมหาศาล ท่ีมายังสถานท่ีแหงนี้ ในสมัยพระสันตะปาปา ปโอท่ี 9 พระองคสั่งใหสรางวัดนอยใตดินเพื่อเปนท่ีเก็บศพของทานนักบุญ และสรางเสร็จสมบูรณในป 1932 โลงศพหินเดิมพรอมท้ังเหล็กยึดตั้งแสดงอยูเหนือแทนของวัดนอยใตดินนี้ รอบๆแทนนี้ติดกําแพง เพื่อนๆบราเดอรของทานนักบุญ ไดถูกนํามาฝงไวท่ีนี่ดวย มีบราเดอร รูฟโน บราเดอรอันเยโล บราเดอรมาสเซโอ บราเดอรเลโอเน และบริเวณทางเขาวัดนอยใตดินมีท่ีเก็บศพของสตรีผูหนึ่งชื่อJacopa dei Settesoli เปนสตรีสูงศักดิ์ชาวโรมัน เปนเพื่อนท่ีซ่ือสัตยและผูอุปถัมภนักบุญฟรังซิสเสมอมา เธอเปนผูท่ีอยูขางๆทานนักบุญในเวลาท่ีทานเสียชีวิต เม่ือพูดถึงมหาวิหารวา เปนมหาวิหารพระสันตะปาปา Basilica Papale ก็ยอมหมายความวามหาวิหารนี้มีสิทธิพิเศษ การตัดสินใจเก่ียวกับมหาวิหารนี้ การเปลี่ยนแปลง ตอเติมการขออนุญาตตางๆตองมาจากพระสันตะปาปากอนเสมอประหนึ่งวาพระองคเปนเจาวัดเองดังนั้นพรท่ีไดรับจากท่ีนี่ก็เปนพรพระสันตะปาปาดวยนะครับ เรามีสิทธ์ิรับพระคุณการุณยเสมอทุกครั้งท่ีมาท่ีนี่

วันท่ี 27 ตุลาคม 1986 พระสันตะปาปา ยอหนปอลท่ี 2 จัดใหมีการสวดภาวนาสากล เพื่อสันติภาพท่ีอัสซีซีโดยมีผูแทนจากศาสนาตางๆท่ัวโลก 120 ทาน ท้ังนี้ก็เพราะบทภาวนาของทานนักบุญฟรังซิส ท่ีสวดใหเราทุกคนเปนผูนําสันติภาพนั่นเอง บทนี้เราทุกคนคงเคยไดยิน และไดสวดมาแลว มีการนําไปแตงเปนเพลงดวยนะครับ มีขาวดีก็ตองมีขาวราย วันท่ี 26 กันยายน 1997 เกิดแผนดินไหวระดับ 5.5 และ 6.1 ริคเตอรทําใหมหาวิหารเสียหายอยางหนัก ระหวางการสํารวจความเสียหาย ก็เกิดอาฟเตอรช็อค ทําใหมีผูเชี่ยวชาญและบราเดอรสองทานเสียชีวิตไปดวย ภาพเฟรซโกประวัติชีวิตของทานนักบุญฝมือของ Giotto ถูกทําลายจากการลมครืนของมหาวิหาร มหาวิหารถูกปดซอมเปนเวลาสองป ท่ีสุดตามมาดวยขาวดีท่ีวา องคการสหประชาชาติใหมหาวิหารนี้เปนมรดกโลกตั้งแตป 2000 เปนตนมา

Page 14: Buon Giorno,italia

14

เร่ืองราวส้ันๆเกี่ยวกับนักบุญฟรังซิส- วันอาทิตยใบลานป 1211 ท่ีวัด Santa Maria degli Angeli คลาราขอฟรังซิสรับเขาคณะดวย คลาราไดรับมอบเสื้อนักบวชจากทานนักบุญ ตอมามีนองสาวของคลาราและเพื่อนๆอีก ขอรวมคณะดวย ท่ีสุดก็เปนคณะคลาริสต จนถึงปจจุบัน ตอมาก็มีการปฎิรูปคณะจนมีคณะเพิ่มข้ึน เชน คณะกาปูชิน เปนตน- คริสตสมภพป 1223 ท่ี Greccio ทานไดทําถํ้าพระกุมารข้ึนเปนครั้งแรก และใชสัตวท่ีมีชีวิต มาประกอบถํ้าดวย ในระหวางมิสซารูปพระกุมารท่ีทานอุมอยูไดมีชีวิตในออมแขนของทานดวย ตั้งแตนั้นมาก็มีธรรมเนียมทําถํ้าพระกุมารในเทศกาลคริสตสมภพ- รอยแผลศักดิ์สิทธ์ิ วันท่ี 17 กันยายน 1224 สองปกอนท่ีทานจะตาย ขณะท่ีกําลังสวดภาวนา ทานไดเห็นเทวดาเซราฟมองคหนึ่งถูกตรึงกางเขน กอนท่ีภาพนิมิตจะจบก็ปรากฏรอยแผลท่ีมือและท่ีเทาของทาน และสีขางดานขวาก็ปรากฏรอยแผลท่ีหอกแทงดวยจนกระท่ังวันตายทานพยายามท่ีจะปดบังรอยแผลนี้อยูเสมอ ดวยเหตุนี้เอง ทานจึงไดรับฉายาหนึ่งวา เปน Alter Christus- ทานเจ็บปวยอยูนาน ป 1226 ทานอยูท่ีเมืองโบโลญา ทานขอกลับไปตายในสถานท่ีทานชอบเปนพิเศษคือ Porziuncola ทานเสียชีวิตท่ีนี่เอง วันท่ี 3 ตุลาคม 1226 ศพของทานถูถนํามาท่ีอัสซีซี มายังวัด San Damiano เพื่อให Chiara และนักบวชในคณะไดคํานับเปนครั้งสุดทาย แลวจึงถูกนําไปท่ีวัด San Giorgio

Santa Maria degli Angeli: Patriarchal Basilica and Papal Chapelมาถึงอัสซีซี ก็ควรมาเย่ียมวัดท่ีสําคัญท่ีสุดอีกแหงหนึ่งของพระศาสนจักรดวยนั่น

คือ วัดแมพระแหงเทวดา แปลแบบไทยก็คงเชยแบบนี้ เพราะหาคําตรงๆไมได แตถาพูดถึงเมืองลอส แอนเจอลีส Los Angeles แลวเราก็คงคุนกันดีนะครับ ตอนท่ีเสปนตั้งชื่อเมืองนี้ในทวีปอเมริกา พวกเขานําชื่อนี้มาจากมหาวิหารแหงนี้ โดยกลาวถึงแมพระท่ีPorziuncola ซ่ึงเปนสถานท่ีนักบุญ ฟรังซิสพบกระแสเรียกและเปนอารามแหงแรกของทานอีกดวย ตั้งอยูภายในมหาวิหารนี้เอง ตอนนี้มารูจักกับ Patriarchal Basilica และPapal Chapel กันกอนนะครับ

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสไดรับแตงตั้งเปน Papal Basilica แตมหาวิหารแมพระนี้เปน Patriarchal Basilica ก็หมายความวา ข้ึนโดยตรงตอผูมีตําแหนง Patriarch หรือแปลเปนไทยวา สังฆอัยกา เปนตําแหนงเกียรติยศสําหรับเมืองสําคัญๆของพระศาสนจักร ใครก็ตามเปนสังฆราชปกครองเมืองเหลานี้ ก็จะไดรับตําแหนงนี้ รวมถึงตําแหนงพระคารดินัลดวย อยางเชน ท่ีเวนิซท่ีเคยเลาใหฟงไปแลว สวน Papal Chapel ก็หมายความวามหาวิหารนี้ไดรับเกียรติเปนวัดนอยของ พระสันตะปาปาอีกดวย ตามปกติผูไดรับตําแหนงจิตตาภิบาลวัดนอยแบบนี้ จะไดรับตําแหนง มอนซินญอร หวังวาคงไมงงกันมากนักนะครับ

Page 15: Buon Giorno,italia

15

มหาวิหารนี้ สรางอยูเหนือสถานท่ีสําคัญๆหลายแหงท่ีเก่ียวของกับชีวิตศักดิ์สิทธ์ิของนักบุญฟรังซิส ทําใหมีผูมาแสวงบุญท่ีนี่มากมาย หลังจากความตายของทานในป1226 เรื่อยมา จนในท่ีสุดพระสันตะปาปา ปโอท่ี 5 สั่งใหยายสิ่งกอสรางตางๆ บริเวณนี้ออกไป เพื่อสรางมหาวิหารในป 1569 การกอสรางเสร็จสิ้นลงในป 1679 ใชเวลารวมนานถึง 110 ปใกลเคียงกับการสรางมหาวิหารนักบุญเปโตรทีเดียว นอกจากนี้ก็มีการตอเติมสรางเริ่มเรื่อยมา ในท่ีสุดวันท่ี 11 เมษายน 1909 พระสันตะปาปา ปโอท่ี 10 ยกฐานะใหเปน Patriarchal Basilica and Papal Chapel เรามาทําความรูจักกับสถานท่ีสําคัญๆภายในกันดีกวาครับ

Porziuncolaเปนสถานท่ีสําคัญท่ีสุดสําหรับคณะฟรังซิสกัน เปนท่ีรกรางมานาน ทานพบ

กระแสเรียกท่ีนี่ และกอตั้งคณะภราดานอยของทานท่ีนี่เอง ในป 1209 อุทิศวัดนอยนี้ในความอุปถัมภของแมพระ คณะเบเนดิกตินมอบใหทานทําเปนศูนยกลางของคณะใหม ในวันท่ี 28 มีนาคม 1211 Chiara ขอเขาคณะของฟรังซิสท่ีนี่ และเธอไดรับเสื้อนักบวชจากมือของทานท่ีนี่เองและเปนจุดเริ่มตนของคณะนักบวชหญิง Poor Clare หรือ claristตนกําเนิดแรกของคณะกาปูชินท่ีเรารูจักกันดี

เปนสถานท่ีไดรับสิทธิพิเศษจากพระเยซูเจาและจากพระสันตะปาปาดวย นั่นคือสามารถรับพระคุณการุณยครบบริบูรณไดเสมอทุกครั้งท่ีมาท่ีนี่ รูจักกันในนามวาพระคุณการุณยแหงการยกโทษ Indulgence of Porziuncola คืนหนึ่งในป 1216 ฟรังซิสกําลังสวดภาวนาอยู พลันก็มีแสงสวางเขามา ทานเห็นพระเยซูเจา แมพระและเทวดามากมายยืนอยูเหนือพระแทนบูชา พระเยซูเจาถามทานวา ทานจะขออะไร เพื่อความรอดของวิญญาณท้ังหลาย ทานตอบวา ขาพเจาขอใหทุกคนท่ีมาท่ีนี่ ท่ีเปนทุกขและรับศีลอภัยบาปไดรับการยกบาปและโทษบาปท้ังหมด พระองคตอบวา ท่ีทานขอนั้นย่ิงใหญมาก และทานสมควรท่ีจะไดรับสิ่งท่ีย่ิงใหญและมากกวานั้นดวย เรารับคําวอนขอนี้ แตทานตองไปขออนุญาตจากผูแทนของเราบนโลกนี้กอนดวย สําหรับพระคุณการุณยนี้ฟรังซิสไปพบพระสันตะปาปา โอโนรีโอท่ี 3 ซ่ึงตั้งใจฟงทานและท่ีสุดก็ใหการรับรองพระองคถามทานวา ฟรังซิส พระคุณการุณยท่ีทานขอนี้สําหรับก่ีป ฟรังซิสตอบพระสันตะปาปาวา ขาพเจาไมไดขอจํานวนป แตขอวิญญาณ ( non anni, ma anime) ในวันท่ี 12 สิงหาคม1216 พระสันตะปาปาประกาศตอหนาพระสังฆราชของแควนนี้และตอหนาคริสตชนท่ีวัดแหงนี้วา พี่นองของเรา เราตองการสงพวกทานทุกคนไปสวรรค

Il Transito : the transitเปนซอกหินเรียบๆ ธรรมดาๆ ใชเปนท่ีพยาบาลรักษาตัวของอาราม ทานมาพัก

ท่ีนี่ในชวงปลายของชีวิต ท่ีนี่เอง ทานเปลือยเปลาอยูบนพื้นแผนดินท่ีวางเปลา และ

Page 16: Buon Giorno,italia

16

หลังจากไดแตงบทเพลงแหงสิ่งสรางท่ีตองตายแลว ทานก็เสียชีวิตท่ีนี่เอง ในเย็นวันท่ี 3ตุลาคม 1226 ทุกวันท่ี 3 ตุลาคม จะมีพิธีเฉลิมฉลองทานนักบุญท่ีนี่ พรอมท้ังขบวนแหของสมาชิกฟรังซิสกัน ทานเปนองคอุปถัมภของอิตาลี

Il Roseto กุหลาบแหงอัสซีซีสถานท่ีมีกุหลาบนี้ อยูในสวนท่ีบรรดานักพรตอาศัยอยู ฟรังซิสกําลังถูกประจญ

ใหสงสัยและใหตกในการประจญลอลวงเรื่องชีวิตบริสุทธ์ิ ทานตอสูและตัดสินใจกรโดดเขาไปในดงกุหลาบเพื่อเอาชนะการประจญนั้น กุหลาบเหลานั้นไดกลายเปนกุหลาบไรหนามและมีอยูเฉพาะท่ีอัสซีซีเทานั้น รูจักกันในนาม กุหลาบแหงอัสซีซี

ท่ีมหาวิหารแหงนี้เปนสถานท่ีสําหรับสวดภาวนา รําพึงถึงชีวิตศักดิ์สิทธ์ิของทานนักบุญ และเม่ือมาถึงแลว ก็ควรทําพระคุณการุณยดวย เพราะเปนสิทธิพิเศษ บาปทุกบาปไมวาบาปใด สามารถไดรับการยกท่ีนี่ดวย ท่ีจริงท่ีอัสซีซี ยังมีสถานท่ีสําคัญอีกหลายแหงสําหรับเรา เชน วัด San Damiano วัดท่ีพระเยซูเจาตรัสกับทานจากกางเขนของวัดใหไปซอมแซมบานของพระองค เปนตน ท้ิงบางอยางไวบางก็ดีเหมือนกันนะครับ เพราะเราจะไดมีเหตุผลกลับมาเย่ียมท่ีนี่อีก ดีม้ัยครับ

San Damiano Crossกางเขนซาน ดามีอาโน หรือท่ีเรารูจักกันในชื่อ กางเขนนักบุญฟรังซิส สําหรับเรา

กางเขนแบบนี้ อาจจะมีรูปรางหนาตาแปลกสักหนอย เพราะเต็มไปดวยเรื่องราว มีรูปบุคคลตางๆมากหลายปรากฏในกางเขนนี้ดวย ท่ีจริงก็เปนกางเขนศิลปะ ไอคอน เปนศิลปะท่ีนิยมกันมากในศตวรรษท่ี 12 ใหความหมายของเหตุการณและใหความเชื่อเขมแข็งมากข้ึน นิกายออรโธดอกชอบศิลปะแบบนี้มาก ในยุโรปเองก็มีมากแถบบริเวณแควนอุมเบรีย อิตาลี เมืองอัสซีซีเองก็อยูในแควนนี้ดวย

ชื่อกางเขน ซาน ดามีอาโนก็เพราวา วันหนึ่งฟรังซิสเดินผานวัดนี้ซ่ึงเปนวัดเกาแกมากและ ผุพัง ทานไดรับการดลใจใหเขาไปสวดภาวนา คุกเขาตอหนากางเขนนี้ ทานเห็นริมฝปากของพระเยซูเจาตรัสวา ฟรังซิส จงไปซอมบานของเรา ท่ีเจาก็เห็นแลววากําลังผุพังเกือบหมดแลว ฟรังซิสตอบวา ลูกพรอมท่ีจะทําพระเจาขา ทานทําการซอมแซมโบสถซาน ดามีอาโน ตอมาทาน เสริมสรางชีวิตคริสตชน และทานก็สรางพันธกิจของคณะฟรังซิสกัน พระสันตะปาปาอินโนเซนต ท่ี 3 ฝนเห็นมหาวิหาร ยอหน ลาเตรันกําลังจะลมและมีบุรุษรางเล็กมาค้ําไวไมใหลม พระองครับรองคณะและวินัยของคณะฟรังซิสกัน ท่ีหนามหาวิหารลาเตรันยังมีอนุสาวรียรูปนักบุญฟรังซิสขอใหพระสันตะปาปารับรองวินัยคณะตั้งอยูดวย ตั้งแตนั้นมากางเขนนี้ไดกลายเปนสัญลักษณแหงพันธกิจของคณะฟรังซิสกัน เราอาจจะไมไดไปวัดซาน ดามีอาโนนี้ แตเราสามารถพบเห็นและเขาใจถึงความหมายของกางเขนนี้ ปจจุบันกางเขนท่ีเคยตรัสกับฟรังซิสตั้งอยูท่ีวัดนักบุญกลารา

Page 17: Buon Giorno,italia

17

เมืองอัสซีซี ถาหากใครมีกางเขนนี้แลวตองการสวดภาวนาแบบท่ีนักบุญฟรังซิสสอนก็ใชบทนี้นะครับ

ขาแตพระเจาผูทรงพระสิริรุงโรจนอันสูงสุด โปรดสองสวางความมืดในดวงใจขาพเจา โปรดประทานความเชื่อท่ีถูกตอง ความวางใจท่ีม่ันคงและความรักท่ีครบบริบูรณ โปรดประทานความเขาใจและความเฉลียวฉลาด เพื่อขาพเจาจะไดปฏิบัติตามพระบัญชาอันศักดิ์สิทธ์ิและเท่ียงแทของพระองคดวยเทอญ อาแมน

VVII โรมาโรมา :: นครอมตะนครอมตะ (Città Eterna)บทนํา

โรมา หรือ กรุงโรม ไดรับฉายาวา อมตะนคร หรือนครท่ีไมมีวันตาย เปนศูนยกลางแหงอารยธรรม ศูนยกลางแหงศิลปวัฒนธรรม ศูนยกลางการปกครองและอํานาจของอาณาจักรโรมัน นอกจากนี้ ยังเปนศูนยกลางทางศาสนาคริสต นับตั้งแตตนศตวรรษท่ี 4 เปนตนมาอีกดวย ผูท่ีมาเย่ียมชมกรุงโรมจึงมีจุดประสงคแตกตางกัน บางคนมากรุงโรมเพราะศิลปะ บางคนมา เพราะโบราณคดี บางคนก็มาเพราะประวัติศาสตร และบางคนก็มาดวยเหตุผลทางศาสนา ทุกอยางเหลานี้ กรุงโรมร่ํารวยดวยศิลปะ โบราณคดีประวัติศาสตร และศาสนาคริสต กรุงโรมจึงเต็มไปดวยเสนห มิใชจากสิ่งของวัตถุแตอยางเดียว แมกับผูคนและวัฒนธรรมความเปนอยูก็มีเสนหไมแพกัน ผูคนสนใจจะมากรุงโรมสมกับคําโบราณของโรมท่ีวา : “ถนนทุกสายมุงสูกรุงโรม” ใครก็ตามท่ีรูเก่ียวกับศาสตรแขนงตาง ๆ เหลานี้ ย่ิงมีความรูมากเทาใด ก็เท่ียวกรุงโรมดวยความสนุกมากเทานั้น กรุงโรมมีอะไร ๆ ใหคนหาไมรูสิ้นสุดจริง ๆ หากจะถามวาเท่ียวกรุงโรมก่ีวันจึงจะพอ ตอบไดเลยวาไมมีวันพอ ดวยเหตุนี้ จึงมีผูคนท่ีตองการหวนกลับมากรุงโรมอยูเสมอ แตจะทําอยางไรละ จึงจะไดกลับมาที่โรมอีก และนี่แหละ เปนสวนหนึ่งของฉายาของกรุงโรม“อมตะนคร”

เพื่อจะไดพบกับคําตอบ “ทําอยางไรละ จึงจะไดกลับมาท่ีโรมอีก” ขอนําทานมาใหรูจักกับ “น้ําพุเทรวี” (Fontana di Trevi) เพราะท่ีนี่มีคําตอบ เปนปรัมปราท่ีเลาขานสืบตอกันมา แตก็เลาขานไมเหมือนกันนัก แมจะไมเหมือนกัน แตก็มีสิ่งเหมือนกันก็คือ ทุกตํานานจะพูดถึงการกลับมา กรุงโรมอีกครั้งหนึ่ง

ตํานานเรื่องแรก เลาวา ผูท่ีโยนเหรียญ 1 เหรียญลงไปในน้ําพุเทรวี จะไดกลับมากรุงโรมอีกครั้ง แตหากโยน 2 เหรียญจะพบคูครองและไดแตงงาน แตถาใครอยากจะหยารางกับคูครอง ใหโยน 3 เหรียญ พูดงาย ๆ ก็คือ ใครอยากจะหยารางกับคูครอง ก็ตองลงทุนมากหนอย ใครจะไปรู อาจจะมีผูคนอธิษฐานเรื่องนี้ไวมากก็ไดนะ

Page 18: Buon Giorno,italia

18

ตํานานเรื่องท่ีสอง เลาวา ผูท่ีโยนเหรียญ 1 เหรียญลงไปในน้ําพุเทรวี จะไดกลับมากรุงโรมอีกครั้ง แตใครท่ีปรารถนาจะไดโชคลาภ ก็ตองโยนเหรียญ 3 เหรียญดวยมือขวา โดยโยนผานไหลซายของตน วิธีเดียวท่ีทําเชนนี้ได จึงตองหันหลังใหกับ“น้ําพุเทรวี” เพราะเหตุนี้ ปจจุบันใคร ๆ ท่ีโยนเหรียญก็มักจะหันหลังใหกับน้ําพุ ท่ีจริงก็ไมจําเปนนัก แตก็สนุกดีเหมือนกัน เพราะเวลาท่ีเราหันหลังโยนเหรียญ จะทําใหเราถายรูปไดสวย และสามารถมองเห็นท้ังหนาเราและก็น้ําพุดวย และก็มีหลักฐานวา เราไดไปโยนเหรียญท่ีน้ําพุแหงนี้มาแลวดวย

ตํานานเรื่องท่ีสาม เปนตํานานท่ีเลาอยูในหลักสูตรและในตําราเรียนของอิตาเลียนเลาวา ผูใดปรารถนาจะพบกับรักแท รักเดียวใจเดียว ใหโยนเหรียญ 1 เหรียญผูใดปรารถนาจะไดโชคลาภ ใหโยนเหรียญ 2 เหรียญ เลข 2 มีความหมายเทากับทวีคณูผูใดปรารถนาจะกลับมาท่ีกรุงโรมอีกครั้ง ก็ใหโยนเหรียญ 3 เหรียญ เลข 3 มีความหมายถึงนิรันดรกาล ความหมายนี้อาจจะมาจากความหมายในความเชื่อทางศาสนาคริสตดวย

ใครอยากจะเชื่อตํานานใดก็เชื่อได เพราะท้ังหมดนี้ เปนตํานาน (Legend) แตท่ีแน ๆ ก็คือ มีการประมาณกันวา แตละวันมีผูโยนเหรียญลงในน้ําพุเฉลี่ยแลววันละ3,000 ยูโร เหรียญเหลานี้ จะถูกเก็บไปโดยเจาหนาท่ีของกรุงโรม บางครั้งก็อาจจะหลาย ๆ วันติดกัน ในกรณีท่ีมีนักทองเท่ียวมาก ๆ แตบางครั้งก็เวนระยะดวย กรุงโรมนําเงินท้ังหมดนี้ไปสมทบกองทุนชวยเหลือคนยากจนของกรุงโรม อยางไรก็ตาม ก็มีคนบางคนท่ีหาทางขโมยเงินเหลานี้ดวยวิธีตาง ๆ อยูเสมอ ขโมยมีอยูท่ัวไปจริง ๆ

เสนหของ “น้ําพุเทรวี” ทําใหภาพยนตรหลายเรื่องพากันมาถายทําท่ีนี่ เรื่องท่ีมีชื่อเสียงมากหนอย เห็นจะเปนเรื่อง “Three coins in the fountain” และก็เรื่อง “LaDolce Vita” บางคนอานแลวอาจจะรูสึกอยากวายน้ําหรืออาบน้ําท่ีมีน้ําพุแหงนี้เสียเลยท่ีจริง เขาไมมีอนุญาตใหอาบน้ําท่ีน้ําพุนี้นะครับ

ขอมูลบางอยางท่ีควรรูเก่ียวกับ “น้ําพุเทรวี” ก็มีประโยชน อยางนอยก็รูอะไรไวบาง เวลาเลาใหเพื่อน ๆ ฟง จะไดมีเสนหเชนเดียวกับ “น้ําพุเทรวี”

1. ชื่อ Trevi : เทรวี มาจากคําภาษาอิตาเลียน Tre vie หมายความถึง ถนน 3 สายน้ําพุแหงนี้ สรางตรงจุดเชื่อมตอของถนน 3 สาย และเปนจุดปลายทางของทอสงน้ํา (Aqueduct) ท่ีมีชื่อวา “Aqua Virgo” ซ่ึงเปนทอสงน้ําท่ีเกาแกท่ีสุดอันหนึ่งของกรุงโรม จากจุดนี้ น้ําไดถูกสงไปหลอเลี้ยงกรุงโรมไกลถึง 13 กิโลเมตร ไปถึงบออาบน้ําของอากริปปา ซ่ึงเปนญาติของจักรพรรดิ Ottaviano ทอสงน้ํานี้ใชงานตั้งแตสมัยอาณาจักรโรมันรุงเรือง จนกระท่ังถูกพวกโกธ (Goth) ท่ีเขาปลนกรุง

Page 19: Buon Giorno,italia

19

โรม ไดทําลายไปในป ค.ศ. 537-538 ตามปกติแลว ชาวโรมันจะสรางน้ําพุไวบริเวณปลาย ทางของทอสงน้ํา

2. “น้ําพุเทรวี” เปนน้ําพุท่ีใหญท่ีสุดในกรุงโรม โดยใชศิลปะแบบบารอค (Baroque) ศิลปะแบบนี้ เปนความสงางามและความย่ิงใหญ

3. - พระสันตะปาปา นิโคลาส ท่ี 5 ซอมแซมทอสงน้ํา “Aqua Virgo” ข้ึนมาใชการใหมในป ค.ศ. 1453 และไดสรางน้ําพุข้ึนมา

- พระสันตะปาปา อูรบาโน ท่ี 8 ใหศิลปนผูมีชื่อเสียงมาก ไดแก Bernini ออกแบบบูรณะน้ําพุแหงนี้ใหดูตระการตามากข้ึน ในป ค.ศ. 1629 Bernini ไดขยายน้ําพุแหงนี้ และใหหันหนาน้ําพุแหงนี้ไปยังพระราชวัง Quirinale อันเปนพระราชวังท่ีประทับของพระสันตะปาปา ท้ังนี้ เพื่อใหพระองคสามารถชมความงามของน้ําพุแหงนี้ได(พระราชวัง Quirinale ปจจุบัน เปนวังของประธานาธิบดีแหงประเทศอิตาลี)

- ตอมา ในป ค.ศ. 1730 พระสันตะปาปา เคลเมนต ท่ี 12 มอบหมายให NicolaSalvi ออกแบบและเสริมสรางน้ําพุนี้ใหเปนศิลปะแบบบารอค งานนี้เริ่มตนข้ึนในปค.ศ. 1732 และสําเร็จบริบูรณในป ค.ศ. 1762 Nicola Salvi เสียชีวิตกอนงานเสร็จผูท่ีทําจนงานนี้สําเร็จ ไดแก Giuseppe Pannini

4. ปราสาทดานหลังของน้ําพุ ชื่อเต็มวา Palazzo Conti Duca di Poli เปนปราสาทประจําตระกูล Conti มีตําแหนงเปนทานดยุค (Duke)

5. ชื่อทอสงน้ํา “Aqua Virgo” มาจากเรื่องเลาท่ีสืบตอกันมาวา ทหารโรมันไดรับคําสั่งใหมาหาแหลงน้ํา เด็กหญิงคนหนึ่งไดชี้ใหมาพบแหลงน้ํานี้ และปรากฏวา เปนน้ําบริสุทธ์ิ มีคุณภาพดีมาก จึงตั้งชื่อน้ํานี้วา “น้ําแหงผูบริสุทธ์ิ” หรือ Aqua Virgoเทากับ Virgin Water

เรื่องสุดทายสําหรับคํานํานี้ ก็คือ กรุงโรมมีเสนหมากข้ึนมาก โดยเฉพาะสําหรับบรรดา คริสตชน เพราะท่ีนี่เปนศูนยกลางของศาสนาคริสต มีสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิและวัดวาอาราม มีเรื่องราวของพระสันตะปาปา บรรดานักบุญท่ีมีชื่อเสียงมากมาย โรมเปนจุดศูนยรวมของวิทยาการความรูดานตางๆและทางดานศาสนาดวย

1. มหาวิหาร (Basilica)กอนจะพาชมมหาวิหาร ขออธิบายสักเล็กนอยถึงความหมายของมหาวิหาร

แตกอนจะอธิบายถึงเรื่องนี้ ก็ตองบอกกันกอนวา ทางศาสนาคริสตเขามีชื่อเรียก“วัด” หลายชื่อและแตละชื่อนั้นก็มีความหมายไมเหมือนกัน ขอเริ่มตั้งแต- Cathedral ภาษาไทยเราเรียกวา “อาสนวิหาร” ภาษาอิตาเลียนเขาใชคําวา Cattedrale(คัทเทดราเล) หรือคําวา Duomo (ดูโอโม) โดยท่ัว ๆ ไป เราหมายถึงวัดประจําตําแหนงของพระสังฆราชปกครอง ตามปกติแลว อาสนวิหารจะเปนวัดท่ีไดรับเกียรติสูง

Page 20: Buon Giorno,italia

20

การกอสราง การตกแตงตาง ๆ จึงไดรับการดูแลเอาใจใส และเปนวัดท่ีมีความสวยงามเดนสงา เปนพิเศษ- Church ภาษาไทยเราเรียกวา วัดหรือโบสถ ภาษาอิตาเลียนเขาใชคําวา Chiesa (คิ-

เอ-ซา) วัดหรือโบสถนี้จะตองไดรับการกอสรางอยางเปนทางการ มีพระสงฆเจาอาวาสปกครองดูแล อภิบาลสัตบุรุษของตน ข้ึนโดยตรงตอพระสังฆราชของตนเอง

- Chapel ภาษาไทยเราใชคําวา “วัดนอย” ภาษาอิตาเลียนใชคําวา Cappella (คับ-แปล-ลา) เปนวัดท่ีตั้งข้ึน เพื่อใชตามจุดประสงคของคณะนักบวชหรือหนวยงาน องคกรตางๆ โดยท่ัวๆ ไป ไมมีเจาอาวาสหรือการปกครองดูแลอภิบาลสัตบุรุษเต็มรูปแบบของ“วัด”

สวน Basilica ซ่ึงผมใชคําวา “มหาวิหาร” นั้น เปนอีกรูปแบบหนึ่งของวัด ผมก็ขออธิบายมากหนอย เวลาท่ีเราเย่ียมชมวัดตาง ๆ ในยุโรป เราก็จะไดมีความเขาใจความสําคัญของสถานท่ีไดมากข้ึน

การใชคําวา "มหาวิหาร" เพื่อใชแทนความหมายของคําวา “Basilica” อาจจะเปนการใชคําท่ีไมถูกตองตามความหมายท่ีแทจริงมากนัก แตก็ไมผิดไปจากความหมายแบบคริสตชนจนเกินไป ท้ังนี้ เปนเพราะวา เราจําเปนจะตองแยกแยะความหมายของคําๆ นี้เปน 2 ความหมาย คือ ความหมายดั้งเดิม และความหมายแบบคริสตชน

ความหมายดั้งเดิม

คําวา Basilica เปนคําภาษากรีก ภาษาลาตินใชคําวา “Basilica” หมายถึงรูปแบบของสิ่งกอสรางสาธารณะแบบโบราณ เปนศิลปะการกอสรางแบบผสมผสานกันระหวางกรีกและโรมัน เพราะเหตุวา ในสมัยท่ีจักรวรรดิโรมันเรืองอํานาจนั้น อิทธิพลของกรีกไดเขามาอยูในอารยธรรมของชาวโรมัน และในทางตรงกันขาม อิทธิพลของโรมันก็ไดเขาไปอยูในอารยธรรมของกรีกดวย ศิลปะการกอสรางแบบนี้เริ่มตนท่ีเมืองเอเธนส (Athens)ในประเทศกรีก แตในสมัยอาณาจักรโรมันเรืองอํานาจ มหาวิหารแหงแรกท่ีเราสามารถพบได คือ มหาวิหารท่ีเมืองปอมเปอี (Pompei) ซ่ึงตามหลักฐานท่ีไดมาจากการศึกษาท่ีเมืองปอมเปอีนี้ ปรากฏวา มีมหาวิหารท่ีนี่ ในป 78 กอนคริสตศักราช แตหากพิจารณาจากศิลปะ การเขียนตัวอักษร การตกแตง ฯลฯ แลว ก็ทําใหสรุปไดวา มหาวิหารแหงนี้มีมาตั้งแตศตวรรษท่ี 2 กอนคริสตศักราช และถือวาไดเลียนแบบมาจากมหาวิหารท่ีเมืองเอเธนส ตามความสําคัญของมหาวิหารท่ีเมืองปอมเปอีนี้ ยังไดแก การเปนแมแบบของมหาวิหารอื่น ๆ ท้ังในโลกตะวันออกและในโลกตะวันตกดวย ป 47 กอนคริสตศักราชจักรพรรดิซีซาร (Caesar C.) ไดสรางมหาวิหารท่ีเมืองอันทิโอก (Anthioch) ในโลกตะวันออก เพราะตองการใหอารยธรรมโรมันเขามามีอิทธิพลอยางเต็มท่ีในโลกของชาวกรีก

Page 21: Buon Giorno,italia

21

1. จุดมุงหมายของการสรางมหาวิหารตามความหมายดั้งเดิมชาวโรมันสมัยโบราณใชชื่อมหาวิหาร “Basilica” เพื่อหมายถึงสิ่งกอสราง

สาธารณะเพื่อใชเปน Corpus Iuris หรือ Law Court ทําการตัดสินความตาง ๆ และเนื่องจาก ชาวโรมันกุมอํานาจท้ังหมดในดานการคาเอาไว การตัดสินความตาง ๆสวนใหญจึงเปนเรื่องของการคา นอกจากนี้ ยังเปนท่ีรวมของการคาในรูปแบบตาง ๆดวย เพราะตามโครงสราง มหาวิหารจะมีสวนหนึ่งใชสําหรับคาขาย (CommercialExchange)

2. โครงสรางของมหาวิหารตามความหมายดั้งเดิมตามกฎเกณฑแลว มหาวิหารจะตองถูกสรางข้ึนโดยมีชองทางเดินตรงกลาง

ใหญ มีกําแพงสูงประกอบอยูท้ัง 2 ขาง และชองทางเล็ก โดยมีกําแพงท่ีต่ํากวาขนานอยูท้ัง 2 ขางของชองทางเดินใหญนั้น ชองทางเดินเหลานี้จะถูกแบงออกโดยเสาหิน และโดยสวนใหญ (แมวาจะไมเสมอไป) ตอนปลายสุดของชองทางเดินกลางใหญ จะมีท่ีทําการบริหารดานความยุติธรรมหรือศาล โดยมีบัลลังกผูตัดสินความตั้งอยู นอก จากนี้ ยังมีสวนท่ีแยกออกจากชองทางเดินตรงนี้ เพื่อใชดานการคาขายหรือเปนท่ีสาธารณะดานตางๆ เรียกรวมๆ วา “ฟอรุม” (Forum) หลายครั้งจึงถูกเรียกพรอมๆ กันวา Forum et Basilica เชน ท่ี Forum Romanum มี Basilica Giulia,Basilica di Costantino เปนตน

ความหมายแบบคริสตชนเราไมพบความหมายของมหาวิหารแบบคริสตชนนี้ กอนสมัยจักรพรรดิคอนสแตน

ติน (Constantine) ความหมายของมหาวิหารแบบคริสตชนนี้ เริ่มมีมาตั้งแตศตวรรษท่ี 4โดยใชศิลปะกรีก-โรมัน นักเขียนตาง ๆ ในศตวรรษท่ี 4 ถึงศตวรรษท่ี 6 ใชคําวา“มหาวิหาร” ในลักษณะตาง ๆ กันไป เชน ใชในความหมายของบาน ความหมายของวัดไมไดหมายถึงเฉพาะสถานท่ีประกอบพิธีทางศาสนา แตยังหมายถึงท่ีอยูของพระสังฆราชดวย ความหมายของมหาวิหารจึงแตกตางจากซีนาโกก (Sinagoque) ของชาวยิว เพราะซีนา โกกหมายถึงท่ีชุมนุมของหมูคณะเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา แตมหาวิหารหมายถึงการสถิตอยูอยางลึกลับของพระ โดยมีพระสังฆราชเปนประธาน และควบคุมดูแลหมูคริสตชน

จุดมุงหมายของการสรางมหาวิหารตามความหมายแบบคริสตชน จึงเปนการสรางเพื่อเปนสถานท่ีนมัสการพระเจา

โครงสรางของการสรางพวกคริสตชนไดใชลักษณะของการกอสรางแบบกรีก-โรมันนี้ ผสมผสานกับลักษณะ

บางอยางของวัดนอย (Chapels) ท่ีพวกคริสตชนสมัยถูกเบียดเบียนไดสรางไวในกาตาคอมบ(Catacomb) และตั้งแตหลังการเบียดเบียน คือตั้งแตหลังการกลับใจของจักรพรรดิ

Page 22: Buon Giorno,italia

22

คอน สแตนติน พวกคริสตชนก็ไดใชเพื่อเปนสถานท่ีนมัสการพระเจา โดยมีลักษณะการสรางโดยท่ัว ๆ ไปดังตอไปนี้ :1. มีชองทางเดินกลางและขาง ๆ โดยมีแนวเสาหินแบงออก มีประตูท่ีจะนําไปสูมหาวิหาร

และชองทางเดินเหลานี้อยางนอย 3 ประตู นอกจากนี้ ยังมีลานกวางภายนอกเพื่อใชเปนท่ีสาธารณะตางๆ (forum)

2. มีแทนท่ีแยกออกจากกําแพง สรางอยูภายในมหาวิหาร โดยมีปะรําคลุมแทนไวภายใตแทนจะเปน Confessio ซ่ึงมักจะใชเปนท่ีเก็บรางกายหรือพระธาตุขององคอุปถัมภ หรือเปนตําแหนงท่ีเกิดเหตุการณสําคัญ ๆ เชน Confessio ของมหาวิหารนักบุญ เปโตร เปนท่ีฝงศพของทานนักบุญเปโตร เปนตน

3. ท่ีนั่งหรือบัลลังกของพระสังฆราชจะตั้งอยูท่ีกําแพงดานหลังท่ีเปนมุขย่ืนออกไปโดยมีท่ีนั่งของพวกนักบวชอยู 2 ขาง เปนรูปครึ่งวงกลม และพระสังฆราชหันหนาเขาหาสัตบุรุษ เราสามารถสังเกตไดวา ท่ีนั่งของพระสังฆราชนี้ ก็คือท่ีนั่งของผูพิพากษาในความหมายแบบดั้งเดิม ท้ังนี้ เพื่อควบคุมประชากรของพระ อีกประการหนึ่ง พิธี กรรมท่ีพระสังฆราชจะทํา ก็กระทําตอหนาสัตบุรุษ มิใชหันหลังให

การตกแตงอื่น ๆ ภายในมหาวิหารก็มีแตกตางกันไป ข้ึนอยูกับจุดประสงคของการสราง และตําแหนงทางภูมิศาสตร แนวทางดานสถาปนิกก็แตกตางกันไป ข้ึนอยูกับจุดประสงคของการสรางดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม การสรางมหาวิหารถูกเรียกวาเปนรูปแบบแรกของโครงสรางท่ีถูกสรางข้ึนสําหรับการนมัสการพระของคริสตชนเปนชื่อ ท่ี ถูกมอบให กับวัดตางๆ ท่ี มีความเกาแก มีศักดิ์ศรี มีความสําคัญทางประวัติศาสตรหรือทางเทววิทยา หรือมีความหมายในฐานะเปนศูนยกลางพิเศษของการนมัสการพระเจา

ชนิดของมหาวิหารในสมัยปจจุบันนี้ มหาวิหารมีอยู 2 ชนิดใหญ ๆ คือ Major และ Minor

Major Basilicaมีพระแทนของพระสันตะปาปา และอาจจะมีประตูศักดิ์สิทธ์ิดวย เพื่อจะเปดรับ

ปศักดิ์สิทธ์ิ ในบรรดามหาวิหารแบบนี้ท่ีเรารูจักกันดี ไดแก Patriarchal Basilicas หรือจะแปลเปนภาษาไทย คงแปลไดวา “Basilica แหงอัยกาของพระศาสนจักร”1. มหาวิหารนักบุญยวง ลาเตรัน (St.John Lateran) เปนมหาวิหารเอก เปนมารดาของ

พระศาสนจักร ไดรับเกียรติสูงสุดในพระศาสนจักร เปนมหาวิหารของสังฆอัยกา(Patriarch) แหงพระศาสนจักรตะวันตก หรือพระสันตะปาปา

2. มหาวิหารนักบุญเปโตร(St.Peter) เปนมหาวิหารสําหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แหงคอนสแตนติโนเปล (Constantinople)

Page 23: Buon Giorno,italia

23

3. มหาวิหารนักบุญเปาโล (St.Paul) นอกกําแพง สําหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แหงอเล็กซานเดรีย (Alexandria)

4. มหาวิหารแมพระ (Santa Maria Maggiore) สําหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แหงอันทิโอก (Anthioch)

พระแทนของพระสันตะปาปาท่ีกลาวถึงนี้ มีแตพระสันตะปาปาและผูรับมอบอํานาจโดยตรงเทานั้นท่ีจะประกอบพิธีบนพระแทนนี้ได

Minor Basilicaไดรับสิทธิพิเศษตาง ๆ เก่ียวกับการจัดพิธีหลาย ๆ อยางในมหาวิหาร มีจํานวน

มากมาย ท้ังท่ีกรุงโรมและท่ีอื่น ๆ ท่ัวโลก เปนท่ีนาสังเกตวา วัด St. Francis และ St.Mary of the Angels ท่ีเมืองอัสซีซี (Assisi) ถูกจัดเปน Major Basilica อีกประการหนึ่ง สังคายนาสากลท่ีเมือง Ferrara-Firenze-Rome ป ค.ศ. 1439 ไดรวมพระศาสนจักรตะวันตกและตะวันออกเขาดวยกัน ดังนั้น มหาวิหารท่ีถูกมอบใหกับ สังฆอัยกา(Patriarch) ตาง ๆ จึงเปนเพียงเกียรติและศักดิ์ศรีท่ีมอบใหเทานั้น2. มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica S. Pietro)

มหาวิหารนักบุญเปโตร มีความสําคัญอยางย่ิงในพระศาสนจักรคาทอลิก เพราะเหตุวา :

1. เปนสถานท่ีนักบุญเปโตร (St.Peter) ไดพลีชีพเปนมรณสักขีดวยการตรึ งบนไมกางเขน โดยศีรษะลงดิน ในระหวางการเบียดเบียนศาสนา ในสมัยของจักรพรรดิเนโร ราว ค.ศ. 64 นักบุญเปโตร เปนผู ท่ี มีความสําคัญอยางย่ิงในพระศาสนาจักรคาทอลิก เพราะทานเปนพระสันตะปาปาองคแรก เปนผูแทนของพระเยซูเจาบนแผนดินนี้2. เปนผูแทนและศูนยกลางของพระศาสนจักรคาทอลิก ท้ังทางดานพิธีกรรมขอความเชื่อและ การบริหาร อีกท้ังท่ีประทับขององคพระสันตะปาปาก็อยูบริเวณเดียวกัน3. เปนสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิ และเปนเงื่อนไขหนึ่งในการแสวงบุญของบรรดาคริสตชน

1) อนุสาวรียรูปเสาแหลม (Obelisk)- บริเวณปจจุบันท่ีเปนจตุรัสเซนตปเตอร แตเดิมเปนสนามกีฬาของชาวโรมัน มีชื่อวา

สนามกีฬาคาลิโกลา ซ่ึงจักรพรรดิคาลิโกลา (Caligola) ไดทรงสรางข้ึนในป ค.ศ. 33และตองการตั้งเสาหินท่ีเรียกวา Obelisco นี้ท่ีกลางสนาม เพื่อเปนศูนยกลางของสนามกีฬา เสาหินนี้ ไดถูกสรางข้ึนท่ี Eliopoli ในประเทศอียิปต โดย PharaohPheros และถูกยายมาท่ีเมืองอเล็กซาน เดรีย จักรพรรดิคาลิโกลาทรงมีรับสั่งใหยายจากเมืองอเล็กซานเดรีย มาท่ีกรุงโรม

ในสมัยกลาง ท่ีกรุงโรมมีตํานานเรื่องหนึ่งเลาวา เสาหินนี้ถูกสรางข้ึนโดยกษัตริยซาโลมอน และฝุนข้ีเถาของกษัตริยซาโลมอนถูกเก็บรักษาไวในกลองทองแดง

Page 24: Buon Giorno,italia

24

ซ่ึงอยูบนยอดเสาหินนี้ ตอมา จูลีอุส ซีซาร มาท่ีกรุงเยรูซาแลม ไดสั่งใหยายเสาหินนี้มาท่ีกรุงโรม และไดเอาข้ีเถาของกษัตริยซาโลมอนออกไป เม่ือซีซารสิ้นพระชนมแลว ไดมีรับสั่งใหนํากระดูกของพระองคมาใสแทนท่ี ถึงแมวาเรื่องนี้จะเปนตํานานท่ีเลาสืบกันมา แตบนเสาหินนี้มีอักษรลาตินจารึกไววา : “ซีซารเปนบุคคลท่ีย่ิงใหญเทียบเทากับโลก และเวลานี้ ถูกเก็บอยูในกลองขางบนนี้”

ถึงกระนั้นก็ดี เม่ือมีการสรางมหาวิหารใหม และตองทําการยายเสาหินนี้โดย Domenico Fontana เขาพบวากลองขางบนนี้เปนกลองท่ีไมสามารถบรรจุสิ่งใดไวภายในไดเลย

พระสันตะปาปา ซีสโต ท่ี 5 ไดนําเอาพระธาตุไมกางเขนของพระเยซูเจามาบรรจุไวภายในกางเขนบรอนซท่ีอยูบนยอดของเสาหินนี้

- สนามกีฬาท่ีจักรพรรดิคาลโกลาไดสรางข้ึนนี้ ตอมา ไดชื่อวาสนามกีฬาของจักรพรรดิเนโร เพราะท่ีนี่เอง ในสมัยท่ีมีการเบียดเบียนพวกคริสตัง สาเหตุมาจากจักรพรรดิเนโรเผากรุงโรม และปายความผิดใหกับพวกคริสตัง ไดมีการทรมานและฆาพวกคริสตังอยางทารุณมากมาย และในสนามกีฬาแหงนี้เองท่ีเปนสถานท่ีใชตรึงกางเขนนักบุญเปโตร เลากันวา มีมรณสักขี ท่ีสนามกีฬาแหงนี้หลายรอยคน แตไมทราบจํานวนท่ีแนนอน นอกจากนี้ ยังเปนสถานท่ีใชฝงศพของนักบุญเปโตร ซ่ึงอยูใกล ๆกับบริเวณท่ีถูกตรึงกางเขนดวย

2. หลุมฝงศพของนักบุญเปโตร- สมัยเบียดเบียนโดยจักรพรรดิวาเลรีอาโน (Valeriano) ป ค.ศ. 258 พวกคริสตังได

ยายศพของนักบุญเปโตรมาอยูท่ีกาตาคอมบเซบาสเตียน และอีก 60 ปตอมาพระสันตะปาปาซิลเวสโตร ท่ี 1 (Silvestro I) ไดยายศพมาอยูท่ีวาติกันอยางเดิมมีเรื่องเลาวา ความศรัทธาตอนักบุญเปโตรมีมากในสมัยนั้น จนถึงกับมีการแยงชิงพระธาตุกันจากพระศาสนจักรตะวันออก รวมท้ังประเทศตาง ๆ ในยุโรปสมัยนั้น เชนฝรั่งเศส อังกฤษ

- อยางไรก็ดี ความเชือ่ท่ีวาศพของนักบุญเปโตรถูกฝงท่ีนั่น ยังคงมีอยูตลอดเวลา แตการคนหาหลุมศพของทานนักบุญอยางจริงจัง เริ่มมีข้ึนในป ค.ศ. 1939, 1950 และในป ค.ศ. 1953 ก็คนพบหลุมศพนี้ ในป ค.ศ. 1962 ไดมีการนําเอากระดูกออกมาเพื่อพิสูจน และมีการถกเถียงกันตาง ๆ นานา ในท่ีสุด พระสันตะปาปา เปาโล ท่ี 6ไดใหการรับรองอยางไมเปนทางการวา พระธาตุเหลานี้คือพระธาตุของนักบุญเปโตร

ปจจุบัน ก็ยังคงมีการทํางานนี้ ศึกษา คนควากันอยูตอไป3. มหาวิหารแรกเร่ิม

สรางโดยจักรพรรดิคอนสแตนติน ตามความปรารถนาของพระมารดา คือพระนางเฮเลนา และของพระสันตะปาปา ซิลเวสโตร ท่ี 1 ในป ค.ศ. 326 และสรางเสร็จในป ค.ศ. 349 (23 ป) โดยสรางคลุมหลุมฝงศพของนักบุญเปโตร ดังนั้น จึงตองรื้อสนามกีฬาของจักรพรรดิ เนโรออกไป ดานหนาของมหาวิหารสรางเปนวังท่ีประทับของพระสันตะปาปา

Page 25: Buon Giorno,italia

25

ป ค.ศ. 848 ไดเกิดเพลิงไหมท่ีวงัของพระสันตะปาปานี้ แตมหาวิหารรอดพนจากเพลิงไหมครั้งนี้ ชาวโรมันเชื่อกันวา นี่เปนเพราะพระสันตะปาปา เลโอเน ท่ี 4 ไดหยุดเพลิงไหมครั้งนี้ดวยการทําเครื่องหมายกางเขน

4. การสรางมหาวิหารในปจจุบันป ค.ศ. 1451 พระสันตะปาปา Niccolus V (ค.ศ. 1447-1455) ไดมอบหมาย

ให Leon Battista Alberti สํารวจสภาพของมหาวิหาร พบวา สภาพของตัวอาคารทรุดโทรมมาก จนไมสามารถท่ีจะซอมแซมได สิ่งเดียวท่ีสามารถทําไดคือ การสรางมหาวิหารหลังใหม มิฉะนั้น มหาวิหารเกานี้อาจจะลมพังลงมาได พระสันตะปาปาจึงมอบให Bernardo Rossellino เปนผูออกแบบกอสราง พระองคตองการใหสรางมหาวิหารหลังใหมโดยใชโครงสรางเดิม อยางไรก็ดี พระองคไดสิ้นพระชนมกอน เรื่องนี้จึงหยุดพักไป

พระสันตะปาปา จูลีอุส ท่ี 2 (ค.ศ. 1503-1513) เปนพระสันตะปาปาท่ีรักงานกอสรางและงานศิลปะ พระองคไดรวบรวมนักศิลปะชื่อดังหลายทาน มารวมทํางานกับพระองค เชน ไมเคิลแองเจลโล ราฟาแอลโล และบรามันเต ไดมอบหมายใหบรามันเต วางแผนสรางมหาวิหารนักบุญเปโตรหลังใหม มีพิธีวางศิลาฤกษวันท่ี 18เมษายน ค.ศ. 1506 และเตรียมหาเงินสําหรับการกอสรางดวยการขายพระคุณการุณยซ่ึงตอมาเปนท่ีวิพากษวิจารณอยางหนักโดยพวกโปรเตสแตนทลูเธอรัน

การออกแบบมหาวิหารหลังใหมนี้ กําหนดใหเปน 4 สวน คลายกับรูปทรงของไมกางเขน หมายถึง 4 มุมของโลก และโดม (Cupola) ท่ีอยูตรงกลางนั้น หมายถึงสวรรค

บรามันเตเปนผูออกแบบ Cupolo หรือโดมยักษท่ีเราเห็นในปจจุบัน ผูรับงานตอมาไดแก Antonio da Sangallo ป ค.ศ. 1546 ไมเคิล แองเจลโล ไดรับมอบหมายและรับงานอยางไมเต็มใจจากพระสันตะปาปา เปาโล ท่ี 3 (ค.ศ. 1534-1549) เขาทํางานชิ้นนี้โดยไมรับเงินและรางวัลตอบแทน แตทําเพราะความนบนอบตอพระสันตะปาปา และ "เพื่อพระสิริมงคลของพระเจา เพื่อเปนเกียรติแดนักบุญเปโตร และเพื่อความรอดของวิญญาณ"

หลังจากไมเคิล แองเจลโล แลว งานนี้ถูกมอบตอมาโดย Giacomo dellaPorta ในสมัยพระสันตะปาปา ซีสตุส ท่ี 5 (ค.ศ. 1585-1590) งานสรางโดมมหาวิหารนี้สําเร็จเรียบรอย ในวันท่ี 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1590 (ใชเวลาในการกอสรางถึง84 ป)

การเคลื่อนยายเสาหิน (Obelisco) จากดานซายของมหาวิหาร มาไวท่ีกลางจตุรัส ทําโดย Domenico Fontana ในป ค.ศ.1585 ตามดําริของพระสันตะปาปา ซิสโตท่ี 5 ใชคนถึง 800 คน และมา 140 ตัว โดยใชกลองตีเปนจังหวะเพื่อใหสัญญาณ ในระหวางท่ีทําการเคลื่อนยายเสาหินนี้ ผูทําการเคลื่อนยายตองมีสมาธิ ตองไมถูกรบกวนโดยเสียงจากภายนอกเลย พระสันตะปาปาออกคําสั่งและคาดโทษถึงตาย หากผูหนึ่งผูใดเขามารบกวนการเคลื่อนยายนี้ หรือกอใหเกิดเสียงรบกวนก็ตาม

Page 26: Buon Giorno,italia

26

งานกอสรางตัวมหาวิหารก็เริ่มตอไป ท่ีสุดในป ค.ศ. 1614 Carlo Madernoก็ทําการสรางดานหนา (Facciata) ของมหาวิหารเสร็จ Gian Lorenzo Bernini ไดสรางแขนของมหาวิหารดวยเสาหิน ระหวางป ค.ศ. 1656-1667 แบรนินี เปนผู สรางแนวเสาหินท่ีเราเรียกกันวา “ออมแขนของพระศาสนจักร” ในระหวางป 1656ถึง 1667 ทําใหมหาวิหารเปนดังมารดาของพระศาสนจักร และอาแขนตอนรับทุกคนเขามาในพระศาสนจักรนี้ ไมวาจะเปนบรรดาคริสตชน พวกเฮเรติ๊ก (ผูยึดถือความเชื่อคาทอลิกแบบไมถูกตอง) หรือผูท่ีไมมีความเชื่อเลย หรือมีความเชื่อตางศาสนาเปนแนว คิดท่ีแบรนินี เปนผูแสดงออกมาใหทราบดวยตนอง อันท่ีจริง แบรนินีมีโครงการท่ีจะทําแนวเสาหิน แนวท่ี 3 คือ เพื่อเปนแนวปด Piazza หรือลานหนามหาวิหารดวย แตแบรนินีก็เสียชีวิตกอนท่ีจะเริ่มตน และโครงการนี้เปนโครงการเดียว ซ่ึงยังไมมีใครทําใหสําเร็จเลย

บริเวณกลางลานมหาวิหาร มีจุดใหชมแนวเสาหินของท้ัง 2 ดาน แนวเสาหินท้ัง 2 ดานนี้ ประกอบไปดวย แนวเสาหิน 4 ตน แตจากจุดชมแนวเสาหินนี้ จะเห็นเสาหินเพียงตนเดียวเทานั้น นับวา ท้ังการออกแบบและการกอสรางจะตองเปนไปดวยความถูกตอง แมนยํา และนาอัศจรรยใจอยางย่ิง ความสมบูรณของโครงสรางมหาวิหารนี้มาเสร็จเอาจริง ๆ ในป ค.ศ. 1784 โดย Carlo Marchionni เม่ือเขาสรางหองซาคริสเตีย (Sagrestia) เสร็จลง (รวมเวลา 278 ป)

งานท้ังหมดนี้สิ้นคาใชจายในการกอสราง 46,800,488 scudi (มาตราเงินสมัยโบราณ) แตพระศาสนจักรไดจายสําหรับงานนี้คือการแยกตัวออกไปของโปรเตสตันทลูเธอรัน นับวา เปนการสูญเสียความเปนสากล (Universality) Bernini สรางและออกแบบวงแขนโดยใชเสาหิน เพื่อเปนเครื่องหมายถึงการเปดแขนรับมนุษยชาติเขามาสูความรอด โดมนั้นเปรียบเหมือนกับศีรษะ (แตดูเหมือนวาโครงสรางนี้กอใหเกิดผลตรงขามแลว) เรื่องการแยกตัวของพวกโปรเตสตันทนี้เปนเรื่องยาวและซับซอนมาก ผูท่ีสนใจจะตองศึกษาเพิ่มเติม

มหาวิหารไดรับการเสกโดยพระสันตะปาปา อูรบัน ท่ี 8 ในวันท่ี 18 พฤศจิกายนค.ศ. 1626 นับตั้งแตการวางศิลาฤกษ เม่ือป 1506 จนถึงไดรับการเสกในป 1626รวมเวลาการกอสรางท้ังสิ้น 120 ป เฉพาะการสรางโดม (Cupola) ใชเวลาท้ังสิ้น 84ป หากนับตั้งแตการวางศิลาฤกษจนถึงการสรางออมแขนเสาหินเสร็จ ใชเวลาท้ังสิ้น161 ป และหากนับการสรางท้ังสิ้นจบสิ้นลงโดยสมบูรณในป 1784 แลว มหาวิหารนี้ใชเวลาสรางท้ังสิ้น 278 ป มหาวิหารนี้บรรจุคนได 20,000 คน มีความยาว 190 เมตรกวาง 58 เมตร ความสูงจนถึงกางเขนยอดโดม รวม 136 เมตร

Page 27: Buon Giorno,italia

27

5. สถานที่สําคัญๆ ในมหาวิหาร- ศิลปะท่ีอยูเหนือแทนพระจิตนั้นมีชื่อวา Gloria ผลงานของ Bernini เปนแทนท่ีอยู

ดานลึกสุดของมหาวิหาร เปนท่ีตั้งบัลลังกของนักบุญเปโตรท่ีเรียกวา Cattedra di S.Pietro แตผลการศึกษาในป ค.ศ. 1969 บัลลังกนี้เปนบัลลังกท่ีจักรพรรดิ Carlo ilCalvo มอบใหแกพระสันตะปาปา ยอหน ท่ี 8 ในโอกาสท่ีพระสันตะ ปาปาทรงอภิเษกพระองคเปนจักรพรรดิในป ค.ศ. 875 ปะรําท่ีอยูเหนือพระแทนกลาง และConfessio สรางโดย Bernini ทําดวยทองบรอนซท้ังหมด

- Confessio เปนสถานท่ีแสดงเหตุการณพิเศษ หรือบุคคล หรือวัตถุ ท่ีมีความหมายพิเศษ อันเปนสัญลักษณของมหาวิหารเอง ในท่ีนี้ หมายถึงเปนท่ีฝงศพของนักบุญเปโตร พระสันตะปาปาองคแรกของพระศาสนจักรคาทอลิก ในการสรางปะรําท่ีอยูเหนือพระแทนกลางนี้ ตองใชทองบรอนซจํานวนมาก พระสันตะปาปาจึงไดสั่งใหวัดตางๆ ในกรุงโรม ยอมสละทองบรอนซในวัดของตน เพื่อนํามาใชในการสรางครั้งนี้ เรื่องนี้ไดรับการวิพากษวิจารณอยางกวางขวางในสมัยนั้นดวยหากเราไปเย่ียมโบสถตาง ๆ ในกรุงโรม บางแหงจะลงประวัติเก่ียวกับเรื่องนี้เอาไวดวยวา ในรูปนักบุญบางรูป แทนบางแทน เคยมีทองบรอนซ แตถูกนําไปสรางแทนทองบรอนซในมหาวิหารนักบุญเปโตร

- ผลงานของ ไมเคิล แองเจลโล (ค.ศ. 1475-1564) มีดังตอไปนี้ :1. Pietà เปนรูปท่ีแกะสลักจากหินออนท้ังแทง ใชเวลาในการทําถึง 7 ป ใบหนา

ของแมพระ เปนใบหนาของหญิงสาวชาวตะวันออก เปนใบหนาท่ีออนวัยกวาใบหนาของพระเยซูเจา เพื่อแสดงวา แมพระไดรับรูชะตากรรมของพระนางลวง หนา และรําพึงอยูนานแลว เปนรูปแกะสลักท่ีมีชื่อเสียง มีความกลมกลืนและใหความรูสึกท่ีดีมาก

เปนรูปพระแมมารีอารับพระศพของพระเยซูเจาลงจากกางเขน ความทุกขของแมคนหนึ่งท่ีมีลูกชายของตนนอนตายอยูท่ีตักของตน เปนสวนหนึ่งของความรูสึกท่ีบรรดาคริสตชนมีตอพระแมมารีอา จนเรียกพระนางวา “แมพระมหาทุกข” (Mother of Sorows) รูปแมพระมหาทุกขนี้ของไมเคิ้ล แอนเจโล เปนรูปแมพระมหาทุกขท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุด ไมเคิ้ล แอนเจโล สลักรูปนี้เสร็จเม่ือมีอายุเพียง 24 ปเทานั้น ในป ค.ศ. 1499 และเปนผลงานเพียงชิ้นเดียวของทานท่ีไดสลักชื่อของทานไวดวย โดยมีเหตุผลอยู 2 ประการ ไดแก :

1) เพราะทานพอใจในผลงานชิ้นนี้มาก

Page 28: Buon Giorno,italia

28

2) เพราะมีศิลปนบางคนในยุคของทานไปแอบอางวาเปนผูสลัก และประชาชนไมเชื่อวา ศิลปนหนุมอายุ 24 ปจะสามารถแกะสลักรูปจากหินแทงเดียวไดสวยงามถึงขนาดนี้

ชื่อของทานถูกสลักไวท่ีแถบผาท่ีพาดอยูบริเวณอกของแมพระ โดยสลักเปนภาษาลาตินไววา “ไมเก้ิล บัวนารอตติ ชาวฟลอเรนซ เปนผูทํา” ตอมา ทานก็รูสึกเสียใจท่ีไดสลักชื่อไว

เอกลักษณประการหนึ่งของรูปนี้ ก็คือ ใบหนาของแมพระและพระเยซูเจาจะเปนวัยใกลเคียงกัน หรือวัยเดียวกัน เรื่องนี้ ไมเคิล แองเจลโล อธิบายไววาเพื่อใหความหมายวา พระเยซูเจาเปนกษัตริย และพระนางมารีอาเปนราชินีแหงสากลจักรวาล อีกท้ังความสาวของพระนางมารีอายังเปนเครื่องหมายแหงความบริสุทธ์ิของพระนางอีกดวย

ในป ค.ศ. 1972 ชายคนหนึ่งชื่อ Laszlo Toth ไดใชฆอนอันหนึ่ง เขาไปทุบบริเวณนิ้วมือของพระนางมารีอาจนเสียหาย ตอมา ชายคนนี้ไดถูกจับ แตก็พบวาเปนคนเสียสติคนหนึ่งเทานั้น อยางไรก็ตาม มหาวิหารนักบุญเปโตรจึงไดสรางหองกระจก และไมยอมใหใครเขาไปถึงรูปสลักนี้อีกเลย นอกจากแขกพิเศษของมหาวิหารเทานั้น

2. แทนท่ีมุมมหาวิหาร คือ 4 ดานของแทนกลาง3. โดมท้ังหมด4. ชองทางเดินดานขางท้ัง 2 ดาน

- สถานท่ีฝงพระศพของพระสันตะปาปา มีพระศพของพระสันตะปาปาในสถานท่ีแหงนี้ประมาณ 130 องค ท่ีฝงพระศพของพระสันตะปาปาท่ีมีชื่อเสียง และมีผูนิยมมาเย่ียมชมและสวดภาวนามากท่ีสุดในเวลานี้ ไดแก หลุมศพของพระสันตะปาปา ยอหนท่ี 23 และหลุมศพของพระสันตะปาปา ยอหน ปอล ท่ี 2 เพราะท้ัง 2 พระองคนี้บรรดาคริสตชนใหความเคารพยกยองอยางสูง และวันขางหนา อาจจะไดเปนนักบุญดวย

- รูปนักบุญเปโตรนั่งบัลลังก (ธรรมาสนนักบุญเปโตร) ทําดวยทองบรอนซท้ังหมดเปนผลงานในศตวรรษท่ี 5 แตนักศึกษาคนหนึ่งชื่อ Wickhoff ไดยืนยันวาเปนผลงาน ในศตวรรษท่ี 13 ความจริงหากพิจารณาเปรียบเทียบกับศิลปะในสมัยจักรวรรดิโรมัน งานชิ้นนี้ตองเปนผลงานในสมัยศตวรรษท่ี 5 เปนรูปท่ีถูกเก็บรักษาไวเพื่อเปนสัญลักษณอันหมายถึงอํานาจท่ีพระเยซูเจาทรงมอบใหแกพระสันตะปาปาการยอมรับอํานาจนี้ถูกแสดงออกโดยการจูบเทาของทานนักบุญเปโตรนี้ รูปนี้ถูกรักษาไวจนถึงปจจุบัน และยังมีอีกหลายมหาวิหารท่ีไดสรางเลียนแบบรูปนี้ ไปตั้งแสดงความจงรักภักดีตอพระสันตะปาปาดวย

Page 29: Buon Giorno,italia

29

นอกจากนี้ ในมหาวิหารยังมีผลงานของนักศิลปะตาง ๆ มากมาย เฉพาะผูท่ีสนใจศิลปะเทานั้นจะคนพบถึงความสามารถและความละเอียดออนของศิลปะเหลานั้น

สิ่งท่ีนาชมเปนบุญตา และความชื่นใจของนักทองเท่ียวไทย ถาหากมีโอกาสและมีกําลัง ก็คือ แผนศิลาจารึกการเสด็จเย่ียมมหาวิหารของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ในป ค.ศ. 1897 ซ่ึงติดตั้งไวบนกําแพงของทางบันไดข้ึนไปยังโดมขางบน (Cupola) เขียนเปนภาษาอิตาเลียน ลองสังเกตดู คําวา Siam ก็ได แตการข้ึนบันไดจนถึงยอดโดม เพื่อดูทิวทัศน กรุงโรมนั้นก็เหนื่อยเอาการอยูนะครับ

ปจจุบัน การเขาชมมหาวิหารจะตองผานการตรวจจากเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยและเจาหนาท่ีตํารวจ การเย่ียมชมก็แบงชองการเดินไวอยางชัดเจน คือ ชองทางสําหรับเย่ียมชมมหาวิหาร ชองทางเดินสําหรับเย่ียมชมสุสาน ซ่ึงอยูใตดินของมหาวิหาร สุสานนี้เปนท่ีฝงพระศพของพระสันตะปาปา ราชินี พระคารดินัลผูมีชื่อเสียงและชองทางเดินเพื่อไปข้ึนชมโดม เพราะฉะนั้น แมจะเปนเพียงมหาวิหารแหงเดียวแตรวมการเดินชมท้ังหมดแลว ก็คงตองเหนื่อยกันหนอย

3. มหาวิหารแมพระ (Santa Maria Maggiore)มหาวิหารแหงนี้ตั้งอยูบนเนิน Esquiline กอสรางโดยพระสันตะปาปา ลิแบรีโอ

(Liberio) ในป ค.ศ. 352 พระสันตะปาปาองคนี้มีชีวิตอยูระหวางป ค.ศ. 352-366 ในฐานะท่ีพระสันตะปาปาเปนผูสราง มหาวิหารแหงนี้จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งวา BasilicaLiberiana ในป ค.ศ. 366 หลังจากท่ีพระสันตะปาปา ลิแบรีโอ สิ้นพระชนม ปรากฏวามีการเลือกตั้งพระสันตะปาปาข้ึนมา 2 องค คือ พระสันตะปาปา ดามาซุส (Damasus)และพระสันตะปาปา อูรซีนุส (Antipope Ursinus) ความจริง ในสมัยของพระสันตะปาปาลิแบริโอ ก็มีพระสันตะปาปา 2 องคเชนกัน คือมี พระสันตะปาปาเฟลิกซ (AntipopeFelix II ค.ศ. 355-365) และเพราะเหตุนี้เอง เม่ือพระสันตะปาปาท้ังสองพระองคนี้สิ้นพระชนม ผู ท่ีสนับสนุนแตละฝายตางก็เลือกพระสันตะปาปาของตนข้ึนมา ฝายพระสันตะปาปา ลิแบรีโอ ไดเลือกอูรซีนุส (ค.ศ. 366-367) ฝายพระสันตะปาปา เฟริกไดเลือกดามาซุส แตเนื่องจากอูรซีนุส ทําการอภิเษกตนเองเปนพระสังฆราชกอนกําหนดการอภิเษกนี้จึงเปนไมถูกตอง (illegal) ประชาชนตองการใหอูรซีนุสออกจากกรุงโรมไปและใหดามาซุสเปนพระสันตะปาปาแตเพียงผูเดียว พระสันตะปาปา อูรซีนุส ไดเขายึดครองมหาวิหารแหงนี้ไว ฝายพระสันตะปาปา ดามาซุส ไดวางแผนโจมตีมหาวิหาร โดยลงมาจากหลังคามหาวิหาร และไดเกิดการสังหารหมูในท่ีนี้ ฝายพระสันตะปาปา อูรซีนุสเสียชีวิตไป 137 คน จักรพรรดิวาเลนตีเนียน (ค.ศ. 364-375) อนุญาตใหพระสันตะปาปาอูรซีนุส กลับมาท่ีกรุงโรมได และพวกนี้จึงเขามาตั้งหลักท่ีมหาวิหาร โดยถือเปนท่ีประทับ(Sede) ของพระสันตะปาปาองคนี้ในป ค.ศ. 367 แตในปเดียวกันนี้เอง พวกเขาก็ถูกเนรเทศอีก เพราะเปนตัวการยึดครองบัลลังกของพระสันตะปาปา ดามาซุส มหาวิหารแหงนี้ บางครั้งถูกเรียกชื่อวา มหาวิหารอูรซีนีอานาดวย

Page 30: Buon Giorno,italia

30

โครงสรางของมหาวิหารปจจุบันนี้ มาจากการสรางข้ึนใหมของพระสันตะปาปาซีกตุส ท่ี 3 (ค.ศ. 432-440) และยกถวายใหแดแมพระ ในฐานะท่ีเปนมารดาของพระเจาหลังจากสังคายนาท่ี Efeso ป ค.ศ. 431 ท่ียืนยันขอความเชื่อนี้ตอตานพวกเนสตอเรียนท่ีสอนวาพระนางมารีอาเปนมารดาของพระเยซู ไมใชเปนมารดาของพระเจา และนับตั้งแตในปนั้นเปนตนมา มหาวิหารไดรับการซอมแซม ตกแตงใหสวยงามข้ึนมาหลายสมัยมุขท่ีย่ืนออกไปดานหลังพระแทนกลางนั้นไดรับการตกแตงโดยพระสันตะปาปา NiccoloIV (ค.ศ. 1288-1292) สวนดานหนาของมหาวิหารไดรับการซอมแซมตกแตงโดยพระสันตะปาปา เคลเมนต ท่ี 10 (ค.ศ. 1670-1676)

นับตั้งแตป ค.ศ. 1400 เปนตนมา มหาวิหารแหงนี้ไดรับสิทธ์ิใหเปนหนึ่งในสี่ของมหาวิหารท่ีจําเปน เพื่อรับพระคุณการุณยในปศักดิ์สิทธ์ิ

ตามประเพณีนิยมในสมัยกลาง (ศตวรรษท่ี 8 ถึงศตวรรษท่ี 14) ไดมีตํานานเลาวา แมพระตองการใหสรางวัดถวายแดพระนางบนเนินแหงนี้ โดยใหเครื่องหมายคือรอยเทาของพระนางบนหิมะท่ีตกมาในฤดูรอนบนเนินแหงนี้ ตํานานเรื่องนี้ทําใหเกิดมีวันฉลอง The Feast of Our Lady of Snows (แมพระแหงภูเขาหิมะ) ทุกวันท่ี 5 สิงหาคมของทุกป และยังถือเปนวันฉลองมหาวิหารแหงนี้สืบตอมาจนถึงปจจุบัน

มหาวิหารแหงนี้ แมวาจะเปนมหาวิหารท่ีเล็กกวามหาวิหารอีก 3 แหงก็ตาม แตก็เปนวัดท่ียกถวายแดแมพระท่ีใหญท่ีสุดในกรุงโรม ในกรุงโรมมีวัดท่ีถวายแดแมพระอยูท้ังหมด 80 วัดดวยกัน

สมบัติท่ีล้ําคาของมหาวิหารแหงนี้ มีอยู 2 ชิ้นคือ :1. สวนหนึ่งของรางหญาท่ีพระกุมารประทับ ภายหลังท่ีถือกําเนิดมาในโลกนี้2. รูปวาดแมพระ ท่ีเชื่อกันวาเปนของนักบุญลูกา

รางหญาพระกุมารรางหญาพระกุมารนี้ถูกนํามาจากเบธเลเฮมในป ค.ศ. 642 ในสมัยพระสันตะปาปา

เทโอโดโร ท่ี 1 (Teodoro I) มหาวิหารนี้จึงถูกเรียกวา Ad praesepe และรางหญานี้ไดรับการประดับประดาอยางสวยงาม นับตั้งแตปนั้นเปนตนมา ก็เกิดมีธรรมเนียมท่ีกําหนดวา พระสันตะปาปาจะมาถวายมิสซาเท่ียงคืนในโอกาสพระคริสตสมภพท่ีมหาวิหารนี้แตในปจจุบันธรรมเนียมนี้ไดถูกยกเลิกไป ตามธรรมเนียมนี้ มิสซาพระคริสตสมภพมี 3มิสซาคือ :

1. มิสซาเท่ียงคืน จะทําท่ีมหาวิหารแมพระ2. มิสซารุงอรุณ จะทําท่ีมหาวิหารนักบุญอานาสตาซีโอ (Basilica di S. Anastasio)3. มิสซาเชา จะทําท่ีมหาวิหารนักบุญเปโตร หรือมหาวิหารแมพระปจจุบัน มิสซาท้ังหมดไดทําท่ีมหาวิหารนักบุญเปโตร

รูปวาดแมพระเชื่อกันวาวาดโดยนักบุญลูกาผูเปนท้ังแพทยและนักวาดภาพ พระสันตะปาปา

ซีสโต ท่ี 3ไดนํารูปนี้มาทําพิธีแหท่ีกรุงเยรูซาแลมในโอกาสพิเศษตางๆ ในป ค.ศ. 590พระสันตะปาปาเกรโกรี (Pope Gregory, the Great) ไดทรงจัดใหมีการแหรูปนี้จาก

Page 31: Buon Giorno,italia

31

มหาวิหารแมพระมาท่ีมหาวิหารนักบุญ เปโตร เพื่อปองกันโรคระบาด (กาฬโรค) ท่ีกําลังคุกคามกรุงโรมอยูในเวลานั้น รูปนี้เปนศิลปะไบแซนทีน และศิลปะนี้มีอยูจนถึงศตวรรษท่ี12 ซ่ึงเชื่อกันวานักบุญลูกาเปนผูวาด และเปนรูปเดียวกับท่ีพระสันตะปาปาเกรโกรีทรงใช ตอมา วันท่ี 8 กันยายน ค.ศ. 1835 พระสันตะปาปาเกรโกรี ท่ี 16 ไดทรงใชรูปนี้อีกครั้งหนึ่งในการแหจากมหาวิหารแมพระมาจนถึงมหาวิหารนักบุญเปโตร เพื่อปองกันอหิวาตตกโรคท่ีกําลังระบาดอยูในเวลานั้น

Basilica di Santa Prassedeเราคนไทยคงไมเคยไดยินชื่อนักบุญองคนี้แนๆ อยาวาแตคนไทยเลยครับ

ฝรั่งหลายคนก็ ไมรูจักเหมือนกัน ตามท่ีบอกแลวในพระศาสนจักรเรามีมหาวิหารหรือBasilica ท้ังแบบเมเจอร ไมเนอร มากมาย ดังนั้นถาหากเราเดินชมเมืองตางๆในยุโรปแลวเห็นเขียนวา Basilica หนาวัดไหนก็ตาม เขาไปชมเถอะครับจะมีบางสิ่งบางอยางท่ีพิเศษเสมอในวัดหลังนั้น ออกจากประตูหนามหาวิหารแมพระแลวขามถนนดานขวา แลวก็เลี้ยวขวาตรงซอยแรกท่ีเจอทางขวามือ เราจะพบกับมหาวิหารนักบุญ ปราซเซเดครับประตูทางเขาอาจจะแปลกตาสักหนอยแตก็เปนประตูครับ เขาได ทันทีท่ีอยูภายในเราจะรับรูถึงความเกาแกของวัดจากบรรยากาศและศิลปะท่ีอยูในวัด มารูจักกับนักบุญปราซเซเดกันเล็กนอย นักบุญองคนี้เปนพี่นองกับนักบุญ Pudentiana ท้ังสองคนเปนลูกสาวของนักบุญ Pudens นักบุญเปาโลเคยมาพักท่ีบานของทาน และครอบครัวนี้ก็เปนคริสตชนท่ีกลับใจโดยเปาโลเปนกลุมแรกๆ เลยดวย ปราซเซเด ปละปูเดน ซีอานาถูกประหารชีวิตตามกฎหมายโรมันเพราะลักลอบทําพิธีฝงศพใหแกมรณสักขีในสมัยนั้นดังนั้นสัญลักษณของปราซเซเดก็คือรูปหญิงสาวท่ีกําลังรวบรวมเลือดของบรรดามรณสักขี

วัดนอยหลังแรก สรางเหนือท่ีฝงศพของปราซเซเดในราวป 112 และก็มีการสรางและบูรณะข้ึนใหมเปนระยะ หลังปจจุบันนี้สรางโดยพระสันตะปาปา ปาสกัลปท่ี 1 ในป 822 ตอนนั้นปาสกัลและจักรพรรดิ ชารลเลอมาญ ตองการนําพาพระศาสนจักรไปสูรากฐานเดิมของเทววิทยาและศิลปะจึงสรางวัดนี้ ข้ึนใหม ปาสกัลปนําพระธาตุกระดูกและข้ีเถาของมรณสักขีท่ีอยูในคาตาคอมบประมาณสามหม่ืนคนมาไวท่ีวัดนอยใตดินท่ีนี่ และอีกจํานวนมากมายแจกจายไปอยูวัดตางๆในกรุงโรม ประมาณ 100 วัดหากเราไปเย่ียมคาตาคอมบท่ีนั่น ไมมีพระธาตุของนักบุญเหลือแลว แตคนท่ีไปและพยายามเอาดินหรือฝุนดินกลับบานมาดวยเลาวาไดพบกับอะไรๆท่ีไมอยากพบ จนตองขอโทษและนํากลับมาคืน

สิ่งท่ีนาสนใจมากอีกอยางหนึ่งก็คือ ศิลปะ โมซาอิคหรือโมเสด ท่ีนี่นับวาเปนโมเสดท่ีเกาแกควรแกการศึกษาอยางย่ิง เหนือพระแทนกลางะจมีรูปพระเยซูจาเปนศูนยกลาง แลวก็รูปของนักบุญเปโตรและเปาโล เปาโลกําลังถวายนักบุญปราซเซเดและ

Page 32: Buon Giorno,italia

32

ปูเดนซีอานาแดพระเยซู สวนไกลๆทางซายมือเปนรูปของพระสันตะปาปา ปาสกัลปกําลังถวายวัดนี้แดพระเยซูเจา ท่ีศีรษะมีรัศมีสี่เหลี่ยมแทนท่ีจะเปนวงกลม เพื่อบอกวาพระองคยังมีชีวิตอยูตอนท่ีกําลังทําโมเสดนี้ มีเขียนอธิบายไวดวยวา หวังวาของถวายนี้จะเพียงพอท่ีจะใหพระองคมีท่ีในสวรรค

ท่ีควรดูอีกอยางหนึ่งท่ีนี่ก็คือวัดนอยนักบุญ เซโน(Zeno) ปาสกัลสรางข้ึนเพื่อเปนท่ีฝงศพของมารดาชื่อ ธีโอโดรา ประดับประดาดวยโมเสด ถาจะดูใหชัดตองจายเงินกอนครับ หยอดเหรียญแลวไฟจะติด สวยงามมาก นอกจากโมเสดแลวอีกมุมหนึ่งของวัดนอยนี้ แสดงเสาหินท่ีพระเยซูเจาถูกมัดและถูกเฆี่ยนบนจวนปลาตกอนท่ีจะถูกนําตัวไปตรึงกางเขน เราจะเห็นทาทางท่ีพระองคถูกมัดและถูกเฆี่ยน อยาลืมสวดดวยนะครับเวลาชม หินสวนหนึ่งจากเสาหินนี้ก็ถูกนําไปไวท่ีวัด กางเขนศักดิ์สิทธ์ิแหงเยรูซาแลม

ในกรุงโรมดวย(Basilica Santa Croce di Gerusalemme) ซ่ึงเราก็จะไปเย่ียมชมเหมือนกัน เสาหินนั้น นักบุญเฮเลนา มารดาของจักรพรรดิ คอนสแตนตินเปนผูคนพบตอนอายุ 80 ปพระนางไปแผนดินศักดิ์สิทธ์ิ เพื่อรวบรวมพระธาตุตางๆท่ีเก่ียวกับพระเยซูเจาและสรางวัดตางๆท่ีนั่น พระนางพบหลายสิ่งหลายอยาง เชน ไมกางเขนตะปู มงกุฎิหนามของพระเยซูเจา เปนตน ในระหวางสงครามครูเสด เสาหินนี้ถูกนํามาจากเมืองคอนสแตนตินโนเปลในป 1223 มีผูพยายามพิสูจนวาเปนของแทหรือไม แตท่ีสุดแลวก็ไมมีหนทางทางวิทยาศาสตรหรือทางนิติเวชศาสตรใดๆสามารถทําได ท้ังหมดจึงข้ึนอยูกับประเพณีปฏิบัติท่ีสืบตอกันมาหรือความเชื่อนั่นเอง

วัดพระมารดานิจจานุเคราะหวัดนี้อยูไมหางจากวัดนักบุญปราซเซเดเลย ออกมาถึงถนนใหญแลวเลี้ยวขวาเดิน

ไปไมก่ีกาว ก็ขามถนนก็ถึงวัดพระมารดานิจจานุเคราะหแลวละครับ รูปพระมารดานิจจานุเคราะหตนฉบับอยูท่ีนี่ครับ ตั้งแตพระสันตะปาปามอบใหคณะสงฆมหาไถรับผิดชอบเผยแพรความศรัทธาตอพระรูปนี้ มีมีใครรูวาใครวาด แตรูปนี้มีอัศจรรยมากมายเกิดข้ึนกรอบรูปของแมพระไดนําไปเปนพระธาตุและนําไปใหคริสตชนไดภาวนา รวมถึงประเทศไทยของเราดวย เราก็จะไปสวดภาวนาท่ีนี่กันเล็กนอย ท่ีนี่ยังมีของท่ีระลึกเก่ียวกับพระมารดานิจจานุเคราะหจําหนาย นาสนใจมากครับ

มารีย มารดานิจจานุเคราะหพระเยซูเจาไดทรงประทานแมพระใหเปนแมของพวกเราทุกคนคอยดูแล

ชวยเหลือพวกเราอยูตลอดเวลา แมพระเปยมไปดวยความรัก ความเมตตา แมพระสุภาพและออนโยนอยางหาท่ีสุดมิได แมวาเวลาจะผานไปปแลวปเลา แมพระยังคอย

Page 33: Buon Giorno,italia

33

ชวยเหลือพวกเราและเชื้อเชิญเราใหมาสัมผัสความรักความเมตตาอันมิรูสิ้นสุดของพระเยซูคริสตเจาอยูตลอดเวลา

รูปแมพระนิจานุเคราะห เปนรูปไอคอนวาดบนแผนไม ขนาด 17 x 21 นิ้ว เปนรูปท่ีมี ความศักดิ์สิทธ์ิและผูคนใหความศรัทธาตอพระรูปนี้เปนอันมาก มีบันทึกว ารูปไอคอนรูปนี้เดิมทีเดียวถูกประดิษฐานอยู ณ วัดแหงหนึ่งท่ีเกาะครีต (Crete) เปนรูปท่ีมีชื่อเสียงและเกิดอัศจรรยมากมายผานทางพระรูปนี้ ไมมีหลักฐานบงชี้แนนอนวาใครเปนผูวาดภาพนี้และมาอยูท่ีเกาะครีตไดอยางไร เรื่องราวท่ีเราพอจะรูไดก็คือ ในราวปค.ศ.1450 พอคาชาวกรีกผูหนึ่งไดขโมยพระรูปนี้และนําติดตัวไปขณะเดินทางโดยเรือมุงหนาสูกรุงโรม หลังจากท่ีเขาถึงกรุงโรมแลว พอคาผูนี้เกิดปวยหนัก ขณะท่ีใกลจะสิ้นใจเขาไดสารภาพตอเพื่อนชาวโรมันถึงรูปแมพระท่ีเขาไดขโมยมา และขอรองใหนํารูปแมพระนี้ไปมอบใหกับวัดท่ีเหมาะสม เพื่อใหผูคนท้ังหลายไดแสดงความเคารพบูชาอยางสงา เพื่อนผูนี้ตกลงยินยอมท่ีจะทําตามคําขอรองนั้น แตภรรยาของเขาไมยอม ตอมาเพื่อนชาวโรมันผูนี้ก็ลมปวยลงและสิ้นใจในท่ีสุด

หลังจากนั้น แมพระไดปรากฏมาและบอกใหลูกสาวของเขานํารูปของพระแมไปประดิษฐานยังวัดนักบุญมัทธิว ซ่ึงตั้งอยูระหวางมหาวิหารเซนตแมรี่ เมเจอร และมหาวิหารเซนตจอหน ลาเตรัน และแลวรูปแมพระนิจจานุเคราะหไดถูกนําไปประดิษฐานท่ีวัดนักบุญมัทธิว โดยมีนักบวชเอากุสติเนียนดูแลอยู ในวันท่ี 27 มีนาคม ค.ศ. 1499 และอยูท่ีนี่เกือบ 300 ป จนกระท่ังกองทัพนโปเลียนบุกกรุงโรม ในป ค.ศ. 1798 ราว 5 ป ตอมาวัดนักบุญมัทธิวไดถูกทําลายลง นักบวชเอากุสติเนียน ไดนําพระรูปนี้ไปซอนไวยังอารามแหงหนึ่งของพวกเขา

อยางไรก็ตาม บราเดอรทานหนึ่งมักจะเลาถึงเรื่องราวอัศจรรยตางๆ ท่ีผูคนไดรับผานทางรูปไอคอนนี้ใหกับเด็กชวยมิสซาท่ีชื่อไมเคิล มารชี่ฟงอยูเสมอ ตอมาภายหลังเขาไดบวชเปนพระสงฆในคณะพระมหาไถ เม่ือมารชี่พูดถึงเรื่องราวของพระรูปนี้ใหเพื่อนพระสงฆในคณะฟง พวกเขาพบวาวัดนักบุญอัลฟอนโซของพวกเขานั้นถูกสรางข้ึนใกลกับบริเวณเดิมของวัดนักบุญมัทธิว เม่ือไดศึกษาประวัติศาสตรและมีหลักฐานชัดเจนแลว คณะพระมหาไถจึงไดถวายคํารองตอพระสันตะปาปาปโอท่ี 9 เพื่อนํารูปแมพระนิจจานุเคราะหมาประดิษฐานท่ีวัดนักบุญอัลฟอนโซ ใกลกับบริเวณเดิมท่ีพระรูปเคยประดิษฐานอยู ตอมาในวันท่ี 11 ธันวาคม ค.ศ.1865 พระสันตะปาปา ปโอท่ี 9 ไดใหคุณพอมารชี่และคณะผูใหญเขาเฝา พระองคไดรับฟงคําบรรยายถึงความเปนมาของพระรูปและคํารองขอของคณะพระมหาไถในเรื่องนี้ ในท่ีสุด พระสันตะปาปาปโอท่ี 9 ไดอนุมัติใหนํารูปแมพระนิจจานุเคราะหไปประดิษฐานยังวัดนักบุญอัลฟอนโซ และรับสั่งแกคณะพระมหาไถวา “จงทํารูปนี้ใหเปนท่ีรูจักท่ัวโลก” รูปแมพระนิจจานุเคราะหไดถูกนํามาประดิษฐานอยางสงาท่ีวัดนักบุญอัลฟอนโซ ในวันท่ี 26 เมษายน ค.ศ.1866 และยังคงประดิษฐานอยูท่ีนั่นจนถึงทุกวันนี้

Page 34: Buon Giorno,italia

34

4. มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกําแพงกรุงโรม (St. Paul's outside the walls)ตามหนังสือ Liber Pontificalis ป ค.ศ. 251-253 สตรีใจศรัทธาชาวโรมันผูหนึ่ง

ชื่อลูซีนา (Lucina) ไดยายศพของนักบุญเปาโล (รวมท้ังของนักบุญเปโตรดวย) จากกาตาคอมบ (Catacomba) และไดนําศพของนักบุญเปาโลมาตั้งไวในท่ีดินของตน ท่ีถนนOstian Way (Via Ostiense) แตศพของเธอถูกฝงท่ี Appian Way ใน Crypt ofLucina

จักรพรรดิคอนสแตนตินไดสรางอาคารหลังแรกเหนือพระธาตุของนักบุญเปาโลในป ค.ศ. 324 และจักรพรรดิโฮโนรีอุส (Honorius) ไดสรางใหเปนมหาวิหารใหญโตสมบูรณในป ค.ศ. 395 ไดรับการประดับประดาดวย เงิน ทอง และเพชรพลอยมากมาย ใหเปนเกียรติแดทานนักบุญเปาโล

พวกแขกซาราเซ็น (Saracen) พยายามบุกเขามาปลนมหาวิหารแหงนี้ในหลายศตวรรษ จนในท่ีสุด พระสันตะปาปา ยอหน ท่ี 8 (ค.ศ. 872-882) ไดมีพระประสงคท่ีจะสรางกําแพงลอมรอบมหาวิหารแหงนี้เพื่อเปนการปองกัน สาเหตุนี้เอง มหาวิหารแหงนี้จึงถูกเรียกวา St. Paul's outside the walls เพราะกําแพงท่ีสรางข้ึนไดทําใหมหาวิหารแหงนี้อยูนอกกรุงวาติกันไป อันเนื่องมาจาก การบุกปลนและการทําลายของพวกแขกซาราเซ็นหลายครั้ง ทําใหตองทําการซอมแซมหลายครั้ง ในการซอมแซมแตละครั้งไดมีการนําเอาศิลปะท่ีล้ําคาตาง ๆ มากมายเขามาดวย เชน โคมระยาสําหรับเทียนปาสกา(ฐานตั้งเทียนปาสกา) ของศตวรรษท่ี 12 ศิลปะโมซาอิค ผลงานของ Cavallini และCiborio ท่ีมีชื่อเสียงในป ค.ศ. 1285 ออกแบบโดย Arnolfo di Cambio

มหาวิหารแหงนี้ นับตั้งแตปศักดิ์สิทธ์ิครั้งแรกในป ค.ศ. 1300 (สมัยพระสันตะปาปาบอนิฟาส ท่ี 8) ไดรับเกียรติเทียบเทากับมหาวิหารนักบุญเปโตรพวกจาริกแสวงบุญท่ีตองการรับพระคุณการุณย จะตองมาเย่ียมมหาวิหารและสวดภาวนา

ทางเขาไปสูหองซาคริสเตีย มีหองเก็บพระธาตุท่ีมีชื่อเสียงมาก เชน พระคัมภีรโบราณ ท่ีเขียนดวยลายมือของนักบุญเยโรม (ค.ศ. 342-420) นอกจากนี้ ยังมีหองเก็บพระธาตุของนักบุญ สเตฟาโน (St. Stefano) และนักบุญอันนา (St. Anna) ดวย ในหองเก็บพระธาตุยังมีกางเขนเล็ก ๆ ท่ีมาจากกางเขนแทของพระเยซูเจา ฝุนกระดูกของบรรดาอัครสาวก โซเหล็กท่ีใชลามนักบุญเปาโล(St. Paolo) สวนหนึ่งของไมเทาของนักบุญเปาโล และพระธาตุของนักบุญองคอื่นๆ ดวย

นอกจากนี้ มหาวิหารนี้ยังไดรับการซอมแซมอีกหลายครั้งในสมัยของพระสันตะปาปาซีสโต ท่ี 5 และพระสันตะปาปา เบเนดิกโต ท่ี 13 พระสันตะปาปา ซีสโต ท่ี 5 ทรงซอมแซมเพดานของมหาวิหารใหม สวนพระสันตะปาปา เบเนดิกโต ท่ี 13 ทรงซอมแซมเสาหินท้ังสองดานภายในมหาวิหาร

Page 35: Buon Giorno,italia

35

วันท่ี 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ไดเกิดเพลิงไหมนานถึง 5 ชั่วโมง เพลิงไดเผาผลาญทําลายมหาวิหารเกือบหมด เหลือเพียงอาคารครึ่งหนึ่ง ประตูชัย และโมซาอิคเทานั้นท่ีเปนของเกาดั้งเดิมมาจนถึงทุกวันนี้ ซ่ึงเราอาจเรียกไดวา มุขท่ีย่ืนออกไปหลังแทนนั้น ท่ีตั้งเทียนปาสกา Ciborio และ Chiostro (อาราม) ท่ีหลงเหลือจนทุกวันนี้

พระสันตะปาปา ลโอเน ท่ี 12 ไดทรงสรางข้ึนใหม โดยไดรับเงินชวยเหลือจากกษัตริยแหง Sadegna ผูปกครองประเทศ Paesi Bassi ฝรั่งเศส Sicily และ Zar แหงรัสเซีย การสรางนี้ไดใชโครงสรางท่ีใกลเคียงกับโครงสรางเดิมมากท่ีสุด

มหาวิหารนักบุญเปาโลไดรับการเสกอีกครั้งหนึ่งในวันท่ี 10 ธันวาคม ค.ศ. 1854นั่นคือสองวันหลังจากการประกาศขอความเชื่อ Immaculate Conception ในวันท่ี 8ธันวาคม ค.ศ. 1854 โดยพระสันตะปาปาปโอ ท่ี 9

ปจจุบัน มหาวิหารแหงนี้ไดรับการดูแลโดยนักบวชคณะเบเนดิกติน มหาวิหารแหงนี้ มีความกวางใหญถึง 132×65 เมตร สองขางระหวางเสาหินภายในมหาวิหารนี้ มีรูปโมซาอิคของพระสันตะปาปาตาง ๆ จนถึงองคปจจุบัน เลาขานกันสืบตอมาวา เม่ือใดก็ตามเม่ือรูปโมซาอิคของพระสันตะปาปาตางๆ ในมหาวิหารนี้เต็มจนไมสามารถมีรูปโมซาอิคไดอีก เม่ือนั้นจะเปนวันสิ้นโลก โดยท่ีเขาไปชมมหาวิหารนี้ ก็มักจะชอบไปนั่งดูวายังเหลืออีกก่ีชอง และจะเหลืออีกก่ีป ผมไปนับมาครั้งสุดทายเม่ือเดือนมิถุนายน 2007 นับได 13ชอง ก็ยังไมรูวาจะเหลืออีกก่ีป

บนกําแพงใหญขางพระทานกลาง จะมีรูปวาดของศิลปนผูหนึ่ง เปนรูปโลงศพของพระนางมารีอา โดยมีบรรดาอัครสาวกของพระเยซูเจาอยูขาง ๆ โลงศพนี้ เปนเครื่องหมายวา พระนางมารีอาไดรับเกียรติยกข้ึนสวรรคท้ังกายและวิญญาณ หากเราอยูดานริมสุดของรูป โลงศพก็หันมาทางเรา และหากเราเดินไปอีกดานหนึ่งของรูป โลงศพก็จะหันตามเราไปเสมอ เพื่อเตือนใจเราวา “ไมวาเราจะเปนใคร ไมวาจะอยูท่ีไหน เราลวนตองตาย” หากไปเย่ียมมหาวิหารนักบุญเปาโลก็อยาลืมไป ชมภาพนี้เปนขวัญตา

พระสันตะปาปา เบเนดิ๊กต ท่ี 16 ไดประกาศเพื่อเฉลิมฉลอง 2,000 ปของนักบุญเปาโล จึงประกาศใหปนักบุญเปาโลเริ่มตนข้ึนตั้งแตวันท่ี 29 มิถุนายน 2008 จนถึงวันท่ี28 มิถุนายน 2009 ดังนั้น ตลอดปนักบุญเปาโล จะมีกิจกรรมเฉลิมฉลองตลอดท้ังปท่ีมหาวิหารนักบุญเปาโล

สําหรับสถานท่ีท่ีทานนักบุญเปาโลถูกตัดศีรษะนั้น อยูหางออกไปจากมหาวิหาร เรียกบริเวณนั้นวา “Tre Fontane” อันเปนชื่อท่ีมาจากการตัดศีรษะของทานนักบุญเปาโลศีรษะของทานไดตกลงมาบนทางเนิน และกอใหเกิดน้ําพุข้ึน 3 แหง จึงเรียกสถานท่ีนี้วา“Tre Fontane” นอกจากนี้ ตรงขามกับสถานท่ีนี้ ยังเปนบริเวณสวนสาธารณะ ซ่ึงปจจุบันมีวัดนอย ตั้งเปนพยานถึงการประจักษมาของพระแมมารีอา โดยประจักษใหแกชายคนหนึ่ง ชื่อ บรูโน เปนท่ีรูจักกันในนามของแมพระแหง การเปดเผย (Mother of Revelation)วันท่ี 12 เมษายนของทุกปเปนวันฉลองของแมพระแหงการเปดเผยนี้ มีผูท่ีเชื่อและเห็นดวยวา ทุก ๆ ป ในวันนี้ จะมีปรากฏการณพระอาทิตยหมุนในระหวางมิสซาฉลองดวยใครบังเอิญมาชวงวันนี้ ก็ลองมาดูดวยตาตนเองก็ได

Page 36: Buon Giorno,italia

36

5. มหาวิหารนักบุญยวง ลาเตรัน (Basilica St. John Lateran)เม่ือพูดถึงมหาวิหารแหงนี้ จําเปนตองพูดถึง Palazzo ท่ีถูกเรียกชื่อวา Domus

Faustae ควบคูกันไป Fausta นามสกุล Laterani ลูกสาวของ Massenzio และเปนภรรยาคนท่ีสองของคอนสแตนติโน Fausta ไดมอบปราสาทนี้ใหเปนท่ีจัดสังคายนาเพื่อตัดสินDonatism และนับตั้งแตป ค.ศ. 313 พระสันตะปาปาก็เริ่มมาพักท่ีนี่ โดยถือเปนท่ีอยูถาวรของพระสันตะปาปาและคูเรียดวย จึงตองนับวาเปนท่ีประทับของพระสันตะปาปาถาวร และสืบมาจนหมดสมัยกลาง (Medioeval) แตจะใหถูก ก็คือ จนถึงป ค.ศ. 1309 เม่ือพระสันตะปาปายายไปพํานักท่ีอาวียอง

สวนสถานท่ีปจจุบัน เปนบานเณรใหญและมหาวิทยาลัย Lateranense เปนสวนหนึ่งท่ีจักรพรรดิคอนสแตนตินไดยกถวายแดพระสันตะปาปา และจักรพรรดิองคนี้เองไดเริ่มตนสรางมหาวิหารแหงนี้ข้ึนมาโดยตั้งชื่อวา S. Salvatore เพื่อใหยึดถือเปนเหมือน“หัวหนา และสุดยอด (vertice) ของวัดท้ังหลายในโลกจักรวาลนี้” อาจกลาวไดวาใหเปนวัดเอก (Primato) เหนือวัดท้ังหลายในกรุงโรม ใหถือเปนมารดาของพระศาสนจักร(Mater Ecclesiae) ของพระศาสนจักรโรมัน สําหรับพระศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก มหาวิหารนี้ถูกทําลายลงเพราะแผนดินไหวในป ค.ศ. 896 พระสันตะปาปาSergius III (ค.ศ. 904-911) ไดสรางข้ึนมาใหม และเปลี่ยนชื่อจาก S. Salvatore มามอบใหแกนักบุญยอหน บัปติสต (St. John Baptist) และนักบุญยอหนอัครสาวก (John theApostle) เวลาเดียวกัน ก็ไดสรางตึกบริหารงาน อารามนักบวช โรงพยาบาล และท่ีพักสําหรับพวกแสวงบุญ ข้ึนมาดวย ตั้งแตป ค.ศ. 1192 มีหลักฐานแนชัดวา ท่ีนี่เปนสถานท่ีเลือกตั้ง พระสันตะปาปา และดังนี้เอง กลางศตวรรษท่ี 12 จึงมีตัวอักษรตัวใหญเขียนอยูเหนือทางเดิน 2 ขางในวัดวา “โดยผานทางคําสอน Dogma ของพระสันตะปาปาและของจักรพรรดิ ถูกกําหนดวา ขาพเจาเปนมารดาและหัวหนาของวัดท้ังหลาย”

ป ค.ศ. 1308 มหาวิหารถูกไฟเผาเกือบหมด (ชวงสมัยท่ีพระสันตะปาปาเคลเมนต ท่ี 5 ยายจากกรุงโรมไปประทับท่ีอาวียอง) หลังจากซอมแซมแบบขอไปทีไดไมนาน ก็ถูกไฟไหมอีก ในป ค.ศ. 1361 มหาวิหารถูกซอมแซม แตตัวพระราชวัง (Palazzo)ไมสามารถใชการไดอีก เพื่อเปนท่ีประทับของพระสันตะปาปา เพราะชวงนี้กําลังมีขาววาพระสันตะปาปาจากอาวียองจะกลับมาท่ีกรุงโรม วาติกัน และมหาวิหารนักบุญเปโตรในฐานะท่ีมีเกียรติของนักบุญเปโตร จึงไดรับเกียรติเปนท่ีประทับของพระสันตะปาปาจึงมีการถกเถียงกันวาท่ีใดสําคัญกวากัน ระหวางลาเตรันและเซนตปเตอร

พระสันตะปาปา เกรโกรี ท่ี 11 จากอาวียอง ไดออกกฤษฎีกา (Bull) และประกาศอยางเปนทางการวา Laterano ยังคงเปนสํานักเอก (Principal see) และเปนท่ีหนึ่งเหนือวัดทุกแหงของกรุงโรมและของจักรวาล และเปนท่ีหนึ่งเหนือมหาวิหารท้ังหลายรวมท้ังเหนือเซนตปเตอรดวย พระสันตะปาปา ปโอ ท่ี 5 ในป ค.ศ. 1569 ไดออก Bullยืนยันเชนเดียวกับพระสันตะปาปา เกรโกรี ท่ี 11 เพราะสมัยในของพระสันตะปาปา

Page 37: Buon Giorno,italia

37

ปโอ ท่ี 5 นี้ ก็เริ่มมีการถกเถียงกันอีก ตอมาในสมัยพระสันตะปาปา ซีสโต ท่ี 5(Sisto V) ไดทําการสรางใหมท้ังหมด เพราะโครงสรางเกานั้นใชไมไดแลว สิ่งท่ียังเหลืออยูท่ีเปนของเกาแท ๆ ท่ีเราพอจะเห็นไดก็คือ Private Chapel ของพระสันตะปาปาท่ีเรียกชื่อวา Sancta Sanctorum ท่ีบรรจุพระธาตุนักบุญตาง ๆมากมาย และบันได 28 ข้ันท่ีเรียกวา Scala Santa ท้ังหมดนี้คือ Sancta Sanctorumและ Scala Santa ถูกยายมาอยูท่ีตึกเล็ก ๆ ท่ีสรางและออกแบบโดย DomenicoFontana สถาปนิกและนักศิลปะท่ีมีชื่อเสียงในสมัยนั้น ในการออกแบบนี้ไดมีแบบท่ีจะสรางพระราชวังใหมข้ึนมาระหวางป ค.ศ. 1585-1589 เพื่อใชเปนท่ีประทับในฤดูรอนของพระสันตะปาปา แตพระสันตะปาปาไมไดประทับท่ีนี่ เพราะเปลี่ยนมาเปน Quirinale

มาถึงตรงนี้ก็นาจะพูดถึง “บันไดศักดิ์สิทธ์ิ” (Scala Santa) สักเล็กนอยบันไดศักดิ์สิทธ์ินี้เรียกอีกชื่อหนึ่งวา Scala Pilati หรือบันไดของ Pilato เปนบันได

ท่ีทําดวยหินออน มีท้ังหมด 28 ข้ัน ปจจุบันถูกคลุมดวยไม ตามความนิยมดั้งเดิม(Tradition) ไดบอกและยืนยันวา พระเยซูเจาหลังจากไดถูกตัดสินประหารชีวิตแลวไดเดินลงมาทางบันไดนี้ และนักบุญเฮเลนา (ค.ศ. 255-330) พระมารดาของจักรพรรดิคอนสแตนติน (ป ค.ศ. 326 จาริกแสวงบุญไปท่ีแผนดินศักดิ์สิทธ์ิ และเปนผูคนพบไมกางเขนท่ีตรึงพระเยซูเจาดวย) ไดเปนผูนําบันไดนี้มาท่ีกรุงโรม ดังนั้น สถานท่ีแหงนี้จึงเปนสถานท่ีจาริกแสวงบุญ ผูจาริกแสวงบุญจะเดินข้ึนไปบนบันไดนี้โดยใชเขาเดินข้ึนไปและบนยอดของบันไดนี้เปนท่ีตั้งของ Sancta Sanctorum ท่ีสรางข้ึนตั้งแตป ค.ศ. 1278ดังท่ีกลาวมาแลว

มหาวิหารปจจุบันไดรับการซอมแซมและกอสรางเพิ่มเติมตั้งแตสมัยพระสันตะปาปาอูรบัน ท่ี 5 ป ค.ศ. 1362-1370 เรื่อยมาจนถึงป ค.ศ. 1737 โดยใชสถาปนิกท่ีมีชื่อเสียงในสมัยนั้นหลายคนดวยกันเปนผูออกแบบ เชน D. Fontana (ค.ศ. 1543-1604)F. Borromini (ค.ศ. 1599-1667) และ Alessandro Galilei (ค.ศ. 1691-1737)

ปจจุบัน ยังตองถือวาวัดนี้เปน Omnium urbis et orbis ecclesiarum mater etcaput ดังนั้น หลังจากท่ีพระสันตะปาปาถูกเลือกตั้งข้ึนมา จําเปนจะตองมาทําพิธีรับเปนเจาของมหาวิหารในฐานะท่ีเปน Sede ของตน (เรียกเปนภาษาอิตาเลียนวา presa dipossesso)

พระสันตะปาปา ปโอ ท่ี 12 วางแผนท่ีจะใหมหาวิหารแหงนี้เปนสถานท่ีทํางานของสังฆมณฑลโรม แตตองทําการบูรณะเสียใหม

พระสันตะปาปา ยอหน ท่ี 23 ไดทําการบูรณะซอมแซมมหาวิหารแหงนี้ โดยมีพระประสงคจะใชเปน Vicariate of Rome หมายถึงศูนยกลางการบริหารงานสังฆมณฑลโรม

พระสันตะปาปา เปาโล ท่ี 6 ไดทําตามพระประสงคของพระสันตะปาปาท้ังสององคท่ีกลาวมาแลว โดยจัดใหมหาวิหารแหงนี้เปน Vicariats of Rome ตามเกียรติท่ีมหาวิหารแหงนี้ ควรจะไดรับ เรื่องนารูอีกประการหนึ่งก็คือ ตําแหนงของพระสันตะปาปาท่ีจริงแลวก็คือ สังฆราชแหงสังฆมณฑลโรม ใครก็ตามท่ีมีตําแหนงพระสันตะปาปาก็เปนสังฆราชแหงโรมนั่นเอง

Page 38: Buon Giorno,italia

38

มหาวิหารลาเตรัน (Laterano)ตามธรรมเนียมเกา พระสันตะปาปาจะตองลางเทาอัครสาวก 12 องค ในพิธีวัน

พฤหัสศักดิ์สิทธ์ิท่ีนี่ แตนับตั้งแตป ค.ศ. 1834 เปนตนมา พระสันตะปาปา เกรโกรี ท่ี 16ไดยายมาทําพิธีดังกลาวท่ีมหาวิหารนักบุญเปโตร แตตามธรรมเนียมเกานั้น พระสันตะปาปาจะลางเทาอัครสาวก 12 องค ณ มหาวิหารแหงนี้รูปนักบุญเปโตร ปกติจะตองมีกุญแจอันเปนสัญลักษณหมายถึงอํานาจหนาท่ี (Autorità)

แตหลาย ๆ รูปก็แตกตางกัน บางรูปนักบุญเปโตรถือกุญแจดอกเดียวบางรูปถือ 2 ดอก และบางรูปถือ 3 ดอกก็มี

กุญแจ 1 ดอก หมายถึงพระศาสนจักรท่ีเปน una, santa, catholica e apostolica ซ่ึงหมายถึง พระศาสนจักรท่ีเปนหนึ่งเดียว มีฝูงแกะฝูงเดียว และนายชุมพาบาลเพียงผูเดียว

กุญแจ 2 ดอก ดอกหนึ่งจะเปนสีทอง และอีกดอกหนึ่งจะเปนสีเงินดอกสีทอง หมายถึงอํานาจดานวิญญาณท่ีจะผูกหรือแก ท่ีจะเปดหรือ

ปดประตูสวรรค นอกจากนี้ ยังหมายความถึง Potenzaหรือการมีอํานาจ บางคนใหความหมายวา หมายถึงความสามารถ (Potestà) ท่ีจะตัดสินในเรื่องการใชโทษบาป (Penitenza)

ดอกสีเงิน หมายถึงอํานาจในการปกครองพระศาสนจักรและยังหมายถึงความรู (scienza) บางคนใหความหมายวาหมายถึงอํ านาจ ท่ีจะ กําหนด ถึงการตัดสิน เฮเรติ๊ ก(Anatema) และขับไลออกจากพระศาสนจักร(ex-communication) ก็ได

ในพระราชวังลาเตราโน ในสวนท่ีเรียกวา Triclinium มีรูปนักบุญเปโตรท่ีถือกุญแจ 3 ดอก เปนกุญแจท่ีหมายถึง ความรู (scienza) อํานาจปกครอง (potenza) และอํานาจการตัดสิน (Giurisdizione) ของพระสันตะปาปา หากจะตีความหมายวาหมาย ถึงกุญแจท่ีเปดและปดประตูสวรรคดวย การใชโทษบาป (penitenza) พระคุณการุณ(indulgenza) และการขับไล (scomunica) ก็ถูกตองเหมือนกัน

ในระหวางพิธีเขารับตําแหนง (presa di possesso) ท่ีลาเตราโนของพระสันตะปาปาพระสันตะปาปาจะคาดเข็มขัดท่ีประกอบไปดวยกุญแจ 7 ดอก และตราประทับ (Sigilli) 7 ดวง เปนเครื่องหมายถึงพระคุณของพระจิต 7 ประการ และศีลศักดิ์สิทธ์ิ 7 ศีล ซ่ึงพระสันตะปาปาจะตองเปนผูโปรดใหแกประชากร

Page 39: Buon Giorno,italia

39

Basilica Santa Croce di Gerusalemme แปลไดวา มหาวิหารนอยกางเขนศักดิ์สิทธิ์แหงเยรูซาแลม

หางจากมหาวิหารลาเตรันไมมากนัก แตก็ไมใกลชนิดเดินไดนะครับ ตองนั่งรถไปก็จะเปนมหาวิหารไมกางเขนศักดิ์สิทธ์ิแหงเยรูซาแลม มหาวิหารนี้เปนการแสดงออกของความเชื่อและศิลปะท่ีไดรับการดลใจจากกางเขนของพระเยซูเจาอยางแทจริง ตั้งอยูบนเนินเขาท่ีชื่อวา Esquilina แรกทีเดียวก็เปนวัดนอยสวนตัวของเฮเลนา แตหลังจากนั้นก็ไดรับการบูรณะตกแตงเพิ่มเติมเรื่อยมาจนถึงสมัยนี้ พระสันตะปาปาทุกพระองคใหความสําคัญตอท่ีนี่มากเพราะเปนสถานท่ีเก็บรักษา พระธาตุตางๆท่ีเก่ียวกับพระมหาทรมานของพระเยซูเจาเอง

นักบุญเฮเลนาเกิดป 250 ชอบเก็บตัวมากกวาและไดเปนคริสตชนอยางลับๆแลวจนกระท่ังลูกชายคือจักรพรรดิ คอนสแตนตินไดรับชัยชนะจากเครื่องหมายกางเขน การสงครามท่ีควรแพ นะครับ จากนั้นเธอไดรับตําแหนงเปน Augusta นักประวัติศาสตรชื่อ เอวเซบีอุส 265-340 บันทึกไววา จักรพรรดิเฮเดรียนไดสรางวิหารเทพเจาไวท่ีเขากัลวารีโอและท่ีท่ีฝงศพพระเยซู เพื่อใหคริสตชนลืมความเชื่อเรื่องนี้ไป จนกระท่ังคอนสแตนตินประกาศใหศาสนาคริสตพนจากการเบียดเบียนในป 313 พระองคใหสรางและนําวิหารหลายแหงของเทพเจามาเปนวัดวาอารามตางๆของคริสตศาสนา ชวงเวลานี้เองท่ีเฮเลนาเริ่มเดินทางไปแผนดินศักดิ์สิทธ์ิ ตอนนั้นอายุราว 80 ปแลว นักบุญอัมโบรซีโอยกยองคุณธรรมของเฮเลนาอยางมากและเชื่อวาเธอเปนผูท่ีพบกางเขนแทของพระเยซูเจาเธอพบกางเขนสามอันท่ีเขากัลวารีโอ มีการแหเขากรุงเยรูซาแลมอยางย่ิงใหญ นักบุญมาคารีอุส สังฆราชแหงเยรูซาแลม ตอนนั้นภาวนาขอเครื่องหมายจากพระเจา เพื่อจะไดแยกออกวาอันไหนเปนกางเขนของพระเยซูเจา ทานนําเด็กหนุมท่ีเสียชีวิตแลวมาและจับมือสัมผัสกางเขน ไมกางเขนนี้ทําใหเด็กหนุมฟนจากความตาย

เฮเลนาแบงกางเขนแทออกเปนสามสวน สวนหนึ่งเก็บไวท่ีเยรูซาแลม สวนท่ีสองใหลูกชายเก็บไวท่ีคอนสแตนติโนเปล สวนท่ีสามเธอนํากลับมาไวท่ีกรุงโรม คือท่ีวัดนอยของเธอเอง เธอนํากลับมาพรอมกับตะปูท่ีตอกตรึงพระเยซูหนึ่งตัวและดินจํานวนมากจากเขากัลปวารีโอ เธอนําดินเหลานั้นมาโปรยลงยังท่ีท่ีจะสรางเปนวัดนอยของเธอนั่นเอง กางเขนนี้ถูกเก็บไวท่ีวัดนอยนี้ประมาณพันป หลังจากนั้นก็มีการยายไปหลายแหงเพื่อใหคริสตชนไดสวดภาวนาและรําพึง เคยเก็บไวในอารามนักพรตท่ีนี่ดวย แตท่ีสุดตองเปลี่ยนเพราะคริสตชนเขาชมไดลําบากมาก ในปศักดิ์สิทธ์ิป 1925 มีโครงการสรางวัดใหใหญข้ึน เพื่อเก็บรักษาพระธาตุนี้ พระสันตะปาปาจอหนปอลท่ี 2 เสด็จเย่ียมท่ีนี่ 25มีนาคม 1979 ไมก่ีเดือนหลังจากเปนพระสันตะปาปาและทรงเรียกท่ีนี่วา Sanctuary ofthe Cross และเรียกดวยชื่อนี้มาจนถึงปจจุบัน

มีคนสงสัยทุกยุคทุกสมัยวากางเขนนี้เปนของแทหรือไม แตพระสันตะปาปาทุกยุคทุกสมัยไมเคยสงสัยเลย เพราะประวัติศาสตรเรื่องนี้ไดรับการตรวจสอบและเชื่อกัน

Page 40: Buon Giorno,italia

40

มานาน ในหนังสือระเบียบพิธีของพระสันตะปาปาเองก็ระบุแนวทางปฏิบัติทางพิธีกรรมไวชัดเจนดวย ในอดีตทุกวันศุกรศักดิ์สิทธ์ิพระสันตะปาปาจะนําขบวนแหดวยเทาเปลาพรอมกับคณะสงฆและมวลสัตบุรุษจากมหาวิหารลาเตรันมายังมหาวิหารนอยแหงนี้ เพื่อนมัสการกางเขนนี้ และพระสันตะปาปายังไดแจกจายสวนหนึ่งเล็กๆจากไมกางเขนนี้ใหแกบรรดาพระสังฆราชในสมัยกอนดวยเพื่อยืนยันวา เปนไมกางเขนของพระเยซูเจาและทุกคนตองแบกกางเขนเดียวกันนี้เชนเดียวกับพระอาจารย เสียดายท่ีระเบียบพิธีนี้เปลี่ยนไปแลว เพราะวันศุกรศักดิ์สิทธ์ิพระสันตะปาปาจะนําการเดินรูป 14 ภาคท่ีโคโลเซียมแทน ปจจุบันการมอบชิ้นไมกางเขนใหแกพระสังฆราชก็ไมมีแลวครับ อาจเปนเพราะไมมีเพียงพอท่ีจะมอบไหอีกตอไปนั่นเอง

ท่ีนี่เองยังไดเก็บรักษาตะปูท่ีตอกตรึงพระเยซูเจาดวย นักประวัติศาสตรในศตวรรษท่ี 4 บันทึกไววาเฮเลนาไดพบตะปูสามตัว ตัวหนึ่งเธอไวท่ีบังเหียนมาของลูกชายคือจักรพรรดิคอนสแตนติน อีกตัวหนึ่งไวท่ีมงกุฎของลูกชายและตัวท่ีสามเธอนํามาไวท่ีนี่ดวย เราจะไดพบกับปายชื่อเหนือไมกางเขนท่ีจารึกสามภาษาคือ ฮีบรู กรีกและลาตินตามท่ีมีอยูในประวัติ หนามสองอันซ่ึงเคยถูกยายไปหลายแหงท้ังท่ี คอนสแตนติโนเปล ท่ีฝรั่งเศสในชวงเวลาสงครามครูเสด นอกจากนี้ก็มีสวนของหินท่ีมาจากถํ้าท่ีฝงศพพระเยซูเจา หินท่ีมาจากเสาหินท่ีมัดและเฆี่ยนพระองค มีกางเขนของโจรผูเปนทุกขกลับใจดานขวาของพระองค ท่ีสุดก็มีนิ้วมือของนักบุญโทมัสมาวางไวท่ีนี่ดวย ใครพอจะบอกไดวาทําไมจึงเก่ียวของกับนักบุญโทมัส

ท่ีสุดใกล ๆ กับหองนี้เอง เปนท่ีเก็บศพของเด็กหญิงเล็กๆคนหนึ่งชื่อ AntoniettaMeo รูจักกันในชื่อ Nennolina (1930-1937) ตั้งแตป 1999แลว เธอเคยมีชีวิตอยูใกลชิดกับสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิแหงนี้ ตายดวยโรคมะเร็งกระดูกตั้งแตอายุหกขวบครึ่ง แตเธอมีชีวิตท่ีพิเศษมาก มีจดหมายหลายฉบับท่ีเธอเขียนถึงพระเจา ถึงพระเยซู พระจิตและแมพระ เปนเด็กท่ีมีชีวิตจิตสนิทกับพระอยางนาประหลาด บางทีอาจเปนเพราะเธอมีโอกาสใกลชิดกับสิ่งท่ีใกลชิดกับพระเยซูเจามากท่ีสุดก็ไดนะครับ ท่ีนี่เราควรขับรองเพลงกางเขนชัย พรอมกันนะครับ คงดีสําหรับความเชื่อของเราท่ีไดมีโอกาสนมัสการกางเขนท่ีพระเยซูเจาใช เพื่อไถบาปเราดวยชีวิตของพระองคเอง อยาลืมแบกกางเขนของเราดวยนะครับ

6. Colosseo หรือ Coliseumมีชื่อเต็มวา Flavian Amplitheatre นับวา เปนสนามกีฬาท่ีใหญท่ีสุดท่ีถูกสราง

ข้ึนมา ในสมัยอาณาจักรโรมัน เปนงานท่ีแสดงใหเห็นถึงความย่ิงใหญทางดานการออกแบบสถาปตยกรรม และวิศวกรรม (Architecture and Engineering) อาณาจักรโรมันสรางสนามกีฬาไวหลายแหงดวยกัน อาจจะกลาวไดวา เกือบทุกแหงท่ีอาณาจักรโรมันแผ

Page 41: Buon Giorno,italia

41

อิทธิพลไปถึงก็วาได แมแตในกรุงโรมเองก็มีอยูหลายแหง ยกตัวอยางเชน สนามกีฬาโคลิโกลาท่ีเนินวาติกัน เปนตน แตสนามกีฬาโคโลเซโอแหงนี้นับวาย่ิงใหญท่ีสุด

สนามกีฬาโคโลเซโอ ตั้งอยูทางดานตะวันออกของ Romano Foro ถูกสรางข้ึนในระหวาง ป ค.ศ. 70-72 สมัยจักรพรรดิ Vespasian สําเร็จบริบูรณในป ค.ศ. 80 สมัยTitus และไดรับการปรับปรุงเพิ่มเติมในสมัยของ Domitian สามารถบรรจุผูชมได 50,000คน ใชเพื่อชมการแขงขันการตอสูของนักสูซ่ึงรูจักกันในนามของ Gladiators และชมการแสดงตาง ๆ ถูกใชงานเปนเวลานานถึง 500 ป นอกเหนือจากการชมการตอ สูของนักรบแลว การแสดงอื่นๆ ท่ีนาสนใจก็มี การแสดงการตอสูทางทะเล ชาวโรมันสามารถปรับเปลี่ยนสนามกีฬาใหเปนสมรภูมิทางทะเลไดอยางนาอัศจรรยทีเดียว ท้ังนี้ ก็มาจากการออกแบบโครงสราง ระบบทอสงน้ําและระบบน้ําของชาวโรมันนั่นเอง นอกจาก นี้ ยังใชเปนท่ีประหารชีวิตนักโทษ นักโทษของอาณาจักรโรมันมีอยูหลากหลาย เปนท้ังนักโทษการเมือง นักโทษจากการทําสงคราม และนักโทษทางศาสนา ซ่ึงหมายถึงบรรดา คริสตชนในสมัยนั้น บรรดาคริสตชนถูกอาณาจักรโรมันเบียดเบียนเปนเวลาถึง 200 กวาปนับตั้งแตจักรพรรดิเนโรกลาวรายวา พวกคริสตชนเปนผูท่ีเผากรุงโรม ในป ค.ศ. 60เพลิงเผากรุงโรมนาน 5 วัน ทําลาย 4 เขตของโรมโดยสิ้นเชิง และเสียหายอยางมากในอีก 7 เขต มีอยูเพียง 3 เขตของโรมเทานั้นท่ีรอดพนจากไฟไหมครั้งนั้น ศาสนาคริสตก็กลายเปนศาสนาตองหาม และมีโทษอยางหนัก จนถึงประหารชีวิต คริสตชนตองหลบซอนอยูในอุโมงคใตดิน ซ่ึงรูจักกันในนามของ Catacomba อุโมงคท่ีมีชื่อเสียงและเปนสถานท่ีท่ีนักทองเท่ียวไปชม ไดแก Catacomba di S. Callisto อันท่ีจริง อุโมงคเหลานี้มีอยูหลายแหงทีเดียวในกรุงโรม การเบียดเบียนศาสนานี้มาสิ้นสุดในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine) ซ่ึงหลังจากไดรับชัยชนะจากสงครามอยางอัศจรรย ดวยเครื่องหมายกางเขนบนทองฟา ไดประกาศใหคริสตศาสนาเปนศาสนาประจําชาติของอาณาจักรโรมัน ตั้งแตป ค.ศ. 305 เปนตนมา

ในระหวางการเบียดเบียนศาสนา 200 กวาปนี้ คริสตชนถูกจับและประหารชีวิตในรูปแบบตาง ๆ มากมาย ท้ังการตรึงกางเขน การถูกเผาท้ังเปน การทรมานและจําคุกตลอดชีวิต การตัดศีรษะ รวมถึงการตอสูกับสัตวรายท่ีหิวกระหายในสนามกีฬาตาง ๆบรรดาคริสตชนเสียชีวิตในสนามกีฬาโคลิโกลาท่ีเนินวาติกันมากท่ีสุด แตก็มีคริสตชนจํานวนหนึ่งเสียชีวิตท่ีสนามกีฬาโคลิเซโอแหงนี้ดวย และเนื่องจาก คริสตชนเหลานี้ยอมสละชีวิตเพื่อความเชื่อในพระเยซู ไมยอมประกาศละท้ิงศาสนา พระศาสนจักรคาทอลิกประกาศใหพวกทานเปนมรณสักขี (Martyrs) และเพื่อเปนเกียรติแดพวกทานเหลานี้ สมเด็จพระสันตะปาปาจะเสด็จมาทําพิธีทางศาสนา ซ่ึงเรียกกันว า “มรรคาศักดิ์สิทธ์ิ”(The Way of the Cross) ในวันศุกรศักดิ์สิทธ์ิ (Good Friday) ของทุกป

Page 42: Buon Giorno,italia

42

ปจจุบัน สนามกีฬาแหงนี้เปนสัญลักษณแหงความเจริญของอาณาจักรโรมัน และไดรับการยกยองใหเปนหนึ่งในสิ่งมหัศจรรยของโลกดวย ความย่ิงใหญของอาณาจักรโรมันปรากฏอยางชัดเจนในบริเวณท่ีเรียกวา “Romano Foro” ซ่ึงอยูใกล ๆ กับสนามกีฬาสําหรับผูท่ีสนใจโบราณคดีหรือประวัติศาสตร ก็สามารถพบกับประตูชัยตาง ๆ ของอาณาจักรแหงนี้ พระราชวังของจักรพรรดิเนโร วิหารเทพเจาตาง ๆ และสิ่งปลูกสรางท่ีนาสนใจอีกมากมาย Romano Foro ใหญมาก ปจจุบัน ประเทศอิตาลีก็กําลังขุดหาและบูรณะเพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อันท่ีจริง กรุงโรมซ่ึงเปนนครหลวงของประเทศ ควรจะมีบริการรถไฟใตดินมากกวาท่ีเปนอยูนี้ แตก็ไมสามารถทําได เพราะเกรงวาการขุดอุโมงคสําหรับรถไฟใตดิน จะเปนการทําลายโบราณสถานเหลานี้นั่นเอง

วัด il Foro et il Carcere Mamertinoคุกนี้ชื่อ Mamertino ตั้งอยูท่ี Clivo Argentario ใตวัด S. Giuseppe dei

Falegnami เปนคุกเกาแกและยาวนานท่ีสุดของกรุงโรมTullianum เปนสถานท่ีนักโทษของรัฐจะถูกท้ิงและขังไวอยางโดดเดี่ยว

นักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลก็ถูกนํามาขังท่ีนี่ดวย ไมมีแสงสวางในหองขังเลย ท่ีนี่เองในขณะท่ีทานนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลถูกนําตัวลงไปหองใตดิน นักบุญเปโตรไดหกลม และศีรษะของทานกระแทกกําแพง รองรอยยังคงปรากฏอยูในท่ีท่ีทานถูกคุมขังก็ไดมีตาน้ําข้ึนมาอยางนาอัศจรรย (Tullus : ตาน้ํา, ชื่อ Tullianum มาจากเหตุนี้)ทานท้ังสองท่ีไดทําให Processo และ Martiniano ซ่ึงเปนผูคุมนักโทษดูแลคุกนี้กลับใจ

คุก Mamertino ซ่ึงนักบุญเปโตรและเปาโลถูกนํามาขังเปนนักโทษฉกรรจแทนสัญลักษณการจับกุมและกักขังทานนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโล ตั้งอยูบริเวณทางเขาเย่ียมชมคุก บริเวณท่ีนักบุญเปโตรเสียหลัก ศีรษะกระแทกกับกําแพงและเปนรองรอยท่ีถูกเก็บรักษาไวใหเห็นจนถึงปจจุบันนี้

หองขังใตดินของนักบุญเปโตร และนักบุญเปาโลมี แผนหินออนเลาเรื่องการกลับใจของ Processo และ Martiniano ผูคุมคุก รวมท้ังผูกลับใจอีก 47 คน โดยรับการรับศีลลางบาปดวยน้ําจากตาน้ํา ท่ีเกิดข้ึนภายในหองขังอยางอัศจรรย คุกแหงนี้ตั้งอยูใกลกับ Foro Romano เวลาเราลงไปชมจะชมไดครั้งละไมมากเนื่องจากทางลงก็เล็กและแคบ บริ่วณดานลางนั้นก็เล็ก มาถึงท่ีนี่ก็ควรลงไปชมนะครับ เราจะรูถึงความรูสึกของทานนักบุญท้ังสองกอนท่ีจะรับเกรียรติเปนมรณสักขี แบบอยางความเชื่อของเรา

7. Pantheonขอแนะนําสถานท่ีนาเย่ียมชมในกรุงโรมท่ีนาสนใจมากอีกแหงหนึ่ง นั่นคือ Pantheon

หากไป เย่ียมชมประมาณ 4-5 โมงเย็นละก็ จะมีเวลาเย่ียมชมสักครึ่งชั่วโมง ดื่มกาแฟ

Page 43: Buon Giorno,italia

43

หอมกรุนท่ีอยูใกล ๆ นั่นคือ กาแฟ Tazza d’Oro แปลวา ถวยทอง จากนั้น ก็เดินลัดไปเย่ียมชม Piazza Navona ดูบรรยากาศท่ีนั่น ตอนเย็นๆ ก็จะมีศิลปนมานั่งวาดรูปเหมือนและรูปตลกๆ ใหดูมากมาย เปนสถานท่ีนาเดินเลน และดูวิถีชีวิตของชาวเมืองและนักทองเท่ียว บริเวณรอบๆ Piazza แหงนี้ ก็มีรานอาหาร ไอศกรีม และเครื่องดื่มตางๆมากมาย แตก็คอนขางแพงนะครับ เพราะเปนสถานท่ียอดนิยม

กลับมาท่ี Pantheon ของเราดีกวา ตั้งอยูใกลมากเลยกับ Largo Argentina เดินเขาทางเล็ก ๆ กอนจะถึง Pantheon ก็จะผานรานตัดเสื้อท่ีมีชื่อเสียงมากรานหนึ่ง ชื่อวาGammarelli ซ่ึงเปนรานตัดเสื้อของพระสันตะปาปา คารดินัล สังฆราช สงฆชั้นผูใหญสืบตอกันมานานมากทีเดียว ก็เพียงแครูไวเทานั้น ติดกันก็เปน Academy สถาบันอบรมนักการทูตของรัฐวาติกัน ท่ีนี่มีพระสงฆท่ีมาจากท่ัวโลก เพื่อจะทําหนาท่ีทาง การทูตในอนาคต หนึ่งในจํานวนี้ก็มีพระสงฆไทยรวมอยูดวย 1 องค

กลับมาท่ี Pantheon ของเราอีกครั้งละกัน มาถึงซะที Pantheon เปนภาษากรีกนะครับ แปลวา “วิหารแหงเทพเจา” ท้ังนี้ เพราะพวกกรีกและชาวโรมันดั้งเดิม มีความเชื่อถึงบรรดาเทพเจา วิหารนี้ถูกสรางข้ึนเปนเกียรติแดเทพเจา 7 องคแหงดาวท้ัง 7 ซ่ึงศาสนาประจําชาติโรมันโบราณนั้นไดกลาวไว สมัยกอนนั้นก็รูจักดวงดาวแค 7 ดวง ไมใช9 ดวงอยางในปจจุบัน ไดยินวา ปจจุบัน มีการคนพบดวงท่ี 10 แลวดวย

ดานหนาของ Pantheon มีอักษรจารึกเปนภาษาลาตินM·AGRIPPA·L·F·COS·TERTIUM·FECIT มาจากคําเต็มๆ วา MARCUS AGRIPPA Lucii Filius ConsolatumTertium Fecit แปลวา MARCUS AGRIPPA บุตรชายของ Lucius เปนผูสราง ในขณะดํารงตําแหนงเปนกงสุลครั้งท่ี 3

Agrippa สราง Pantheon ในป 27 B.C. (กอนคริสตศักราช) เพื่อเปนอนุสรณถึงสงคราม แหง Actium ในป 31 กอนคริสตศักราช แตไฟไหมครั้งใหญ ป 80 A.D. ไดทําลาย Pantheon ท่ี Agrippa ไดสรางไว หลังท่ีเราเห็นในปจจุบันนี้สรางข้ันในป 125A.D. ในสมัยจักรพรรดิ Hadrian โดยใชอักษรสลักหนาวิหารนี้เหมือนของวิหารเดิม บางคนอาจจะสงสัยนะครับวา สรางป 27 B.C. เปนอนุสรณถึงสงครามป 31 B.C. คําตอบก็คือ การนับป B.C. หรือกอนคริสตศักราช เรานับถอยหลังจากมากไปหานอย ดังนี้ ป 31B.C. เปนเหตุการณท่ีเกิดกอนป 27 B.C.

ในป ค.ศ. 609 จักรพรรดิ Phocas แหงอาณาจักรใบซินติน ไดมอบ Pantheon นี้ใหแกพระสันตะปาปา Boniface ท่ี 4 ซ่ึงไดทําการอภิเษกวิหารนี้ใหเปนวิหารของคริสต มีชื่อวา “วิหารแหงพระแมมารีอาและนักบุญมรณสักขีท้ังหลาย” ตอมา ในป 663 A.D.จักรพรรดิ Constans ท่ี 2 ไดสั่งใหนําทองบรอนซซ่ึงอยูในวิหารนี้กลับไปกรุงคอนสแตนตินโนเปล (ปจจุบัน คือ เมืองอิสตันบูล) และตลอดเวลาหลายศตวรรษตอ ๆ มา สมบัติของ

Page 44: Buon Giorno,italia

44

วิหารนี้ก็ไดถูกนําไปยังท่ีตาง ๆ เชน หินออนตกแตงดานนอก รูปแกะสลักตาง ๆ รูปปนตาง ๆ ยังโชคดีท่ีหินออนตกแตงภายใน และประตูทองบรอนซยังคงอยู

ในศตวรรษท่ี 15 และศตวรรษท่ี 16 วิหารนี้ถูกใชเปนท่ีฝงศพของบุคคลสําคัญ เชนศิลปน Raffaelo, Annibale Caracci และ Baldassare Peruzzi ซ่ึงเปน Architect ท่ีมีชื่อเสียง นอกจากนี้ ในศตวรรษท่ี 15 วิหารนี้ยังไดรับการตกแตงดวยภาพวาดตาง ๆ รูปท่ีเปนท่ีรูจักดีมีชื่อเสียง ไดแก Annunciation หรือเทวดาแจงสารแกแมพระ วาดโดยMelozzo da Forli, Brunelleschi เปนผูออกแบบ โดมของอาสนวิหารเมือง Florence ก็ไดรับแรงบันดาลใจจากวิหารแหงนี้

ตน ๆ ศตวรรษท่ี 17 พระสันตะปาปา อูรบาโน ท่ี 8 สั่งใหหลอมทองบรอนซบนหลังคาของมุขทางเขาวิหาร เพื่อนําไปใชในการสรางปนใหญสําหรับปอมท่ีปราสาท CastelSant Angelo และสวนหนึ่ง Bernini ไดนําไปใชสรางปะรํา (Baldachin) ทองบรอนซท่ีอยูเหนือพระแทนหลุมศพของนักบุญเปโตร อยางไรก็ตาม ทองบรอนซสวนใหญท่ี Bernini ใชนั้นนํามาจาก Venice และนี่เองจึงเปนท่ีมาของคําพูดท่ีมีอยูในบทประพันธของ Pasquino ท่ีกลาววา“Quod non fecerunt barbari, fecerunt Barberini” แปลไดวา “สิ่งท่ีพวกบารเบเรียนไมไดทํา พวก Barberini ไดทํา” เพราะวา Barberini เปนชื่อตระกูลของพระสันตะปาปาอูรบาโน ท่ี 8 นั่นเอง

พูดถึงเรื่องหลุมศพของศิลปน Raffaelo ท่ีอยูในวิหารนี้ ผูนํากลุมทัวรบางคนก็เขาใจผิด โดยคิดวา Raffaelo เปนชื่อของเทวดาองคหนึ่ง ท่ีจริงก็เขาใจไดถูกตอง เพราะRaffaelo เปน 1 ใน 3 เทวดาองคใหญท่ีทางศาสนาคริสตเชื่อถือ แตผูนําทัวรบางทานก็อธิบายใหลูกทัวรคนไทยฟงวา “นี่แหละ หลุมศพของเทวดาราฟาเอโล” ลูกทัวรก็เลยเพิ่งรูวาเทวดามีศพกับเขาดวย ผูท่ีมีใจศิลปน จึงมักชอบท่ีจะมาเย่ียมหลุมศพของศิลปนผูมีชื่อเสียงผูนี้ นอกจากนี้ ภายในวิหารยังเปนท่ีฝงศพของบุคคลสําคัญอีกหลายคน ไดแกกษัตริย Vittorio Emanuele ท่ี 2 และกษัตริย Umberto ท่ี 1 พรอมท้ังราชินีMargherita เรื่องท่ีนารูอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ประเทศอิตาลีเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบบสาธารณรัฐ (Republic) ตั้งแตป ค.ศ. 1946 แตก็ยังคงมีองคกรบางองคกรท่ีติดยึดอยูกับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช พวกนี้จึงยังคงมาทําพิธีระลึกถึงระบอบนี้ ท่ีหลุมศพของกษัตริยในวิหารแหงนี้ ฝายสาธารณรัฐก็ตองประทวงเปนธรรมดา อยางไรก็ตามวิหารนี้ก็อนุญาตใหทําพิธีระลึกถึงนี้ไดทุกป

โครงสราง- ซุมประตูทางเขา ประกอบไปดวยแนวเสาหินแบบ Corinthian เปนเสาหินแกรนิต

ขนาดใหญ หนักประมาณ 5,000 ตัน- พื้นฐานภายในเปนรูปทรงกลม ดานบนเปน Dome ทําดวยคอนกรีต

Page 45: Buon Giorno,italia

45

- ใจกลางของโดมเปนชองวางเปด เรียกวา Oculus หมายถึง ดวงตาท่ีย่ิงใหญ (GreatEye) จองมองทองฟา

- บริเวณกําแพงดานในสุดจะเปนชองหินหลายชอง เขาใจวา สําหรับใสรูปปนของซีซาร ,เอากุสตุส และอากริปปา หรือบรรดาเทพเจาตาง ๆ

- ประตูขนาดใหญเขาสูวิหารทําดวยทองบรอนซ แตก็เคยถูกเคลือบดวยทองคํา ซ่ึงปจจุบันนี้ ทองคําเหลานั้นไมมีเหลือใหเห็นแลว

- จั่วของวิหารถูกตกแตงดวยประติมากรรมทองบรอนซ เลาเรื่องสงคราม Titans- ความสูงของโดมคือ 43.3 เมตร

เม่ือเรามองข้ึนไปยัง Oculus หรือ Great Eye เราจะพบกับสัญลักษณของสวรรค Great Eye เปนตนกําเนิดของแสงสวาง และสัญลักษณของพระอาทิตย เวลาเดียวกัน ก็ทําหนาท่ีใหความเย็น และถายเทอากาศดวย โดยมีคําอธิบายดังนี้ ขณะท่ีลมภายนอกพัดผาน Oculus จะทําใหภายใน มีแรงดันออก เราเรียกวา Venturi Effect ดันอากาศออกไปภายนอกโดยผาน Oculus เวลาเดียวกัน ก็ดึงลมจากภายนอกโดยผานทางประตูทางเขาขนาดใหญดวย

อยางไรก็ตาม เม่ือฝนตก น้ําฝนก็จะตกลงมาภายในวิหาร โดยผานทาง Oculus นี้ดวย แตพื้นดานลางนั้นก็มีรูเล็ก ๆ เพื่อระบายน้ําออกไป ดังนั้น จะไมมีน้ําฝนขังอยูภายในวิหารเลย ในสมัยโบราณ เม่ือมีการบูชาบรรดาเทพเจาตาง ๆ ดวยไฟ ควันไฟเหลานี้จะทําใหน้ําฝนไมสามารถผานกลุมควันอันหนาทึบนี้ไดอีกดวย โครงสรางวิหารนี้ไดรับการศึกษาจากวิศวกรหลายคน และตางก็มีความเห็นเดียวกันวา โครงสรางของวิหารไมนาจะรับน้ําหนักท้ังหมดของวิหารไดเลย และก็ยัง ไมเขาใจวาวิหารนี้สามารถตั้งอยูไดหลายศตวรรษมาแลวไดอยางไร

การตกแตงภายในปจจุบันเปนการตกแตงแบบคริสต ไมมีความเชื่อในเรื่องของเทพเจาตาง ๆ โดยจะมีแทน

และรูปวาดเลาเรื่องตาง ๆ ในศาสนาคริสต รูปวาด รูปปนของบรรดานักบุญ โดยศิลปนของแตละสมัย สวนรูปแกะทองคําท่ีอยูเหนือหลุมศพของกษัตริย Emanuele ท่ี 2 นั้นตั้งไวเพื่อเปนเกียรติแดกษัตริย Vittorio Emanuele ท่ี 3 ซ่ึงสิ้นพระชนมในแดนเนรเทศในป ค.ศ. 1947

อยาลืมนะครับ อานอยางเดียว สูไปดูดวย อานไปดวย ไมไดเลย

8. บันไดสเปน (Spanish Steps)พูดถึง “บันไดสเปน” ปจจุบันนี้เปนท่ีรูจักในฐานะท่ีเปนยานรานคา บรรดาสินคามี

ชื่อแบรนดเนมท้ังหลาย เชน Cucci, Prada, Luis Vitton, Bulgari, Ferragamo, Valentinoและอื่น ๆ อีกมาก นอกจากนี้ ก็ยังมีรานอาหารและรานกาแฟท่ีมีชื่อเสียง ไดแก Caffe

Page 46: Buon Giorno,italia

46

Greco เพราะเปนรานคาเกาแก ผูท่ีมีชื่อเสียงของอิตาลีตางก็เคยมาดื่มกาแฟรานนี้ดวยกันท้ังนั้น ใครเดินผานจะแวกเขาไปลิ้มลองดู ก็เทไมเบา ท่ีจริง กาแฟของเขาก็อรอยจริง ๆ ดวย ท้ังรสชาติและราคา

แต “บันไดสเปน” นั้นหมายถึงบันได 138 ข้ัน สรางข้ึนดวยเงินทุนของนักการทูตฝรั่งเศส ท่ีชื่อวา Étienne Guffier ดวยเงิน 20,000 Scudi บันไดนี้สรางข้ีนในระหวางปค.ศ. 1723-1725 เชื่อมระหวางวัด Trinità des Monti ซ่ึงกษัตริยราชวงศ Bourbon แหงฝรั่งเศส เปนองคอุปถัมภกับสถานทูตสเปนประจําสันตะสํานัก (Holy See) ซ่ึงตั้ง อยูในPalazzo Monaldeschi ดานลาง บันไดนี้ชาวอิตาเลียนเขาเรียกวา Scalinata เปนบันไดท่ีกวางและยาวท่ีสุดในทวีปยุโรป แตทําไมตั้งชื่อ “บันไดสเปน” ก็ไมทราบเหมือน กัน ท้ัง ๆท่ีผูออกสตางคก็เปนฝรั่งเศส วัด Trinità ดานบนก็อุปถัมภโดยกษัตริยฝรั่ง เศสเพียงแตมีสถานทูตสเปนอยูดานลางเทานั้นเอง บันไดนี้มีประวัติมายาวนานกอนการสราง นับตั้งแตป ค.ศ. 1580 เปนตนมา พระสันตะปาปาหลายองคสนพระทัยจะสรางบันไดนี้ แตโครงการก็ถูกแชแข็งไวดวยเหตุผลตาง ๆ นานา จนกระท่ังมีการประกวดออกแบบอยางจริงจัง ในป ค.ศ. 1717 ผูออกแบบบันไดนี้ ไดแก Francesco de Sanctis

เรื่องท่ีควรรูอีกเรื่องหนึ่งก็คือ เทศบาลกรุงโรมออกกฎระเบียบหามทานอาหารท่ีบันไดแหงนี้ แตนักทองเท่ียวสวนใหญก็ชอบท่ีจะนั่งคุยกัน ทานอาหารจานดวน ดื่มน้ํา ดื่มเครื่องดื่มตาง ๆ กันอยูเสมอ หลายครั้งก็มักจะมีการเลนดนตรี การแสดงเพื่อหาสตางคของพวกศิลปนจําเปน ก็ทําใหบันไดสเปนมีบรรยากาศคึกคัก และเต็มไปดวยผูคน ผมก็ยังไมเคยเห็นตํารวจมาตักเตือนพวกท่ีทานอาหารกันท่ีนี่เลย

ลานสเปน (Piazza di Spagna)ไมรูจะตั้งชื่อไทยวาอยางไรดี ก็เรียกวา “ลานสเปน” ก็แลวกัน เปนลานท่ีอยูดาน

หนาของบันไดสเปน ตรงกลางลานจะมีน้ําพุซ่ึงเปนรูปเรือโบราณ เรียกเปนภาษาอิตาเลียนวา La Fontana della Barcaccia แปลตรงตัวเลยวา “น้ําพุเรือโบราณ” สรางข้ึนในระหวางป ค.ศ. 1627-1629 โดยเปนศิลปะบารอคยุคตน สรางโดย Pietro Bernini ซ่ึงเปนคนออกแบบและแตงเติม “น้ําพุเทรวี” ระวัง อยาไปสับสนปนเปกับลูกชายของเขา คือGian Lorenzo Bernini ซ่ึงเปนผูออกแบบและสรางออมแขนของมหาวิหาร และแทนพระจิตเจาในมหาวิหารนักบุญเปโตร ท่ีมาของการสรางน้ําพุเรือโบราณนี้ มาจากพระสันตะปาปา อูรบาโน ท่ี 8 พบเรือลําหนึ่ง ถูกน้ําซ่ึงทวมแมน้ํา Tiber พัดพามาจนถึงบริเวณนี้ จึงมีความคิดท่ีจะสรางเรือน้ําพุนี้เปนอนุสรณ

นี่แหละครับ เสนหของ “บันไดสเปน” หากไมรูวาจะนัดพบกันท่ีไหนหลังจากแยกยายกันไปจับจายใชสอย ก็นัดกันมาเจอกันท่ี “น้ําพุเรือโบราณ” ก็ดีนะครับ

Page 47: Buon Giorno,italia

47

9. นครรัฐวาติกัน (Vatican State หรือ The Holy See)วาติกัน เปนศูนยกลางของศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิก เปนรัฐอิสระเล็ก ๆ

ตั้งอยูในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ทางการเมืองก็ถือวาเปนรัฐเล็กมากจนไมมีบทบาททางการเมืองในสังคมโลก ปกครองโดยองคพระสันตะปาปา ไมมีกองทัพ มีแตทหารอารักขาหรือท่ีรูจักกันในชื่อ Swiss Guard ทําไมตองเปน Swiss Guard? เราจะเลาใหฟงตอไปเพราะมีประวัติอันยาวนานมาถึง 500 ปแลว แตในทางศาสนานั้น วาติกันมีความ สําคัญตอศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกอยางมาก เพราะเหตุวา พระสันตะปาปาเปนผูแทนองคพระเยซูคริสตบนแผนดินนี้ (Vicar of Christ) คริสตชนท้ังหลายเคารพ รัก พระองคในฐานะท่ีเปน “บิดาผูศักดิ์สิทธ์ิ” (Holy Father) และยังเปนความเชื่อของคาทอลิกดวยวาเม่ือไรก็ตาม ท่ีพระสันตะปาปาสอนสั่งในเรื่อง “ขอความเชื่อ” และในเรื่อง “ศีลธรรม” คําสอนนั้นจะไมมีผิดพลาดเลย เราเรียกเปนภาษาลาตินวา “Ex Cathedra” หมายความวาออกมาจากบัลลังก อํานาจหนาท่ีนี้พระองคไดรับสืบตอมาจากนักบุญเปโตร ซ่ึงเปนพระสันตะปาปาองคแรก ท่ีไดรับมอบหมายโดยตรงจากองคพระเยซูคริสต ดังนั้น แมวา รัฐวาติกันจะมีประชากรเปนทางการอยูประมาณ 1,000 กวาคน แตในทางปฏิบัติแลว รัฐวาติกันมีความสําคัญอยางย่ิงตอบรรดาคริสตชนคาทอลิกท่ัวโลก 1 พันกวาลานคน เรามาทําความรูจักกับรัฐวาติกันกันหนอย1. วาติกัน (Vatican) เปนภาษอิตาเลียน เปนชื่อเนินแหงหนึ่งในกรุงโรม แตเดิมเปนท่ี

ตั้งของสนามกีฬาคาลิโกลา (Caligola) ตอมา เปนท่ีตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตรและวังพระสันตะปาปา ชื่อนี้มีคําแปลหรือไม ผมไมทราบจริง ๆ ครับ อันท่ีจริง จะบอกวา คําวา “วาติกัน” ไมมีคําแปลก็ไมถูกตองนัก เนินวาติกันนี้ ภาษาลาตินใชคําวา“vaticanus mons” คําวา “Vaticanus” มาจากคําวา “Vates” ก็เปนภาษาลาตินอีกนั่นแหละ แปลวา ผูพยากรณ (prophet) หรือผูท่ีมองเห็น (Seer)

ชื่อเนินวาติกันนี้ มีมานานแลวนะครับ มีอยูกอนท่ีคริสตศาสนาจะเขามาเผยแพรในกรุงโรมตั้งนาน คือ ตั้งแตสมัยพวก Etruscans ซ่ึงเปนท่ีเขาใจวาเปนชนเผาแรก ๆ ท่ีเขามาอาศัยในภูมิภาคนี้ ตอนนั้น เปนชื่อของเมืองของพวกเขา ซ่ึงก็คือ“เมืองวาติกุม” (Vaticum)

เนินวาติกันนี้ไมใชเปนเนิน 1 ใน 7 แหงท่ีมีชื่อเสียงของกรุงโรม อยาลืมนะครับ กรุงโรมถูกสรางข้ึนทามกลางเนิน 7 ลูก อาณาจักรโรมันสรางสนามกีฬาข้ึนท่ีเนินวาติกันก็เพื่อผนวกบริเวณนี้เขามาในกําแพงเมืองของโรมดวย สนามกีฬาท่ีวานี้เราก็รูจักแลวนั้น ก็คือ สนามกีฬาคาลิโกลา และตอมา เปลี่ยนชื่อเปนสนามกีฬาเนโร ท่ีเนินนี้เปนท่ีฝงศพของนักบุญเปโตร พระสันตะปาปาองคแรกของคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก ดังนั้น จึงเปนท่ีตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตร จนกระท่ังทุกวันนี้

Page 48: Buon Giorno,italia

48

พูดถึงมหาวิหารแหงนี้แลวก็จบไมลง ขอเติมอีกหนอยละกันนะครับ มีเรื่องนารู แตไมมีโอกาสไดเห็น ก็คือ ใตดินมหาวิหารเปนท่ีฝงศพของบรรดาคริสตชนในยุคท่ีมีการเบียดเบียนศาสนา การขุดคนเรื่องนี้ก็ยังคงทํากันอยู การขุดคนทํากันลึกมากถึง 3-4 ชั้น ใตดิน เม่ือครั้งท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเสด็จเย่ียม พระองคยังไดมีโอกาสเขาชมสวนนี้ดวย แตพวกเราคงเขาไปชมไมได เอาแครูไวก็พอ ภายในมหาวิหารยังมี museum เล็ก ๆ อยูดวย แสดงสมบัติเกาแกของมหาวิหาร(Tesoro doSan Pietro) ใครสนใจเขาชมก็ได เสียคนละ 6 ยูโร แตก็คุมคาสตางค เพราะสมบัติเหลานี้เกาแกและมีคุณ คาจริง ๆ ไปดูเปนบุญตา เพราะไมมีทางท่ีจะพบท่ีอื่น

สวนผูท่ีสนใจจะข้ึนไปชมวิวกรุงโรมบนโดมของมหาวิหาร ก็สามารถทําไดเชนกัน เขาเรียกโดมมหาวิหารนี้วา “Cupola” ถาเดินข้ึนไปดวยบันได ซ่ึงมีท้ังหมด500 กวาข้ัน ก็เสียสตางคคนละ 5 ยูโร แตถาหากข้ึนลิฟทไป ก็จะเสีย 7 ยูโร เสียสตางคไมพอ ยังตองเดินอยูดี ข้ึนไปอีก 200 กวาข้ัน ใครจะข้ึนไปก็คงตองฟตรางกายกันหนอย ใครเปนโรคหัวใจก็แนะนําวาดูรูปถายเอาดีกวา วิวขางบนนั้นตองบอกวาสวยงามมาก ทานจะไดเห็นนครวาติกันท้ังหมด สวนอันสวยงามของวาติกันพระราชวังพระสันตะปาปา ท่ีทําการรัฐ หองสมุดวาติกัน หอจดหมายเหตุวาติกันพิพิธภัณฑ นอกจากนี้ ยังสามารถมองเห็นกรุงโรมไดรอบทิศอีกดวย บอกไดเลยวาคุมคาเหนื่อย เพราะสวยงามมากจริง ๆ และทานจะรูสึกวากําลังลอยอยูบนเมืองสวรรค

ประมุขของรัฐวาติกัน ไดแก พระสันตะปาปา คําวาสันตะปาปามาจากคําภาษาอิตาเลียนวา “Santo Papa” อานวา “ซันโต ปาปา” เราเรียกไปเรียกมาก็กลายเปนสันตะปาปา Santo แปลวาศักดิ์สิทธ์ิ Papa แปลวาบิดา เพราะฉะนั้นภาษาอังกฤษเขาจึงเรียกพระสันตะปาปาวา Holy Father คํานําหนาพระสันตะปาปาจึงใชคําวา His Holiness หรือ Your Holiness คําวา Papa ซ่ึงแปล วาบิดานี้ หากลง Accent ท่ีพยางคแรก ก็หมายถึง Pope แตหากลง Accent ท่ีพยางคหลัง ก็หมายถึงพอของลูกนะครับ (เตี่ย, Daddy)

Pope องคแรก ไดแก St. Peter, Pope John Paul II เปนองคท่ี 264 PopeBenedict XVI เปนองคท่ี 265

2. รัฐวาติกันเปนรัฐอิสระเล็ก ๆ เกิดข้ึนเปนทางการในป ค.ศ. 1929 โดยสนธิสัญญาท่ีเรียกวา Lateran Treaty ลงนามโดยพระสันตะปาปา Pius XI และพระเจา VittorioEmanuel III อาณาเขตก็นิดเดียวครับ ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร ประชากรก็ประมาณ 1,000 คนเทานั้น อยางไรก็ตาม รัฐวาติกันก็ยังคงมีอาณาเขตพิเศษเปนของตนดวย เรียกกันวา Extraterritory เชน มหาวิหารสําคัญ ๆ ในกรุงโรม ตึกสําคัญบางตึก และท่ีดินบางแหงในกรุงโรม มหาวิหารนักบุญอันตน ท่ีเมือง Padova ฯลฯ

Page 49: Buon Giorno,italia

49

ข้ึนชื่อวาเปนรัฐอิสระ ก็ตองมีอะไร ๆ เปนของตนเอง นั่นก็คือมีเงินตราของตนเอง ปจจุบันก็ใชคาเงินยูโร มีแสตมป มีกองทหารสวิส มีเลขาธิการรัฐ มีกระทรวงดานตาง ๆ มากมาย ผมก็จะคอย ๆ เลาใหฟงพอสังเขปก็แลวกัน เฉพาะท่ีนาสนใจสําหรับนักทองเท่ียวท่ีมีเวลานอยอยางเรานะครับ

3. ทหารสวิส (Swiss Guard)วาติกันเปนรัฐทางศาสนา ดังนั้น จึงไม มีกองทัพเรือ กองทัพอากาศ

กองทัพบก ก็ดีเหมือนกันนะครับ จะไดไมมีการปฏิวัติ (Coup d’Etat) วาติกันมีแตกองทหารองครักษ กองทหารนี้ก็มีจํานวนไมมากนัก แตท่ีแปลกกวานี้ก็คือ เปนทหารสวิส แทน ท่ีจะเปนชาวอิตาเลียน อยางนี้ก็ตองอธิบายกันเล็กนอย แมวา ประวัติของเรื่องนี้จะมีมายาวนานก็ตาม

ในสมัยศตวรรษท่ี 15 มีชาวสวิสเปนทหารรับจาง อยูในกองทัพของประเทศตาง ๆ ในยุโรป เพราะวา ทหารสวิสมีชื่อเสียงมากในดานระเบียบวินัยและความจงรักภักดีตอผูวาจาง ปจจุบันมีอยูเฉพาะท่ีวาติกันเทานั้น กอตั้งข้ึนในป ค.ศ. 1506โดยพระสันตะปาปา จูเลียส ท่ี 2 (1503-1513) ตอนนั้น กษัตริยชารลท่ี 8 แหงฝรั่งเศสกําลังจะทําสงครามกับอาณาจักรเนเปล (Naples) พระสันตะปาปา จูเลียสท่ี 2 เขารวมตอตานอาณาจักร Naples จึงไดขอวาจางทหารสวิสไว 200 นาย ทหารสวิสกลุมแรกจํานวน 150 นาย เขาสูวาติกัน เม่ือวันท่ี 22 มกราคม 1506 และก็ถือวันนี้เอง เปนวันเริ่มตนกองทหารองครักษแหงวาติกันอยางเปนทางการ และมีการเฉลิมฉลองครบรอบ 500 ปอยางย่ิงใหญในป ค.ศ. 2006 อยางไรก็ตาม ตอนนั้นก็ไมมีเหตกุารณอะไรท่ีนาตื่นเตน เหตุการณท่ีเปนประวัติศาสตรของทหารสวิสเกิดข้ึนในวันท่ี 6 พฤษภาคม 1527 เม่ือจักรพรรดิชารลท่ี 5 เขาปลนกรุงโรม ทหารสวิส 147นาย ยอมสละชีวิต เพื่อใหพระสันตะปาปา เคลเมนต ท่ี 7 มีเวลาหลบหนีไปได โดยมีทหารสวิสอีก 40 นาย คอยคุมกันอยางใกลชิด

เหตุการณนี้ เปนเหตุการณท่ีทําใหทหารสวิสสืบสานตํานานแหงความเสียสละและ กลาหาญ ทําหนาท่ีเปนองครักษของพระสันตะปาปาและรัฐวาติกัน สืบมาจนทุกวันนี้ ชาวสวิสถือเปนเกียรติอยางมาก หากมีโอกาสไดทําหนาท่ีนี้ในชีวิตของตนแตก็ไมใชงายนะครับ ท่ีจะมาเปนทหารสวิส เพราะเขามีคุณสมบัติเหมือนกัน ก็คือตองเปนคาทอลิก มีสัญชาติสวิส และเปนโสด อายุระหวาง 19-30 ป และสูงอยางนอย 174 เซนติเมตร จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาของการปฏิบัติหนาท่ีก็คือ 2 ถึง 25 ป

ทหารสวิสแตงตัวกันหลายแบบ แลวแตฤดูกาลและโอกาส เวลาท่ีแตงตัวเต็มยศ ดูสงางามมาก คลาย ๆ กับอัศวินโบราณ ชุดท่ีดูสวยงามและเปนท่ีกลาวถึงมากท่ีสุด ก็เห็นจะเปนชุดลายทาง มีหลายสี คือ แดง น้ําเงิน สม เหลือง สวมหมวกแบเลออกแบบเปนแบบของยุค Renaissance หลายคนเขาใจวา ไมเคิ้ล แอนเจโล เปนผูออกแบบ แตท่ีจริงเปนนายทหารคนหนึ่งเทานั้น บางคนก็วาออกแบบโดยราฟาแอลโลซ่ึงก็ไมใชอีก เพียงแตวา ราฟาแอลโล เคยวาดรูปพระสันตะปาปา จูเลียส ท่ี 2พรอมกับทหารสวิสเทานั้นเอง

Page 50: Buon Giorno,italia

50

ปกตทิหารสวิสเปนหนุมหนาตาหลอเหลาเอาการ นักทองเท่ียวก็มักจะกลา ๆกลัว ๆ จะขอถายรูปกับพวกเขาไดหรือไม ผมมีเพื่อนเปนทหารสวิสอยูคนหนึ่ง ท่ีวาเปนเพื่อนก็เพราะเขามีแฟนเปนคนไทย เขาบอกวา พวกเขายินดีจะถายรูปเสมอ หากวาไมทําใหเสียหนาท่ี ก็คือ ถาพบเห็นท่ีไหนก็ขอถายรูปได ไมตองกลัวพวกเขา นี่รวมไปถึงพวกตํารวจชาวอิตาเลียนดวยนะครับ ชาวอิตาเลียนนอกจากจะหลอแลว ยังแตงตัวเทหอีกดวย

4. พิพิธภัณฑวาติกันสําหรับผูท่ีรักงานดานศิลปะ ไมวาจะเปนรูปวาด รูปปน รูปแกะสลัก ผูท่ีรัก

โบราณคดี ไมวาจะเปนยุดใด ๆ วัตถุสิ่งของ และความกาวหนาทางวิทยาการประวัติศาสตรอันนาสนใจ พิพิธภัณฑวาติกันมีทุกอยางเหลานี้ ภายในมีพิพิธภัณฑยอย ๆ หลายแหง โดยมีชื่อเรียกตาง ๆ กันไป เชน Etruscan Museum, EgyptianMuseum มี Gallery อยูหลายตอหลายแหง และเม่ือเดือนกันยายน 2007 ท่ีผานมานี้ ก็เพิ่งจะเปดพิพิธภัณฑยอยอีก 2 แหงภายใน ไดแก พิพิธภัณฑแสตมป และพิพิธภัณฑเหรียญ ซ่ึงตองขอบอกวา แสตมปและเหรียญของวาติกันนั้นมีชื่อเสียงไมแพชาติใด ๆ ในโลก และเปนท่ีสนใจของผูท่ีชื่นชอบแสตมปและเหรียญ ปลายทางของพิพิธภัณฑวาติกัน ไดแก โบสถซิสติน (Sistine Chapel) โบสถนี้นาสนใจมาก ๆเพราะเปนสถานท่ีท่ีบรรดาพระคารดินัลใชประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปา ท่ีภาษาอังกฤษใชคําวา Conclave ซ่ึงแปลวา ประชุมภายในหองท่ีใสกุญแจหมายความวาเปนความลับเฉพาะ นอกจากนี้ ภายในโบสถซิสตินมีผลงานวาดภาพของจิตรกรระดับโลกหลายตอหลายทาน โดยเฉพาะภาพวาด “การตัดสินครั้งสุดทาย”ของไมเคิ้ล แอนเจโล นั้น นาดูท่ีสุด เพราะภายในภาพนั้นเต็มไปดวยความ หมายและความเชื่อของศาสนาคริสต ผมเองตองเรียบเรียงภาพนี้ ภาพเดียวตั้ง 4 เดือนเพราะวา ทุกอยางในภาพมีความหมายไปหมด ตั้งแตสี บุคคล ตําแหนงของบุคคลในภาพ ความหมายของสวรรค แผนดิน นรก นอกจากนี้ ภาพนี้ ยังเปนภาพท่ีตอเนื่องมาจากภาพอื่น ๆ ภายในโบสถ มีความเชื่อมโยงกันตั้งแตการสรางโลกและมนุษย จนกระท่ังถึงวันสุด ทายของมนุษยชาติ บรรยายเทาใดก็ไมมีทางหมดบรรยายหมดก็ไมเหมือนไปชมดวยตนเอง นักทองเท่ียวยุโรปเขาขอบมาเย่ียมพิพิธภัณฑแหงนี้มาก มายืนรอกัน ตั้งแตเชาทีเดียว เขาเปดเวลา 8.30 น. – 16.30 น.คาผานประตู 11 ยูโร แตถาหากเปนวันอาทิตยสุดทายของเดือน เขาใหเขาฟรี ตั้งแต9.00 น. – 12.30 น. จะมีคิวยาวตั้งแตทางเขาออกมาตาม กําแพงวาติกัน สุดลูกหูลูกตาทีเดียว ฝรั่งก็ชอบของฟรีเหมือนกัน เดี๋ยวนี้ ทางเขาพิพิธภัณฑ ก็ทําใหมสวยงามและกวางขวางมาก บอกไดอีกคําหนึ่งวา ใครท่ีชมพิพิธภัณฑวาติกันแลวจะพบไดทันทีวา รัฐวาติกันไมใชรัฐเล็ก ๆ อยางท่ีเรารู แตเปนรัฐแหงจิตท่ีย่ิงใหญจริง ๆ

Page 51: Buon Giorno,italia

51

10. Castel Sant’ Angeloไมทราบวาจะตั้งชื่อภาษาไทยวาอะไรดี ภาษาอิตาเลียนแปลวา “ปราสาทนักบุญ

เทวดา” เราแปลงาย ๆ ก็คงจะราว ๆ ปราสาทเทวดาก็แลวกัน หากเรามองจากมหาวิหารนักบุญเปโตร ไปทางแมน้ําไทเบอร (ภาษาอิตาเลียนใชคําวา Tevere : เตเวเร) เราก็จะพบกับปราสาทเกา ๆ หลังหนึ่ง เปนรูปทรงกลม และมีรูปเทวดาองคหนึ่งตั้งอยูบนยอดปราสาท นั่นแหละครับ ท่ีผมหมายถึง ถามีคําถามวาปราสาทนี้คืออะไร และเขาใจวาคงถามอยางเดียว แตไมเขาชมละก็ ตอบแบบนี้นะครับ

ปราสาทนี้ คือ ท่ีฝงศพของจักรพรรดิเฮเดรียน (Hadrian) และครอบครัวของพระองค ตอมา ใชเปนปอมปราการและปราสาท ปจจุบันเปนพิพิธภัณฑ แตถาหากยอมเสียสตางคไปเขาชมละก็ ตองอธิบายใหมากกวานี้หนอย ประการแรกก็คือ ปราสาทนี้เกาแกมาก สรางตั้งแต ป ค.ศ. 135 หรือ 139 เกาจนไมรูวาปไหนกันแน จักรพรรดิHadrian และพระราชินี Sabina ถูกฝงอยูท่ีนี่ รวมท้ังจักรพรรดิโรมันองคตอ ๆ มาดวยจนถึงป ค.ศ. 401 ปราสาทนี้ถูกปรับเปลี่ยนใหเปนปอมปราการ

แรกทีเดียว ก็มีชื่อวา “ท่ีฝงศพของเฮเดรียน” ตอมา เปลี่ยนชื่อเปน “ปราสาทเทวดา” ก็เพราะวา มีตํานานเลาขานกันในป ค.ศ. 590 วา อัครเทวดามีคาแอล (Michael)ซ่ึงเปนหนึ่งใน 3 เทวดาองคใหญในศาสนาคริสต ปรากฏองคข้ึนมาบนยอดปราสาท เพื่อยับย้ังกาฬโรคซ่ึงกําลังระบาดอยูในเวลานั้น และกาฬโรคก็ไดยุติลงอยางอัศจรรย ปราสาทนี้ก็ไดรับชื่อใหมนี้ ตั้งแตนั้นเปนตนมา รูปเทวดานี้ทําดวยทองบรอนซในป ค.ศ. 1753แทนรูปแรกของ Rafaello ท่ีทําดวยหินออน

พระสันตะปาปาหลายองคในศตวรรษท่ี 14 ไดปรับเปลี่ยนโครงสรางของปอมปราการนี้ ใหมาเปนปราสาท (Castle : Castello) และหากสังเกตดี ๆ นะครับ จากวังพระสันตะปาปา จะมีทางเดินในชองกําแพงไปจนถึงปราสาทเทวดาหลังนี้เลย ชองทางเดินนี้เขาเรียกวา Passetto di Borgo สรางโดย Pope Nicolas III ชองทางนี้มีประโยชนในการติดตอกันระหวางวังพระสันตะปาปาและปราสาทหลังนี้ เวลาเดียวกัน ในยามฉุกเฉินก็ใชเปนทางหนีภัยของพระสันตะปาปาดวย เชน ตอนท่ี Pope Clement VIIหนีภัยจากพระเจา Charles V ในการบุกยึดกรุงโรมใน ป ค.ศ. 1527 เปนตน และตอ ๆมา พระสันตะปาปาก็ไดปรับปรุงปราสาทนี้ใหเปนท่ีประทับของพระสันตะปาปาดวยปราสาทหลังนี้ก็กลายเปนปราสาทสารพัดประโยชน เพราะตอมาก็ยังถูกปรับเปลี่ยนใหเปนคุกขังบรรดานักโทษ และขังพระสันตะปาปาบางองคดวย ดวยเหตุผลทางการเมืองและยังเปนท่ีประหารชีวิตนักโทษบางคนอีกดวย

Page 52: Buon Giorno,italia

52

ปจจุบันกลายเปนพิพิธภัณฑ ใครอยากชมปราสาทท่ีเกาแกมาก ๆ จริง ๆ ก็คือท่ีนี่แหละครับ ภายในก็มีบารขายเครื่องดื่มใหนั่งชมทิวทัศนของกรุงโรม มีลานท่ีสวยงาม มีประวัติศาสตรท่ีนาสนใจ สําหรับผม อะไร ๆ ก็นาสนใจไปหมด แตสําหรับผูอาน ผมไมรูวาจะนาสนใจขนาดไหนนะครับ ดานหนาของปราสาทก็มีสะพานขามแมน้ําไทเบอร สะพานนี้มีชื่อเดียวกับปราสาทเลยนะครับ สรางในสมัยจักรพรรดิ Hadrian เหมือนกัน เปนสะพานท่ีเกาแกมาก เดี๋ยวนี้ไดรับการตกแตงดวยศิลปะบารอค ตั้งรูปเทวดาและรูปประวัติพระเยซูเจาเพิ่มข้ึนมา นักทองเท่ียวชอบมาถายรูปท่ีสะพานแหงนี้มาก เพราะไดความเกาแกของสะพาน พรอมท้ังปราสาทท่ีเกาแก จนทําใหรูปของเราดูหนุมดูสาวข้ึนตั้งเยอะ

สักการสถาน DIVINO AMOREฉบับนี้พอขอแนะนําสักการสถานแหงหนึ่งใหเรารูจัก เพราะเห็นวามีประโยชน

ท่ีจะรูและมีประโยชนในการแสวงบุญคริสตังไทยไมคอยคุนเคยกับสักการสถานท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุดแหงหนึ่งในประเทศ

อิตาลี นั่นคือ สักการะสถาน ดิวิโน อะโมเร (Divino Amore) ถาจะใหแปล ก็ตองแปลวา สักการสถาน “ความรักของพระเจา” นอยคนมากในประเทศอิตาลีท่ีจะไมรูจักสถานท่ีแหงนี้ เปนความศรัทธาท่ีมีตอรูปภาพของแมพระรูปหนึ่ง ไมไดเก่ียวของกับการประจักษของแมพระแตอยางใด แตเก่ียวของกับอัศจรรยท่ีเกิดข้ึนจากการภาวนาตอหนารูปภาพรูปนี้ ซ่ึงมีอยูมากมายจนถึงปจจุบันนี้

อัศจรรยคร้ังแรกเกิดข้ึนในป ค.ศ. 1740สถานท่ีเกิดอัศจรรย เปนปราสาทเกาแกแหงหนึ่งท่ีมีชื่อวา “ปราสาทแหงสิงโต”

(Castello dei Leoni) ปราสาทหลังนี้สรางข้ึนบนท่ีดิน ซ่ึงแตเดิม ตั้งแตป ค.ศ. 1081เปนทรัพยสินของอารามนักบุญเปาโล ตอมา ตกเปนของวัด Santa Sabina และตั้งแตปค.ศ. 1295 ตกเปนของครอบครัว Savelli ระหวางปนี้เองท่ีครอบครัว Savelliสรางปราสาทหลังนี้ข้ึน บริเวณหอของกําแพงปราสาทไดติดรูปภาพวาดรูปหนึ่ง เขาใจวาเปนรูปท่ีวาดโดยสํานักศิลปะของ Pietro Cavallini แตดวยสาเหตุใดแทจริงไมปรากฏคาดเดาวา อาจเกิดจากแผนดินไหว ทําใหปราสาทแหงนี้พังลงมา และกลายเปนสถานท่ีรกราง คง เหลือไวแตสวนหนึ่งของกําแพงและหอท่ีมีรูปวาดนี้ไวเทานั้น พวกคนเลี้ยงแกะท่ีเลี้ยงแกะอยูบริเวณนี้จึงใชเปนท่ีพักผอน และเปนท่ีสวดสายประคําตอหนารูปวาดรูปนี้

Page 53: Buon Giorno,italia

53

รูปภาพวาดนี้เปนรูปของพระนางพรหมจารีมารีอาประทับนั่งบนบัลลังก โดยมีพระเยซูกุมารในออนแขน และมีนกพิราบอยูเหนือศีรษะ นกพิราบนี้เปนสัญลักษณของพระจิตเจา พระจิตเจานี้เปน “ความรักของพระเจา” จึงเปนท่ีมาของชื่อภาพวาดนี้“แมพระแหงความรักพระเจา”

นักเดินทางผูหนึ่ง บางทีอาจจะเปนนักแสวงบุญผูหนึ่ง เราไมทราบชื่อของเขากําลังมุงหนาไปมหาวิหารนักบุญเปโตร สมัยนั้นมักจะมีผูแสวงบุญเดินทางไปสวดภาวนาหนาหลุมศพนักบุญเปโตรบอย ๆ แตการเดินทางก็เสี่ยงไมใชนอย ท้ังจากการทํารายและการจี้ปลน แตชายคนนี้หลงทาง และกําลังวิตกกังวลไปตาง ๆ นานา มองเห็นหอกําแพงเกาแหงนี้ จึงมีความหวังวาจะไดรับความชวยเหลือ

ในขณะท่ีกําลังจะเดินผานหอเขาไปภายในกําแพง เขาตองเผชิญหนากับฝูงสุนัขดุราย ซ่ึงเขามาลอมเขาไว และดูเหมือนวา จะไมมีทางหลบหนีภัยมหันตนี้ได ทําใหเขาตกใจและหวาดกลัวอยางมาก ชายผูนาสงสารผูนี้ไดมองข้ึนไปยังหอ และเห็นภาพวาดของแมพระ เขาจึงเปลงเสียงท้ังหมดท่ีมีอยู กลาววา “พระมารดาของขาพเจา โปรดชวยดวย” สุนัขทุกตัวหยุดขูกรรโชก และท้ังหมดก็สงบลงทันที ราวกับวามีใครสักคนหนึ่งสั่งพวกมันใหทําเชน นั้น หลังจากนั้น คนเลี้ยงแกะไดมาพบเขา และพาเขาไปชี้ทางเพื่อเดินทางไปกรุงโรม

ชายผูนี้ไดเลาเรื่องท่ีตนเองพบ โดยไมรูจักเหน็ดเหนื่อยเลย คนเลี้ยงแกะหลายคนก็ไดเลาเรื่องเหลานี้ดวย ทําใหมีผูเดินทางมาสวดภาวนาตอภาพวาดนี้มากข้ึน ๆ และท่ีนาอัศจรรยก็คือ คําวอนขอตาง ๆ ไดกลับกลายมาเปนคําขอบคุณสําหรับพระหรรษทานตาง ๆ ท่ีไดรับ จนเปนท่ีรูจักกันท่ัวไป ในท่ีสุด พระคารดินัล Giovanni AntonioGuadagni ซ่ึงเปน Vicario แหง Rome และเปนสมาชิกในคณะคารแมลไมสวมรองเทาตัดสินใจมาเย่ียมสถานท่ีนี้ และกําหนดสถานท่ีเหมาะสมสําหรับรูปภาพศักดิ์สิทธ์ิรูปนี้- ป ค.ศ. 1742 ยายรูปภาพจากหอเกาแกไปประทับไวท่ีวัดนอย Santa Maria ad

Magor การยายรูปครั้งนั้น ทําใหเกิดความเสียหาย จนกระท่ังตองมีการซอมแซมกันตอมาอีกหลายครั้งทีเดียว

- 8 มีนาคม 1743 ยายรูปนี้ไปเก็บไวท่ี Conservatorio di Santa Caterina della Rotaรอใหมีการสรางวัดใหมในสถานท่ีท่ีเกิดอัศจรรย

- 19 เมษายน 1745 สรางวัดเสร็จสิ้น และยายรูปภาพนี้ มีฝูงชนจํานวนมากมารวมในขบวนแหครั้งนี้ พระสันตะปาปา เบเนดิ๊กต ที่ 14 ไดมอบพระคุณการุญครบบริบูรณแดผูเขา รวมพิธีในโอกาสนี้ดวย และใครก็ตามท่ีมาเย่ียมสถานท่ีนี้ภายใน 7 วันหลังจากการยายพระรูป ก็ไดรับพระคุณการุญครบบริบูรณเชนเดียวกัน

- 31 พฤษภาคม 1750 โอกาสปศักดิ์สิทธ์ิ ไดมอบถวายวัดนี้แด Divino Amoreอยางสงา พรอมท้ังใหคําอธิบายไววา “สตรีซ่ึงนอมรับท่ีจะเปนมารดาของพระผูไถนั้น

Page 54: Buon Giorno,italia

54

เต็มเปยมไปดวยพระจิตเจา” นั่นคือ Divino Amore ผูท่ีเปนประธานในวันนั้น ไดแกสังฆราชแหง Padova คารดินัล Carlo Renzonico ซ่ึง 8 ปตอมาไดรับเลือกเปนPope Clemente XIII

นับแตนั้นเปนตนมา สักการสถานแหงนี้ไดกลายเปนศูนยกลางของการจาริกแสวงบุญ

โอกาสฉลองครบรอบ 100 ปแหงอัศจรรยแรก 7 มิถุนายน 1840 ไดมีการสรางสะพานและถนนหนทางเพิ่มข้ึน และกษัตริยแหงโปรตุเกส (Michele) ไดเขารวมพิธีดวย

อัศจรรยระหวางสงครามโลกคร้ังที่ 24 มิถุนายน 1944 กองทัพนาซีถอนกําลังออกจากกรุงโรม ฝายสัมพันธมิตร

เดินเขากรุงโรมอยางสงา เหตุการณนี้เกิดข้ึนอยางอัศจรรย โดยไมมีการสูญเสียเลือดเนื้อเลย ทหารนาซียึดกรุงโรมอยูเกือบ 9 เดือน ฝายสัมพันธมิตรจําเปนตองขับไลทหารนาซีออกจากกรุงโรม การหลีกเลี่ยงโจมตีกรุงโรมจึงเปนเรื่องยากมาก พระสันตะปาปา ปโอท่ี 2 เชิญชวนชาวโรมแหแหนพระรูป Divino Amore ไปตามถนนสายตาง ๆ ในกรุงโรมและไปสวดภาวนารวมกันตอหนาพระรูปนี้ท่ีวัดนักบุญอิกญาซีโอท่ีกรุงโรมเอง ขอใหกรุงโรมพนจากการถูกโจมตี- รูปแมพระถูกนํามาท่ีกรุงโรม เม่ือวันท่ี 24 มกราคม 1944- สัมพันธมิตรยกพลข้ึนบกท่ี Anzio วันท่ี 22 มกราคม 1944- รูปแมพระไดรับการแหแหนไปตามวัดตาง ๆ ในกรุงโรม ตามถนนหนทาง และใน

เดือนพฤษภาคม 1944 เนื่องจากมีคลื่นมหาชนซ่ึงตองการเคารพพระรูป จึงถูกนําไปตั้งไวท่ีวัด Lorenzo in Lucina

- สัมพันธมิตรทราบดีวา 6 มิถุนายน 1944 เปน “วันดีเดย” (D-Day) จะยกพลข้ึนบกท่ี Normandie ดังนั้น จําเปนตองขับไลทหารนาซีออกจากกรุงโรม เพื่อเสริมกําลังเขาประเทศเยอรมันนี

- 11-12 พฤษภาคม เริ่มสงครามยึดกรุงโรมเวลา 23.00 น. วันท่ี 11 พฤษภาคม เริ่มยิงปนใหญถลมเขตทหาร ท่ี Eur, Appioเขตทหารใตอาราม Montecassino

- 28 พฤษภาคม Pope Pio XII เริ่มอัฐมวารและนพวารแมพระแหง Divino Amoreชาวโรมมารวมพิธีวันละประมาณ 15,000 คน จนทําใหวัด Lorenzo ไมสามารถรับไดตองยายมาท่ีวัด Ignazio

- 4 มิถุนายน 1944 วันสุดทายของอัฐมวารพระจิตเจา เวลา 18.00 น. อานคําบนบาน(Voto) ของชาวโรมตอพระแมแหง Divino Amore สัญญาวา ชาวโรมจะแกไขพฤติกรรมทางศีลธรรม จะปฏิสังขรณสักการสถาน และจะจัดตั้งงานเมตตาข้ึนท่ีท่ีเกิด

Page 55: Buon Giorno,italia

55

อัศจรรยครั้งแรกนั้น Pope Pio XII ตองการจะมาอยูรวมดวย แตไมสามารถออกจากVatican ได แตแทบจะเปนเวลาเดียวกันนั้นเอง ฝายนาซีไดรับคําสั่งใหถอนกําลังออกจากกรุงโรม และฝายสัมพันธมิตรก็เดินทางเขากรุงโรม เวลา 19.45 น. โดยไมมีการปะทะกันเลย

- 11 มิถุนายน 1944 คลื่นมหาชนชาวโรม และ Pope Pio XII ไดนําสวดขอบพระคุณแมพระท่ีวัด Ignazio ตอหนารูปพระแมแหง Divino Amore “พระแมปกครองกรุงโรมใหพนภัย” ตั้งแตนั้น สักการสถานแหงนี้ถือเปนสักการสถานแหง Rome และของทุกคน

บุคคลสําคัญของสักการสถาน : Don Umberto Terenzi- ฟนฟูสักการสถาน เปนเจาอาวาสท่ีนี่ ตั้งแตป ค.ศ. 1931-1974- 23 มกราคม 2004 ดําเนินเรื่องเปนบุญราศีและนักบุญ- ทานไดรับอัศจรรยจาก Divino Amore จากอุบัติเหตุทางรถยนต- กอตั้งคณะสงฆ Oblati di Divino Amore- กอตั้งคณะธิดาแมพระแหง Divino Amore ปจจุบัน คณะนี้ทํางานอยูในหลายประเทศ

เชน โคลัมเบีย บราซิล เปรู ฟลิปปนส อินเดีย นิการากัว เปนตนสักการสถานใหม

- เริ่มสรางตั้งแตวันท่ี 4 มิถุนายน 1944- Pope John Paul II เปดและเสกวันท่ี 4 กรกฎาคม 1999- ปจจุบัน สักการสถานแหงนี้มีบานเขาเงียบอบรม และเปนท่ีสวดภาวนา มีคณะนักบวชท่ีคุณพอ Terenzi ตั้งข้ึน เปนผูดูแลบานพักคนชรา