15
จัดทําโดย .ดร. เดช ดํารงศักดิ235 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เครื่องมือวัด (254372) .) v o = 20 mV คํานวณหา P ดังนี000 , 100 2 10 / 20 × = P lb 000 , 100 = ตอบ Comment : ความไว (v o / P) ของ Load Cell นี้มีคาเทากับ lb 000 , 100 mV 20 = = P v y sensitivit o mV/lb 0002 . 0 = จัดทําโดย .ดร. เดช ดํารงศักดิ236 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เครื่องมือวัด (254372) บทที11 การวัดอุณหภูมิ การวัดอุณหภูมิจะครอบคลุมเนื้อหาดังตอไปนี11.1 บทนํา 1. การวัดอุณหภูมิแบบอาศัยการขยายตัว 2. เทอรโมมิเตอรแบบอาศัยความตานทาน 3. เทอรโมคัปเปล (Thermocouple) 4. การตอบสนองตอสัญญาณของเซ็นเซอรอุณหภูมิ 5. วิธีการ Calibrate

Chapter 11

  • Upload
    grid-g

  • View
    155

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 235

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ข.) vo = 20 mV คํานวณหา P ดังนี้000,100

210/20

×=P

lb 000,100= ตอบ

Comment : ความไว (vo / P) ของ Load Cell นี้มีคาเทากับ

lb 000,100mV 20

==Pvysensitivit o

mV/lb 0002.0=

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 236

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

บทที่ 11การวัดอุณหภูมิ

การวัดอุณหภูมิจะครอบคลุมเนื้อหาดังตอไปนี้11.1 บทนํา

1. การวัดอุณหภูมิแบบอาศัยการขยายตัว2. เทอรโมมิเตอรแบบอาศัยความตานทาน3. เทอรโมคัปเปล (Thermocouple)4. การตอบสนองตอสัญญาณของเซ็นเซอรอุณหภูมิ5. วิธีการ Calibrate

Page 2: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 237

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.2 การวัดอุณหภูมิแบบอาศัยการขยายตัว

• วัสดุมีการขยายตัวหรือหดตัวเมือ่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยมีความสัมพันธดังนี้

(Expansion Methods For Measuring Temperature)

เมื่อ ∆l = ความยาวที่เปล่ียนแปลง

l0 = ความยาวที่อุณหภูมิอางอิง T0

α = ส.ป.ส.การขยายตัวของวัสดุเมื่ออุณหภูมิเปล่ียน

∆T = การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

Tll ∆=∆ 0α

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 238

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.2 การวัดอุณหภูมิแบบอาศัยการขยายตัว (ตอ)

11.2.1 เทอรโมมิเตอรแบบอาศัยการขยายตัวของของเหลว – อาศัยการขยายตัว/หดตัวของของเหลวที่อยูภายในกระเปาะไปตามทอ Capillary โดยสเกลบนทอแกวจะถูกใชในการเปล่ียนการขยายตัวของของเหลวไปเปนอุณหภูมิ

ขอเสีย 1. ไมสามารถใชในระบบควบคุมแบบปด (Closed-Loop Control) เนื่องจากตองใชผูปฏิบัติการเปนคนอานคาอุณหภูมิ

2. ใชเวลาคอนขางนานในการเขาสูสมดุลของอณุหภูมิ

Page 3: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 239

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.2.2 เทอรโมมิเตอรแบบ Bimetallic-Strip – อาศัยการขยายตัวที่ไมเทากันของวัสดุ 2 ชนิดเนื่องจากมีคาส.ป.ส.การขยายตัวของวัสดุไมเทากัน (α1 ≠ α2)

⇒ ใชทํา Thermostat เพื่อควบคุมอุณหภูมิ

⇒ วัดคาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่นอยๆไมดี

⇒ เพิ่มคาความไวโดยออกแบบใหมีรัศมีความโคง ρ นอยเมื่อมีการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ ∆T

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 240

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.3 เทอรโมมิเตอรแบบอาศัยความตานทาน

• สรางจากวัสดุที่มีการเปลี่ยนแปลงความตานทานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ(Resistance Thermometers)

( )nn TTTTRR )(...)(1 0010 −++−+= γγ

11.3.1 หัววัดอุณหภูมิแบบความตานทาน (RTDs)เซ็นเซอรของ RTD คือตัวนําซึ่งถูกทําจากฟลมหรือคอยลของขดลวด โดยมีความสัมพันธดังนี้

เมื่อ γ1,…,γn คือ ส.ป.ส.ความตานทาน

R0 คือ ความตานทานที่อุณหภูมิ T0

Page 4: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 241

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

( ) ( )00 /1/1/ln θθβ −=RR

11.3.2 เทอรมสิเตอร (Thermistor)

เซ็นเซอรอุณหภูมิที่ถูกทําขึ้นจากวัสดุกึ่งตัวนํา (Semiconducting material) โดยมีความสัมพันธระหวางความตานทานกับอุณหภูมิดังนี้

เมื่อ R คือ ความตานทานที่อุณหภูมิ θ

R0 คือ ความตานทานที่อุณหภูมิ θ0

β คือ คาคงที่ของวัสดุ

θ และ θ0 คือ อุณหภูมิสัมบูรณ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 242

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.4 เทอรโมคัปเปล (Thermocouple)• เซ็นเซอรอุณหภูมิที่ทําจากวัสดุ 2 ชนิดที่ไมเหมือนกัน วัสดุทั้งสองจะถูกยึดติดกันที่ตําแหนงวัดดวยวิธีบัดกรี เชื่อม หรือ พัน

• แรงดันไฟฟาจะเกิดขึ้นเนื่องมาจากความแตกตางระหวางอุณหภมิูสองจุด ซึ่งเปนรากฐานของปรากฏการณ Thermoelectric ซึ่งถูกเรียกวา ⇒ Seebeck Effect

)()( 22

212211 TTCTTCvo −+−=

→ C1, C2 คือ คาคงที่ Thermoelectric ที่ขึ้นอยูกับวัสดุ

Page 5: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 243

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Peltier Effect – เมื่อมีกระแสไหลผานจุดเชื่อม (Junction) จะเกิดการถายเทความรอน ณ จุดเชื่อม การถายเทความรอน Peltier คือ

iq ABP π=

• qP คือ การถายเทความรอนของ Peltier

• πAB คือ ส.ป.ส. Peltier สําหรับวัสดุ A ไป B

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 244

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Thompson Effect – เมื่อมีกระแสไหลผานตัวนําที่มีอุณหภูมิระหวางจุดเชื่อมสองจุดตางกัน (Temperature Gradient) จะเกิดการถายเทความรอนขึ้นตามสมการ

)( 21 TTiqT −= σ

• qT คือ การถายเทความรอนของ Thompson

• σ คือ ส.ป.ส. Thompson ซึ่งขึ้นกับชนิดวัสดุ

Page 6: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 245

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตารางแสดงวัสดุที่ใชทําเทอรโมคัปเปล

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 246

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตารางแสดงชวงการทํางานของเทอรโมคัปเปล

Page 7: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 247

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

• ความสัมพันธระหวาง vo กับ (T1-T2) เปนฟงกชั่นแบบ nonlinear → การจะไดคาที่แมนยําจึงจําเปนตองอาศัย ตาราง A2-A5 ในภาคผนวก A ซึ่งเปนตัวอยางของเทอรโมคัปเปลบางชนิด โดยคํานวณมาจากสมการ

nnvavavaaTT 0

20201021 ++++=− L

โดย คา a0,…,an ไดจากตาราง A6

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 248

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตารางแสดงความสัมพันธระหวาง vo และ T1 (T2 = 0°C) ของเทอรโมคัปเปล ชนิด T

Page 8: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 249

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตารางแสดงคาสัมประสิทธิ์ของเทอรโมคัปเปล 6 ชนิด

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 250

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

กฎ 6 ขอ ของเทอรโมคัปเปล

Page 9: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 251

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

เครื่องมืออานคาสําหรับเทอรโมคัปเปล

• นิยมใช Data Logger และเครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอลทั่วๆไป

• เครื่องวัดแรงดนัไฟฟาตองมี Input Impedance สูง เพื่อลดกระแสในวงจรใหนอยลง

• DVM, Strip-Chart Recorder, Oscilloscope ⇒ Input Impedance สูง

• ไมควรใช Analog DC Voltmeter w/o preamplifiers ⇒ Input Impedance ต่ํา

• ไมควรใช Oscillograph ⇒ Galvanometer ใน Oscillograph มีคา Input Impedance ต่ํา

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 252

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตัวอยางการตอสายเทอรโมคัปเปล

Page 10: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 253

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.5 การตอบสนองตอสัญญาณของเซ็นเซอรอุณหภูมิ

• Dynamic Response ของเซ็นเซอรอุณหภูมิสามารถอธิบายโดยสมการแบบ First-Order System ดังนี้

(Dynamic Response of Temperature Sensors)

dttdTmctTThAq m)())(( =−=

เมื่อ q คือ อัตราการถายเทความรอนจากการพาความรอนh คือ คาสัมประสิทธิ์การพาความรอนA คือ พื้นที่ผิวที่เกิดการถายเทความรอนm คือ มวลของเซ็นเซอรc คือ คาความจุความรอนจําเพาะของเซ็นเซอรTm คือ อุณหภูมิของตัวกลางที่ทําการวัด

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 254

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

เขียนใหมไดดังนี ้ ⇒

dttdTmctTThAq m)())(( =−=

mTtTdt

tdThAmc

=+ )()(

)1()( / βtm eTtT −−=

เมื่อ T(0) = 0 และ Constant Time==hAmcβ

• Time Constant นอยลง → ตอบสนองเร็ว• Time Constant มีคานอย → m กับ c นอย

A มาก

สัญญาณขาเขาเปนฟงกชั่นแบบ step

Page 11: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 255

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ถาสัญญาณขาเขาเปนฟงกชั่นแบบ ramp เซ็นเซอรอุณหภูมิจะมีการตอบสนองดังรูป โดยที่อุณหภูมิที่จะทําการวัด Tm เพิ่มขึ้นแบบเชิงเสนดังความสัมพันธ

( )ββ /1)( tebbttT −−−=⇒

btTm =

เซ็นเซอรอุณหภูมิจะวัดอุณหภูมิเมื่อสัญญาณขาเขาเปนฟงกชั่นแบบ ramp ไดดังความสัมพันธ

เมื่อ b คือ ความชันของกราฟความสัมพันธระหวาง T(t) และ t

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 256

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

⇐ การตอบสนองของเทอรโมมิเตอรแบบกระเปาะ – มีคา time constant คงที่

การตอบสนองของเทอรโมมิเตอร ⇒แบบไมมีปลอกปองกันจะตอบสนองไดเร็วกวาเทอรโมมิเตอรแบบมีปลอกสวมปองกัน

Page 12: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 257

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ผลกระทบของความเร็วของ ⇒ของไหลที่ไหลผานกระเปาะเทอรโมมิเตอร – ตอบสนองไดเร็วขึ้น เมื่อของไหลมีความเร็วเพิ่มขึ้น

⇐ การตอบสนองของเทอรโมมิเตอรแบบความตานทานในของเหลวเคลื่อนที่ จะตอบสนองไดเร็วกวาในอากาศเคลื่อนที่

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 258

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

การตอบสนองของเทอรโมคัปเปล ⇒เมื่อปลายสายถูกเชื่อม และถูกบิด ซึ่งจะเห็นวา ปลายที่ถูกเชื่อมจะตอบสนองไดเร็วกวาปลายที่ถูกบิด

⇐ การตอบสนองของเทอรโมคัปเปลที่ใสเขาไปในเตาเผา จะตอบสนองไดเร็วขึ้นถาอุณหภูมิภายในเตาเผาสูง

Page 13: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 259

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

⇐ ตอบสนองอยางรวดเร็วตอการแผรังสีความรอน

ปลอกปองกันแบบตาง ๆการติดตั้งปลอกปองกันที่เหมาะสมกับไมเหมาะสม

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 260

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

11.6 วิธีการ Calibrate

1. Freezing-Point Method – เซ็นเซอรอุณหภูมิถูกจุมในสารที่อยูในสถานะของเหลว เมื่ออุณหภูมิลดลงจนสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนของแข็ง จนอุณหภูมิคงที่ → อุณหภูมิอางอิงที่ใชเทียบวัด

2. Melting-Wire Method – ใชโลหะชนิดที่สามมาเชื่อมสายเทอรโมคัปเปล แลวใหความรอนจนกระทั่งแรงดัน vo ลดลงเปนศูนย แรงดัน vo กอนจะเปนศูนยก็คือจุดหลอมละลาย (Melting Point) → Calibration Temperature

3. Comparison Method – ใชเซ็นเซอรอุณหภูมิสองอัน เซ็นเซอรแรกคืออันที่ตองการ Calibrate เซ็นเซอรอันที่สองใชเปนตัวอางอิงซึ่งอานคาไดถูกตอง

Page 14: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 261

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตารางแสดงอุณหภูมิของวัสดุที่สถานะตางๆ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 262

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตารางแสดงขอดีและขอเสียของเซ็นเซอรอุณหภูมิแบบตาง ๆ

ที่มา : Omega Engineering, Inc.

Page 15: Chapter 11

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 263

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ตัวอยาง : ดิจิตอลโวลตมิเตอรถูกใชในการวัดคาแรงดันไฟฟาออก vo จากเทอรโมคัปเปล ชนิด T ดังรูป จงตอบคําถามดังตอไปนี้

(1) จากรูป จงหาวาดิจิตอลโวลตมิเตอรจะอานคาแรงดันไฟฟาออก vo ไดเทาใด

⇒ จากตารางความสัมพันธระหวาง vo และ อุณหภูมิที่จุดวัด T1 จะได

vo = 14.57 mV ตอบ

(2) ถาดิจิตอลโวลตมิเตอรอานคา vo ได 2.078 mV จงหาอุณหภูมิ T1⇒ จากตารางความสัมพันธระหวาง vo และ อุณหภูมิที่จุดวัด T1 จะได

T1 = 51 °C ตอบ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 264

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

(3) อุณหภูมิที่จุด T2 และ T3 มีผลตอการวัดอุณหภูมิหรือไม เพราะเหตุใด

⇒ T2 ซึ่งเปนอุณหภูมิอางอิง จะมีอิทธิพลตอการอานคาอุณหภูมิ อยางไรก็ตาม คาอุณหภูมิที่อานจากตารางทายหนังสือเรียนถูกเทียบกับอุณหภูมิอางอิงที่ 0 °C ดังนั้นในขอนี้ T2 = 0 °C จึงไมมีผลกระทบตออุณหภูมิที่วัดไดจริง⇒ T3 = T4 เนื่องจากอุณหภูมิทั้งคูเทากัน และแรงดันไฟฟาที่ไดจากทั้ง 2 จุดจะหักลางกันไป จึงไมมีผลกระทบตออณุหภูมิที่วัดไดจริง