7

Click here to load reader

Carry Trade

  • Upload
    mythee

  • View
    42

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Financial report

Citation preview

Page 1: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

1

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

วันท่ี 8 มีนาคม 2550 บทวเิคราะหเร่ือง บทวเิคราะหเร่ือง CCaarrrryy TTrraaddee กับความผันผวนในตลาดเงินตลาดทนุโลกกับความผันผวนในตลาดเงินตลาดทนุโลก1

เปนที่ทราบกันดีวาในชวงป 2549 สืบเนื่องสูตนป 2550 คาเงินบาทและคาเงินภูมิภาคแข็งคาขึ้นมากอยางมีนัยสําคัญในขณะที่คาเงินเยนออนคาลงมาก ซึ่งความผันผวนในคาเงินนี้สวนหนึ่งเกิดจากธุรกรรมการเก็งกําไรคาเงินจากสวนตางระหวางอัตราดอกเบี้ยโดยกูยืมเงินสกุลที่ผลตอบแทนต่ําเชนเงินเยนและนําไปลงทุนในสินทรัพยสกุลเงินที่ใหผลตอบแทนสูงกวา เชนสกุลเงินภูมิภาคเอเชีย หรือที่รูจักกันในนาม Carry Trade อยางไรก็ตาม ในชวงเดือนกุมภาพันธ – มีนาคม 2550 คาเงินเยนไดกลับมาแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็ว ในขณะท่ีดัชนีตลาดหลักทรัพยในประเทศตาง ๆ ปรับตัวลดลงมาก ซึ่งความผันผวนนี้อาจเกิดจากการปรับฐาน (Correction) ของธุรกรรม Carry Trade กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) จึงไดทําการวิเคราะหถึงสาเหตุของ Carry Trade ผลกระทบจากการปรับฐานของ Carry Trade ตอแนวโนมคาเงินเยน คาเงินบาทและทิศทางตลาดเงินตลาดทุนโลก พรอมทั้งเสนอแนะถึงมาตรการที่เหมาะสมในการปองกันความผันผวนของคาเงินบาทจากธุรกรรม Carry Trade โดยบทวิเคราะหนี้มีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. สาเหตุของ Carry Trade

ต้ังแตชวงตนป 2549 คาเงินบาทเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็วจากที่ระดับ 40.9 บาทตอดอลลารสหรัฐเมื่อชวงตนปมาอยูที่ประมาณ 35.7 บาทตอดอลลารสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ 2550 อันเปนการแข็งขึ้นที่สอดคลองกับทิศทางคาเงินภูมิภาค ซึ่งสาเหตุหนึ่งของการแข็งคาของเงินบาทรวมถึงคาเงินภูมิภาคเกิดจากปจจัยการเก็งกําไร ที่รูจักกันในนามธุรกรรม Carry Trade

1 ขอความหรือทัศนะที่ปรากฏในบทวิเคราะหน้ีเปนความเห็นของกลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค มิไดสะทอนความเห็นของหนวยงานที่สังกัด หากมีขอสงสัยเกี่ยวกับบทความนี้ โปรดติดตอ นายปยศักดิ์ มานะสันต สวนวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจมหภาค และบรรณาธิการบทวิเคราะห

บทสรุปผูบริหาร Carry Trade คือธุรกรรมการเก็งกําไรคาเงินจากสวนตางระหวางอัตราดอกเบ้ียโดยกูยืมเงินสกุลที่ผลตอบแทนต่ํา

เชนเงินเยนและนําไปลงทุนในสินทรัพยสกุลเงินที่ใหผลตอบแทนสูงกวา เนื่องจากในชวงที่ผานมาธนาคารกลางญี่ปุน (BOJ) ใชนโยบายอัตราดอกเบ้ียต่ํา ในขณะที่ธนาคารกลางของประเทศอื่น ๆ ใชนโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงทําใหสวนตางระหวางดอกเบี้ยญี่ปุนและดอกเบี้ยโลกหางกัน จึงทําใหนักลงทุนกูเงินสกุลเยนเพื่อมาซื้อสินทรัพยสกุลอื่น ๆ ซึ่งเปนหนึ่งในสาเหตุที่ทําใหคาเงินตาง ๆ รวมท้ังคาเงินบาทแข็งคา

สศค. วิเคราะหวาความผันผวนในตลาดเงินตลาดทุนโลกในชวงที่ 2-3 สัปดาหที่ผานมาเกิดจากการปรับฐานของ Carry Trade เนื่องจากเศรษฐกิจญี่ปุนม ีแนวโนมขยายตัวดีขึ้นทําให BOJ มีแนวโนมที่จะปรับดอกเบ้ียขึ้นตอเนื่อง ขณะท่ีดอกเบี้ยโลกรวมทั้งดอกเบ้ียไทยมีแนวโนมปรับลดลง ดังนั้นนักลงทุนจึงแหถอนเงินจากตลาดเงินตลาดทุนในประเทศตาง ๆ กลับไปคืนเงินกูเยนในญี่ปุน ซึ่งเปนสาเหตุใหตลาดหลักทรัพยในหลายประเทศปรับตัวลดลงในขณะที่คาเงินเยนแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็ว

มาตรการแกปญหา Carry Trade ควรปรับลดอัตราดอกเบ้ียเพ่ือลดแรงจูงใจของนักเก็งกําไรที่จะเขาทําธุรกรรม Carry Trade อยางรวดเร็ว ซึ่งจะชวยทําใหทิศทางคาเงินบาทสะทอนปจจัยพ้ืนฐานมากขึ้น

Page 2: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

2

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

Carry Trade คือธุรกรรมการเก็งกําไรคาเงินจากสวนตางระหวางอัตราดอกเบี้ยโดยกูยืมเงินสกุลท่ีผลตอบแทนต่ําเชนเงินเยนและนําไปลงทุนในสินทรัพยสกุลเงินท่ีใหผลตอบแทนสูงกวาในชวงที่ผานมา เนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุน (BOJ) ใชนโยบายอัตราดอกเบี้ยต่ํา ในขณะที่ธนาคารกลางของประเทศอื่น ๆ ใชนโยบายอัตราดอกเบ้ียสูงทําใหสวนตางระหวางดอกเบี้ยญี่ปุนและดอกเบี้ยโลกหางกัน จึงทําใหนักลงทุนกูเงินสกุลเยนเพ่ือมาซื้อสินทรัพยสกุลอื่น ๆ ซึ่งเปนหนึ่งในสาเหตุที่ทําใหคาเงินตาง ๆ รวมท้ังคาเงินบาทแข็งคา แมวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะมีแนวโนมขยายตัวเพ่ิมขึ้น ทําใหธนาคารกลางญี่ปุน (BOJ) ไดยุตินโยบายการเงินแบบผอนคลายในเดือนกรกฎาคม 2549 โดยเริ่มปรับอัตราดอกเบ้ียนโยบายเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0 เปนรอยละ 0.25 แตเน่ืองจากนักคาเงินคาดการณวา BOJ จะปรับอัตราดอกเบี้ยข้ึนอยางคอยเปนคอยไป โดยยังคงอัตราดอกเบี้ยไวท่ี 0.25 ขณะท่ีอัตราดอกเบี้ยนโยบายตลอดจนผลตอบแทนพันธบัตรในประเทศอื่น ๆ อยูในระดับท่ีสูงกวามาก เชน ในเดือนธันวาคม 2549 อัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร 14 วันของไทยอยูที่รอยละ 5.00 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของเกาหลีใต (BOK Overnight Call Rate) อยูที่รอยละ 4.50 และ ดอกเบี้ยนโยบายของอังกฤษ (BOE Repo Rate) อยูที่รอยละ 5.00 จึงทําใหสวนตางระหวางอัตราดอกเบี้ยโลกและดอกเบี้ยญ่ีปุนน้ันหางกันมาก (ภาพที่ 1) นักคาเงินจึงทําการกูยืมเงินสกุลเยนและนํามาลงทุนในสินทรัพยสกุลอื่น ๆ แทน สงผลใหคาเงินสกุลอื่นๆ เทียบกับดอลลารสหรัฐแข็งคาข้ึนในขณะท่ีคาเงินเยนตอดอลลารสหรัฐออนคาลงเปนลําดับ2 (ภาพที่ 2)

2 ในเชิงทฤษฎีเศรษฐศาสตรการเงินแลวนั้น การแตกตางของผลตอบแทน (หรืออัตราดอกเบี้ย) ของเงินสองสกุลจะมีผลตออัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา (Forward Rate) รวมถึงการคาดการณอัตราแลกเปลี่ยนในอนาคต (Expected Spot Rate) ตามหลัก Interest Rate Parity กลาวคือ Forward และ Expected Spot Rate ของประเทศที่ใหผลตอบแทนต่ํากวา (ในที่นี้คือคาเงินเยน) จะมีแนวโนมแข็งคาขึ้นกวาระดับปจจุบันเนื่องจากนักลงทุนจะกูยืมสกุลเงินดังกลาวเพื่อไปลงทุนในสินทรัพยสกุลเงินที่ใหผลตอบแทนสูงกวา (ในที่นี้คือสกุลเงินบาท) แตในอนาคตนักลงทุนจะมีภาระที่จะตองจายคืนเงินกู (สกุลเงินเยน) จึงจําเปนจะตองทําสัญญาซื้อขายลวงหนาเพื่อปดความเสี่ยงดังกลาว ทําใหความตองการซื้อในสกุลเงินดังกลาว (เยน) ในอนาคตเพิ่มขึ้น คาเงนิสกุลดังกลาวจึงควรแข็งขึ้นในอนาคต อยางไรก็ตาม ธุรกรรม Carry Trade ในปจจุบันขัดกับทฤษฎี Interest Rate Parity ดังกลาว เนื่องจากนักคาเงินคาดการณวาเงินเยนในอนาคตจะยังคงออนคาตอเนื่องจากการที่ BOJ จะไมปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นเร็วเกินไป เนื่องจากภาคการบริโภคของญี่ปุนยังไมฟนตัวเต็มที่ ซึ่งการปรับขึ้นเร็วเกินไปอาจทําใหเศรษฐกิจญี่ปุนกลับเขาสูภาวะตกต่ําอีกครั้งได ดังนั้น นักคาเงินจึงยังคงทําธุรกรรม Carry Trade เพื่อเก็งกําไรอยางตอเนื่อง สงผลใหคาเงินเยนยังคงออนคา ขณะที่คาเงินสกุลอ่ืน ๆ เชนคาเงินยูโร และคาเงินภูมิภาคเอเชีย ยังคงแข็งคาตอเนื่อง

อัตราการเปล่ียนแปลงของคาเงิน (ณ วันท่ี 29 ธ.ค. 49 เปรียบเทียบกับส้ินป 2548)

13.6

-0.9

11.513.8

-0.3

8.46.7 7.5 7.7

0.5

7.6

3.2

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

THB/USD

JPY/USD

EUR/USD

GBP/USD

HKD/USD

IDR/USD

MYR/USD

PHP/USD

KRW/USD

TWD/USD

SGD/USD

CNY/USD

Appreciation%

ภาพที่ 2: ทิศทางคาเงินสกุลตาง ๆ เทียบกับดอลลารสหรัฐ

Central Bank Policy Rate (December 2006)

0.25

2.75

3.50

3.50

3.64

3.92

4.50

5.00

5.00

5.25

6.12

7.50

9.75

0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00

Japan

Taiwan

ECB

Malaysia

Singapore

Hong Kong

Korea

UK

Thailand

FED

China

Philippines

Indonesia

% p.a.

ภาพที่ 1: อัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศตาง ๆ เทียบกับญี่ปุน

Page 3: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

3

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ธุรกรรม Carry Trade น้ี มิไดเกิดข้ึนเฉพาะกับสินทรัพยสกุลเงินบาทเทาน้ัน จากรายงานของกองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF) พบวา การทําธุรกรรม Carry Trade กับเงินสกุลตาง ๆ ท่ัวโลกกําลังขยายตัวอยางมาก โดยแมวาการคํานวณปริมาณธุรกรรม Carry Trade ที่แนนอนจะทําไดยากเนื่องจากสวนใหญกระทําในรูปแบบสัญญาซื้อขายลวงหนาซึ่งไมมีการบันทึกอยางเปนทางการ หรือ Off-balance sheet transaction อยางไรก็ตาม IMF พบหลักฐานเงินไหลเขาจากญี่ปุนสูบราซิล และตุรกีเพ่ิมขึ้นอยางผิดปกติ ขณะที่สัญญาจํานอง (Forward Contract) สกุลเงินเยนมีจํานวนเพิ่มขึ้นมากในเกาหลีใตและลัตเวีย ขณะที่นิตยสาร Economist ประมาณการวาหากคํานวณปริมาณธ ุรกรรม Carry Trade ในสินทรัพยสกุลเงินดอลลารสหรัฐจากธุรกรรมขายเงินเยนลวงหนา (Short Yen Future) ในตลาดซื้อขายลวงหนาชิคาโก (Chicago Mercantile Exchange) แลว จะมีจํานวนถึงประมาณ 1 ลานลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งปริมาณธุรกรรมจํานวนมหาศาลเชนน้ี จะทําใหตลาดการเงินโลกมีความเสี่ยงสูงมากหากเกิดการปรับฐาน (Correction) ข้ึน

2. ผลกระทบจากการปรับฐานของ Carry Trade ตอแนวโนมคาเงินเยนและคาเงินบาท จากการวิเคราะหของ สศค. พบวาความผันผวนในตลาดเงินตลาดทุนโลกในชวงที่ 2-3 สัปดาหท่ีผานมาเกิดจากการปรับฐานของธุรกรรม Carry Trade เนื่องจากในชวงที่ผานมา BOJ ใชนโยบายอัตราดอกเบ้ียต่ํา ขณะที่ธนาคารกลางของประเทศอื่น ๆ ใชนโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงทําใหสวนตางระหวางดอกเบี้ยญี่ปุนและดอกเบี้ยโลกหางกัน จึงเกิดธุรกรรม Carry Trade ขึ้น แตในปจจุบันมีแนวโนมวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะขยายตัวดีขึ้นทําให BOJ มีแนวโนมที่จะปรับดอกเบี้ยขึ้นตอเนื่อง ขณะที่ดอกเบี้ยโลกรวมทั้งดอกเบ้ียไทยมีแนวโนมปรับลดลง ทําใหนักเก็งกําไรที่กูเงินเยนเพ่ือมาทําธุรกรรม Carry Trade ไปลงทุนในสินทรัพยของประเทศอื่น จะตองรีบขายสินทรัพย (รวมท้ังหลักทรัพย) ในประเทศตาง ๆ เพ่ือนําเงินมาใชคืนหนี้เงินเยนกอนที่ดอกเบี้ยจะปรับสูงขึ้น และกอนที่คาเงินเยนจะแข็งคาขึ้น ซึ่งจะทําใหตนทุนการกูยืมเงินสูงขึ้น อันจะทําใหคาเงินเยนแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็ว (หรือที่เรียกวาการปรับฐานหรือ Correction) ซึ่งการปรับฐานของ Carry Trade ในปจจุบัน ไดสงผลใหคาเงินเยนแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็ว และตลาดหลักทรัพยในประเทศตาง ๆ ปรับตัวลดลงอยางรวดเร็วเชนกัน การปรับฐานของคาเงินเยนจากธุรกรรม Carry Trade ในปจจุบันเริ่มปรากฏชัดในเดือนกุมภาพันธ - มีนาคม 2550 โดยการวิเคราะหการปรับฐาน Carry Trade ตอตลาดเงินตลาดทุนสามารถแบงเปนชวง ๆ ไดดังนี้ (ภาพที่ 3 และ 4) ภาพที่ 3: คาเงินเยนตอดอลลารสหรัฐ (12-23 ก.พ. 50)

JPY/USD

115.7

117.6

117.9

120.7

119.2

119.9

120.9120.6

115.0

116.0

117.0

118.0

119.0

120.0

121.0

122.0

123.0

27/1

2/0

629/1

2/0

631/1

2/0

62/1

/07

4/1

/07

6/1

/07

8/1

/07

10/

1/0

712/

1/0

714/

1/0

716/

1/0

718/

1/0

720/

1/0

722/

1/0

724/

1/0

726/

1/0

728/

1/0

730/

1/0

71/2

/07

3/2

/07

5/2

/07

7/2

/07

9/2

/07

11/

2/0

713/

2/0

715/

2/0

717/

2/0

719/

2/0

721/

2/0

723/

2/0

725/

2/0

727/

2/0

71/3

/07

3/3

/07

5/3

/07

7/3

/07

9/3

/07

11/

3/0

7

ชวงที่1: GDP ไตรมาส 4 ดีเกินคาดทําให Yen แข็งขึ้น 1.3%

ชวงที่2: BOJ ปรับขึ้นดอกเบี้ยตามคาดทําให Yen ออนลง 1.73%

ชวงที่3: ตลาดหุนจีนและสหรัฐตกตํ่ารุนแรงในขณะที่ Yen แข็งขึ้น 2.24%

ชวงที่4: Yen แข็งขึ้น 1.69% ในขณะที่ตลาดหุนเอเชียตกตํ่ารุนแรง

Page 4: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

4

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ภาพที่ 12: การเปล่ียนแปลงของดัชนีตลาดหลักทรัพยหลักเทียบกับคาเงินเยนตอดอลลารสหรัฐ (12-23 ก.พ. 50) ชวงที่ 1: ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ 2550 หลังจากที่ทางการญี่ปุนประกาศตัวเลขการขยายตัวของเศรษฐกิจในไตรมาส 4 ที่เพ่ิมขึ้นจากไตรมาสที่แลวรอยละ 1.2 ตอป (หรือเพ่ิมขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนที่รอยละ 4.8 ตอป) ซึ่งเปนการขยายตัวที่สูงกวาตลาดคาดการณมาก อันเปนสัญญาณวาเศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมที่จะฟนตัวตอเนื่อง ทําใหตลาดคาดวา BOJ อาจปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในการประชุมวันที่ 21 กุมภาพันธ จากรอยละ 0.25 เปนรอยละ 0.50 ขณะเดียวกันตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐยังคงทรงตัว ขณะที่ความเสี่ยงดานเงินเฟอสหรัฐลดลง ตลาดจึงคาดวา FED จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไวที่รอยละ 5.25 ไปอีกระยะหนึ่ง ทําใหตลาดจึงเริ่มทําการปรับฐาน (Correction) จากการทําธุรกรรม Carry Trade โดยถอนเงินทุนจากประเทศตาง ๆ กลับมาใชหนี้เงินเยนกอนที่ BOJ จะขึ้นดอกเบ้ีย ทําใหคาเงินเยนแข็งคาขึ้นมากเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐ จาก 120.71 เยนตอดอลลารสหรัฐในวันที่ 14 กุมภาพันธ เปน 119.18 เยนในวันที่ 15 กุมภาพันธ หรือแข็งขึ้นรอยละ 1.26 ภายในวันเดียว ชวงที่ 2: ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ หลังจากที่ BOJ ไดประกาศปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย จากเดิมรอยละ 0.25 มาอยูที่รอยละ 0.5 ตามที่ตลาดคาดการณ คาเงินเยนไดกลับออนคาลงมากเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐ จาก 119.95 เยนตอดอลลารสหรัฐในวันที่ 20 กุมภาพันธ เปน 120.93 เยนในวันที่ 21 หรือออนลงรอยละ 0.81 ซึ่งเปนการปรับตัวกลับเขาสูระดับกอนการแข็งคาขึ้นมากในสัปดาหกอนหนาที่ BOJ จะปรับขึ้นดอกเบ้ียตามที่ตลาดคาดไว

Change in Stock Indices VS JPY/USD

-4.00

-2.00

0.00

2.00

4.00

6.00

8.00

1/4

/20

07

1/1

1/2

00

7

1/1

9/2

00

7

1/2

6/2

00

7

2/2

/20

07

2/9

/20

07

2/1

6/2

00

7

2/2

6/2

00

7

3/5

/20

07%

CH

G f

rom

3 J

an 0

7

112.0

113.0

114.0

115.0

116.0

117.0

118.0

119.0

120.0

121.0

122.0

123.0

JPY

/USD

DJ NASDAQ N225 YEN/USD

ชวงที่ 2 ชวงที่ 3 ชวงที่ 4ชวงที่ 1

Page 5: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

5

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ชวงที่ 3: ณ วันที่ 27 กุมภาพันธไดเกิดความผันผวนในตลาดหลักทรัพยทั่วโลก โดยเริ่มจากการปรับลดอยางรุนแรงของตลาดหลักทรัพยจีนจากกระแสขาวการเก็บภาษีกําไรการซื้อขายหลักทรัพยอันทําใหดัชนีตลาดหลักทรัพยจีนปรับลดลงรอยละ 8.84 สงผลใหตลาดหลักทรัพยทั่วเอเชียปรับลงรอยละ 1-2 ขณะที่ตลาดหลักทรัพยสหรัฐ (Dow Jones Industrial Average: DJIA) ปรับลดลงรอยละ 3.29 เนื่องจากนักลงทุนกังวลตอคํากลาวของนายอลัน กรีนสแปน (Alan Greenspan) อดีตประธาน FED ที่วาเศรษฐกิจสหรัฐอาจตกต่ําในครึ่งหลังของป 2550 รวมถึงการที่ตลาดคาดการณวาตัวเลขการขยายตัวของ GDP สหรัฐในไตรมาส 4 (ปรับปรุงใหม) ที่รอยละ 2.2 ตํ่ากวาตัวเลขที่เคยประกาศเบื้องตนที่รอยละ 3.5 อยางมากยิ่งเปนปจจัยเรงใหตลาดหลักทรัพยทั่วโลกตกต่ําตอเนื่อง เปนผลใหนักคาเงินที่เคยทํา ธุรกรรม Carry Trade เกิดความกังวลวาคาเงินดอลลารสหรัฐจะออนลงจึงเรงซื้อเงินเยนเพ่ือปดความเสี่ยง (Unwind Position) ซึ่งนําไปสูการปรับฐานของคาเงินเยนอยางรุนแรง โดยคาเงินเยนแข็งคาขึ้นมาก จาก 120.6 เยนตอดอลลารสหรัฐในวันที่ 26 เปน 117.9 เยนในวันที่ 27 หรือแข็งขึ้นรอยละ 2.24 ภายในวันเดียว ชวงที่ 4: ณ วันที่ 5 มีนาคมไดเกิดความผันผวนในตลาดหลักทรัพยเอเชียอีกครั้ง โดยดัชนีของตลาดหลักทรัพยญี่ปุน ฮองกง และสิงคโปร ปรบัลดลงรอยละ 3.34, 3.99 และ 3.13 ตามลําดับ ขณะที่ตลาดหลักทรัพยสหรัฐ (DJIA) และอังกฤษ (FTSE) ปรับลดลงรอยละ 0.52 และ 0.94 ตามลําดับ ซึ่งการตกต่ําของตลาดหลักทรัพยทั่วโลกนี้ เกิดจากการปรับฐานของคาเงินเยนท่ีทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น เนื่องจากนักเก็งกําไรตาง ๆ เห็นวาคาเงินเยนแข็งคาขึ้นตอเนื่องและเกรงวาจะแข็งคาตอไปอีกจึงเรงขายสินทรัพยในประเทศตาง ๆ เพ่ือคืนเงินกูที่เปนสกุลเยน คาเงินเยนจึงแข็งคาขึ้นจาก 117.6 เยนตอดอลลารสหรัฐในวันที่ 2 มีนาคม เปน 115.7 เยนในวันที่ 5 หรือแข็งขึ้นรอยละ 1.67 กลาวโดยสรุป พฤติกรรมคาเงินเยนที่ผันผวนมากขึ้นพรอม ๆ กับการผันผวนของราคาสินทรัพยในตลาดเงินตลาดทุนโลกน้ี สศค. วิเคราะหวาเกิดจากการปรับฐานของธุรกรรม Carry Trade ที่ทําใหตลาดเริ่มเชื่อวาคาเงินเยนจะแข็งคาขึ้น เปนผลใหนักคาเงินที่เคยกูเงินเยนดอกเบี้ยต่ําไปลงทุนในประเทศตาง ๆ เรงซื้อเงินเยนเพื่อปดความเสี่ยงอันนําไปสูการปรับฐานของคาเงินเยนอยางรุนแรง สงผลลูกโซทําใหตลาดเงินตลาดทุนโลกปรับลดลงเชนกัน ซึ่ง สศค. วิเคราะหวาคาเงินเยนในระยะสั้นอาจมีความผันผวนสูงมากขึ้น เนื่องจากการปรับฐาน จากธุรกรรม Carry Trade จะเริ่มมีความรุนแรงขึ้น ในขณะที่ในระยะยาวแลวน้ัน เปนไปไดวาคาเงินเยนอาจจะแข็งคาข้ึนมากสูระดับ 100-110 เยนตอดอลลารสหรัฐ เนื่องจากการบริโภคภาคเอกชนของญี่ปุนซ ึ่งเปนองคประกอบสําคัญของเศรษฐกิจญี่ปุน3 ม ีแนวโนมขยายตัวเพ่ิมขึ้น ซึ่งจะเปนแรงผลักดันใหเศรษฐกิจญี่ปุนขยายตัวตอเนื่องเชนกัน สงผลให BOJ มีแนวโนมที่จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจากรอยละ 0.5 ในปจจุบัน มาอยูที่ประมาณรอยละ 1.5-2.0 ภายในป 2551-52

3 การบริโภคภาคเอกชนมีสัดสวนรอยละ 56.3 เม่ือเทียบกับเศรษฐกิจญ่ีปุนโดยรวม

Page 6: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

6

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

นอกจากนั้น เปนไปไดเชนกันวาภายในป 2551-52 Fed อาจปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจากระดับปจจุบันที่รอยละ 5.25 เพ่ือกระตุนการบริโภคที่อาจชะลอลงเนื่องจากผลจากความมั่งคั่ง (Wealth Effect) ที่ลดนอยลงจากการชะลอตัวลงของภาคอสังหาริมทรัพยสหรัฐ ซึ่งจะทําใหสวนตางระหวางอัตราดอกเบ้ียญี่ปุนและดอกเบี้ยโลกแคบลง และทําใหธุรกรรม Carry Trade ลดนอยลง สงผลใหคาเงินบาทตอ 100 เยนในชวงป 2551-52 นาจะมีโอกาสกลับไปอยูในระดับ 35-40 บาท อันเปนระดับเดียวกับในชวงป 2546-47 (ภาพที่ 7) อันเปนชวงที่ความแตกตางระหวางอัตราญี่ปุนและดอกเบี้ยโลกอยูในระดับต่ํา (ภาพที่ 8) ภาพที่ 7: คาเงินบาทตอเยนในป 2546-50 ภาพที่ 8: สวนตางอัตราดอกเบี้ยญี่ปุนและไทย 4. มาตรการที่เหมาะสมสําหรับการแกปญหาธุรกรรม Carry Trade

สาเหตุหลักของการเกิดธุรกรรม Carry Trade เกิดจากความแตกตางระหวางดอกเบี้ยภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยเฉพาะญี่ปุนเปนหลัก ฉะนั้นการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจะเปนการลดแรงจูงใจของนักเก็งกําไรที่จะเขาทําธุรกรรม Carry Trade โดยหากพิจารณาจากภาพที่ 8 แลวจะเห็นไดวา หากผลตางระหวางดอกเบี้ยไทยและญี่ปุนอยูที่ประมาณรอยละ 1-2 เชนในชวงป 2546-47 จะทําใหคาเงินบาทเมื่อเทียบกับเยนมีเสถียรภาพในระดับ 35-40 บาทตอ 100 เยน นอกจากนั้นการลดดอกเบี้ยในประเทศจะชวยลดสวนตางระหวางอัตราดอกเบ้ียไทยกับดอกเบี้ยโลกเชนกัน ซึ่งนาจะชวยลดความผันผวนของคาเงินบาทเทียบกับคาเงินสกุลอื่น ๆ ดวย และจะทําใหทิศทางคาเงินบาทสะทอนปจจัยพ้ืนฐานมากขึ้น

BOJ Overnight & Difference between RP and BOJ Rate

0

1

2

3

4

5

6

ม.ค.

-01

เม.ย

.-01

ก.ค.

-01

ต.ค.

-01

ม.ค.

-02

เม.ย

.-02

ก.ค.

-02

ต.ค.

-02

ม.ค.

-03

เม.ย

.-03

ก.ค.

-03

ต.ค.

-03

ม.ค.

-04

เม.ย

.-04

ก.ค.

-04

ต.ค.

-04

ม.ค.

-05

เม.ย

.-05

ก.ค.

-05

ต.ค.

-05

ม.ค.

-06

เม.ย

.-06

ก.ค.

-06

ต.ค.

-06

ม.ค.

-07

% p

.a.

BOJ Overnight RP-BOJ

THB/JPY100

25

27

29

31

33

35

37

39

41

43

1/2

/20

03

2/2

5/2

00

3

4/1

8/2

00

3

6/1

1/2

00

3

8/4

/20

03

9/2

5/2

00

3

11

/18

/20

03

1/1

2/2

00

4

3/4

/20

04

4/2

7/2

00

4

6/1

8/2

00

4

8/1

1/2

00

4

10

/4/2

00

4

11

/25

/20

04

1/1

8/2

00

5

3/1

1/2

00

5

5/4

/20

05

6/2

7/2

00

5

8/1

8/2

00

5

10

/11

/20

05

12

/2/2

00

5

1/2

5/2

00

6

3/2

0/2

00

6

5/1

1/2

00

6

7/4

/20

06

8/2

5/2

00

6

10

/18

/20

06

12

/11

/20

06

2/1

/20

07

THB/JPY

บาทตอเยนอยูที่ 35-40 บาทในชวงป 46-47

เน่ืองจากสวนตางอัตราดอกเบี้ยญ่ีปุน-ไทยอยูระดับตํ่า

Page 7: Carry Trade

MMMAAACCCRRROOOEEECCCOOONNNOOOMMMIIICCC AAANNNAAALLLYYYSSSIIISSS BBBRRRIIIEEEFFFIIINNNGGG

กลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

7

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

กลยุทธกลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ

“วิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจไดอยางมีคุณภาพ แมนยํา และทันตอเหตุการณเพื่อใหสามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถูกตองตอสาธารณชน”

คณะผูจัดทํา

ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศ (นายอรรคศิริ บุรณศิริ : [email protected]) ผูอํานวยการกลุมการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค (ดร. เอกนิต ิ นิติทณัฑประภาศ : [email protected])

ผูอํานวยการสวนวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจมหภาค (นายพิสิทธ์ิ พัวพันธ : [email protected]) ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง (นายพงศนคร โภชากรณ : [email protected])

ภาคเศรษฐกิจ ผูวิเคราะห/รับผิดชอบ Email

การคลัง นายศศิน พร้ิงพงษ, นายวรพล คหัฏฐา, นายธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ [email protected] เสถียรภาพเศรษฐกิจและการจางงาน นายสุธี เหลืองอรามกุล [email protected]

เศรษฐกิจตางประเทศ นางสาวณัฐพร ตรีรัตนศิริกุล, นางสาวคงขวัญ ศิลา [email protected] การเกษตร นางสาวกาญจนา จันทรชิต [email protected] การทองเที่ยว นางสาวจรสพร เฉลิมเตียรณ [email protected]

การเงินและการบริโภค นางวราภรณ กาญจนวฒัน [email protected] การสงออกนําเขาและอตุสาหกรรม นางสาววิภารัตน พานิชยการ, นางสาวสุวรรณา อภัยบัณฑิตกุล [email protected] ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนและการลงทุน ดร. ปยศักดิ์ มานะสันต [email protected]