4
34 บทที5 ผลการศึกษา การศึกษาในครั ้งนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของราคาน ามันดีเซล (HSD) และ ปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่ออัตราเงินเฟ้อได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) และปริมาณ เงิน (M3) ซึ ่งมีผลต่ออัตราเงินเฟ้อของประเทศไทย จากผลการศึกษาโดยใช้การประมาณค่าจากสมการถดถอยแบบพหุคูณแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การทดสอบความนิ่งของข้อมูลด้วยวิธี unit root และการหาความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยวิธี Least square 1. การทดสอบความนิ ่งของข้อมูลด้วยวิธี unit root ในการศึกษานี ้ใช้ข้อมูลอนุกรมเวลา ซึ ่งลักษณะโดยพื ้นฐานของข ้อมูลอนุกรม เวลานั ้นมีข ้อควรพิจารณา คือ ข้อมูลนั ้นเป็นข ้อมูลอนุกรมเวลาที่มีลักษณะนิ ่งหรือไมซึ ่งข้อมูล อนุกรมเวลาที่จะนาไปใช้การประมาณค่าจะต้องเป็นข้อมูลที่มีลักษณะนิ ่งไม่เช่นนั ้น อาจจะ ทาให้เกิดปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรของสมการเป็นความสัมพันธ์ไม่แท้จริง (Spurious Regression) โดยสังเกตได้จากค่าสถิติบางอย่าง เช่น ค่า R 2 ที่สูงในขณะที่ค่า Durbin – Watson (DW) Statistic อยู ่ในระดับต ่าแสดงให้เห็นถึง High Level of Auto correlate Residuals จึงเป็น การยากที่จะรับได้ในทางเศรษฐศาสตร์ ดังนั ้นจึงต ้องทาการทดสอบก่อนว่าข้อมูลอนุกรมเวลามี ลักษณะนิ ่งหรือไมโดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี จากผลการทดสอบความนิ่งของข้อมูล (unit root test) ด้วยวิธี Augmented Dickey-Fuller Test ทีLevel และFirst different โดยใช้ข้อมูลรายไตรมาสของ ดัชนีราคาผู้บริโภคทั ่วไป (CPI), ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP), ราคาน ามันดีเซล (HSD) และ ปริมาณเงิน (M3) ปรากฏผลดัง ตารางที่ 4.1

chap5

  • Upload
    red-kh

  • View
    91

  • Download
    4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: chap5

34

บทที ่ 5

ผลการศึกษา

การศึกษาในคร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาผลกระทบของราคาน ้ามนัดีเซล (HSD) และ ปัจจยัต่างๆ ท่ีมีอิทธิพลต่ออตัราเงินเฟ้อไดแ้ก่ ผลิตภณัฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) และปริมาณเงิน (M3) ซ่ึงมีผลต่ออตัราเงินเฟ้อของประเทศไทย

จากผลการศึกษาโดยใชก้ารประมาณค่าจากสมการถดถอยแบบพหุคูณแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ไดแ้ก่ การทดสอบความน่ิงของขอ้มูลดว้ยวธีิ unit root และการหาความสัมพนัธ์ของตวัแปร โดยวิธี Least square

1. การทดสอบความน่ิงของขอ้มูลดว้ยวธีิ unit root

ในการศึกษาน้ีใชข้อ้มูลอนุกรมเวลา ซ่ึงลกัษณะโดยพื้นฐานของขอ้มูลอนุกรม เวลานั้นมีขอ้ควรพิจารณา คือ ขอ้มูลนั้นเป็นขอ้มูลอนุกรมเวลาท่ีมีลกัษณะน่ิงหรือไม่ ซ่ึงขอ้มูล อนุกรมเวลาท่ีจะน าไปใชก้ารประมาณค่าจะตอ้งเป็นขอ้มูลท่ีมีลกัษณะน่ิงไม่เช่นนั้น อาจจะ ท าใหเ้กิดปัญหาความสัมพนัธ์ระหวา่งตวัแปรของสมการเป็นความสัมพนัธ์ไม่แทจ้ริง (Spurious Regression) โดยสังเกตไดจ้ากค่าสถิติบางอยา่ง เช่น ค่า R2 ท่ีสูงในขณะท่ีค่า Durbin – Watson (DW) Statistic อยูใ่นระดบัต ่าแสดงใหเ้ห็นถึง High Level of Auto correlate Residuals จึงเป็น การยากท่ีจะรับไดใ้นทางเศรษฐศาสตร์ ดงันั้นจึงตอ้งท าการทดสอบก่อนวา่ขอ้มูลอนุกรมเวลามี ลกัษณะน่ิงหรือไม่ โดยมีรายละเอียด ดงัต่อไปน้ี

จากผลการทดสอบความน่ิงของขอ้มูล (unit root test) ดว้ยวธีิ Augmented Dickey-Fuller

Test ท่ี Level และFirst different โดยใชข้อ้มูลรายไตรมาสของ ดชันีราคาผูบ้ริโภคทัว่ไป (CPI), ผลิตภณัฑม์วลรวมประชาชาติ (GDP), ราคาน ้ามนัดีเซล (HSD) และ ปริมาณเงิน (M3) ปรากฏผลดงัตารางท่ี 4.1

Page 2: chap5

35 ตารางท่ี 4.1 ผลสถิติจากการค านวณโดยวธีิ Augmented Dickey-Fuller (ADF-test) Unit Root Test No trend Trend

CPI -0.040035 -2.543204 GDP 0.050348 -3.465573 HSD -1.343827 -2.690300 M3 2.689058 -0.774548 DCPI -4.873278 * -4.835124 * DGDP -5.610704 * -5.547699 * DHSD -4.734441 * -4.668299 * DM3 -4.508415 * -5.475531* หมายเหตุ *ท่ีระดับนัยส าคัญ 5 %

จากผลการทดสอบ unit root ในตาราง 4.1 พบวา่ขอ้มูลอนุกรมเวลาของดชันีราคาผูบ้ริโภค

ทัว่ไป (CPI), ผลิตภณัฑม์วลรวมประชาชาติ (GDP), ราคาน ้ามนัดีเซล (HSD) และ ปริมาณเงิน (M3) มีลกัษณะไม่น่ิง ณ ระดบันยัส าคญั 5 % เหมือนกนัทั้งหมด หลงัจากไดท้ าการปรับขอ้มูลดว้ยการหาส่วนต่างล าดบัท่ี1 (First difference) แลว้น าไปทดสอบ unit root อีกคร้ัง ผลการทดสอบพบวา่ขอ้มูลทั้งหมดมีคุณสมบติัของความน่ิง (stationary) ท่ีระดบันยัส าคญั 5 %

2. การหาความสัมพนัธ์ของตวัแปร โดยวธีิ Least square การศึกษาปัจจยัท่ีเป็นตวัก าหนดภาวะเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจ ของระบบเศรษฐกิจ ท าให ้

ไดค้วามสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัราคาหรือเงินเฟ้อ (CPIt) และตวัแปรอิสระต่างๆตามแบบจ าลอง ดงัน้ี

CPI = a1 HSD + a2 GDP + a3 M3 + a0

Page 3: chap5

36 โดยท่ี CPI = ดชันีราคาผูบ้ริโภคทัว่ไป (CPI) ปีฐาน 2550

GDP = ระดบัรายได ้หรือผลิตภณัฑม์วลรวมภายในประเทศ ปีฐาน 2550 (ลา้นบาท) HSD = ราคาขายปลีกน ้ามนัดีเซลในประเทศ (บาท/ลิตร) M3 = ปริมาณเงินตามความหมายกวา้ง (ลา้นบาท)

จากแบบจ าลองท่ีใชใ้นการศึกษาพบวา่ปัจจยัทางเศรษฐกิจ ไดแ้ก่ ราคาน ้ามนัดีเซล,

ผลิตภณัฑ์มวลรวมภายในประเทศ และปริมาณเงิน สามารถแสดงความสัมพนัธ์ในรูปสมการถดถอย ไดด้งัต่อไปน้ี

CPI = 0.245297 HSD + 0.000005 GDP + 0.000001 M3 + 0.217347 (8.154815)* (3.748718)* (1.512942) (3.130242) R-Squared (R2 ) = 0.750186 Adjusted R-Squared (R ) = 0.728774 F-statistic = 35.03480 Durbin-Watson Stat (D.W.) = 1.964014 หมายเหตุ: ค่าในวงเล็บคือค่า t-statistics

*มีนยัส าคญัท่ีระดบั 5% จากผลการศึกษา แสดงวา่ตวัแปรอิสระต่างๆ ไดแ้ก่ ราคาขายปลีกน ้ามนัดีเซล (HSD)

ผลิตภณัฑม์วลรวมภายในประเทศ (GDP) และปริมาณเงิน (M3) มีความเหมาะสมในการอธิบายถึง ดชันีราคาผูบ้ริโภค (CPI) ซ่ึงเป็นตวัวดัการเกิดอตัราเงินเฟ้อ ไดร้้อยละ 75.02 ดงัจะสังเกตไดจ้ากค่า R-Squared (R2) เท่ากบั 0.750186 แสดงวา่ ตวัแปรอิสระท่ีใชใ้นสมการสามารถอธิบายตวัแปรตามไดร้้อยละ 75.02 ซ่ึงผลการศึกษาของปัจจยัแต่ละตวัสามารถสรุปไดด้งัน้ี

1. ราคาขายปลีกน ้ามนัดีเซล (HSDt) จากการวเิคราะห์ขอ้มูลพบวา่ค่า t-Statistic มีค่าเท่ากบั 8.154815 และค่า Probability เท่ากบั 0.0000 แสดงวา่ราคาขายปลีกน ้ ามนัดีเซลมีความสัมพนัธ์กบัดชันีราคาผูบ้ริโภคทัว่ไป (CPIt ) ในทิศทางเดียวกนัอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติท่ีระดบัความเช่ือมัน่95% ซ่ึงตรงกบัสมมติฐานท่ีก าหนด กล่าวคือ หากราคาขายปลีกน ้ามนัดีเซล เพิ่มข้ึนร้อยละ 1

2

Page 4: chap5

37 จะท าใหเ้งินเฟ้อเพิ่มข้ึนร้อยละ 0.245297 เน่ืองจากราคาน ้ามนัดีเซลจึงเป็นตน้ทุนหลกัอยา่งหน่ึงของผูผ้ลิต โดยท่ีผลของการเปล่ียนแปลงราคาน ้ามนัดีเซลจะส่งผลกระทบต่อผูผ้ลิตโดยตรงและจะมีการผลกัภาระส่วนหน่ึงไปยงัผูบ้ริโภค ซ่ึงจะท าใหเ้กิดเงินเฟ้อชนิดตน้ทุนผลกั

2. ผลิตภณัฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) จากการวิเคราะห์ขอ้มูลพบวา่ค่า t-Statistic มีค่าเท่ากบั 3.748718 และค่า Probability เท่ากบั 0.0006 แสดงวา่ผลิตภณัฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) มีความสัมพนัธ์กบัดชันีราคาผูบ้ริโภคทัว่ไป (CPI) ในทิศทางเดียวกนั อย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ กล่าวคือ หากระดบัรายได้ หรือผลิตภณัฑ์มวลรวมภายในประเทศ เพิ่มข้ึนร้อยละ 1 จะท าให้เงินเฟ้อเพิ่มข้ึนร้อยละ 0.000005

3. ปริมาณเงิน (M3) จากการวิเคราะห์ขอ้มูลพบวา่ค่า t-Statistic มีค่าเท่ากบั 1.640827 และค่า Probability เท่ากบั 0.1101 แสดงวา่ปริมาณเงิน (M3) ไม่มีนยัส าคญัทางสถิติ ซ่ึงไม่สอดคลอ้งกบัสมมติฐานท่ีก าหนด เน่ืองจากแมว้า่ปริมาณเงิน (M3) จะเพิ่มข้ึน แต่ในช่วงท่ีท าการศึกษากลบัไม่มีผลต่อการจบัจ่ายใชส้อยและอุปสงคใ์นตลาด ดงันั้นจึงกล่าวไดว้า่ปริมาณเงิน M3 ไม่ส่งผลต่อภาวะเงินเฟ้อในช่วงท่ีท าการศึกษา