13
จัดทําโดย .ดร. เดช ดํารงศักดิ1 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เครื่องมือวัด (254372) บทที1 แนวคิดพื้นฐานของระบบการวัด ระบบการวัด คือเครื่องมือที่ใชสําหรับกําหนดปริมาณของตัวแปรทางกายภาพ ปริมาณทางกายภาพโดยทั่วไปคือ - ปริมาณทางกล (Mechanical Quantities) เชน แรง ความดัน โมเมนต แรงบิด ระยะขจัด ความเร็ว อัตราการไหล ความถีและเวลา เปนตน - ปริมาณทางความรอน (Thermal Quantities) เชน อุณหภูมิ ความรอน จําเพาะ และคาการนําความรอน เปนตน จัดทําโดย .ดร. เดช ดํารงศักดิ2 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เครื่องมือวัด (254372) 1.1 ระบบการวัด (Instrument System) หัววัด (Transducer) แหลงจายกําลัง (Power Supply) ขยายสัญญาณ (Amplifier) เครื่องบันทึกสัญญาณ (Recorder) ประมวลผลขอมูล (Data Processor) เครื่องควบคุม (Controller) วงจรปรับแตงสัญญาณ (Conditioning Circuit) เครื่องกําเนิดคําสั่ง (Command Generator) การวิเคราะหทาง วิศวกรรม Engineering Analysis กระบวนการควบคุม Process Control ไดอะแกรมแสดงระบบการวัดสําหรับการวิเคราะหทางวิศวกรรมหรือกระบวนการควบคุม

Chapter 01

  • Upload
    grid-g

  • View
    237

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 1

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

บทที่ 1แนวคิดพ้ืนฐานของระบบการวัด

• ระบบการวัด คือเครื่องมอืที่ใชสําหรับกําหนดปริมาณของตัวแปรทางกายภาพ

• ปริมาณทางกายภาพโดยทั่วไปคือ

- ปริมาณทางกล (Mechanical Quantities) เชน แรง ความดัน โมเมนต แรงบิด ระยะขจดั ความเร็ว อัตราการไหล ความถี่ และเวลา เปนตน

- ปริมาณทางความรอน (Thermal Quantities) เชน อุณหภูมิ ความรอนจําเพาะ และคาการนําความรอน เปนตน

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 2

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.1 ระบบการวัด (Instrument System)

หัววัด (Transducer)

แหลงจายกําลัง (Power Supply)

ขยายสญัญาณ (Amplifier)

เครื่องบันทกึสญัญาณ (Recorder)

ประมวลผลขอมูล (Data Processor)

เครื่องควบคุม (Controller)

วงจรปรับแตงสญัญาณ (Conditioning Circuit)

เครื่องกําเนิดคําสั่ง (Command Generator)

การวิเคราะหทางวิศวกรรม

Engineering Analysis

กระบวนการควบคุม

Process Control

ไดอะแกรมแสดงระบบการวัดสําหรับการวิเคราะหทางวิศวกรรมหรือกระบวนการควบคุม

Page 2: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 3

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ระบบการวัดโดยทั่วไปจะประกอบไปดวยระบบยอยหรืออุปกรณตางๆ ดังนี้

1.1.1 หัววัด (Transducer) คือ อุปกรณที่ทําหนาที่เปล่ียนปริมาณทางกล หรือทางความรอนที่วัดไดไปเปนปริมาณทางไฟฟา หรือปริมาณที่สามารถวัดได เชน ไมโครโฟน คือเมื่อมีเสียงเขามา หัววัดก็จะเปลี่ยนสัญญาณเสียงใหไปเปนปริมาณทางไฟฟา

1.1 ระบบการวัด (ตอ)

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 4

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.1.2 แหลงจายกําลัง (Power Supply)อุปกรณที่ทําหนาที่จายพลังงานใหกับหัววัด เชน แหลงจายแรงดันไฟฟา

กระแสตรง และแหลงจายแรงดันกระแสสลับ เปนตน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของหัววัดแบบตางๆ ที่เลือกใชงาน

1.1.3 วงจรปรับแตงสัญญาณ (Signal Conditioning Circuit)วงจรที่ทําหนาที่เปล่ียน ชดเชย หรือปรับแตงสัญญาณที่ไดจากหัววัดใหเปน

ปริมาณทางไฟฟาที่สามารถใชงานตอไปได เชน- วงจรสะพาน (Wheatstone bridge) ที่ใชรวมกับสเตรนเกจ จะมีหนาที่

เปล่ียนคาความเปลี่ยนแปลงความตานทาน (∆R) ใหเปนคาความเปลี่ยนแปลงทางแรงดันไฟฟา (∆V)

Page 3: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 5

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

- ตัวกรองสัญญาณ (Filter) ก็เปนวงจรปรับแตงสัญญาณซึ่งทําหนาที่กรองสัญญาณที่ไมตองการทิ้งไป และปลอยใหสัญญาณที่ตองการผานออกไปได

1.1.4 เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier)วงจรที่ทําหนาที่ขยายสัญญาณขาออกใหแรงขึน้ เชน แรงดันไฟฟาที่ไดจาก

หัววัดมีคานอยมาก จึงตองใช Amplifier ในการเพิ่มแรงดันไฟฟาใหมากขึ้น

⇒ แรงดันไฟฟาที่ไดจากหัววัด = 1 mV เมื่อนํา Amplifier ที่มี Gain = 1000 มาใชขยายสัญญาณ จะสามารถเพิ่มแรงดันไฟฟาเปน 1 V

V 1 1000 mV 1 =×

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 6

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.1.5 เครื่องบันทึกสัญญาณ (Recorder)อุปกรณวัดแรงดนัไฟฟาและแสดงผลขอมูลที่วัดได ซึ่งเครื่องบันทึกสัญญาณ

อาจเปนแบบอนาล็อก (Analog) หรือแบบดิจิตอล (Digital) เชน Magnetic tape recorder จะเก็บขอมูลแบบอนาล็อก

- เครื่องบันทึกแบบดิจิตอล → จะรับสัญญาณอนาล็อกเขามากอน แลวจึงเปล่ียนสัญญาณดังกลาวใหเปนสัญญาณแบบดิจิตอลตอไป ซึ่งสามารถนําขอมูลไปเก็บบนฮารดดิสต หรือนําไปแสดงผล หรือประมวลผลบนคอมพิวเตอรไดอยางรวดเร็ว

1.1.6 หนวยประมวลผลขอมูล (Data Processor)โดยทั่วไปจะใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูล ซึ่งขอมูลดังกลาวจะตอง

อยูในรูปแบบดิจิตอล ดังนั้นจึงตองใชงานรวมกับ analog-to-digital converter (A/D)

Page 4: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 7

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.1.8 เครื่องควบคุม (Controller)

มีหนาที่ควบคุมกระบวนการใหทํางานตามที่ไดออกแบบไว โดยทําการตรวจวัดปริมาณที่ตองการควบคุม และหากปริมาณดังกลาวไมเปนไปตามที่ออกแบบไว เครื่องควบคุมก็จะทําการปรับแกกระบวนการใหทํางานตามที่ไดกําหนดไว

1.1.7 เครื่องกําเนิดคําส่ัง (Command Generator)อุปกรณที่ใหคาแรงดันไฟฟาที่ใหคาเสมือนกับตัวแปรทางกายภาพใน

กระบวนการ เชน เตาอบที่สามารถควบคุมอุณหภูมิ โดยเครื่องกําเนิดคําส่ังจะจายสัญญาณแรงดนัไฟฟาที่มีคาเสมอืนกับอุณหภูมิที่ตองการในเตาอบ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 8

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.2 กระบวนการควบคุม (Process Control)กระบวนการควบคุมถูกแบงออกเปน 2 แบบ คือ

1.2.1 การควบคุมแบบเปด (Open-loop control) – เปนการควบคุมที่ตองอาศัยผูปฏิบัติงาน (Operator) เปนผูตรวจวัดและปรับแกตัวแปรตางๆ ในกระบวนการ

Page 5: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 9

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.2.2 การควบคุมแบบปด (Closed-loop control) – เปนการควบคุมที่ไมตองอาศัยผูปฏิบัติงานเลย โดยสัญญาณขาออก (Output signal) จากระบบจะถูกปอนกลับ (Feedback) มาเปรียบเทียบกับสัญญาณที่ตองการ (Desired signal) หลังจากนั้นจะนําผลตางระหวางสัญญาณทั้งสองมาปรับแกกระบวนการตอไป

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 10

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.3 การวิเคราะหทางวิศวกรรม (Engineering Analysis)

การวิเคราะหทางวิศวกรรม – เพื่อตรวจสอบและประเมินชิ้นงาน โครงสราง หรือระบบตางๆ เพื่อใหแนใจวาระบบดังกลาวจะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเมื่อนําไปติดตั้งใชงานจริง โดยการวิเคราะหทางวิศวกรรมสามารถทําได 2 ทาง ดังนี้

- ทางทฤษฎี (Theoretical Approach)

- ทางการทดลอง (Experimental Approach)

Page 6: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 11

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.3.1 ทางทฤษฏี (Theoretical Approach)สรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้น เพื่ออธิบายพฤติกรรมของระบบที่

ทําการศึกษาบนสมมติฐานที่สอดคลองกับสภาพการทํางานจริง โดยสามารถหาผลลัพธของสมการที่สรางขึ้นโดยใชวิธีการดังนี้

1.) วิธีทางคณิตศาสตร (Mathematical Method)2.) วิธีการคํานวณเชิงตัวเลข (Numerical Method)

ขอด ี - สามารถวิเคราะหประสิทธิภาพการทํางานของระบบกอนสรางชิ้นงานจริง- ปรับเปล่ียนตัวแปรตางๆ ไดโดยไมจําเปนตองสรางชิ้นงานจริง- คาใชจายต่ํา

ขอเสีย - ผลที่ไดอาจไมเปนไปตามที่ออกแบบไว เนื่องจากความไมแนนอนตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากสภาพการทํางานจริงและสิ่งแวดลอม

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 12

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.3.2 ทางการทดลอง (Experimental Approach)สรางชิ้นงานตนแบบ (Prototype) หรือช้ินงานจําลองตามอัตราสวน แลวทํา

การทดสอบการทํางาน เพื่อประเมินสมรรถนะของชิ้นงานที่ไดสรางขึ้นวาเปนไปตามที่ไดออกแบบไวหรือไม

ขอด ี - กําจัดความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้นในทางทฤษฎี

ขอเสีย - คาใชจายสูง เนื่องจากอาจจะตองมีการทดสอบและปรับแกหลายครั้ง

- ไมจําเปนตองมีขอสมมติฐานของเงื่อนไขการทํางานและคุณสมบัติของวัสดุ

- ความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้นในการทดลอง เนื่องจากความไมแมนยําของระบบการวัด หรือการเก็บขอมูล

Page 7: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 13

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.4 ความหมายของคําศัพทที่ใชในระบบการวัด

ในระบบการวัด จําเปนจะตองเรียนรูคําจํากัดความของคําศัพทบางคําดังตอไปนี้

Sensitivity – คาความไว คือ อัตราสวนการเปลี่ยนแปลงระหวางสัญญาณขาออกและสัญญาณขาเขา

Range – ชวงของคาตัวแปรที่สามารถวัดไดในระบบการวัดError – ความผิดพลาด คือ ผลตางระหวางคาจริงและคาที่วัดได

Accuracy – ความแมนยํา คือ ความสามารถในการวัดคาจริงไดอยางถูกตอง

Error (ε) = คาจริง (true value) – คาที่วัดได (measured value)

100

1 ×⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛−=

valuetrueAccuracy

ε

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 14

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Precision – คาความแนนอน คือ ความสามารถในการวัดคาไดเทาเดิม จากการวัดคาเดียวกันเปนจํานวนหลาย ๆ ครั้ง เชน ตัวอยางการปาลูกดอก

Error Accuracy และ Precision

Page 8: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 15

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Independent Variable – ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรที่ไมขึ้นอยูกับตัวแปรอื่น ๆ ในระบบ Dependent Variable – ตัวแปรที่ขึ้นอยูกับตัวแปรอื่น ๆ ในระบบ Noise – สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นแบบสุม (random)Interference – สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นเปนรูปแบบ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 16

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Calibration – การนําเอาเครื่องมือวัดไปวัดคามาตรฐานที่รูคาแนนอนอยูแลว และสังเกตดูวาคาที่วัดไดจะมีคาเทากับคามาตรฐานหรือไม

Repetition – การวัดคาหลายๆ ครั้งโดยใชเครื่องวัดอันเดิมReplication – การวัดคาโดยใชเครื่องวัดชนิดเดยีวกันหลายเครื่อง หรือทําการวัดคาที่ได

จากการทดลองแบบเดียวกัน เงื่อนไขเดียวกัน แตทดลองวัดหลายๆ วัน

Page 9: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 17

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.5 ความผิดพลาดจากการทดลอง (Experimental Error)

ความผิดพลาด ⇒ ผลตางระหวางคาจริง (true value) กับคาที่วัดได (measured value)Error = true value – measured value

ระบบการวัดที่ดีจะมีความผิดพลาดนอยและอยูในวงจํากัด ทั้งนี้ความผิดพลาดเปนส่ิงที่หลีกเลี่ยงไมได แตสามารถลดคาความผิดพลาดลงใหนอยที่สุด ความผิดพลาดอาจเกิดมาจากสาเหตุตางๆ ดังนี้

- การสะสมกันของความผิดพลาด- อุปกรณวัดทํางานผิดพลาด- ผลกระทบของหัววัดในกระบวนการ- ความผิดพลาดของคาความไว- ความผิดพลาดจากสาเหตุอื่น ๆ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 18

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.5.1 การสะสมกันของความผิดพลาด (Accumulation of Accepted Error)ระบบการวัดโดยทั่วไปประกอบไปดวยอุปกรณหลายๆ อยางตอกันอยู และ

อุปกรณแตละอนัก็จะมีความผิดพลาดเกิดขึ้น ดังนั้นจึงทําใหเกิดการสะสมกันของคาความผิดพลาด (εa) ในระบบการวัดดังสมการ

2222RASCTa εεεεε +++=

εT = ความผิดพลาดจากหัววัดโดยที่

εSC = ความผิดพลาดจากตัวปรับแตงสัญญาณεA = ความผิดพลาดจากตัวขยายสัญญาณεR = ความผิดพลาดจากเครื่องบันทึก

Page 10: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 19

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตัวอยาง : เครื่องบันทึกที่มีความแมนยํา (Accuracy) ±2% ของ full-scale value

- เครื่องบันทึกทํางานที่ full scale ⇒ error = 2%

scale full accuracy % ×=d

- หากเครื่องบันทึกทํางานที่ half scale = 50⇒ error = %4%100

502

ถา full scale = 100 ⇒ ความผิดพลาดมากสุด (d) = 2% ของ 100 = 2

- หากเครื่องบันทึกทํางานที่ quarter scale = 25⇒ error = %8%100

252

แนะนํา : ไมควรใชเครื่องมือวัดทาํงานที่สเกลนอยกวา 21 -

31 เทาของ full scale

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 20

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.5.2 อุปกรณวัดทํางานผิดพลาด (Improper Functioning of Instruments)อุปกรณวัดอาจทํางานผิดพลาดได ถาไมไดรับการบํารุงรักษาที่ดี หรือถาไมได

รับการเทียบวัดกอนใชงาน ซึ่งจะกอใหเกิดความผิดพลาดในการวัด เชน Sensitivity error เปนตน

ความชันของเสนตรง คือ คาความไว (Sensitivity, S)

i

o

QQS∆∆

=

ความสัมพันธระหวางสัญญาณขาเขาและออกคือ0ZSQQ io +=

Page 11: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 21

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

- error ในการวัดสัญญาณขาออก (Qo) จะเกิดขึ้น ถาเครื่องมือวัดไมไดรับการเทียบวัด (Calibrate) และตั้งคาศูนย (Zero)

- error ที่อาจเกิดขึ้นในระบบการวัดคือ calibration error, zero-offset error, และ range error ดังแสดงในกราฟดานขวา

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 22

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.5.3 ผลกระทบของหัววัดตอกระบวนการ

เลือกใชหัววัดที่เหมาะกับงานและติดตั้งในตําแหนงที่เหมาะสม หรือในตําแหนงที่จะไมไปกระทบ หรือรบกวนการทํางานของกระบวนการ มิฉะนั้นอาจจะทําใหเกิดความผิดพลาดในกระบวนการวัดไดหัววัด ⇒ ขนาดเล็กและน้ําหนักเบา เมื่อเทียบกับขนาดและน้ําหนักของกระบวนการ

⇒ ใชพลังงานจากกระบวนการนอย

(Effect of the Transducer on the Process)

Page 12: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 23

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.5.4 ความผิดพลาดของคาความไว (Dual Sensitivity Errors)

หัววัดโดยทั่วไปจะถูกออกแบบสําหรับวัดปริมาณเดียวเทานั้น อยางไรก็ตามหัววัดก็มักจะตอบสนองตอปริมาณอื่นๆ ดวยเชนกัน

หัววัดความดัน – ถามีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของระบบในขณะที่กําลังวัดความดัน ⇒ จะมีผลทําใหเกิดความผิดพลาดเนื่องจาก Dual Sensitivity ของหัววัด กลาวคือจะเกิด zero drift และ sensitivity drift ดังแสดงในกราฟ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 24

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.5.5 ความผิดพลาดจากสาเหตุอื่นๆ (Other Sources of Error)- ความผิดพลาดจากผลกระทบของ lead-wire, electronic noise, และ ผูปฏิบัติงานlead-wire สายไฟที่ยาวและเสนผานศูนยกลางเล็ก จะมีความตานทานมาก ซึ่ง

อาจสงผลกระทบกับคา sensitivity ของหัววัดไดelectronic noise เมื่อสายไฟอยูใกลกับอุปกรณไฟฟาอื่นๆ ก็อาจจะเกิดสัญญาณ

รบกวนตอหัววัดไดผูปฏิบัติงาน - เกิดจากการอานคาผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อน

- ตองทําการเทียบวัด (calibrate) หัววัดกอนใชงาน- ตองตั้งคาศูนย (zero) อุปกรณกอนใชงาน

Page 13: Chapter 01

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 25

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

1.6 การลดความผิดพลาดจากการทดลองความผิดพลาดเปนส่ิงที่หลีกเลี่ยงไมไดในกระบวนการวัด แตสามารถลดความ

ผิดพลาดลงใหนอยที่สุดหรืออยูในระดับที่ยอมรับได วิธีที่จะชวยลดความผิดพลาดใหนอยลงมีดังนี้• เลือกหัววัดที่เหมาะสม - พลังงานที่ใช ขนาด และน้ําหนัก ตองไมกระทบกระบวนการ • ตรวจเช็คความแมนยํา และความผิดพลาดสะสมของอุปกรณวัด• ทําการเทียบวัด (calibrate) อุปกรณวัดกอนใชงาน• ศึกษากระบวนการและสิ่งแวดลอมที่จะทําการติดตั้งระบบการวัด เชน อุณหภูมิ• สายไฟตองใสฉนวนใหเหมาะสม• ตรวจเช็คสัญญาณรบกวนที่อาจเกิดขึ้นกับระบบ• ตรวจวัดระบบ โดยทดลองวัดคาตัวแปรของระบบที่รูจักดีอยูแลว

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 26

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

การตรวจวัดระบบ (System calibration) โดยทดลองวัดคาตัวแปรของระบบที่รูจักดีอยูแลว เชน รูอยูแลววาหองเย็นหนึ่งใหความเย็น 25°C ถานําเอาหัววัดอุณหภูมิ เชน เทอรโมคับเปล มาวัดคาอุณหภูมิในหองเย็นแลว ปรากฏวาวัดอุณหภูมิได 25°Cก็แสดงวาหัววัดนี้มีความแมนยําสูงและใชงานได